โรงเรียนทหารมา้ วชิ า การจัดดาเนินการการซ่อมบารงุ รหสั วชิ า ๐๑๐๒๐๑๐๖๐๑ หลกั สูตร ช้ันนายพัน แผนกวชิ ายานยนต์ กศ.รร.ม.ศม. ปรชั ญา รร.ม.ศม. “ฝกึ อบรมวิชาการทหาร วทิ ยาการทันสมยั ธารงไว้ซ่งึ คุณธรรม”
ปรชั ญา วิสยั ทศั น์ พันธกจิ วตั ถุประสงค์การดาเนินงานของสถานศึกษา เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ ๑. ปรชั ญา ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหนึ่งในกองทพั บก ทีใ่ ช้ม้าหรอื ส่ิงกาเนิดความเร็วอ่ืนๆ เป็นพาหนะ เป็นเหล่าที่มคี วามสาคัญ และจาเป็นเหล่าหน่ึง สาหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารอื่น ๆ โดยมีคุณลักษณะท่ีมีความ คล่องแคล่ว รวดเร็วในการเคล่ือนที่ อานาจการยิงรุนแรง และอานาจในการทาลายและข่มขวัญ อันเป็น คุณลกั ษณะท่สี าคัญและจาเป็นของเหลา่ โรงเรยี นทหารม้า ศนู ย์การทหารมา้ มีปรชั ญาดงั น้ี “ฝึกอบรมวิชาการทหาร วิทยาการทันสมัย ธารงไวซ้ งึ่ คณุ ธรรม” ๒. วสิ ยั ทัศน์ “โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้วิชาการเหล่าทหารม้าที่ทันสมัย ผลติ กาลงั พลของเหล่าทหารม้า ให้มลี ักษณะทางทหารทีด่ ี มีคุณธรรม เพ่อื เปน็ กาลงั หลักของกองทพั บก” ๓. พนั ธกิจ ๓.๑ วิจยั และพฒั นาระบบการศกึ ษา ๓.๒ พัฒนาคณุ ภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา ๓.๓ จัดการฝกึ อบรมทางวิชาการเหลา่ ทหารมา้ และเหลา่ อืน่ ๆ ตามนโยบายของกองทพั บก ๓.๔ ผลติ กาลังพลของเหลา่ ทหารมา้ ใหเ้ ปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ของหลกั สตู ร ๓.๕ พฒั นาสอ่ื การเรียนการสอน เอกสาร ตาราของโรงเรียนทหารม้า ๓.๖ ปกครองบังคับบัญชากาลังพลของหน่วย และผู้เข้ารับการศึกษาหลักสูตรต่างๆ ให้อยู่บนพื้นฐาน คณุ ธรรม จริยธรรม ๔. วัตถุประสงค์ของสถานศึกษา ๔.๑ เพ่ือพัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ใหก้ ับผเู้ ขา้ รบั การศกึ ษาได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ๔.๒ เพอ่ื พัฒนาระบบการศกึ ษา และจัดการเรียนการสอนผ่านส่อื อิเลก็ ทรอนิกส์ ให้มีคณุ ภาพอยา่ งต่อเน่อื ง ๔.๓ เพื่อดาเนินการฝึกศึกษา ให้กับนายทหารชั้นประทวน ท่ีโรงเรียนทหารม้าผลิต และกาลังพลท่ีเข้ารับ การศึกษา ให้มคี วามรคู้ วามสามารถตามท่หี น่วย และกองทัพบกต้องการ ๔.๔ เพ่ือพัฒนาระบบการบรหิ าร และการจัดการทรพั ยากรสนบั สนนุ การเรียนรู้ ให้เกิดประโยชน์สงู สุด ๔.๕ เพอ่ื พัฒนาปรบั ปรุงสื่อการเรียนการสอน เอกสาร ตารา ให้มคี วามทันสมยั ในการฝกึ ศึกษาอยา่ งต่อเน่อื ง ๔.๖ เพื่อพัฒนา วิจยั และให้บรกิ ารทางวิชาการ ประสานความร่วมมือ สรา้ งเครือข่ายทางวิชาการกับ สถาบนั การศกึ ษา หน่วยงานอ่ืนๆ รวมทง้ั การทานบุ ารงุ ศลิ ปวฒั ธรรม ๕. เอกลักษณ์ “เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ทางวิชาการ และผลิตกาลังพลเหล่าทหารม้าอย่างมีคุณภาพเป็นการ เพิ่มอานาจกาลังรบของกองทัพบก” ๖. อัตลักษณ์ “เดน่ สง่าบนหลงั มา้ เกง่ กล้าบนยานรบ”
คานา เอกสารตารารายวิชา สาหรับหรับนายทหารนักเรียน หลักสูตร ช้ันนายพัน ประกอบด้วยเนื้อหา ทัง้ หมด 7 บทเรยี น จะกลา่ วถึง ระบบการซอ่ มบารงุ ของกองทพั บกไทยโดยเฉพาะอยา่ งย่ิงการซ่อมบารงุ ขัน้ ที่ 1 และขั้นท่ี 2 ซึ่งเป็นการซ่อมบารุงระดับหน่วย เพื่อให้นักเรียนเข้าใจในระบบ การซ่อมบารุง และสามารถ ดาเนินงานการตรวจสภาพ และกากับดูแลกิจการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์อย่างมีประสิทธภิ าพ การจัด และการ ดาเนินงานของหน่วยซ่อมบารุง หน้าที่ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ในหน่วยซ่อมบารุง การปฏิบัติงานซ่อม บารุงทางเทคนิค การปฏิบัติงานซ่อมบารุงทางธุรการ การซ่อมบารุงในที่ต้ังปกติ และการซ่อมบารุงในสนาม การใช้เอกสารการซ่อมบารุงและ แบบพิมพ์ต่าง ๆ ท่ีใช้ในการซ่อมบารุงระดับหน่วย วิธกี ารปฏิบัติเก่ียวกบั การ ใช้ยานยนต์ การบันทกึ แบบพมิ พ์ ต่างๆ ทเี่ ก่ียวข้องรวมทั้งค่มู ือ และคาสงั่ ต่างๆ ท่ีกองทัพบกได้กาหนดข้นึ เพื่อ วางหนทางปฏิบัติใหเ้ ป็นไปในแนวเดยี วกันเอกสาร และแบบพมิ พป์ ระวตั ซิ ึ่งได้บนั ทกึ ไว้น้ีจะช่วยให้ผู้ทเ่ี กย่ี วข้อง ทราบถงึ ปัญหาขอ้ เท็จจรงิ และการแกไ้ ขท่ถี ูกต้อง การกากบั ดแู ล และปัญหาของผู้บงั คับบัญชาในการซอ่ มบารุง การตรวจการปฏิบตั ิ และการใช้คู่มือเทคนิคในการปรนนิบัติบารุง และเอกสารแบบพิมพท์ ่ีใช้ ในการซ่อมบารุง เอกสารการสง่ กาลงั ในระดบั หน่วย การตรวจการปฏิบัติการใช้แบบพิมพ์ ที่ใช้ในการปรนนิบัติบารุง การตรวจ การใช้แบบพิมพ์ทีใ่ ชใ้ นการส่งกาลังระดับหนว่ ย ความรับผิดชอบของผู้บังคับบญั ชา และฝ่ายอานวยการในการ จัดงานการซอ่ มบารงุ เอกสารตาราเล่มนี้ได้รวบรวมหนังสือทางราชการ ได้แก่ คท. 37-2810 คาส่ังทบ.ท่ี 400/2507 ลง 9 พ.ย.07 เรอ่ื งให้ใช้ คท.37-2810 เกีย่ วกับ การตรวจสภาพ และการปบ.ยานยนต์ คาส่ัง ทบ.ท่ี 320/23630 ลง 9 พ.ย. 2498 เร่อื ง วิธีซอ่ มบารุงยทุ โธปกรณ์ สาย สรรพาวธุ ระเบียบกองทัพบก ว่าดว้ ยการรบั ส่ิงอปุ กรณ์ พ.ศ. 2500 ระเบียบ ทบ.ว่าดว้ ยชินส่วนซ่อมตามอตั ราพิกดั และชิ้นส่วนซอ่ มที่สะสม พ.ศ.2512 ระเบียบกองทพั บก ว่าด้วยการสง่ กาลังส่ิงอปุ กรณ์ประเภท 2 และ 4 พ.ศ. 2534 คาส่ังที่เก่ียวข้องกับแบบพิมพ์ ตา่ ง ๆ ซึ่งในแต่ละ บทจะระบุหลักฐานอ้างอิงไว้ เพ่ือการศึกษา และค้นควา้ เพ่ิมเติมต่อไป หากผู้รับการศึกษา หรือ ท่านใดก็ตามท่ี พบข้อบกพร่อง หรือมีข้อเสนอแนะ กรุณาแจ้งโดยตรงที่ ส่วนการศึกษา แผนกวิชายานยนต์ กศ.รร.ม.ศม. เพอื่ จะไดดาเนนิ การแก้ไขและ ปรับปรงุ ตอ่ ไป แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรยี นทหารมา้ ศนู ย์การทหารมา้ ค่ายอดศิ ร สระบรุ ี
สารบญั บทท่ี หน้า 1 ระบบซอ่ มบารงุ ของกองทัพบก 1 – 16 2 การจัดและการดาเนนิ งานของหนว่ ยซอ่ มบารงุ 17 – 44 3 เอกสารการซอ่ มบารุง 45 – 54 4 การซ่อมบารุงทางธุรการและแบบพมิ พ์ประวตั ิ 55 – 71 5 การส่งกาลังบารงุ ช้นิ สว่ นซ่อม 72 – 95 6 การกากบั ดแู ลและปัญหาของผูบ้ ังคับบญั ชาในการซอ่ มบารงุ 96 – 102 7 ความรับผดิ ชอบของผู้บังคบั บัญชา และฝ่ายอานวยการในการจัดงาน 105 – 139 การซอ่ มบารุง ********************
ห น้ า | 1 แผนกวิชายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรียนทหารม้า ศูนยก์ ารทหารมา้ คา่ ยอดิศร สระบุรี ---------- เอกสารนา ระบบซ่อมบารงุ ของกองทพั บก ----------------------- 1. ขอ้ แนะนาในการศึกษา วิชา ระบบซ่อมบารุงของกองทัพบก จะทาการสอนแบบเชิงประชุมโดยมี ความมุ่งหมายเพื่อสอนให้ นักเรียนทราบถึงระบบการซ่อมบารุงของกองทัพบกไทยโดยเฉพาะอย่างย่ิงการซ่อมบารุงขั้นที่ 1 และขั้นที่ 2 ซ่ึงเป็นการซ่อมบารุงระดับหน่วย เพ่ือให้นักเรียนเข้าใจในระบบ การซ่อมบารุง และสามารถดาเนินงานการ ตรวจสภาพ การกากบั ดูแลกิจการซอ่ มบารุงในหน่วยได้ 2. หัวข้อสาคัญในการศึกษา 2.1 ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการซอ่ มบารงุ ยทุ โธปกรณ์ พ.ศ. 2524 ลง 22 เม.ย.24 และ คาส่งั ทบ.ที่ 200/9932 ลง 8 ส.ค.04 เรื่องหลักการซ่อมบารงุ ยทุ โธปกรณส์ ายสรรพาวธุ ในโครงการฯ 2.2 ให้นักเรียนทราบ 2.2.1 คาจากดั ความทส่ี าคญั 2.2.2 หลกั การซอ่ มบารุง 2.2.3 ประเภทการซ่อมบารงุ และข้นั การซ่อมบารงุ 2.2.4 ความรบั ผดิ ชอบในการซ่อมบารงุ ยุทโธปกรณ์ 2.2.5 วธิ กี ารปฏบิ ตั ิตามลาดับข้นั การซอ่ มบารุง 2.2.6 ความรบั ผิดชอบทางเทคนิค 2.2.7 การตรวจสภาพยทุ โธปกรณ์ และการรายงานผลการตรวจ 2.2.8 การดดั แปลงแก้ไขยุทโธปกรณ์ 2.2.9 ตารางประมาณเวลาการซ่อมบารุง 3. งานมอบ ใหน้ กั เรยี นอา่ น 3.1 ระเบยี บกองทัพบก ว่าด้วยการซอ่ มบารงุ ยุทโธปกรณ์ พ.ศ.2524 ลง 22 เม.ย.24 3.2 คาสั่งกองทัพบก ที่ 200/9932 ลง 8 ส.ค.04 3.3 คาสงั่ กองทัพบก ที่ 400/2507 ลง 9 พ.ย.07 และ คท.37 - 2810 3.4 เอกสารเพ่ิมเตมิ 4. เอกสารจา่ ยพร้อมเอกสารนา: เอกสารเพมิ่ เติม ***************
ห น้ า | 2 แผนกวิชายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรียนทหารมา้ ศูนย์การทหารม้า คา่ ยอดิศร สระบุรี ---------- เอกสารเพิม่ เติม ระบบซ่อมบารงุ ของกองทพั บก ---------- 1. กล่าวนา เหล่าทหารม้า กองทัพบกไทย มีอาวุธยุทโธปกรณ์ใช้งานอยู่หลายชนิด หลายประเภท ยุทโธปกรณ์เหล่านี้จะต้องได้รับการซ่อมบารุงท่ีดีอย่างต่อเน่ืองกัน เพื่อให้สามารถใช้ราชการได้ดี และมีอายุ ยาวนานท่ีสดุ ดังนั้นพลประจายทุ โธปกรณ์ เจ้าหนา้ ท่ีซ่อมบารงุ และเจ้าหน้าที่ผู้เก่ียวข้องจะตอ้ งเขา้ ใจหลักการ ซอ่ มบารุง และขอบเขตในการซอ่ มบารุงในหน่วยตามหนา้ ทีซ่ ง่ึ ตนรับผิดชอบอยโู่ ดยถ่องแท้ 2. ความมุ่งหมายและมาตรฐานท่ีต้องการ เพื่อให้นักเรียนทราบระบบการซ่อมบารุงของกองทัพบกไทย ทุก ประเภท และทุกข้ันตอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการซ่อมบารุงระดับหน่วย ข้ันที่ 1 และข้ันที่ 2 ซ่ึงเป็น การซ่อม บารุงข้ันมลู ฐาน จนสามารถดาเนินงานการซ่อมบารงุ ตรวจสภาพ และกากับดูแลกิจการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามคาส่ัง ทบ.ท่ี 200/9932 ลง 8 ส.ค.04, คาสั่ง ทบ.ที่ 400/2507 ลง 9 พ.ย.07 และระเบยี บ ทบ.ว่าด้วยการซ่อมบารุงยทุ โธปกรณ์ พ.ศ.2524 ลง 22 เม.ย.24 3. ระเบียบ และคาสง่ั ทบ. เกย่ี วกับการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ 3.1 ให้ยกเลกิ คาสัง่ ทบ.ท่ี 337/24721 ลง 22 พ.ย. 98 เร่อื ง การซ่อมบารงุ ส่ิงอุปกรณ์ และยทุ โธปกรณ์ 3.2 ขอ้ ความในระเบียบ คาสั่ง คาช้ีแจงและคาแนะนาอื่นใดของ ทบ. ที่ขัดแย้งกับระเบียบนี้ หรอื ที่กาหนด ไว้ในระเบยี บน้แี ลว้ ใหใ้ ชข้ ้อความในระเบยี บน้แี ทน ตอนที่ 1 4. คาจากดั ความทส่ี าคญั 4.1 ยุทโธปกรณ์ (Equipment) หมายถึง ส่ิงอุปกรณ์ (สป.) ที่จัดประจาบุคคล หรือประจาหน่วยตามท่ี กาหนดไว้ในอัตราการจัดและยุทโธปกรณ์ (อจย.) ตามอัตราสิ่งอุปกรณ์ (อสอ.) หรือ ตามอัตราอื่นใด และ หมายรวมถงึ ส่ิงอุปกรณ์ประเภท 4 สิ่งอุปกรณ์ในการพัฒนาและสิ่งอุปกรณ์ในความรับผิดชอบของคลังสายยุทธ บรกิ าร เว้นเครือ่ งบนิ 4.2 การซอ่ มบารุง (Maintenance) หมายถงึ การกระทาใด ๆ ท่ีมุ่งหมายจะรักษายุทโธปกรณ์ ต่าง ๆ ให้ อยู่ในสภาพที่ใช้การได้หรือมุ่งหมายที่จะทาให้ยุทโธปกรณ์ที่ชารุดกลับคืนมาอยู่ในสภาพที่ใช้การได้ และให้ หมายรวมถึงการตรวจสภาพ การทดสอบ การบริการ การซ่อมแก้ การซ่อมใหญ่ การซ่อมสร้าง การดัดแปลง และการซอ่ มคืนสภาพ 4.3 การตรวจสภาพ (Inspection) หมายถึง การพิจารณาถึงสภาพการใช้การได้ของยุทโธปกรณ์ โดยการ เปรยี บเทยี บคุณลักษณะทางฟิสกิ ส์ ทางเคมี ทางจักรกล และทางไฟฟ้า ตาม มาตรฐานท่ไี ดก้ าหนดไว้ 4.4 การทดสอบ (Test) หมายถึง การพิสูจน์ทราบสภาพการใช้การได้ของยุทโธปกรณ์ และการ ค้นหา ข้อบกพรอ่ งทางไฟฟ้า ทางเคมี และทางจักรกล โดยการใช้เครอ่ื งมอื หรือวิธีการทดสอบตา่ ง ๆ
ห น้ า | 3 4.5 การบริการ (Service) หมายถึง การทาความสะอาด การดูแลรักษาการประจุไฟฟ้า การเติมน้ามัน เช้ือเพลิง น้ามันหล่อล่ืน การเติมสารระบบความเย็น และการเติมลม การเติมก๊าซ นอกจากนั้น ยังหมาย รวมถึงความต้องการบริการพิเศษต่าง ๆ ทีก่ าหนดขึ้นตามความจาเป็น เชน่ การพน่ สี การหลอ่ ลืน่ ฯลฯ เป็นตน้ 4.6 การซ่อมแก้ (Repair) หมายถึง การซ่อมยุทโธปกรณ์ชารุดให้ใช้การได้และยังหมายรวมถึง การปรับ การถอดเปลีย่ น การเชอ่ื ม การยา้ และการทาใหแ้ ขง็ แรง 4.7 การซ่อมใหญ่ (Overhaul) หมายถงึ การซ่อมยุทโธปกรณ์ทช่ี ารดุ ให้ใชก้ ารได้อยา่ งสมบรู ณ์ โดยกาหนด มาตรฐานการซอ่ มบารุงไว้เปน็ เอกสารโดยเฉพาะการซ่อมใหญ่อาจกระทาใหเ้ สรจ็ ได้โดย การแยกสว่ นประกอบ การตรวจสภาพสว่ นประกอบ การประกอบสว่ นประกอบย่อย และช้นิ สว่ นต่าง ๆ ท้ังนีจ้ ะต้องมีการตรวจสภาพ และทดสอบการปฏบิ ัติการประกอบดว้ ย 4.8 การซ่อมสร้าง (Rebuild) หมายถึง การซ่อมยุทโธปกรณ์ท่ีชารุดให้กลับคืนสู่สภาพมาตรฐาน อัน ใกลเ้ คียงกับสภาพเดิม หรอื เหมือนของใหม่ ทงั้ ในรูปร่าง คณุ สมบัตใิ นการทางาน และอายุของการ ใช้งาน การ ซ่อมสร้างอาจกระทาให้สาเร็จได้โดยการถอดช้ินส่วนของยุทโธปกรณ์นั้นออก เพ่ือนาไป ตรวจสภาพช้ินส่วน และส่วนประกอบ และทาการซ่อมแก้ หรือเปลี่ยนชิน้ ส่วน และสว่ นประกอบท่ีชารดุ หรอื ใชก้ ารไมไ่ ดแ้ ลว้ นามา ประกอบเป็นยทุ โธปกรณช์ ้ินตอ่ ไป 4.9 การดัดแปลงแก้ไข (Modification) หมายถึง การเปล่ียนแปลงยุทโธปกรณ์ตามคาส่ัง การดัดแปลงน้ี ตอ้ งไม่เปล่ยี นลกั ษณะมูลฐานเดิมของยุทโธปกรณ์ เพยี งแตเ่ พื่อเปลยี่ นภารกิจ หรอื ความ สามารถในการทางาน และเพ่ิมความปลอดภยั แกผ่ ใู้ ช้และเพือ่ ผลทีต่ อ้ งการตามแบบท่กี าหนดให้เปลีย่ นแปลงนนั้ 4.10 การซ่อมคืนสภาพ (Reclamation) หมายถึง การดาเนินกรรมวิธีซ่อมยุทโธปกรณ์ที่ใช้การไม่ได้ เลิกใช้ ละท้ิง หรือเสียหายแล้วให้ใช้ประโยชน์ได้ หรือซ่อมช้ินส่วนส่วนประกอบ หรือองค์ ประกอบของ ยทุ โธปกรณ์เหลา่ น้ัน ให้ใชป้ ระโยชนไ์ ด้ และนากลับคืนสายส่งกาลงั ตอ่ ไป 4.11 การปรนนบิ ัติบารุง (Preventive Maintenance) หมายถงึ การดูแล และการใหบ้ ริการโดยเจา้ หนา้ ที่ เพ่ือ มุ่งประสงค์ที่จะรักษายุทโธปกรณ์ และเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ให้อยู่ในสภาพที่ใช้การได้โดยจัดให้มีระบบการตรวจ สภาพ การตรวจคน้ และการแก้ไขขอ้ บกพร่องกอ่ นทีจ่ ะเกดิ ขึน้ หรอื กอ่ นท่ี 4.12 ถอดปรน (Canibilization) หมายถึง การถอดชิ้นส่วน และส่วนประกอบตามท่ีได้รับอนุมัติจาก ยุทโธปกรณ์ครบชดุ หรือองค์ประกอบทเี่ กี่ยวข้อง ซ่ึงสามารถซอ่ มได้แต่ไมค่ มุ้ คา่ หรือท่จี าหน่าย แล้วเพ่ือนาไปใช้ ประโยชน์ใหแ้ ก่ยุทโธปกรณ์อืน่ 4.13 ยุบรวม (Control Exchange) หมายถึง การถอดช้ินส่วนใช้การได้จากยุทโธปกรณห์ น่ึงไปประกอบกับ อกี ยทุ โธปกรณ์หนง่ึ 5. หลกั การซอ่ มบารงุ 5.1 การซ่อมบารุงต้องปฏิบัติตามคู่มือที่กรมฝ่ายยุทธบริการ หรือกรมฝ่ายกิจการพิเศษที่รับผิดชอบ ได้ จัดพิมพ์ข้ึน หรือจัดหามาแจกจ่าย โดยให้ทาการซ่อมบารุงได้ไม่เกินท่ีกาหนดไว้ และให้สอดคล้องกับ สถานการณท์ างการยทุ ธ 5.2 การซอ่ มแก้ ตอ้ งพยายามกระทา ณ ท่ีซึง่ ยทุ โธปกรณ์นั้นต้ังอยู่ เพื่อให้ยุทโธปกรณ์นั้นกลับใชง้ านได้ โดยเรว็
ห น้ า | 4 5.3 ยทุ โธปกรณ์ที่ชารดุ เกินขีดความสามารถของหน่วยท่ีจะทาการซ่อมบารงุ ให้ส่งซ่อมที่หน่วย ซ่อมบารุง ประเภทสงู กว่า หรอื ขอใหห้ นว่ ยซ่อมบารุงท่ีสงู กวา่ มาทาการซ่อมให้ 5.4 หา้ มทาการซอ่ มแบบยุบรวม เว้นแต่ 5.4.1 ได้รบั อนมุ ตั ิจากผ้มู อี านาจใหก้ ระทาได้ หรือ 5.4.2 ในกรณีฉุกเฉิน และสถานการณ์ทางยุทธวิธีบังคับ ซ่ึงไม่สามารถที่จะติดต่อกับหน่วยที่มีหน้าที่ สนับสนุนได้รวดเร็ว ทันเหตุการณ์ แต่ต้องรายงานให้ผู้มีอานาจให้กระทาได้ทราบ โดยผ่าน หน่วยสนับสนุน ในโอกาสแรกทส่ี ามารถทาได้ 6. ประเภทของการซ่อมบารุง ให้แบ่งการซ่อมบารงุ ออกเปน็ 4 ประเภท 5 ขั้น ดงั น้ี 6.1 การซ่อมบารุงระดบั หนว่ ย (Unit Maintenance) ข้นั ท่ี 1 และขน้ั ที่ 2 6.2 การซอ่ มบารงุ สนับสนนุ โดยตรง (Direct Support) ขนั้ ที่ 3 6.3 การซอ่ มบารงุ สนับสนนุ ทั่วไป (General Support) ข้นั ที่ 4 6.4 การซอ่ มบารงุ ระดับคลงั (Depot) ขนั้ ท่ี 5 7. การซ่อมบารุงระดับหน่วย คือ การซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ท่ีอยู่ในความครอบครองของหน่วยท่ีใช้ ยุทโธปกรณ์น้ัน โดยผู้ใช้หรือพลประจายุทโธปกรณ์ และช่างซ่อมของหน่วย การซ่อมบารุงประเภทน้ี ประกอบดว้ ย การตรวจสภาพ การทาความสะอาด การบริการ การรกั ษา การหล่อลื่น การปรับ ตามความ จาเป็น การเปลยี่ นชิ้นสว่ นซอ่ ม เล็ก ๆ น้อย ๆ การซ่อมบารงุ ระดับหนว่ ย จะกระทาอย่างจากัด ตามคู่มือหรือ คาส่งั หรือผงั การซอ่ มบารุง (Maintenance Allocation Chart) ที่อนุญาตใหก้ ระทาไดใ้ นระดับนี้ 8. การซ่อมบารุงสนับสนุนโดยตรง คือ การซ่อมบารุงท่ีอนุมัติให้กระทาต่อยุทโธปกรณ์ที่อยู่ในความ รับผิดชอบการซ่อมบารุงของหน่วยสนับสนุนโดยตรง ซึ่งเป็นหน่วยท่ีกาหนดขึ้นตามอัตราการจัดและ ยุทโธปกรณ์ (อจย.) หรือ อัตราเฉพาะกิจ (อฉก.) และบ่งถึงภารกิจการซ่อมบารุงดังกล่าวไว้ การซ่อมบารุง สนับสนุนโดยตรง เป็นการซ่อมแก้อย่างจากัดต่อยุทโธปกรณ์ครบชุดหรือซ่อมแก้ส่วนประกอบที่ใช้งานไม่ได้ รวมทั้งการซ่อม และการเปลี่ยนส่วนประกอบย่อย (Subassemblies) และส่วนประกอบธรรมดา (Assemblies) 9. การซ่อมบารงุ สนับสนุนท่ัวไป คือ การซอ่ มแก้ยุทโธปกรณ์ท่ีใช้งานไม่ได้ ที่เกินขีดความสามารถ ของการ ซ่อมบารุงสนับสนุนโดยตรงเพอ่ื ส่งกลบั เข้าสายการส่งกาลังหรือเพอ่ื สนับสนุนการแลกเปล่ียน โดยตรง (Direct Exchange) รวมทงั้ ทาการซอ่ มส่วนประกอบใหญ่ และส่วนประกอบยอ่ ยเพ่อื สง่ เข้าสายการสง่ กาลงั 10. การซ่อมบารุงระดับคลัง คือ การซ่อมบารุงโดยหน่วยซ่อมข้ันคลังของกรมฝ่ายยุทธบริการ ซึ่งจะ ทาการ ซ่อมใหญย่ ทุ โธปกรณท์ ่ีใช้งานไม่ได้ ให้กลบั คืนอยูใ่ นสภาพท่ีใช้งานได้อยา่ งสมบรู ณต์ ามคู่มือทางเทคนิค หรอื ทา การซอ่ มสร้างยุทโธปกรณ์ให้อยใู่ นสภาพเหมอื นของใหม่ 11. หน้าท่ี และความรับผิดชอบ การซอ่ มบารงุ ระดบั หน่วย เปน็ ความรบั ผิดชอบของผ้บู ังคับหน่วย หน่วยใช้ ยุทโธปกรณ์นน้ั จะต้องจดั ใหม้ กี ารดาเนินการ ดังน้ี 11.1 ทาการปรนนิบัติบารุงยุทโธปกรณ์ตามคู่มือการปรนนิบัติบารุง หรือคาส่ังการหล่อลื่นสาหรับ ยทุ โธปกรณ์ชนดิ นั้นโดยเคร่งครดั
ห น้ า | 5 11.2 ทาการซ่อมบารงุ ระดบั หน่วยตามทีก่ าหนดไว้ในคู่มอื ทางเทคนิค หรือตามที่สายยทุ ธบริการ กาหนดให้ กระทา 11.3 ถา้ ยุทโธปกรณ์ชารุด หรอื จาเป็นต้องปรนนบิ ัติบารงุ เกินกว่าทีก่ าหนดไว้ ใหส้ ง่ ไปรับการ ซอ่ ม หรอื รับ การปรนนิบัติบารุงทห่ี นว่ ยสนับสนนุ โดยตรง 11.4 ก่อนยุทโธปกรณ์ไปดาเนินการตาม ข้อ 11.3 ให้หน่วยใช้แจ้งให้หน่วยสนับสนุนโดยตรง ทราบก่อน เมือ่ ได้รบั แจง้ ใหส้ ่งยุทโธปกรณ์ไปทาการซ่อมแลว้ จึงจัดส่งไป ในกรณที ่ีหน่วยสนับสนุนโดยตรงสามารถส่งชุดซอ่ มมาซ่อมยังหน่วยใชไ้ ด้ กอ็ าจจะสง่ ชุดซ่อม มาทาการ ซอ่ มให้ ทั้งนีห้ น่วยสนบั สนุนโดยตรงจะต้องพิจารณาถงึ การประหยดั และสถานการณ์ด้วย 11.5 ก่อนส่งยุทโธปกรณ์ไปซ่อมที่หน่วยสนับสนนุ โดยตรง หน่วยใช้จะต้องทาการปรนนิบตั ิบารุง และทา การซ่อมบารุงในข้ันของตนให้เรยี บร้อยเสียก่อน 11.6 ชิ้นส่วนซ่อมตามอัตราพิกัด เมื่อใช้ไปแล้วให้ทาการเบิกทดแทนไปยังหน่วยสนับสนุนโดย ตรงทันที การเบิกให้ปฏิบตั ติ ามระเบียบกองทพั บก ว่าด้วยการสง่ กาลงั สงิ่ อปุ กรณป์ ระเภท 2 และ 4 11.7 การส่งยทุ โธปกรณ์ไปซ่อมให้ปฏบิ ัตติ ามระเบียบกองทพั บกว่าด้วยการ รับ-สง่ สงิ่ อปุ กรณ์ พ.ศ.2500 11.8 ในการซ่อมบารุงหรอื การปรนนิบัติบารุงขั้นหน่วยนนั้ พลประจายุทโธปกรณม์ หี น้าท่ชี ่วยเหลือ ชา่ งซ่อม ของหน่วย 11.9 ขอบเขตของการซอ่ มบารุง ใหป้ ฏิบตั ิตามคู่มือคาสงั่ หรือระเบยี บท่กี าหนดไวเ้ ป็น รายยุทโธปกรณ์ 12. การซ่อมบารุงสนับสนุนโดยตรง ผู้บังคับหน่วยซ่อมบารุงสนับสนุนโดยตรงมีหน้าท่ีรับผิดชอบการ ซ่อม บารุงยุทโธปกรณ์ที่ส่งมาซ่อมยังหน่วยของตนและมีหน้าที่รับผิดชอบในการส่งกาลังชิ้นส่วนซ่อม หน่วยซ่อม บารุงสนับสนุนโดยตรงต้องให้การสนับสนุนโดยใกลช้ ดิ ตอ่ หนว่ ยใชด้ ังนี้ 12.1 ทาการซอ่ มยทุ โธปกรณท์ ห่ี นว่ ยใช้ ในความรับผดิ ชอบส่งมาซอ่ ม 12.2 พจิ ารณาจัดชดุ ซอ่ มเคลื่อนทีไ่ ปทาการซ่อม ณ ทตี่ ้ังหนว่ ยใชถ้ ้าสามารถทาได้ และประหยัดกว่า การให้ หนว่ ยใช้ยุทโธปกรณ์มาซ่อมที่หน่วยสนบั สนนุ โดยตรง หรอื ซอ่ มโดยการแลกเปลีย่ นโดยตรง 12.3 ให้ความชว่ ยเหลือทางเทคนิคแกห่ น่วยใช้ เพ่อื ลดขอ้ ขดั ขอ้ ง และทาให้เครอื่ งมือปฏบิ ตั ิงาน ได้ดีขึน้ 12.4 ชว่ ยเหลือหน่วยใชใ้ นการหาสาเหตุขอ้ ขดั ข้องของยทุ โธปกรณ์ 12.5 ทาการก้ซู ่อมยุทโธปกรณ์ของหนว่ ยใช้ เมือ่ ไดร้ ับการร้องขอ 12.6 ทาการซอ่ มแบบยบุ รวม เมอื่ จาเปน็ และไดร้ ับอนมุ ัติแล้ว 12.7 สนับสนุนช้ินสว่ นซอ่ มตามอตั ราพิกดั และช้นิ ส่วนซอ่ มตามความตอ้ งการ ให้แก่หน่วยใช้ 12.8 ยุทโธปกรณ์ท่ีซ่อมเสรจ็ แล้วให้ส่งกลับคืนหน่วยใช้การสง่ คืนให้ปฏิบัตติ ามระเบยี บกองทพั บก ว่าด้วย การรับส่ิงอุปกรณ์ พ.ศ.2500 หรือส่งไปเป็นส่ิงอุปกรณ์สารองการซ่อม (Maintenance Float) ในกรณีที่ได้ทา การซอ่ ม โดยการแลกเปลยี่ นกบั หนว่ ยใช้ 12.9 รกั ษาระดบั การสะสมช้ินสว่ นซ่อมตามท่ไี ดร้ ับอนมุ ตั ิ (ASL) 12.10 ขอบเขตการซ่อมบารงุ ให้ปฏิบัติตามคมู่ อื ระเบียบหรอื คาสง่ั ทก่ี าหนดไว้เปน็ ราย ยทุ โธปกรณ์
ห น้ า | 6 13. การซอ่ มบารุงสนับสนนุ ทัว่ ไป ผู้บงั คับหน่วยซ่อมบารุงสนบั สนุนท่ัวไปมหี น้าทร่ี ับผิดชอบในการสนบั สนุน หนว่ ยซ่อมบารุงสนบั สนนุ โดยตรง ในเขตพ้นื ท่รี บั ผดิ ชอบขอบเขตหนา้ ที่ของหนว่ ยซ่อมบารุงสนบั สนุนท่ัวไป มี ดังนี้ 13.1 รับยุทโธปกรณ์เพ่ือทาการซอ่ ม หรือทาการซอ่ มใหญ่จากหน่วยซ่อมบารุงสนบั สนนุ โดยตรง จากตาบล รวบรวมหน่วยส่งกาลัง และหนว่ ยอืน่ ๆ ที่มีความรบั ผิดชอบในการซ่อมบารุง 13.2 ทาการซอ่ มใหญ่ 13.3 สง่ ยทุ โธปกรณ์ทีซ่ ่อมเสรจ็ แลว้ เข้าสายการส่งกาลงั 14. การซ่อมบารุงระดับคลัง ดาเนินการซ่อมบารุงโดยหน่วยที่มีหน้าท่ีซ่อมตามอัตราการจัดให้ทาการ ซ่อม บารุงระดบั คลัง โดยกรมฝ่ายยุทธบริการหรือกรมฝ่ายกิจการพิเศษน้นั เป็นผู้รับผิดชอบการซ่อม บารุงระดับ คลัง ให้ดาเนนิ การ ดงั น้ี 14.1 กรมฝ่ายยทุ ธบริการเป็นผู้พิจารณาว่ายุทโธปกรณ์ใดท่ีมีอยู่ในความรับผิดชอบของตน จะมี การซ่อม ระดับคลงั 14.2 ทาการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ให้ได้มาตรฐาน ตามที่ได้กาหนดไว้ในคู่มือประจายุทโธปกรณ์ นั้น หรือ ตามคู่มือของบรษิ ัทผผู้ ลติ 14.3 กรมฝ่ายยุทธบริการรับผิดชอบพิจารณากาหนดแนวความคิดในการซ่อมบารุงระดับคลังเม่ือ ได้ แจกจ่ายยุทโธปกรณ์น้ันให้หน่วยใช้ โดยกาหนดว่าจะตอ้ งทาการซอ่ มบารุงระดบั คลงั เมอ่ื ใด 14.4 ยุทโธปกรณท์ ่ีจะนามาซ่อมน้คี ่าซอ่ มไมค่ วรเกนิ 65% ของราคาจัดหาใหม่ 14.5 กรมฝ่ายยุทธบรกิ ารรับผิดชอบการวางแผนในรายละเอียด ได้แก่ จานวนยุทโธปกรณ์ท่ีจะ เขา้ รบั การ ซอ่ ม ความตอ้ งการชิ้นส่วนซ่อม ตลอดจนแผนการซอ่ มโดยต้องจัดทาให้แล้วเสร็จก่อนถึง กาหนดการซ่อมไม่ น้อยกว่า 3 ปี และให้เสนอความตอ้ งการในการซอ่ มเขา้ รับการจัดสรรงบประมาณ ล่วงหน้า 3 ปี 14.6 เม่ือซ่อมเสรจ็ แล้วใหส้ ่งขึน้ บัญชีคุมของกรมฝ่ายยทุ ธบริการ เพื่อการแจกจ่ายใหม่ 15. กรมฝ่ายยุทธบริการ และกรมฝา่ ยกิจการพเิ ศษ ท่ีรับผิดชอบส่งิ อุปกรณ์ ตามระเบยี บกองทัพบก ว่า ดว้ ย ความรับผดิ ชอบในสง่ิ อปุ กรณ์ พ.ศ.2518 มีหนา้ ท่ี และความรบั ผดิ ชอบในการซอ่ มบารงุ ดังนี้ 15.1 กาหนดหลกั การ และคาส่ัง หรือคาแนะนาทางเทคนิค ได้แก่ 15.1.1 แผนผังการแบ่งมอบการซ่อมบารงุ ระดบั ต่าง ๆ ( Maintenance Allocation Chart ) 15.1.2 คู่มือการใช้ยุทโธปกรณ์ 15.1.3 คู่มือทางเทคนิค 15.1.4 คาส่งั การหลอ่ ลน่ื 15.1.5 คาสงั่ การดดั แปลงยทุ โธปกรณ์ 15.1.6 คาแนะนาทางเทคนคิ เก่ยี วกับคณุ ลกั ษณะและการใช้เครอื่ งมอื เครือ่ งทดสอบและเคร่อื งอปุ กรณ์ 15.1.7 คาแนะนาเก่ยี วกับเทคนิคของการซอ่ มบารุง วิธีดาเนินการ และการวางผงั โรงงานซอ่ ม 15.1.8 บญั ชรี ายชือ่ ชิ้นสว่ นซ่อมท่ใี ช้ในการซ่อมบารงุ ทกุ ประเภท 15.2 ตรวจสอบทางเทคนคิ เกยี่ วกบั การซ่อมบารงุ ยทุ โธปกรณ์ของหน่วยต่าง ๆ
ห น้ า | 7 15.3 ให้ความชว่ ยเหลือและคาแนะนาแก่ผู้บังคบั หน่วยทหาร ในเรอื่ งทเ่ี กี่ยวกบั การซอ่ มบารงุ ระดับหนว่ ย การซอ่ มบารุงสนบั สนุนโดยตรงและการซอ่ มบารุงสนบั สนนุ ทั่วไป 15.4 ทาการตรวจการซ่อมบารงุ ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีระเบียบการซ่อมบารงุ กาหนดไว้ 16. ผู้บัญชาการกองพล รบั ผดิ ชอบการซ่อมบารุงยทุ โธปกรณ์ ของหนว่ ยซ่อมบารุงในกองพล 17. ผูบ้ ญั ชาการกองบญั ชาการช่วยรบ รบั ผิดชอบการซอ่ มบารุงของหน่วยซ่อมบารุงสนบั สนนุ ทัว่ ไป 18. แม่ทัพภาค รับผดิ ชอบการซ่อมบารงุ เป็นสว่ นรวมในกองทัพภาคของตน 19. กรมฝ่ายยุทธบรกิ าร รับผิดชอบทางเทคนิคทั้งปวง และการซ่อมบารุงระดับคลงั 20. ใหก้ รมสง่ กาลงั บารงุ ทหารบก รกั ษาการณ์ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบน้ี ตอนท่ี 2 ความรบั ผิดชอบในการซ่อมบารุง 21. กลา่ วทวั่ ไป ความรับผดิ ชอบในการซอ่ มบารงุ ยทุ โธปกรณ์ มดี ังตอ่ ไปนี้ 21.1 ความรบั ผิดชอบของผบู้ งั คับบัญชา ผู้บงั คับบญั ชาทุกชัน้ จะตอ้ งสอดสอ่ งดแู ลกวดขันจนเป็นท่ี แนใ่ จ ว่ายุทโธปกรณ์ซ่ึงอยู่ในความรับผิดชอบของผู้ใต้บังคับบัญชาได้รับการปรนนิบัติบารุง และซ่อมบารุงให้อยู่ใน สภาพใช้การได้ตลอดเวลา นอกจากน้ันยังจะต้องควบคุมดูแลให้การระวงั รกั ษา และการใช้ ยุทโธปกรณ์เป็นไป โดยถกู ต้องอีกด้วย 21.2 ความรับผิดชอบโดยตรง ความรับผิดชอบโดยตรง ซ่ึงแตกต่างไปจากความรับผิดชอบของ ผ้บู งั คับบญั ชานัน้ ไดแ้ กค่ วามรับผิดชอบของผู้ทไี่ ดร้ ับมอบโดยตรงแบง่ ออกได้ดังน้ี 21.2.1 ความรับผิดชอบส่วนบุคคล ได้แก่ความรับผิดชอบของผู้ท่ีได้รับมอบยุทโธปกรณ์ไว้ใช้ประจา และอยู่ภายใต้การระวังรักษาของผู้นัน้ โดยตรง 21.2.2 ความรับผิดชอบทางกากบั การ ได้แก่ความรับผิดชอบของผู้บังคับหน่วยซึ่งมีต่อยุทโธปกรณ์ที่ อยู่ในความดูแลของตน 22. การปรนนบิ ัตบิ ารงุ ยทุ โธปกรณ์ 22.1 ผู้บังคับบัญชาทุกชั้นจะต้องรับผิดชอบในการควบคุมดูแลให้ผู้ใต้บังคับบัญชาของตนปฏิบัติตาม คาแนะนา และระเบียบปฏิบัติอันเกี่ยวกับการปรนนิบัติบารุง โดยเคร่งครัด และจะต้องรับผิดชอบในการ ควบคุมกากับการให้ ผู้ใต้บังคับบัญชาของตนซ่ึงทาหน้าท่ีเป็นผู้ใช้ผู้สอน หรือพลประจายุทโธปกรณ์ ต่าง ๆ ได้รับการฝึกจนสามารถปรนนิบตั ิบารงุ ยุทโธปกรณ์ทไี่ ด้รบั มอบได้โดยถูกต้องเรียบร้อยกบั ต้องรับผิดชอบในการ กาหนดเวลาสาหรบั ทาการปรนนบิ ัตบิ ารงุ ใหเ้ พยี งพอแกค่ วามจาเปน็ อีกด้วย 22.2 เมอ่ื การปรนนิบัติบารุงยุทโธปกรณ์ไมอ่ าจกระทาได้โดยพลประจายุทโธปกรณ์น้ัน ๆ ด้วยเหตุใดก็ดี ผู้ บังคบั หนว่ ยจะต้องจัดเจ้าหน้าที่ผู้อน่ื หรอื ชุดอนื่ ใหท้ าการปรนนิบตั ิบารงุ ตามความจาเป็น 22.3 ผู้บังคับบัญชาทุกช้ันต้องรับผิดชอบ ในการป้องกันมิให้มีการใช้ยุทโธปกรณ์ในทางท่ีผิด เม่ือ ปรากฏ หลกั ฐานซึ่งแสดงว่ามกี ารใชย้ ุทโธปกรณใ์ นทางท่ีผดิ ข้นึ ตอ้ งดาเนินการสอบสวน และแก้ไขทันที การใช้ยุทโธปกรณ์ในทางที่ผิดทัว่ ไปมดี ังน้ี
ห น้ า | 8 22.3.1 ใช้ไม่ถูกตอ้ งเหมาะสมกบั คุณลักษณะ หรอื วธิ ีการใชย้ ุทโธปกรณ์ไม่ระมัดระวังใช้ หรือปฏบิ ัติการ โดยประมาท 22.3.2 ขาดการหลอ่ ลื่น หลอ่ ลนื่ มากเกนิ ไปหรือใช้วัสดุหล่อลื่นทีท่ างราชการมิได้กาหนด ให้ใช้ 22.3.3 ไมต่ รวจสภาพการซอ่ มบารุงยุทโธปกรณใ์ ห้พอเพยี งแก่ความจาเปน็ 22.3.4 บกพร่องในการซอ่ มบารงุ รวมท้งั ขาดการบริการ และการปรับที่ถกู ต้อง 22.3.5 ให้ผู้ทีป่ ราศจากคุณวุฒิทาการซอ่ มแก้ และใช้เคร่ืองมือ หรือเครอื่ งอุปกรณ์ในการซ่อมไมถ่ ูกต้อง เหมาะสม 22.3.6 ไม่มอบหมายความรบั ผิดชอบโดยตรงในการซ่อมบารุงยทุ โธปกรณ์ 23. วธิ กี ารปฏิบตั ติ ามลาดบั ขั้นการซอ่ มบารุง 23.1 การปฏิบัติการซ่อมบารงุ ขัน้ ท่ี 1 23.1.1 ปฏบิ ตั ใิ นหนว่ ยระดับหมวด โดยผ้ใู ช้ (พลขับ และพลประจารถ) 23.1.2 ทาการปรนนบิ ัติบารงุ ประจาวนั และประจาสัปดาห์ 23.1.3 ใชต้ ารางการปบ.การตรวจ และการบรกิ ารในคู่มือพลประจายุทโธปกรณ์แต่ละชนดิ ร่วมกบั แบบ พมิ พ์ สพ.110 (ทบ.468-310) บตั รการใชร้ ถประจาวนั เปน็ แนวทางในการปรนนิบตั บิ ารุง 23.2 การปฏบิ ตั กิ ารซ่อมบารงุ ขั้นที่ 2 ระดับกองร้อย 23.2.1 ทาการปรนนิบัติบารุงโดยใช้เครื่องมือประจาหน่วย ชิ้นส่วนซ่อมและอุปกรณ์ที่มีอยู่ตามอัตรา ของหนว่ ย 23.2.2 ปรนนิบัติบารุง 1,000 ไมล์(ประจาเดือน)สาหรับยานยนต์ล้อ และ 250 ไมล์ (ประจาเดือน) สาหรบั ยานยนตส์ ายพาน ตามทกี่ าหนดไวใ้ นตารางการปบ.การตรวจและการบรกิ ารในคูม่ อื -20 ทาการเปล่ียน ช้ินส่วนซ่อมย่อย การปรับต่าง ๆ และการซ่อมแก้ย่อย การกู้รถในสนามและ การส่งกลับ ตลอดจนกากับดูแล พลขับหรอื พลประจายุทโธปกรณใ์ นการปรนนบิ ัติบารุงขั้นที่ 1 23.2.3 ใช้แบบพิมพ์ในการปรนนบิ ัตบิ ารุงดงั น้ี - แบบพิมพ์ สพ.460 (ทบ.468-360) เปน็ แบบพมิ พก์ าหนดการปรนนบิ ตั บิ ารงุ ยุทธภัณฑ์ - แบบพิมพ์ สพ.461 (ทบ.468-361) เปน็ แบบพมิ พ์รายการ ปบ. และตรวจสภาพทางเทคนิคของ ยานยนต์ล้อ - แบบพมิ พ์ สพ.462 (ทบ.468-362) เป็นแบบพิมพ์รายการ ปบ. และตรวจสภาพทางเทคนิคของ ยานยนตส์ ายพาน - ซองประวัติยทุ ธภณั ฑ์ สพ.478 (ทบ.468-378) 23.3 การปฏบิ ัติการซอ่ มบารุงข้นั ที่ 2 ระดบั กองพัน 23.3.1 ทาการปรนนิบัติบารุงโดยใช้ชุดเคร่ืองมือประจาหน่วย ช้ินส่วนซ่อม และอุปกรณ์ที่มีอยู่ตาม อัตราของหน่วย และใชแ้ บบพิมพเ์ ชน่ เดยี วกับทกี่ าหนดไว้ในข้อ 23.2.3 23.3.2 ปรนนบิ ัติบารงุ ประจา 6,000 ไมล์ (6 เดอื น) สาหรับรถลอ้ และ 750 ไมล์ (3 เดอื น) สาหรบั ยาน ยนต์สายพาน ตามท่กี าหนดไว้ในตารางการปบ.การตรวจและการบริการในคู่มือ -20 ทาการเปลี่ยนช้ินส่วนซ่อม การปรบั ต่าง ๆ การซอ่ มแก้ การกูร้ ถในสนาม การส่งกลับ และงานพเิ ศษที่กองร้อยขอรบั การสนบั สนนุ
ห น้ า | 9 23.4 การปฏิบัตกิ ารซอ่ มบารงุ ขนั้ ที่ 3 23.4.1 ปฏิบัตกิ ารซ่อมโดยโรงซ่อมเคลื่อนที่ของหน่วยสรรพาวุธ และสะสมชิ้นส่วนซ่อม ตามท่กี าหนด ไว้ และตามสถิติการใช้ 23.4.2 ทาการซ่อมแก้ ยุทโธปกรณ์ท่ีส่งซ่อม เพื่อคืนให้หน่วยใช้ เปลี่ยนชิ้นส่วนใหญ่ และช้ินส่วนย่อย จัดหน่วยตรวจเมอ่ื ผู้บังคับบัญชาต้องการความสนับสนุน และจ่ายชิ้นส่วนซ่อมให้กับหน่วยซ่อมข้ันตา่ กว่า ทา การก้รู ถในสนาม ตลอดจนการส่งกลับภายในเขตจากดั 23.5 การปฏิบตั ิการซ่อมบารงุ ขั้นที่ 4 23.5.1 ปฏิบัติการซ่อมโดยโรงซ่อมกึ่งเคลื่อนที่ และสะสมชิ้นส่วนซ่อมของยุทโธปกรณ์ทุกชนิดสาหรับ จ่ายให้หน่วยซอ่ มขน้ั ต่ากวา่ 23.5.2 ทาการซ่อมชิ้นส่วนย่อย ส่วนประกอบใหญ่ เพ่ือส่งคืนให้หน่วยใช้ตามสายการส่ง กาลัง หรือ เพอื่ ส่งคนื เข้าคลงั และให้การสนับสนนุ หน่วยซ่อมข้นั ตา่ กวา่ โดยใกลช้ ิด 23.6 การปฏิบัตกิ ารซ่อมบารุงข้ันที่ 5 23.6.1 ปฏิบัติการซอ่ มโดยโรงงานประจาที่ในเขตภายในโดยการซ่อมสร้างยุทโธปกรณ์ และสนบั สนุน สายการส่งกาลังโดยส่งเขา้ คงคลงั 23.6.2 จดั หาช้นิ สว่ นซ่อม และยทุ โธปกรณเ์ พอ่ื จ่ายใหก้ ับหน่วยซ่อมขนั้ ตา่ กว่าใหม้ ีใช้อยู่ ตลอดเวลา ตอนท่ี 3 ความรบั ผดิ ชอบทางเทคนคิ 24. กล่าวทั่วไป กรมสรรพาวธุ ทหารบกมีหนา้ ทรี่ บั ผิดชอบทางเทคนิคเก่ียวกบั การซอ่ มบารงุ บารงุ ยุทโธปกรณ์ สายสรรพาวธุ 25. หลักการทางเทคนคิ 25.1 กรมสรรพาวุธทหารบก มีหน้าท่ีกาหนดการทางเทคนิคเก่ียวกับ การซ่อมบารุงตามที่ได้ รับมอบ อานาจจากกองทพั บก ซึ่งได้แก่การจัดทา 25.1.1 คมู่ อื ทางเทคนคิ 25.1.2 คาส่ังการใชน้ า้ มนั หล่อล่นื 25.1.3 คาสัง่ ดัดแปลงแกไ้ ขยทุ โธปกรณ์ 25.1.4 คาแนะนาทางเทคนิคเกี่ยวกับเครอ่ื งมือ เครอ่ื งทดสอบ และเคร่อื งอปุ กรณใ์ นโรงซ่อม 25.1.5 คาแนะนาในการใช้ เครือ่ งมือ เครอื่ งทดสอบ และเครือ่ งอุปกรณ์ในโรงซอ่ ม 25.1.6 คาแนะนาเกย่ี วกบั เทคนคิ ของการซอ่ มบารุง วธิ ดี าเนนิ การ และการวางผงั โรงซ่อม 25.1.7 บญั ชรี ายชือ่ ช้นิ อะไหล่ที่ใช้ในการซ่อมบารุงทกุ ประเภท และทุกขน้ั 25.2 การปฏิบัติตามหลักการทางเทคนิคที่กรมสรรพาวุธทหารบกได้ออกไว้แล้ว เป็นหน้าที่ และความ รับผิดชอบของผู้บังคับหน่วยทุกขั้นที่เกี่ยวข้องกับการซ่อมบารุง ท่ีจะต้องควบคุมดูแลให้ผู้ใต้ บังคับบัญชา ปฏิบัตติ ามโดยเคร่งครดั และถูกตอ้ ง
ห น้ า | 10 25.2.1 คาสั่งการหล่อลน่ื และคู่มือทางเทคนิคเกี่ยวกับการใช้ยุทโธปกรณ์นน้ั มีอานาจบงั คับเหนอื คาส่ัง หรอื คาแนะนาใด ๆ ท้ังสิ้น ถ้าสามารถปฏบิ ตั ิไดใ้ ห้ปิดหรอื เก็บไวก้ ับยุทโธปกรณ์น้ัน ๆ หรือ เกบ็ ไว้ ณ ท่ี ๆ จะ ปฏิบัติการซอ่ มบารงุ ในหน่วยโดยให้สามารถหยบิ ใชไ้ ดท้ ันที 25.2.2 เจ้าหน้าที่ผูท้ าการตรวจสภาพจะต้องตรวจคาสงั่ หลอ่ ล่นื และคู่มอื ฯ เหลา่ นว้ี ่าหน่วยมใี ช้อยู่ครบ ครันเพียงใด และได้ใชค้ าส่ังหล่อลนื่ กับ ค่มู อื ทางเทคนิคตามวตั ถุประสงค์หรอื ไมแ่ ลว้ ให้บันทึกลงในรายงานผล การตรวจสภาพด้วย 25.2.3 นอกจากนั้นผู้บังคับหน่วยทุกระดับ อาจกาหนดวิธีปฏิบัติปลีกย่อยเพื่อให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ หรือสภาพของหน่วยแต่ละหน่วยขน้ึ ใช้ เป็นการภายในได้แตท่ ้งั น้ีต้องไม่ขัดต่อหลกั การทางเทคนิค ซ่ึงกรมสรรพาวุธทหารบกไดก้ าหนดไว้ 26. การกากบั ดแู ลทางเทคนคิ 26.1 เจ้ากรมสรรพาวุธทหารบก นอกจากจะเป็นผู้รับผิดชอบในการซ่อมบารุงประจาท่ีแล้ว ยังต้อง รบั ผิดชอบในการตรวจสอบทางเทคนิคเก่ียวกบั การซ่อมบารงุ ยุทโธปกรณ์ของหน่วยต่าง ๆ ใน กองทพั บกด้วย การตรวจสอบทางเทคนิคของการซ่อมบารุงน้ีได้แก่ การวางมาตรฐานเก่ียวกับสภาพใช้ การของยุทโธปกรณ์ ความส้ินเปลืองในการซอ่ ม ระเบยี บปฏบิ ัติในการตรวจสภาพท่ีแสดงใหเ้ หน็ ผลของ การซ่อมบารุงประจาหนว่ ย ในสนามประจาท่ี และสภาพใช้การของยุทโธปกรณไ์ ด้โดยแนช่ ดั 26.2 เจ้ากรมสรรพาวุธทหารบกจะต้องให้ความช่วยเหลือ และคาแนะนาแก่ผู้บังคับหน่วยทหาร ในเรื่อง เกยี่ วกบั การซ่อมบารงุ ประจาหนว่ ย และในสนาม 26.3 เจ้ากรมสรรพาวุธทหารบก หรือผู้แทน จะต้องออกตรวจเพ่ือให้ความช่วยเหลือแนะนาแก่ หน่วย สรรพาวุธซ่อมบารุงในสนาม โดยความมุ่งหมายที่จะทาให้หน่วยสรรพาวุธซ่อมบารุงในสนาม สามารถ ดาเนนิ การตามภารกจิ โดยมปี ระสิทธิภาพสงู ทส่ี ดุ ทัง้ น้ใี หก้ ระทาอยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครงั้ 26.4 ให้เจ้ากรมสรรพาวุธทหารบก หรือผู้แทนไปตรวจเยีย่ มหน่วยต่าง ๆ ตามความจาเป็นให้ ทราบสภาพ ยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ สภาพการปรนนิบัติบารุงสภาพการซ่อมบารุง และสภาพการส่ง กาลังในส่วนที่ เก่ียวข้องกับยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ ทั้งน้ีให้หน่วยต่าง ๆ ให้ความร่วมมือ และช้ีแจง ข้อเท็จจริงในเรื่องที่ เกยี่ วขอ้ ง
ห น้ า | 11 ตอนที่ 4 การตรวจสภาพยุทโธปกรณ์ และการรายงานผลการตรวจ 27. กลา่ วท่วั ไป ผู้บังคับหน่วยทุกขั้นมีอานาจทาการตรวจสภาพยุทโธปกรณ์ของหน่วยภายใต้การบังคับบัญชา และใช้ผล การตรวจสภาพนี้เปน็ เครื่องวัดสภาพอันแท้จริงของยุทโธปกรณ์ และประสิทธภิ าพในการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ ในหน่วยใต้บังคับบญั ชาของตน การตรวจสภาพซ่ึงทุกหน่วยต้องได้รับการตรวจอย่างเป็นทางการและต้องมี รายงานผลการตรวจเปน็ ลายลักษณอ์ ักษรตามทก่ี องทพั บกไดก้ าหนดไว้โดยละเอยี ดน้นั มอี ยู่ 2 ประเภท คอื 27.1 การตรวจสภาพการซอ่ มบารุงยุทโธปกรณส์ ายสรรพาวุธโดยผู้บังคับบญั ชา 27.2 การตรวจสภาพเฉพาะอย่างยุทโธปกรณส์ ายสรรพาวุธ การตรวจสภาพการซ่อมบารุงยุทโธปกรณส์ ายสรรพาวุธโดยผ้บู งั คบั บัญชา 27.1.1 การตรวจสภาพการซ่อมบารุง ฯ โดยผู้บังคับบัญชาเป็นการตรวจ เพ่ือให้เป็น ท่ีแน่ใจว่าการใช้ ยทุ โธปกรณ์เป็นไปในทางท่ีถูกที่ควร การใช้ส่ิงอุปกรณ์เป็นไปโดยประหยัด และการ ดาเนินการใด ๆ เก่ียวกับ ยุทโธปกรณ์และส่ิงอุปกรณ์ทั้งปวงเป็นไปตามหลักการซ่อมบารุงและส่งกาลัง ท่ีกองทัพบกได้กาหนดไว้ใน ระเบยี บ คาส่ัง คาแนะนา คู่มือและแบบธรรมเนียมต่าง ๆ กับเพ่อื ประเมินคา่ ความพร้อมรบของหนว่ ย 27.1.2 การตรวจสภาพการซอ่ มบารุง ฯ โดยผู้บังคบั บัญชาน้นั ให้กระทาตามคาสัง่ กองทัพบก (คาสั่ง ชแ้ี จง) ที่ 13/1692 ลง 6 ก.พ.04 เรื่อง การตรวจสภาพการซอ่ มบารุง ฯ โดยผ้บู ังคบั บญั ชา การตรวจสภาพเฉพาะอยา่ งยทุ โธปกรณ์สายสรรพาวุธ 27.2.1 การตรวจสภาพเฉพาะอย่าง ฯ มีความมุ่งหมายให้ผู้บังคับบัญชาใช้เป็นเคร่ืองตรวจสอบความ เพยี งพอ และประสทิ ธิภาพของ การซ่อมบารุงประจาหนว่ ย 27.2.2 การตรวจสภาพเฉพาะอยา่ ง ฯ นั้น ให้กระทาตามคาส่ังกองทัพบก (คาช้แี จง) ท่ี 19/15790 ลง 13 ก.ค. 03 เร่ือง การตรวจสภาพเฉพาะอย่างยทุ โธปกรณส์ ายสรรพาวุธ 27.2.3 ผู้บงั คับบญั ชาชัน้ ผบ.นขต.ทบ. และ ผ้บู งั คบั บัญชาชนั้ ผบ.พล หรอื เทยี บเท่าเปน็ ผู้รับผิดชอบใน การจัดให้มีการตรวจสภาพเฉพาะอย่างแก่ยุทโธปกรณ์ และหน่วยภายใต้การบังคับบัญชาของตนตาม กาหนดการท่ีบง่ ไวใ้ นคาสงั่ กองทัพบก 27.2.4 การตรวจสภาพเฉพาะอย่าง ฯ น้ัน ต้องกระทาโดยเจ้าหน้าที่ซ่ึงมีความรู้ความสามารถในทาง เทคนคิ ของยุทโธปกรณ์และการซ่อมบารุง โดยมีนายทหารช้ันสัญญาบัตร ซ่ึงมีคณุ วุฒิเหมาะสมเป็นผู้กากับ การ
ห น้ า | 12 28. นอกจากการตรวจสภาพดังกล่าวแลว้ ในข้อ 27.1,27.2 น้ัน ยังมกี ารตรวจสภาพอีกประเภทหนงึ่ ซ่งึ แมว้ ่า กองทพั บกยงั ไม่กาหนดวธิ ีการไวโ้ ดยแนน่ อน แต่ผบู้ งั คบั หนว่ ยทกุ ระดับจะตอ้ งกระทาเปน็ ประจาคอื การตรวจ สภาพโดยผบู้ ังคับหน่วย ซึง่ มคี วามมุ่งหมายทจ่ี ะตรวจสอบสภาพความพร้อมรบของ ยุทโธปกรณส์ ายสรรพาวุธ อีกท้ังเป็นการตรวจสภาพการใช้ การปรนนิบัติบารุงและการซ่อมบารุง ซึ่ง ผู้บังคับหน่วยต้องรับผิดชอบ ใน ฐานะของผู้บงั คบั บญั ชาตามท่ีกาหนดไว้ในตอนท่ี 3 แห่งคาสั่งนีว้ า่ เป็นไปโดยถูกต้อง และสมความมุ่งหมายของ ทางราชการ วธิ ีปฏิบตั ิการตรวจสภาพโดยผบู้ ังคับหน่วยโดยละเอยี ดน้ัน ให้เปน็ อภิสิทธข์ิ องผูบ้ ังคับหนว่ ยน้ัน ๆ ที่จะกาหนดขนึ้ ตามความเหมาะสม ส่วนการตรวจสภาพทางเทคนิคน้นั ไดแ้ ก่การตรวจสภาพ ซ่ึงหน่วยซ่อมบารุงกระทาต่อ ยุทโธปกรณ์ ท่ีหน่วยทหารนามาส่งซ่อม หรือในขณะท่ีหน่วยซ่อมบารุงในสนามส่งชุดซ่อมออกไปปฏิบัติงาน ณ ท่ีต้ังของ หนว่ ยรับการสนบั สนนุ ทัง้ น้ี เพือ่ ใหส้ ามารถประมาณความตอ้ งการ และวางแผนการซ่อมบารุงไดถ้ ูกต้อง 29. การรายงานผลการตรวจสภาพ และการตรวจเยย่ี ม 29.1 การรายงานผลการตรวจสภาพนั้น ต้องพยายามกระทาให้สั้นและชัดเจน และให้ผู้ทาการตรวจ เป็น ผู้ทารายงานเสนอให้ผูบ้ งั คบั บัญชาชนั้ เหนอื ต่อข้ึนไปจากหนว่ ยรับตรวจทราบ เพ่ืออานวยการแก้ไขข้อบกพร่อง ต่างๆ ท่ีมีอยู่ การรายงานผลการตรวจสภาพเฉพาะอย่าง ฯ และการตรวจสภาพการซ่อมบารุง ฯ โดย ผ้บู งั คับบญั ชา นนั้ ให้ปฏิบตั ิตามคาส่ังกองทัพบกว่าดว้ ยการตรวจสภาพน้ัน ๆ 29.2 ผู้บังคับหนว่ ยทกุ หน่วย เป็นผูด้ าเนินการตามความจาเปน็ เพ่ือใหเ้ ป็นทแ่ี น่นอนว่าไดม้ กี าร ตรวจสภาพ ตามทกี่ ลา่ วไวแ้ ลว้ นน้ั ใหห้ นว่ ยที่ทาการตรวจสภาพเกบ็ สาเนารายงานผลการตรวจแต่ละ ประเภท ครัง้ สดุ ท้าย ทไ่ี ดก้ ระทาตอ่ หนว่ ยตา่ ง ๆ ไว้ 1 ฉบับเสมอ 29.3 เมือ่ เจา้ กรมสรรพาวุธทหารบกหรือผู้แทนได้ตรวจเยี่ยมหน่วยตา่ ง ๆ ตามทีไ่ ด้กล่าวมาในข้อ 26.5 แล้ว ให้รายงานผลการตรวจเยี่ยมพร้อมด้วยข้อเสนอแนะขึ้น 3 ชุด นาเสนอ ทบ. 1 ชุด ส่งให้หน่วยรับการตรวจ ทราบ 1 ชุด เก็บไว้ทก่ี รมสรรพาวุธทหารบก 1 ชดุ 30. การป้องกนั การตรวจซา้ 30.1 ผบ.นขต.ทบ. และผู้บังคับบัญชาชั้น ผบ.พล หรือเทียบเท่า และเจ้ากรมสรรพาวุธทหารบก จะต้อง พจิ ารณาดาเนนิ การ ให้มกี ารตรวจสภาพภายในขอบเขตของการตรวจสภาพแต่ละประเภทดัง ได้กล่าวไว้แลว้ 30.2 ผู้บงั คับบัญชาที่ทาการตรวจสภาพการซ่อมบารุงฯ โดยผู้บังคบั บัญชาจะต้องพิจารณา และนา เอาผล ของการตรวจสภาพเฉพาะอย่าง ฯ ที่ได้กระทาข้ึนเมื่อก่อนหน้าในระยะเวลาอันใกล้พอสมควร มาใช้ในการ กาหนดจุดอันควรสนใจเปน็ พเิ ศษในการตรวจสภาพการซ่อมบารุงโดยผู้บงั คบั บญั ชาทตี่ น จะกระทาขน้ึ 31. การรายงานข้อบกพร่องของยุทโธปกรณ์สายสรรพาวธุ 31.1 ในกรณีท่ีเกดิ การบกพรอ่ งข้ึนในยุทโธปกรณ์สายสรรพาวธุ อันเนือ่ งมาจากความไม่ เหมาะสมในการ ออกแบบ วัสดุที่ใช้ในการผลิต หรอื ฝีมอื ช่าง การสึกหรือการผุเป่ือยมากผิดปกติหรือ อาจจะเกิดอนั ตรายอย่าง ร้ายแรงขึ้นแก่บุคคล และทรัพย์สินให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องในการจัดหา การใช้การ ซ่อมบารุง การเก็บรักษา และ แจกจา่ ย ทารายงานขอ้ บกพร่องเสนอตามสายบรกิ ารสรรพาวุธ จนถึง กรมสรรพาวุธทหารบกโดยเร็วทสี่ ดุ 31.2 ให้กรมสรรพาวุธทหารบกกาหนดวิธีการรายงานข้อบกพร่องของยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ ซ่ึง จาเป็นต้องดดั แปลงแกไ้ ขข้นึ เพื่อใหผ้ ู้ทเ่ี ก่ียวขอ้ งสามารถรายงานไดโ้ ดยถูกตอ้ ง
ห น้ า | 13 31.3 ในการตรวจสภาพการซ่อมบารุงฯ โดยผู้บังคับบัญชาและการตรวจสภาพเฉพาะอย่าง ฯ เจ้าหน้าที่ ผู้ตรวจจะต้องทดสอบความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ในหน่วยรับตรวจ และหน่วยสนับสนุน เก่ียวแก่ การ รายงานขอ้ บกพร่องยุทโธปกรณ์สายสรรพาวธุ ด้วย ตอนท่ี 5 การดดั แปลงแก้ไขยุทโธปกรณ์ 32. ความมุ่งหมาย ยทุ โธปกรณ์สายสรรพาวธุ ท่ีใช้ในกองทัพบกน้นั อาจมคี วามจาเป็นที่จะต้องทาการดัดแปลงแกไ้ ข เพือ่ เพ่ิม ความปลอดภัยแก่ผู้ใช้ ลดงานซ่อมบารงุ หรอื เพอื่ เพ่ิมประสทิ ธิภาพในการรบหรือการใช้งาน 33.การดัดแปลงแกไ้ ขยทุ โธปกรณ์นนั้ ใหท้ าตามคาสั่งกองทพั บกวา่ ด้วยการดดั แปลงแก้ไขยทุ โธปกรณ์ นั้นๆ ซ่ึง กองทัพบกจะได้ออกคาสั่งเป็นครั้งคราวตามความจาเป็น โดยกาหนดยุทโธปกรณ์ ซ่ึงจะต้อง ทาการดัดแปลง แก้ไข ส่วนท่ีจะต้องทาการดัดแปลงแก้ไข ชิ้นส่วนท่ีจะต้องทาการดัดแปลงแก้ไข และ ผู้รับผิดชอบในการ ดัดแปลงแก้ไข รวมท้ังวิธีดัดแปลงแก้ไขโดยละเอียด และเม่ือมีคาส่ังให้ดัดแปลง แก้ไขยุทโธปกรณ์แล้ว ผู้มี หนา้ ที่รับผิดชอบในการดดั แปลงแก้ไขตอ้ งดาเนินการตามคาสงั่ ทันทจี ะละเว้น หรอื เพิกเฉยเสยี มไิ ด้ 34.หา้ มมใิ ห้ทาการดัดแปลงแก้ไขยทุ โธปกรณ์โดยมิได้รบั คาส่ังหรอื ผดิ แผกนอกเหนือไปจากแบบแผน ในคาสง่ั ท่ี เกีย่ วขอ้ ง ในกรณีท่ีพิจารณาเห็นว่าถ้าหากฝืนใชย้ ุทโธปกรณน์ ั้น ๆ ตอ่ ไปแลว้ อาจเกดิ อันตราย อย่างรา้ ยแรงแก่ ชวี ิต และทรัพย์สินแลว้ ให้งดใช้การยุทโธปกรณ์นั้นทันที แล้วรีบรายงานไปตามสาย การบังคับบัญชา พร้อม ทั้งขอ้ บกพร่องของยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ 35. การดดั แปลงแกไ้ ขยุทโธปกรณ์จดั ตามลาดบั ความเร่งด่วนออกเปน็ 2 ประเภท คอื 1. ประเภทดัดแปลงแก้ไขทันที และ 2. ประเภทปกติ 35.1 ประเภทดัดแปลงแก้ไขทันที เม่ือมีคาสั่งให้ดดั แปลงแก้ไขทันที ผู้รับผิดชอบต้องดาเนินการ ดัดแปลง แก้ไขยุทโธปกรณ์ในหน่วยใช้ทันทีก่อนที่จะใช้งานยุทโธปกรณ์ตอ่ ไป สาหรับยุทโธปกรณ์ที่เก็บรักษาไวค้ งคลัง น้นั ผู้รับผิดชอบในการเก็บรกั ษา และแจกจ่าย ต้องจัดการให้ยุทโธปกรณน์ ้ันได้รบั การดัดแปลงแก้ไขกอ่ น ท่จี ะ จา่ ยให้หน่วยทหาร ทั้งน้ีนอกจากคาส่ังดัดแปลงแก้ไขเฉพาะยุทโธปกรณ์แต่ละอย่างจะได้กาหนดไว้เป็นอย่าง อื่น 35.2 ประเภทปกติ การดดั แปลงประเภทน้ี ใหผ้ ู้รบั ผิดชอบดาเนินการดดั แปลงแกไ้ ขโดยเร็วทีส่ ุด เทา่ ทจ่ี ะทา ได้ ทั้งนโ้ี ดยไม่ทาให้เสียผลในการฝึกหรอื การปฏิบัติตามภารกิจของหน่วยทหาร ส่วน ยุทโธปกรณ์ท่ีบรรจุหีบ ห่อเพ่อื การเกบ็ รกั ษาไวใ้ นคลงั สรรพาวุธนัน้ ไมต่ อ้ งนามาดดั แปลงแก้ไข ทง้ั นี้ นอกจากคาส่งั ดัดแปลงแก้ไขเฉพาะ ยทุ โธปกรณ์แต่ละอย่างจะได้กาหนดไวเ้ ป็นอย่างอื่น 35.3 ให้กรมสรรพาวุธทหารบก รับผิดชอบในการตรวจสอบ และติดตามผลการดัดแปลงแก้ไข ให้เป็นไป ตามคาส่งั โดยถูกตอ้ ง และตามกาหนดเวลา 36. การเสนอแนะใหม้ กี ารดัดแปลงแก้ไข
ห น้ า | 14 36.1 ผมู้ ีหนา้ ท่เี กี่ยวกบั ยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ มสี ิทธิ์ท่จี ะเสนอแนะใหม้ ีการดดั แปลงแก้ไข ยุทโธปกรณ์ เพอ่ื ความมุ่งหมายดงั ไดก้ ลา่ วมาแลว้ ขา้ งต้น 36.2 ให้กรมสรรพาวุธทหารบกกาหนดวิธกี ารรายงานข้อบกพร่องของยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ พร้อมท้ัง สงิ่ ท่ีควรดดั แปลงแกไ้ ขข้ึน เพอ่ื ให้หน่วยต่าง ๆ ยดึ ถือเปน็ หลกั ปฏบิ ตั ิตอ่ ไป 36.3 เจ้ากรมสรรพาวุธทหารบกมีหน้าที่ พิจารณาข้อเสนอแนะในการดัดแปลงแก้ไขยุทโธปกรณ์ และ ดาเนินการทางเทคนิคอันเหมาะสม เพื่อให้บรรลุผลสมความม่งุ หมายดงั กลา่ วมาแลว้ *************
ห น้ า | 15 ตารางประมาณเวลาปฏบิ ัตงิ านซอ่ มบารงุ ยทุ โธปกรณ์ ทบ.สหรัฐ การบริการหรือการซ่อม ยานยนต์สายพาน ยานยนต์ลอ้ 15 นาที (พลขับ) บรกิ ารก่อนใช้งาน 30 นาที (พลประจารถ) 20 นาที (พลขบั ) 5 นาที (พลขับ) บรกิ ารหลังใชง้ าน 1 ชม (พลประจารถ) 1 ชม. (พลขับ) 1-2 วนั (ชา่ ง 1 พลขับ 1) บริการขณะหยดุ พัก 15 นาที (พลประจารถ) 1-2 วนั (ช่าง 1 พลขบั 1) 1-2 วัน (ชา่ ง 1 พลขับ 2) บรกิ ารประจาสัปดาห์ 4 ชม. (พลประจารถ) - 3 ชม. (ช่าง 2) บรกิ ารประจาเดอื น 1 วนั (ชา่ ง 1 พลประจารถ 2) - 30 นาที (ชา่ ง 2) บริการประจา 3 เดือน 1-1 1/2 วนั (ช่าง 1 พลประจารถ 2) - บริการประจา 6 เดือน - - 15 นาที (พลขบั ) การยกเคร่ืองยนต์ออกจากรถ 4 ชม. (ชา่ ง 1 พลประจารถ 2) - - ถอดและเปลีย่ นเครื่องยนต์ - ถอดเปลยี่ นเฟอื งขับขัน้ สดุ ทา้ ย 6 ชม. (ชา่ ง 1 พลประจารถ 2) ถอดเปล่ียนเคร่ืองผ่อนแรง 1 ชม. (พลประจารถ) สะเทอื น ถอดเปลย่ี นคานรบั แรงบดิ 1 ชม. (พลประจารถ) ถอดเปลย่ี นลอ้ กดสายพาน 1 ชม. (พลประจารถ) ถอดเปล่ียนลอ้ - ถอดเปลยี่ นสายพาน 1 ขา้ ง 6 ชม. (พลประจารถ) บรกิ ารสายพาน 1 ขา้ ง 30 นาที (พลประจารถ) สรปุ 1. การซอ่ มบารุงมีความมงุ่ หมายเพอ่ื รกั ษายุทโธปกรณท์ ่ชี ารุด ให้กลับคืนสูส่ ภาพใช้การ ได้รวมถึงการตรวจสภาพ การทดสอบ การบริการ การคัดแยกสภาพใช้การได้ การ ซอ่ มแก้ การซ่อมสร้าง การดัดแปลงแก้ไขและการซ่อมคนื สภาพ 2. หน่วยซ่อมบารงุ ขนั้ สงู สนบั สนุนหนว่ ยซอ่ มบารุงข้ันตา่ 3. การซ่อมบารุงเปน็ ความรบั ผิดชอบของผู้บงั คับบญั ชา 4. ถา้ การซอ่ มบารุงระดบั หนว่ ยเลว ระบบการซ่อมบารงุ ของกองทัพบกก็ล้มเหลว 5. การซ่อมบารงุ ขน้ั ท่ี 1 นับวา่ สาคญั ทีส่ ุดกว่าทุกขนั้ *************
การซอ่ มบารงุ การซอ่ มบารุงระดับหน่วย สรุประบบซ่อมบารุง ข้นั ที่ 12 ที่ไหน การซ่อมบารุงสนบั สนนุ ใคร ท่ีตง้ั ยุทโธปกรณ์ หนว่ ยใช้ 3 ผู้ใช้, พลประจา หน่วยใช้ (ผู้รบั ผิดชอบ) ยุทโธปกรณ์ เคลอื่ นที่ อะไร ทาการ ปรนนิบัติบารุงเพ่ือป้องกัน ซ่อมแก้เล็ก ผู้บญั ชาการกองพล ๆ นอ้ ย ๆ และดแู ลรักษาไว้ให้พร้อมรบ อยา่ งไร - ทาการปรนนิบัติบารุงตามท่ีกาหนดไว้ในคู่มือ ซอ่ มแก้ยทุ ธภณั ฑ์หลกั ทางเทคนิคของยุทโธปกรณน์ นั้ ๆ หนว่ ยใช้ - ทาการซอ่ มบารุงระดับหน่วย - ทาการซ่อมแก้ใหห้ นว่ - ดาเนินการส่งซอ่ มไปยังหนว่ ยเหนอื และแจง้ ให้ - จัดชุดซ่อมเคล่ือนท่ีไ หน่วยสนับสนนุ โดยตรงทราบ ใช้ - ทาการปรนนิบตั ิบารุงก่อนส่งซ่อม - ใหค้ วามช่วยเหลอื ทาง - รักษาระดบั ชิน้ ส่วนซ่อมตามอัตราพกิ ัด - ช่วยเหลอื หน่วยคน้ หา - ทาการกซู้ ่อมเมอ่ื หน่ว - ทาการซอ่ มแบบยบุ รว - สนับสนนุ ชน้ิ ส่วนซอ่ ม พิกดั - ซ่อมเสรจ็ แล้วสง่ คนื ห ขอบเขต ให้ปฏิบัตติ ามคู่มือ คาสั่ง หรือระเบียบท่ีกาหนด ให้ปฏิบัติตามคู่มือ ไว้ ระเบียบทก่ี าหนดไว้
ห น้ า | 16 งของกองทพั บก นโดยตรง การซอ่ มบารุงสนับสนนุ ทว่ั ไป การซ่อมบารุงระดับคลัง 45 ก่งึ เคลอื่ นที่ โรงงาน ผู้บัญชาการ กองบัญชาการช่วยรบ กรมฝา่ ยยทุ ธบรกิ าร และแม่ทัพภาครบั ผดิ ชอบเปน็ ส่วนรวม แลว้ สง่ คืน ซอ่ มแก้ยุทธภัณฑ์หลกั แลว้ สง่ คืน ซอ่ มสร้างเพอ่ื เกบ็ เปน็ อปุ กรณ์ ตามสายการสง่ กาลัง คงคลังของสายยุทธบริการ วยใช้ - ทาการซ่อมแกใ้ หญ่ - กรมฝ่ายยุทธบริการพจิ ารณา ไปช่วยหน่วย - ทาการซ่อมใหญ่ การซ่อม - ซ่อมเสร็จแล้วสง่ เข้าสายการสง่ กาลัง - ทาการซอ่ มสรา้ งใหเ้ ข้า งเทคนิค มาตรฐานของยทุ โธปกรณ์ าขอ้ ขัดข้อง - ค่าซ่อมไม่ควรเกิน 65 % ของ วยรอ้ งขอ ราคาจัดหาใหม่ วม - ว า ง แ ผ น ก า ร จั ด ห า แ ล ะ มตามอตั รา แผนการ ซ่อมสร้างไว้ลว่ งหนา้ ไม่นอ้ ยกว่า หน่วยใช้ 3 ปี - ซอ่ มเสร็จแล้วเก็บเข้าคงคลัง คาสั่ง หรือ ให้ปฏิบัตติ ามคู่มือ คาส่งั หรือระเบียบ ให้ปฏิบัติตามคู่มือ คาสั่ง หรือ ท่กี าหนดไว้ ระเบยี บทีก่ าหนดไว้
ห น้ า | 17 แผนกวิชายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรียนทหารม้า ศนู ยก์ ารทหารม้า ค่ายอดิศร สระบุรี ---------- เอกสารนา การจดั และการดาเนนิ งานของหนว่ ยซอ่ มบารงุ 1. ข้อแนะนาในการศกึ ษา วิชาทาการสอนแบบบรรยาย เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการจัด และการดาเนินงานของ หน่วยซ่อมบารุง หน้าที่ และความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ในหน่วยซ่อมบารุง การปฏิบัติงานซ่อมบารุง ทางเทคนิค การปฏิบตั งิ านซ่อมบารงุ ทางธรุ การ การซอ่ มบารงุ ในท่ตี ้งั ปกติ และการซอ่ มบารุงในสนาม 2. หวั ข้อสาคัญในการศกึ ษา 1. สายการบังคับบัญชา การซอ่ มบารงุ ระดับหนว่ ย 2. การจัดหนว่ ยซอ่ มบารุงในหนว่ ยตา่ ง ๆ ของเหล่าทหารมา้ 3. หน้าท่ขี องหน่วยซ่อมบารุง 4. ความสัมพันธ์ และการประสานการปฏบิ ตั ริ ะหว่างการซอ่ มบารุงข้ันที่ 1 และการซอ่ มบารุง ขนั้ ท่ี 2 5. เจา้ หน้าทีต่ ่างๆ ในหน่วยซ่อมบารงุ 6. เครอ่ื งมือเคร่อื งใชใ้ นหนว่ ยซอ่ มบารงุ 7. การจัดพน้ื ทซ่ี ่อมบารุง และแหลง่ รวมรถ 8. การปฏิบตั ิการซอ่ มบารุง 9. การจ่ายรถ 10. การส่งกาลัง สาย สพ. 11. การซอ่ มฉุกเฉิน 12. การซอ่ มบารุงขณะเดินทาง 13. การกู้รถ การสง่ กลบั การซ่อมในสนาม 14. การบริการ การรายงานการชารดุ ของยานยนต์สงครามทีร่ บั มาใหม่ หรอื ซ่อมสร้างใหม่ 15. การแกไ้ ขดัดแปลงยุทโธปกรณ์ 16. แบบพมิ พ์ และประวัตกิ ารซ่อมบารุง 17. เวลาในการซ่อมบารุง 18. ตารางเฉล่ียเวลาในการซ่อมบารงุ 3. งานมอบ ใหน้ ักเรยี นศึกษาหัวขอ้ สาคญั ในเอกสารเพมิ่ เตมิ 4. คาแนะนาพิเศษ ไม่มี 5. เอกสารจ่ายพรอ้ มเอกสารนา เอกสารเพิ่มเตมิ ***********
ห น้ า | 18 แผนกวิชายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรยี นทหารม้า ศนู ย์การทหารม้า คา่ ยอดิศร สระบุรี ---------- เอกสารเพมิ่ เตมิ การจดั และการดาเนนิ งานของหนว่ ยซอ่ มบารุง 1. ความมุ่งหมาย เอกสารนใี้ ชส้ าหรบั การฝกึ -ศกึ ษา ในแผนกวชิ ายานยนต์ กศ.รร.ม.ศม. เพื่อให้นักเรียนมี ความรเู้ กี่ยวกับการจัดหน่วยซ่อมบารุง หน้าท่ี และความรบั ผิดชอบของบุคคลซ่ึงมีหน้าที่ในการซ่อมบารุง ระดับหน่วย การปฏบิ ตั ิหนา้ ทีท่ างธุรการ การซ่อมบารงุ ภายในหนว่ ยทหาร และการซ่อมบารงุ ในสนาม 2. ขอบเขต เอกสารฉบับน้ีประกอบด้วยคาอธิบายและรายละเอยี ดเรือ่ งหนา้ ท่ี และความรบั ผดิ ชอบของ บคุ คลซ่ึงมหี นา้ ท่ีในการซอ่ มบารุง และดาเนนิ การซอ่ มบารงุ ระดบั หนว่ ยความสัมพันธ์ และการประสานการ ปฏิบตั ิ ระหวา่ งเจ้าหน้าทีซ่ ่อมบารงุ ขน้ั ที่ 1 และขั้นที่ 2 3. กล่าวโดยทั่วไป ผู้บังคับหน่วยจะต้องออกคาสั่งหรือวางระเบียบเรื่องการจัดต้ังระบบปฏิบัติงาน เก่ียวกับการซอ่ มบารงุ ในหนว่ ยใหค้ รอบคลมุ ถงึ หนา้ ที่ และความรบั ผิดชอบของบคุ คลซ่ึงมีหนา้ ที่ในการซอ่ ม บารุงทางเทคนิค และการซ่อมบารุงทางธุรการ การปฏิบัติงานซ่อมบารุงภายในหน่วยทหาร และการ ปฏิบัติงานซ่อมบารุงภายในสนาม เพอ่ื ให้เจ้าหนา้ ที่ทกุ คนเข้าใจหลกั การปฏิบัติงานซ่อมบารุงภายในหน่วย ทหารยามปกติ สาหรับการซ่อมบารุงในสนามก็คงดาเนินไปด้วยหลักการเดียวกัน อย่างไรก็ตามการ ปฏิบัติงานย่อมจะต้องมีอุปสรรค และความยุ่งยากบางประการเกิดขึ้นบ้างซึ่งเจ้าหน้าท่ีจะต้องใช้ความรู้ ความสามารถ และเทคนิคการปฏิบัติเพม่ิ มากขึ้น งานซอ่ มบารุงจึงจะสมั ฤทธิ์ผล และดาเนินการไปไดอ้ ยา่ ง มปี ระสทิ ธิภาพ ผู้บังคับหน่วย (กรม กองพัน กองร้อย) มีความรับผิดชอบในการซ่อมบารุงของหน่วยภายใต้การ บังคับบัญชา ควบคุม กากับดูแล การปฏิบัติงานตลอดจนการจัดระเบียบงาน โดยปกติอัตราการจัดแล ยุทโธปกรณ์(อจย.)ซ่ึงจัดไว้โดยเฉพาะสาหรับหน่วยจะกาหนดตัวบุคคลผู้มีหน้าท่ใี นการปฏิบัติงานซ่อบารุง ไว้ จะเห็นได้ว่าหน่วยซ่อมบารุงมีการจดั ท่ีแตกตา่ งกวา่ การจัดระเบยี บงานท้ังหลาย กล่าวคือจานวนบุคคล ในอัตรานั้นจะข้ึนอยกู่ ับจานวนของยานพาหนะ และชนิดของงานซ่อมบารุงในหน่วยน้ันเครือ่ งมือเครอ่ื งใช้ ชนิดต่าง ๆ ซง่ึ ใช้ในการซ่อมบารุงของหนว่ ย และยานพาหนะชนิดตา่ ง ๆ เพือ่ ให้สามารถปฏิบตั ิภารกิจได้ นน้ั จะกาหนดไวใ้ นอัตราการจดั และยุทโธปกรณ์ของหน่วย ซ่งึ จะอ้างถึงเอกสารซ่อมบารุงพิเศษเพ่มิ เติม เพื่อทาการเบิกอปุ กรณ์ เช่นอุปกรณ์ทาความสะอาด ช้ินส่วนซ่อม เครอื่ งมอื ซ่อมบารุงพิเศษ และรายการ ของใช้หมดเปลือง ฯลฯ เปน็ ตน้
ห น้ า | 19 สายการบงั คบั บญั ชาการซ่อมบารุงระดับหน่วย การ ซบร.ขน้ั ที่ 1 หนว่ ยบงั คบั บญั ชา หมวด ซบร.ขนั้ ที่ 1 กรม ตอน - ประจาวนั กองพนั หมู่ - ประจาสปั ดาห์ กองร้อย พลขบั การ ซบร.ขั้นที่ 2 พลประจารถ นายทหารยานยนต์ นายทหารซ่อมบารุง นายสิบยานยนต์ นายสิบซ่อมบารุง หวั หนา้ ช่าง ช่างยานยนต์ นายสิบกซู้ ่อม นายสิบชิ้นส่วน เสมยี นซ่อมบารุง ผชู้ ่วยช่าง ช่างเช่ือม ช่างอาวธุ ช่างวทิ ยุ ช่างป้อมปื น ช่างปื นใหญ่รถถงั ซบร. ข้นั ที่ 2 กองร้อย กองพนั - ประจาเดือนรถลอ้ (1,000 ไมล)์ - ประจา 6 เดือนรถลอ้ (6,000 ไมล)์ - ประจาเดือนรถสายพาน (250 ไมล)์ - ประจา 3 เดือนรถสายพาน (750 ไมล)์
ห น้ า | 20 หมายเหตุ ผบู้ ังคับบญั ชาทุกช้ันยอ่ มมีความต้องการท่ีจะใหม้ หี ลกั ประกนั ว่ายทุ โธปกรณ์ที่ได้รับ จ่ายมา หรือแจกจา่ ยมาให้หนว่ ยภายใต้การบงั คับบญั ชา ไดร้ บั การซอ่ มบารุงใหม้ ี สภาพใชก้ ารได้ และใชย้ ุทโธปกรณ์เหลา่ นัน้ อยา่ งถกู ตอ้ ง 1. การจดั และงานของหนว่ ยซอ่ มบารุง 1.1 การจดั เจ้าหน้าท่ี มากหรือนอ้ ยแล้วแต่ขนาดของหน่วย 1.2 เปน็ สายบริการทางเทคนคิ มปี ระจาอยทู่ กุ ระดบั หนว่ ย ต้ังแตข่ นาดกองรอ้ ยข้นึ ไป 1.3 ทาหนา้ ท่คี ลา้ ยกับเจา้ หนา้ ที่พิเศษของหน่วย 1.4 ปฏบิ ัตกิ ารซ่อมบารงุ และดาเนินงานการซอ่ มบารุงข้นั ท่ี 2 1.5 ปฏบิ ตั ิงานทางธรุ การเกย่ี วกบั การซ่อมบารงุ 1.6 เสนอแนะ และกากบั ดูแลการซอ่ มบารงุ ขนั้ ที่ 1 2. หนา้ ทีข่ องหนว่ ยซ่อมบารุง 2.1 หมซู่ ่อมบารงุ ของกองร้อย 2.1.1 ทาการปรนนบิ ตั บิ ารงุ ประจาเดือน ใหแ้ กร่ ถทุกคนั ภายในกองรอ้ ย 2.1.2 ทาการซ่อมฉุกเฉินภายในขอบเขต 2.1.3 ทาการกู้รถ และส่งกลบั ภายในกองร้อย 2.1.4 ช่วยทาการฝกึ พลขับ และการฝึกการซอ่ มบารุงข้ันที่ 1 ใหแ้ กพ่ ลประจารถ 2.1.5 ชว่ ย ผบ.รอ้ ย. ทาการตรวจสภาพยานยนต์ 2.2 ตอน ซ่อ มบ ารุงของกอ งพั น หมวดซ่อ มบ ารุงขอ งกอ งพั น แ ล ะหมวดซ่อ มบ ารุง ร้อย.สสช.พนั .มก. 2.2.1 ทาการปรนนิบัติบารุงประจา 3 เดือน ยานยนต์สายพาน และประจา 6 เดือนยานยนต์ล้อ ให้แกร่ ถทกุ คันภายในกองพัน 2.2.2 รบั งานซอ่ มที่ลน้ มือจากกองรอ้ ย 2.2.3 ช่วยกองรอ้ ยทาการกูร้ ถ และสง่ กลับรถเสีย 2.2.4 ส่งกาลงั ช้ินสว่ นซ่อมใหก้ ับกองรอ้ ย 2.2.5 ให้คาแนะนาทางเทคนิคแกห่ มู่ซ่อมของกองร้อย 2.2.6 ทาการฝึกพลขับ และฝึกการซอ่ มบารงุ ของช่างยานยนต์ 2.2.7 ชว่ ย ผบ.พนั .ทาการตรวจสภาพยุทโธปกรณ์ 3. ความสมั พนั ธ์ และการประสานการปฏบิ ัติ ระหว่างการซ่อมบารงุ ขนั้ ที่ 1 การซอ่ มบารงุ ข้ันท่ี 2 3.1 เจ้าหน้าท่ีซอ่ มบารุงขัน้ ที่ 1 ( พลขับ พลประจารถ ) 3.1.1 หนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบโดยตรง 3.1.1.1 ทาการปรนนบิ ตั บิ ารุงประจาวนั (ก่อนใช้งาน ระหวา่ งใชง้ าน และหลังใช้งาน) 3.1.1.2 ทาการปรนนบิ ัตบิ ารงุ ประจาสัปดาห์
ห น้ า | 21 3.1.1.3 รับผดิ ชอบยทุ โธปกรณ์ ซ่งึ ผบ.หนว่ ยกาหนดให้ 3.1.2 การประสานการปฏิบัติกับเจ้าหนา้ ทซ่ี อ่ มบารุงข้นั ท่ี 2 3.1.2.1 ส่งประวัติการซ่อมบารงุ ข้นั ท่ี 1 ใหแ้ ก่เจ้าหนา้ ท่ีซอ่ มบารงุ ขั้นที่ 2 3.1.2.2 ช่วยเจา้ หน้าท่ีซอ่ มบารุงขั้นท่ี 2 ทาการปรนนบิ ัตบิ ารงุ ยุทโธปกรณ์ และช้แี จงขอ้ บกพร่องท่เี กิดขนึ้ กับยทุ โธปกรณ์ของตน 3.1.2.3 รบั คาเสนอแนะ และปฏบิ ตั ิตามคาแนะนาของเจา้ หนา้ ทีซ่ อ่ มบารงุ ข้ันท่ี 2 3.2 เจ้าหน้าท่ีซ่อมบารุงขั้นที่ 2 3.2.1 หน้าที่รับผดิ ชอบโดยตรง 3.2.1.1 ทาการซ่อมบารุงขนั้ ที่ 2 3.2.1.2 เปน็ ฝ่ายกจิ การพเิ ศษของผบู้ งั คับบัญชา ในเร่อื งการซอ่ มบารุงยุทโธปกรณ์ 3.2.1.3 ทาการซ่อมฉุกเฉินให้แกร่ ถในหนว่ ย 3.2.1.4 ทาการก้รู ถ และสง่ กลับในหน่วย 3.2.1.5 ช่วยทาการฝึกพลขับ 3.2.1.6 ทาการตรวจสภาพยุทโธปกรณ์ 3.2.2 การประสานการปฏบิ ัตกิ ับเจา้ หนา้ ทซ่ี อ่ มบารุงขัน้ ท่ี 1 3.2.2.1 กากับดแู ลการซ่อมบารุงขน้ั ท่ี 1 3.2.2.2 ใหค้ าเสนอแนะ เพอ่ื แก้ไขส่งิ ทพ่ี ลประจารถปฏบิ ัติผิดพลาดเก่ยี วกับการซ่อมบารุง 3.2.2.3 เก็บประวัติการซอ่ มบารุงข้ันที่ 1 3.2.2.4 ช่วยเหลือพลขับหรือพลประจารถในการปรนนิบัติบารงุ ประจาสัปดาห์ (บางรายการ ซ่งึ ต้องใชเ้ ทคนคิ พิเศษ) 4. เจา้ หนา้ ที่ และเครื่องมือเครอื่ งใช้ของหน่วยซอ่ มบารงุ 4.1 นายทหารยานยนต์หรือนายทหารซ่อมบารุง เป็นผู้บังคับบัญชาของหน่วยซ่อม ดาเนินการ ปรนนบิ ัติบารุงยุทโธปกรณ์ของหน่วยตามระยะเวลา กากบั ดูแล ประสานการปฏิบัติทางเทคนิค และดารง การตดิ ต่อกบั หนว่ ยซ่อมบารุงขั้นเหนอื กว่า 4.2 หน้าท่ี และความรับผดิ ชอบของนายทหารยานยนต์หรือนายทหารซอ่ มบารุงฯ 4.2.1 ทาหน้าที่ปกครองบังคับบัญชาหน่วยซ่อม ในบางกรณีท่ีหน่วยไม่ได้บรรจุนายทหารยานยนต์ หรือนายทหารซอ่ มบารงุ ฯ ไว้ รอง ผบ.ร้อย. จะตอ้ งทาหนา้ ทน่ี ายทหารยานยนต์ หรอื นายทหารซ่อมบารุง ฯ อีกตาแหน่งหนึ่ง 4.2.2 ประสานการปฏิบัติการซ่อมบารุงขั้นเหนือกว่า เกี่ยวกับความต้องการชิ้นส่วนซ่อมและอ่ืนๆ ตามที่ไดร้ ับอนุมตั ิ 4.2.3 ช่วย ผบ.หน่วยในการตรวจสภาพยานยนต์ 4.2.4 กากบั ดูแลหลักสูตรการซอ่ มบารุง ซึง่ จัดตง้ั ข้นึ ภายในหนว่ ย
ห น้ า | 22 4.2.5 ทาการตรวจตามคาสงั่ หรือระเบยี บท่ีวางไว้ 4.2.6 กากับดูแลการเปลยี่ นชิ้นสว่ นซอ่ ม ตามทไ่ี ด้รบั อนมุ ตั ิให้กระทาได้ 4.2.7 กากับดูแลการปฏิบัติงาน ทาประวัติรายงานสถานภาพการซอ่ มบารุงในปัจจุบันและล่วงหน้า ตามทห่ี น่วยเหนือต้องการ 4.2.8 ประสาน และรวบรวมใบเบิกชิ้นส่วนซ่อม ทาการส่งตรง หรือส่งผ่านนายทหารส่งกาลงั บารุง ของหนว่ ย ซง่ึ มีหนา้ ทก่ี ากับดูแล รบั -จา่ ย การสง่ กาลังบารงุ ของกองพัน หรือ กรม 4.2.9 ป้องกันการกักตุนชิ้นส่วนซ่อม และ สป.ของกองร้อย ซึ่งจะเกิดผลเสียหายแก่การส่งกาลัง บารงุ ของส่วนรวม 4.2.10 ประสานการปฏิบัติในการใช้ยานยนต์ และการซ่อมบารุงภายในหน่วย และการซ่อมบารุง ขั้นท่ี 3 และขน้ั ท่ี 4 4.2.11 ทารายละเอยี ดเก่ียวกับการใช้ยานยนต์ การเคลื่อนย้ายหนว่ ย รวมทั้งการหมนุ เวียนใช้ยาน ยนต์ ระเบียบการจราจร และการปฏิบัติพเิ ศษเม่ืออยใู่ นสนาม 4.2.12 ให้ข่าวสารแก่หน่วยรอง แจ้งท่ตี ้ังของหนว่ ยซ่อมขั้นเหนือ และความสะดวกในการซอ่ มบารุง ในสนาม 4.2.13 จัดดาเนินการปฏิบัติท่ีเหมาะสม เกี่ยวกับการซ่อมยานยนต์ที่เกิดชารุดเสียหาย ขึ้นใน ระหว่างเดินทาง และไม่สามารถทาการลากจูงได้ โดยสั่งให้นายานยนต์ที่ชารุดออกนอกถนน และให้พล ประจารถอย่กู บั ยานยนต์นั้น ในภาวะสงคราม นายทหารยานยนต์ หรอื นายทหารซ่อมบารงุ จะดาเนินการ ซอ่ มฉุกเฉินทันที หรือทาลายเสีย เมื่อไม่สามารถฉุดลากได้ อานวยการให้ความสะดวก สาหรับการซ่อม ฉุกเฉินในการซอ่ มข้างถนน หรือทางานเป็นหนว่ ยกู้ภยั 4.2.14 กากบั ดูแลการฝกึ พลขบั ตรวจสอบ คดั เลอื กพลขบั รวมทั้งการตรวจสอบใบขับข่ีของพลขับ 4.2.15 เตรยี มแนวทางการซ่อมบารุงให้กบั หน่วยรอง กากบั ดูแลการปฏบิ ัติทางเทคนิค และบังคับ ใหช้ า่ งใช้คู่มือทางเทคนิคเมือ่ ทาการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ 4.2.16 แจง้ ผลการกากบั ดแู ล และการตรวจเก่ยี วกับประสิทธภิ าพการซอ่ มบารงุ ภายใน หน่วยทนั ที 4.2.17 ต้องแน่ใจว่าการซ่อมบารุงกระทาตามคู่มือเทคนิค ระเบียบ คาส่ังของทางราชการ และ เจ้าหน้าทผี่ ู้ปฏิบัตมิ ีความเข้าใจอย่างถูกต้อง 4.2.18 ตอ้ งตรวจเย่ียมการปฏิบตั งิ านการซ่อมบารงุ ของหน่วย และใหค้ าแนะนาทีจ่ าเป็น 4.2.19 จัด และกากับดูแลการใช้ยานพาหนะ การทาความสะ อาด และการซ่อมบารุง ยานพาหนะภายในหน่วย 4.2.20 กากับดแู ลการปฏิบตั ติ ามแผนการหล่อลนื่ และตรวจน้ามนั หลอ่ ลื่นท่ีใช้ 4.3.21 กาจัดสิ่งท่ีจะทาให้เกิดอันตรายจากเพลิง จัดและวางแผนการเคลื่อนย้าย และ แผนการ ดับเพลิงของแหล่งรวมรถ และหน่วยซ่อม 4.2.22 สังเกตการขับรถของพลขับทกุ นาย และจดั การแกไ้ ขขอ้ บกพร่องท่เี กดิ ข้ึน
ห น้ า | 23 4.3 นายสิบยานยนต์ นายสบิ ยานยนตเ์ ป็นอัตราการจดั ทีถ่ าวร ซง่ึ กาหนดข้นึ ตามอตั รา และหน้าที่หลัก ของการซ่อมบารุง นายสิบยานยนต์ควรจะคัดเลือกจากผู้ท่ีมีความรู้ความสามารถทางเทคนิค มีความ เหมาะสมกับการปฏิบัติงานในหน่วย มีความสามารถในการกากับดูแล มีความชานาญ เชี่ยวชาญการ ปฏิบัติงานการซ่อมแก้ยานพาหนะในสนาม ในหน่วยขนาดเล็ก เช่น กองร้อย นายสิบยานยนต์ มีหน้าท่ี ครอบคลุมถงึ การใชง้ าน และการซ่อมบารงุ ยานยนตป์ ระจาหน่วย ในบางกรณเี ราจะพบวา่ นายสิบยานยนต์ และผูช้ ว่ ยนายสบิ ยานยนต์ ทาหน้าทีเ่ ปน็ หัวหน้าชา่ งในหมซู่ ่อม ตอนซอ่ ม หรอื มว.ซอ่ ม ของหนว่ ย 4.4 หน้าที่ และความรับผิดชอบของนายสิบยานยนต์ นายสิบยานยนต์มีหน้าท่ีความรับผิดชอบต่อ จากนายทหารยานยนต์ หรือนายทหารซ่อมบารงุ ดงั นี้ 4.4.1 ปฏบิ ัตงิ านตามนโยบาย และการซ่อมบารงุ ของหน่วย 4.4.2 รักษาระดับชิ้นส่วนซอ่ ม เตรยี มการ และดาเนินการสง่ รายงานความต้องการไปยงั หนว่ ยเหนือ นายทุ โธปกรณ์ส่งซอ่ มไปยงั หน่วย สพ.ทส่ี นับสนุน 4.4.3 เก็บแบบพิมพ์ ประวัตกิ ารซอ่ มบารงุ และเอกสารรายงานต่าง ๆ ใหเ้ รยี บรอ้ ยสมบูรณ์ 4.4.4 กากับดูแล ตรวจการใช้ยานพาหนะ และช่วยทาการตรวจสภาพยานยนต์ 4.4.5 เป็นผู้แทนในการมอบหมายงานให้กับช่าง แจ้งแผนงานที่กาหนดไว้อย่างถาวรให้ เจ้าหน้าที่ ซ่อมบารงุ ทราบ ควบคุมการซ่อมบารงุ ข้ันที่ 2 ให้ดาเนนิ ไปตามตารางกาหนดการปรนนบิ ตั ิบารงุ ยุทธภัณฑ์ 4.4.6 ประสานการปฏบิ ัติตามข้ันตอนเก่ียวกับการดาเนินงานซ่อมบารุงของหน่วย และการส่งกาลัง สายยานยนต์ 4.4.7 กาหนดงานซ่อมบารุงในหน่วย และจัดเตรียมการซ่อมบารุงของหน่วยให้พร้อมท่ีจะ ปฏบิ ัตงิ านในสนาม แจ้งใหห้ นว่ ยตา่ งๆ ทราบตาบลทต่ี ั้งของหน่วยซอ่ มบารงุ เมื่อนายทหารยานยนตไ์ ม่อยู่ 4.4.8 สงั เกตการทางานของยานพาหนะในระหวา่ งการเดินทาง และทาการแกไ้ ขตามความจาเป็น 4.4.9 วิเคราะห์ข้อบกพร่องของอุปกรณ์ต่างๆ และแนะนาช่างยานยนต์ให้รู้จักวิธีการแก้ไขอย่าง ถกู ตอ้ ง 4.4.10 กากับดูแลการกู้รถ การยกเคร่ืองยนต์เข้า-ออก ตรวจการทางานของช่างว่าได้ปฏิบัติอย่าง ถกู ต้องจนงานน้ันแลว้ เสร็จ 4.5 ช่างยานยนต์ ช่างยานยนต์กาหนดเป็นอัตราถาวร แบ่งเป็นช่างยานยนต์ล้อ และ ช่างยานยนต์ สายพาน ซ่งึ จะมจี านวนมากหรอื น้อยเทา่ ใดขน้ึ อยูก่ บั จานวนยานพาหนะทจ่ี ะบารงุ รกั ษา และชนิดของงาน ซ่อมบารุงที่จะกระทา การบรรจุบุคคลเข้าเป็นช่างยานยนต์ควรจะเลือกจากผู้มีคุณวุฒิทางด้านช่างยาน ยนต์ มีความสามารถ และความเต็มใจท่ีจะปฏิบัติงาน เป็นพื้นฐานในการคัดเลือก ช่างยานยนต์มีความ รับผิดชอบในการปฏิบัติงานซ่อมบารุงขั้นท่ี 2 ของยานยนต์ และซ่อมแก้ยานยนต์ด้วยการวิเคราะห์ ข้อบกพร่องอย่างรวดเร็ว ด้วยเคร่ืองมือตรวจวิเคราะห์ทางกล และทางไฟฟ้า แล้วดาเนินการแก้ไขทันที ตามปกติชา่ งยานยนต์ จะไดร้ บั จา่ ยชุดเครื่องมอื ตามอตั รา เพอื่ ใชส้ าหรบั การซ่อมบารุงยานพาหนะ 4.6 หนา้ ทีข่ องชา่ งยานยนต์
ห น้ า | 24 4.6.1 ทาการเปลี่ยนส่วนประกอบใหญ่ ส่วนประกอบย่อย รวมทั้งการประกอบชุดช้ินส่วนซ่อม ภายในขอบเขตทีไ่ ด้รับอนุมตั ิ 4.6.2 กากับดูแลการซ่อมบารุงข้ันท่ี 1 และช่วยสนับสนุนการปฏิบัติของพลประจารถในการ ปรนนบิ ตั ิบารุงประจาสปั ดาห์บางรายการ 4.6.3 ทาการตรวจสภาพยานยนต์ ตามมาตรฐานการตรวจ ในฐานะเจา้ หนา้ ที่ผหู้ นง่ึ ของชดุ ตรวจ 4.6.4 ช่างยานยนต์จะต้องมีความรู้ในการใช้คู่มือทางเทคนิค และคู่มือส่งกาลัง ตลอดจนวิธีการใช้ เอกสารแบบพิมพ์ประวัตกิ ารซอ่ มบารุงระดบั หนว่ ยเป็นอยา่ งดี 4.6.5 สามารถทาหน้าทเ่ี ป็นผดู้ าเนินการสอนวิชาหลักยานยนต์เบอื้ งต้น การฝกึ ปฏิบตั ิการซ่อมบารุง ข้นั ที่ 1 และการขับรถ 4.7 เจา้ หน้าทีก่ ู้รถ เจ้าหน้าที่กู้รถมีหน้าที่ในการใช้รถกู้และทาการก้ซู ่อม โดยรบั คาสงั่ จากนายสิบ ยาน ยนต์ นายทหารยานยนต์ หรือนายทหารซ่อมบารุง เจ้าหน้าท่ีกรู้ ถน้ีนอกจากจะมีความรู้ความสามารถใน การใช้รถกู้ การกู้รถแล้ว ยังต้องสามารถทาการซ่อมแก้ยานยนต์ได้เช่น เดียวกับช่างยานยนต์ เพราะ บางคร้ังอาจจาเป็นต้องทาการจัดปรับอุปกรณ์ หรือซ่อมฉุกเฉินเพ่ือให้การปฏิบัติภารกิจสาเรจ็ ลุล่วงไปได้ นอกจากน้ใี นระหวา่ งการปฏิบัติงานในหน่วยซ่อม เจ้าหน้าท่ีกูร้ ถยังต้องช่วยทาการปรนนิบตั ิบารงุ ยานยนต์ พาหนะอน่ื ๆ อีกดว้ ย 4.8 เจ้าหน้าทช่ี ้ินส่วน จะมใี นหน่วยตามอัตราทีก่ าหนดไว้ ทาหน้าท่ีภายใต้การกากับดูแลของนายสิบ ยานยนต์ ในหน่วยท่ีไม่มีอัตราเจ้าหน้าท่ีชิ้นส่วน นายสิบยานยนต์สามารถกาหนดให้ช่างยานยนต์มาทา หน้าท่ีเป็นเจ้าหนา้ ท่ีชิ้นส่วนเพื่อดาเนนิ การเก็บรักษาชน้ิ ส่วนซอ่ ม ในหน่วยขนาดกองร้อย จานวนช้ินส่วน ซอ่ ม และการดาเนินงานส่งกาลงั ชิ้นส่วนซ่อม มีขอบเขตจากัด จึงใช้เวลาปฏบิ ัตงิ านเพียงเล็กน้อย หน้าที่ ของเจ้าหนา้ ทช่ี ิน้ สว่ นมดี ังน้ี 4.8.1 รกั ษาระดับช้นิ ส่วนซอ่ มใหค้ รบตามจานวน และเตรียมการสง่ ใบเบกิ 4.8.2 จ่ายช้ินสว่ นซอ่ มใหห้ น่วยรอง หรอื ชา่ งยานยนต์ 4.8.3 ทาป้าย เกบ็ รักษาชิ้นส่วนซ่อม และอุปกรณก์ ารซ่อมบารุงใหเ้ รียบร้อย 4.8.4 เก็บรักษาจัดพิมพ์ ประวัติ และรายงานเกี่ยวกับการซ่อมบารุงของหน่วยให้เรียบร้อย และ สมบรู ณ์ 4.9 เสมียน ตามปกติในหน่วยระดบั กองพัน หรอื กรม จะมีเสมยี นบรรจไุ ว้ในอัตราของหน่วยซอ่ ม และ ทางานภายใต้การกากับดูแลของนายสิบยานยนต์ เสมียนจะทาหน้าท่ีในการเตรียมใบเบิก เก็บรักษาแบบ พิมพ์ ประวัติ เตรียมรายงานการซ่อมบารุง และรายงานการปฏิบัติการทางธุรการ ในหน่วยเล็กขนาด กองร้อยเสมียนของหนว่ ยจะช่วยนายสิบยานยนตท์ าหน้าท่ดี ังกลา่ ว 4.10 ช่างเช่ือม ในหน่วยระดับกองพัน หรือ กรม จะมีช่างเช่ือมบรรจุไว้ในอัตราของหน่วยช่างเช่ือม จะต้องมีคณุ วุฒิในการเชื่อมโลหะด้วยแก๊ส และไฟฟ้า ปฏิบตั ิงานภายใต้การสง่ั การและกากับดูแลของนาย สิบยานยนต์ นายทหารยานยนต์ หรือนายทหารซ่อมบารุง โดยใช้เครื่องเช่ือมขนาดเล็กทาการเช่ือม ยุทโธปกรณ์ หรอื ช่วยในการซ่อมฉกุ เฉิน การกรู้ ถ และการสง่ กลับ
ห น้ า | 25 4.11 ช่างวิทยุ ช่างวิทยุจะมีในหน่วยตามอัตราท่ีกาหนดไว้ ทาหน้าท่ีซ่อมเคร่ืองมือส่ือสาร ตรวจและ บริการเครื่องมือสือ่ สารตามระยะเวลา ถา้ ไม่มนี ายทหารฝา่ ยการสือ่ สารบรรจุไว้ในอตั ราของหน่วย ชา่ งวทิ ยุ จะทางานภายใต้การส่ังการ และกากับดูแลของนายสิบยานยนต์นายทหารยานยนต์ หรือนายทหารซ่อม บารงุ 4.12 ช่างอาวุธช่างปืนใหญ่รถถัง หรือช่างป้อมปืนใหญ่ ช่างอาวุธมีไว้เพ่ือปฏิบัติงานซ่อมบารุงอาวุธ ประจากายและอาวุธประจาหน่วย ช่างป้อมปืนใหญ่มีไวเ้ พื่อปฏบิ ัตงิ านซ่อมบารุงระบบอาวุธประจารถถัง และระบบเคร่อื งควบคุมการยงิ ในหนว่ ยยานเกราะชา่ งอาวธุ และช่างป้อมปืนใหญจ่ ะต้องมคี ณุ วฒุ ิ สามารถ ทาการซ่อม และปรับเคร่ืองกลไกของปืน และอุปกรณ์ตามท่ีได้รับอนุมัติ ทาการตรวจสภาพ และบริการ เม่ือยานพาหนะเข้ารับการปรนนิบัติบารุงตามตารางกาหนดการปรนนิบัติบารุงยุทธภัณฑ์ ช่างอาวุธ และ ชา่ งปืนใหญร่ ถถงั จะทางานภายใตก้ ารสง่ั การ และกากบั ดแู ลของนายสิบยานยนต์ 4.13 เจ้าหน้าท่ีอน่ื ๆ ซ่ึงทางานเช่ือมโยงกบั การซ่อมบารุง ผู้มีหน้าที่กากับดแู ลเจ้าหนา้ ท่ซี ่อมบารงุ ข้ัน ท่ี 1 เช่น ผบ.มว. รอง ผบ.มว. และ ผบ.หมู่ เป็นผู้กากับดูแลให้พลขับ ผู้ชว่ ยพลขับ และพลประจารถ ให้ ทาการปรนนิบัติบารุงขั้นท่ี 1 ประจาวัน และประจาสัปดาห์ ตามที่กาหนดไว้ในตารางการปรนนิบัติบารุง การตรวจสภาพ และบริการของคู่มอื ทางเทคนิคประจายุทโธปกรณ์ และปฏิบัติงานอืน่ ตามกาหนดการใน แต่ละวันที่นายทหารสัญญาบัตร หรือนายทหารประทวน มอบหมายให้ นอกจากน้ันยังมีหน้าที่ในฐานะ ผู้บังคับบญั ชาโดยตรง ซึ่งจะตอ้ งทาการตรวจยานพาหนะ และอุปกรณ์ประจารถที่อยู่ในความรบั ผดิ ชอบ 5. เครื่องมือเคร่ืองใช้ อัตราการจัด และยุทโธปกรณ์ (อจย.) ของหน่วยจะอนุมัติเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ สาหรับการซ่อมบารุงขั้นหน่วย เครื่องมือชุดตาม ชกท.เคร่ืองมือซ่อมบารุงพิเศษและยุทโธปกรณ์ เช่น ยานพาหนะ ตลู้ ิ้นชกั เตน็ ท์ และเครือ่ งมือเครอื่ งมือตรวจวิเคราะห์ต่างๆ ซงึ่ จาเปน็ ตอ้ งใชใ้ นการซ่อมบารงุ 5.1 เคร่ืองมือชุดซอ่ มบารุงขั้นหน่วย เคร่อื งมือซ่อมบารุงข้ันหนว่ ย ซงึ่ ใชส้ าหรบั ทาการซ่อมบารุงขนั้ ที่ 2 และแจกจ่ายใหก้ ับหนว่ ยตามอตั ราการจดั และยทุ โธปกรณ์ มีดงั น้ี 5.1.1 เคร่ืองมือชุดซ่อมบารุงขั้นหน่วย หมายเลข 1 ทั่วไป (Tool Kit, OM, No.1, Common) จ่ายให้กับหน่วยระดับกองร้อย หรือหน่วยที่มีสภาพคล้ายกัน มีรถในอัตรา ๘ - ๗๕ คัน ช่าง ๑ - ๘ คน สาหรบั การปรนนบิ ัตบิ ารุงประจาเดอื นแกย่ านพาหนะ ภายในกองร้อย จานวน 1 ชดุ 5.1.2 เคร่ืองมือชุดซ่อมบารุงข้ันหน่วย หมายเลข 1 ทั่วไป เสริม (Tool Kit, OM, No.1, Augmentation) จ่ายให้กับหน่วยท่ีแยกไปปฏิบัติงานเป็นอิสระ หรือไม่ได้สมทบกับหน่วยที่สามารถ สนับสนุนได้ จะจ่ายเพ่ิมเติมควบกับชดุ หมายเลข 1 ท่ัวไป เพื่อในการปรนนิบัติบารงุ ประจาเดือน และ 6 เดอื นยานยนตล์ อ้ ญ่ปี ุน่ 5.1.3 เครื่องมือชุดซ่อมบารุงขั้นหน่วย หมายเลข 1 ท่ัวไป เพิ่มเติม (Tool Kit, OM, No.1, Supplement) จา่ ยให้กับหนว่ ยระดับกองรอ้ ย หรอื หน่วยทมี่ ีสภาพคล้ายกัน เพ่ือใชใ้ นการปรนนบิ ตั บิ ารุง 3 เดือนยานยนต์สายพาน จานวน 1 ชดุ
ห น้ า | 26 5.1.4 เคร่ืองมือชุดซ่อมบารุงขั้นหน่วย หมายเลข 2 ท่ัวไป (Tool Kit, OM, No.2, Common) จ่ายให้กับหน่วยระดับกองพัน หรือ กรม มีรถในอัตรา ๗๕ - ๓๕๐ คัน ช่าง ๘ - ๒๖ คน สาหรับการ ปรนนิบตั ิบารุงประจาเดอื น และประจา 6 เดือน แกย่ านพาหนะภายในกองพัน หรือ กรม 5.1.5 เคร่ืองมือชุดซ่อมบารุงข้ันหน่วย หมายเลข 2 ท่ัวไป เสริม (Tool Kit, OM, No.2, Augmentation) จะจ่ายเพ่ิมเติมควบกับชุดหมายเลข 2 ท่ัวไป ให้กับหน่วยระดับกองพัน หรือ กรม สาหรับการปรนนบิ ตั ิบารงุ ประจา 6 เดอื นยานยนตล์ ้อ ญ่ปี ุ่น 5.1.6 เคร่ืองมือชุดซ่อมบารุงข้ันหน่วย หมายเลข 2 ทั่วไป เพ่ิมเติม (Tool Kit, OM, No.2, Supplement) จ่ายให้กบั หนว่ ยระดบั กองพัน หรอื กรม เพื่อใช้ในการปรนนบิ ัตบิ ารงุ ประจา 3 เดือน ยานยนตส์ ายพาน 5.1.7 เครือ่ งมอื ชุดซอ่ มบารงุ ข้นั หน่วยหมายเลข 5 (ชดุ เครอื่ งเช่ือมแกส๊ อ๊อกซี-อะเซททลิ นี ) 5.1.8 เครื่องมอื ชดุ ซอ่ มบารุงขัน้ หนว่ ยหมายเลข 7 (ชดุ โครงเหล็กประกอบรอกยกของ) 5.2 เครอ่ื งมือชุดตาม ชกท. คือ เคร่ืองมือชุดท่ีจ่ายให้แก่เจ้าหน้าที่ซ่อมบารุง เพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน ตามหนา้ ที่ ได้แก่ 5.2.1 เคร่ืองมือชดุ ช่างท่วั ไป ปกติจะจ่ายเครือ่ งมือชุดช่างทั่วไป 1 หีบ ต่อ ช่าง ยานยนต์ 1 นาย หรือจ่ายใหเ้ ทา่ กับจานวนชา่ งยานยนต์ตามอัตรา 5.2.2 เครื่องมือชุดช่างท่ัวไป เสริม ปกติจะจ่ายควบกับเครื่องมือชุดช่างท่ัวไปสาหรับใช้ในการ ปรนนิบตั บิ ารงุ ยานยนต์ล้อ ญ่ปี นุ่ 5.2.3 เคร่ืองมือชดุ ซ่อมอาวธุ เบา ปกตจิ ะจ่ายเคร่ืองมอื ชดุ ซ่อมอาวธุ เบา 1 หบี ตอ่ ชา่ งอาวุธ 1 นาย 5.2.4 เครอ่ื งมอื ชดุ ช่างป้อมปนื ใหญ่ ปกติจะจา่ ยเครื่องมือน้ี 1 ชดุ ตอ่ ชา่ งปอ้ มปืนใหญ่ 1 นาย 5.3 เคร่ืองมือซ่อมบารุงพิเศษ คือ ชุดเคร่ืองมือเฉพาะ สาหรับใช้ในการซ่อมบารุงขั้นที่ 2 แต่ละชนิด ของยานพาหนะ เครื่องมอื ซ่อมบารงุ พิเศษมี 2 ชดุ ไดแ้ ก่ 5.3.1 เคร่อื งมือซอ่ มบารงุ พเิ ศษ A จะปรากฏในคมู่ อื ทางเทคนิค 20-P ของยานพาหนะแต่ละชนิด เครอ่ื งมือชุดนี้ จ่ายให้กับหน่วยระดับกองร้อย สาหรบั ใช้ในการปรนนิบัติบารงุ ประจาเดือน จานวน 1 ชุด ตอ่ ยานพาหนะแตล่ ะชนิด 5.3.2 เคร่ืองมือซ่อมบารุงพิเศษ B จะปรากฏอยู่ในคู่มือเทคนิค 20-P ของยานพาหนะแต่ละชนิด เครอื่ งมอื ชุดนี้ประกอบด้วย เครือ่ งมือจานวนมากกวา่ ชุดพเิ ศษ A และจา่ ยให้กับหนว่ ยระดบั กองพนั หรอื กรม ซ่ึงรับผิดชอบการปรนนบิ ตั บิ ารุงประจา 6 เดอื น ยานยนต์ล้อและประจา 3 เดอื น ยานยนต์สายพาน จานวน 1 ชดุ ตอ่ ยานพาหนะแต่ละชนิด หมายเหตุ สาหรับคูม่ อื ทางเทคนิค 20-P ใหมจ่ ะปรากฏเฉพาะเคร่ืองมือชดุ พเิ ศษทใี่ ชส้ าหรับการ ซ่อมบารงุ ขั้นท่ี 2 เท่านนั้ โดยไมแ่ ยกรายการออกเป็นเครื่องมือชุด A และเคร่ืองมอื ชดุ B การแจกจ่าย จะกาหนดไวใ้ น อจย.ของหนว่ ย และอตั ราจ่ายของกองคลงั ยทุ โธปกรณ์ สพ.ทบ.
ห น้ า | 27 5.4 ยานพาหนะ และเครื่องมือกล หมู่ซ่อมฯ ตอนซ่อมฯ หมวดซ่อมฯ จะได้รับยานพาหนะ เช่น รถยนต์บรรทุก และรถพ่วง สาหรับบรรทุกขนส่งเคร่อื งมือเครอ่ื งใช้ ชิ้นส่วนซ่อม และเจ้าหน้าที่ซ่อมบารุง ตลอดจนรถก้ปู ระเภทลอ้ และรถกู้ประเภทสายพาน ตามอตั ราท่จี ดั ไวใ้ น อจย.ของหน่วย 6. การจัดพ้ืนท่ีซ่อมบารุง ผู้บังคับหน่วยจะต้องกาหนดพื้นท่ีสาหรับทาการซ่อมบารุง และจัดต้ัง แหล่งรวมรถข้ึน เพื่อควบคุมการใช้ และการปรนนบิ ัตบิ ารุงยานพาหนะท้ังหมดของหนว่ ยให้เป็นไปในแนว เดยี วกัน และบังเกิดผลดที ส่ี ดุ 6.1 ความมงุ่ หมายในการจัดแหลง่ รถ - เพื่อควบคมุ การใชร้ ถทางธุรการ และเฉลย่ี การใช้รถใหท้ วั่ ถงึ - เพือ่ ควบคมุ การปล่อยรถ การตรวจการปรนนิบัติบารงุ รถก่อนใช้งาน - เพื่อควบคุมการซอ่ มบารุงใหเ้ ป็นมาตรฐานอนั เดยี วกัน - เพอื่ ช่วยใหก้ ารประสานงานซ่อมบารงุ กับหนว่ ยเหนือเป็นไปโดยสะดวก 6.2 การจดั แหล่งรวมรถ แหล่งรวมรถจดั ได้ 3 ระดับ คอื - ระดับ กรม - ระดบั กองพัน - ระดับ กองร้อย 7. การจัดพน้ื ท่ซี อ่ มบารงุ ในหน่วยทหาร 7.1 ตั้งอยู่ ณ ตาบลทจี่ ะไปไดส้ ะดวกจากทกุ แหง่ ภายในพ้ืนทขี่ องหน่วย มีทาง เข้า-ออกหลัก อย่ตู ดิ กับถนนสายรอง อันเปน็ ถนนท่ไี มม่ ีการจราจรคบั คง่ั และ ประกอบด้วยทางเข้า-ออกฉกุ เฉนิ 7.2 มีรั้วหรอื สิ่งกดี ขวาง ถ้าไมส่ ามารถทาได้ ใหจ้ ดั เวรยามป้องกันโจรผ้รู า้ ย หรือ การก่อวินาศกรรม ผ้ปู ล่อยรถ และสถานีบรกิ ารน้ามันเชอื้ เพลงิ จะตอ้ งตง้ั อยู่ ณ ทางเข้า-ออกหลัก 7.3 มโี รงรถ เปน็ ที่จอดรถเพอ่ื กาบงั แดด และฝน มโี รงซ่อม และคลังเก็บเครอ่ื งมือ เครอ่ื งใช้ และชน้ิ สว่ นซอ่ ม ถ้าไมส่ ามารถทาไดใ้ หใ้ ชผ้ ้าคลมุ มีพื้นทีส่ าหรับนารถ เข้ารับการปรนนบิ ตั ิบารงุ ในแต่ละวนั อยา่ งเพียงพอ 7.4 มีสิ่งอานวยความสะดวก เช่น นา้ ไฟฟ้า มคี ลงั เก็บวัตถุไวไฟเช่น น้ามันเคร่ือง ไขข้น สี แกส๊ เชอ่ื มโลหะ มีเคร่ืองดับเพลงิ ที่ใชก้ ารได้อย่ทู ีค่ ลังเกบ็ เหล่านี้ ลาดล้างรถต้องจดั ไวน้ อกเขตการจราจรของแหลง่ รวมรถ 8. การจดั พ้นื ท่ซี อ่ มบารุงในสนาม ผบู้ งั คบั หน่วยควรจะวางแผนกาหนดพืน้ ทีซ่ อ่ มบารงุ ให้อยู่ใกลก้ ับถนน สายรอง มีทางเข้า-ออก สะดวกต้ังอยู่บนพ้ืนที่สูง และพ้ืนดินแข็งพอที่จะจัดให้เป็นที่จอดรถถัง หรือ ยทุ โธปกรณท์ ม่ี ีน้าหนักมาก มีพ้ืนทก่ี วา้ งขวางพอท่จี ะกระจายกาลงั ได้ มีเตน็ ท์หรือที่กาบงั ชว่ั คราวเพือ่ ความ สะดวกในการซ่อมบารงุ เม่ือสภาพดนิ ฟ้าอากาศผิดปกติ และในพ้ืนทต่ี ้องมกี ารปกปิด การพราง และระบบ การปอ้ งกันที่ดีอีกดว้ ย
ห น้ า | 28 9. การปฏิบัติการซ่อมบารุงในสนาม และในเวลาทาการรบ หน่วยซ่อมบารุงจะทาหน้าที่ซ่อมบารุง ระหว่างการเดินทาง ทาการกู้รถในสนาม การส่งกลบั และการซ่อมฉุกเฉนิ โดยจะต้องติดตามอยา่ งใกล้ชิด ในระยะ 5-10 ไมล์ การซ่อมบารุงในสนามระหว่างทาการรบจึงมีความยากลาบากในการปฏิบัติ เนื่องจากหน่วยซ่อมต้องเคลื่อนย้ายติดตามหน่วยของตัวเองดังกล่าว และในขณะทาการรบย่อมไม่มีสิ่ง อานวยความสะดวก เช่น อาคาร โรงเรือน นอกจากเต็นท์สาหรับซ่อมบารุง เพื่อท่ีจะให้การซ่อมบารุง สามารถกระทาได้อยา่ งต่อเน่ือง ผบู้ ังคับหน่วยจะเป็นผู้วางแผนกาหนดพื้นทซี่ ่อมบารงุ และเลือกพ้นื ที่สารอง ไวด้ ว้ ย มีทางระบายน้า ตลอดจนเสน้ ทางเข้า-ออก ท่ีจะไปตดิ ตอ่ ประสานงานกบั หน่วยขา้ งเคยี งไดส้ ะดวก 10. การระวังป้องกัน ความรับผิดชอบในพ้ืนที่ซ่อมบารงุ ในสนาม และที่พักแรม ในพ้ืนท่ีซ่อมบารุงน้ี นายทหารยานยนต์หรือนายทหารซอ่ มบารุงเป็นผู้รับผิดชอบในการระวังปอ้ งกนั และรายงานสถานภาพ ของยุทโธปกรณ์ให้ผู้บังคับหนว่ ยทราบตลอดเวลา ถงึ ความบกพร่องเสียหายที่เกิดขึ้นกับยุทโธปกรณ์และ เวลาท่ีจะต้องใชใ้ นการซอ่ มให้แล้วเสร็จ ฉะนั้นพลขับ หรอื พลประจารถ จะ ต้องตรวจยานพาหนะอย่างถ่ี ถ้วน และหากพบข้อบกพร่องที่ไม่สามารถแก้ไขได้ให้แจ้งเจ้าหน้าท่ี ซ่อมบารุงทราบทันที มาตรการ ปอ้ งกนั ภายใน ควรพิจารณาถึงความสะดวก ของเส้นทางการเคลือ่ นย้าย การเคล่อื นทภี่ ายในพนื้ ท่ีพกั แรม จะตอ้ งอยใู่ นขอบเขตจากัด มกี ารพรางแสงไฟ ไมท่ า เสียงดังครึกโครม มเี จา้ หน้าทเ่ี ดินนารถ และมีเวรยาม ประจาตามจุดตา่ ง ๆ ******************
ห น้ า | 29 การปฏบิ ัตกิ ารซ่อมบารุง ตอนที่ 1 ตารางการปรนนบิ ตั ิบารงุ และการบรกิ าร หลักการซ่อมบารงุ ยุทโธปกรณ์นั้น จะต้องทาการปรนนิบัติบารุง และบริการเป็นวงรอบเมื่อ ครบตามที่กาหนดไว้ของแต่ละเดือนโดยยึดถือ ระยะทางท่ีรถว่ิง ระยะเวลา และชั่วโมงใช้งานอุปกรณ์ เป็นบรรทัดฐานในการจัดตารางการ ปบ. และบริการ โดยมีการเฉลี่ยการทางานท่ีเหมาะสม ไม่ให้เกิด ความเร่งด่วนคับค่ัง เน่ืองจากเกิดมีรถเสียขึ้นพร้อมกันหลายคันในเวลาเดียวกัน และเพ่ือหลีกเลี่ยงการ ทางานมากเกินไปของช่าง เน่ืองจากงานมากจนล้นมือ และเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ สิ่งอานวยความสะดวกไม่ พอเพียง จากเหตุผลดังกล่าวนี้จึงต้องแบบพิมพ์ สพ.460 (ทบ.468-360) กาหนดการปรนนิบัติบารุง ยทุ ธภัณฑ์ เป็นเคร่ืองมอื ในการจดั ระเบียบ และควบคมุ การปรนนบิ ตั ิบารงุ 1. การปรนนบิ ัติบารุงประจาวนั เป็นหน้าท่ขี องพลขบั หรือพลประจารถ โดยแบง่ การปฏบิ ัติออกเป็น 3 ตอน คือ - การบริการก่อนใชง้ าน - การบรกิ ารระหวา่ งใช้งาน - การบริการหลงั ใชง้ าน การปรนนบิ ตั บิ ารงุ ประจาวนั กระทาเมอ่ื ใช้งานรถโดยปฏิบัติตามท่กี าหนดไวใ้ นตารางการปรนนิบตั ิ บารุง การตรวจ และการบริการ ( PMCS ) ของคู่มือทางเทคนิคประจายุทโธปกรณ์(คท.-10) และบันทึก ประวตั กิ ารซอ่ มบารงุ ไวด้ ้วยแบบพิมพ์ (ทบ.468-310)(สพ.110) 2. การปรนนิบัติบารุงประจาสัปดาห์ จะกาหนดไว้ในแบบพิมพ์ ทบ.468-360 (สพ.460) กาหนดการ ปรนนบิ ัติบารงุ ยุทธภัณฑ์ และกระทาโดยพลขับหรอื พลประจารถ ด้วยความร่วมมอื ของช่างยานยนตใ์ นบาง รายการเช่นการวัดความถว่ งจาเพาะของน้ากรดแบตเตอร่ีเป็นตน้ โดยปฏบิ ัติตามท่ีกาหนดไว้ในตารางการ ปรนนิบัติบารุง การตรวจ และการบรกิ าร ( PMCS ) ของคมู่ อื ทางเทคนิคประจายทุ โธปกรณ์ (คท.-10) และบันทกึ ประวัตกิ ารซ่อมบารุงนดี้ ้วยแบบพมิ พ์ ทบ.468-310(สพ.110) เชน่ เดียวกัน 3. การปรนนิบตั ิบารุงประจาเดอื น กาหนดไว้ในแบบพมิ พ์ ทบ.468-360(สพ.460) กาหนดการปรนนบิ ัติ บารุงยุทธภัณฑ์ และกระทาโดยเจ้าหน้าท่ีซอ่ มบารุงในหมู่ซ่อม หรอื ตอนซ่อมของหน่วย สาหรับยานยนต์ ล้อจะกระทาทุก ๆ 1,000 ไมล์ ยานยนต์สายพานจะกระทาทุก ๆ 250 ไมล์ หรือทุก ๆ เดือน แล้วแต่ อย่างไหนจะครบกาหนดก่อน หรือกระทาตามกาหนดท่ีระบไุ วใ้ นตารางการปรนนิบัติบารุง การตรวจ และ การบริการ ( PMCS ) ของคมู่ ือทางเทคนิคประจายทุ โธปกรณ์(คท-20) และบนั ทึกประวัติการซ่อมบารุงไว้ เป็นหลักฐานด้วยแบบพิมพ์ ทบ.468-361 (สพ.461)สาหรับยานยนต์ล้อ หรือแบบพิมพ์ทบ.468-362 (สพ.462)สาหรบั ยานยนตส์ ายพาน 4. การปรนนบิ ตั ิบารงุ ประจา 3 เดือน และการปรนนิบตั บิ ารุงประจา 6 เดอื น จะกาหนดไว้ในแบบพิมพ์ ทบ468-360 (สพ.460) กาหนดการปรนนิบัติบารุงยุทธภัณฑ์ และกระทาโดยเจ้าหน้าท่ีซ่อมบารุงในตอน ซ่อม หมวดซ่อมของกองพัน และ กรม หรือหมู่ซอ่ มของกองรอ้ ย ทแี่ ยกไปปฏบิ ัติงานเปน็ อสิ ระสาหรับยาน ยนต์สายพานจะกระทาทุก ๆ 750 ไมล์ หรอื ทกุ ๆ 3 เดือน ยานยนต์ล้อจะกระทาทกุ ๆ 6,000 ไมล์แลว้ แต่
ห น้ า | 30 อยา่ งใหนจะครบกาหนดก่อนหรือกระทาตามกาหนดที่ระบุไว้ในตารางการปรนนิบัติบารุงการตรวจ และ การบรกิ าร ( PMCS ) ในคูม่ ือทางเทคนิค (คท.-20) ของยุทโธปกรณ์ และบนั ทึกประวตั ิการซ่อมบารงุ ไวเ้ ป็น หลักฐานด้วย แบบพิมพ์ ทบ.468-361 (สพ.461)สาหรับยานยนต์ล้อ และแบบพิมพ์ ทบ.468-362 (สพ.462)สาหรับยานยนตส์ ายพาน 5. การปรนนิบัติบารงุ ภายใตส้ ภาวะผิดปกติ เม่ือหน่วยต้องปฏิบัติการในพื้นท่ซี ึ่งมีสภาพดินฟ้าอากาศ เลวร้าย เช่น ร้อนจดั ฝุ่นมาก น้าท่วม เป็นโคลน เป็นทราย หรือเปน็ น้าเค็ม มีฝนชุก หรือต้องใชร้ ถวง่ิ ด้วย ความเร็วสูงต่อเน่ืองกันเป็นเวลานาน ๆ สภาวการณ์เหล่าน้ี จะทาให้ยุทโธปกรณ์ ชารุดทรุดโทรมลงอย่าง รวดเรว็ กว่าปกติ ดงั นั้น หน่วยจาเป็นต้องเพิ่มการปรนนิบัติบารุงให้เร็วขึ้นจากเวลาปกติ ความถ่ีของการ ปฏบิ ัติ และรายละเอยี ดของการปฏิบตั คิ วรพจิ ารณาใหส้ อดคลอ้ ง กับสภาพแวดล้อมของท้องถ่นิ นัน้ ๆ ตอนที่ 2 การจ่ายรถ เมื่อมิได้มีการเคล่ือนย้ายขบวนในความควบคุม หรือเป็นการปฏิบัติการทางยุทธวิธี การนา ยานพาหนะออกใช้งานจะต้องมีผู้จ่ายรถหรือได้รับอนุมัติโดยตรงจากผู้บังคับบัญชา ระบบการจ่ายรถมี ประโยชน์สาคญั ทง้ั ในการควบคุมการใชร้ ถ การถนอมยทุ โธปกรณ์ และการตรวจการซอ่ มบารุงรถที่นาออก ใช้งาน 1.ผจู้ ่ายรถ ในหน่วยระดับกองพัน หรอื กรม จะมีอัตราผู้จ่ายรถ แต่ถา้ หน่วยไม่มีผู้จ่ายรถในอัตราให้นาย สบิ ยานยนต์เปน็ ผทู้ าหนา้ ท่นี ้ี 2. หน้าที่ของผู้จ่ายรถ ทาการพิจารณาสภาพ และความเหมาะสมของยานพาหนะท่ีนาออกไปใช้ จัดรถ เตรียมพร้อมไว้ใช้ปฏิบัติงานตามคาสั่ง และควบคุมยานพาหนะเข้า-ออก จากแหล่งรวมรถ และบันทึก ประวัติการใช้งานด้วยแบบพมิ พ์รายการจ่ายรถประจาวัน สพ.9-75 (ทบ.468-375) 3. การปฏิบัติหน้าที่ ผจู้ ่ายรถจะบันทึกหลักฐานจากรายละเอียดในบัตรรายการใช้รถประจาวัน สพ.110 ของพลขับ ท้ังตอนออกและกลับเข้าแหล่งรวมรถไว้ในแบบพิมพ์ สพ.9-75 ของตน แล้วตรวจสอบบัตร การใช้รถประจาวัน สพ.110 อย่างละเอียด ถ้าหากพบเคร่ืองหมายสัญญลักษณ์ท่ีแสดงว่ายานยนต์น้ันมี การชารุดบกพร่อง ผู้จ่ายรถจะต้องส่งยานยนต์นั้นไปยังโรงซ่อมทันที โดยมแี บบพิมพ์บันทึกการปรนนิบัติ บารงุ ตอนล่างของ สพ.110 กากับไปด้วย เม่อื ส้ินสุดการปฏิบัติงานในแต่ละวันผู้จ่ายรถจะเก็บแบบพิมพ์ไว้ ในแฟ้มของตน แบบพิมพ์ สพ.9-75 นี้ จะต้องเก็บไว้ 1 เดือน จึงทาลายเสีย ในกรณีที่ยานยนต์เกิด อุปัทวเหตุ ใหบ้ ันทึกไวใ้ นชอ่ งหมายเหตุ และเกบ็ แบบพิมพไ์ วจ้ นกวา่ คดีจะสิ้นสดุ ตอนท่ี 3 การสง่ กาลงั สาย สพ. ระบบการส่งกาลังบารุงเป็นสิ่งจาเป็นอย่างย่ิงในการจัดหาชิ้นส่วนซ่อม สาหรับการซ่อมบารุง ยานพาหนะของหน่วยให้เพียงพอและทันเวลา ดังน้ันเจ้าหน้าที่ส่งกาลังจะต้องเข้าใจวิธีส่งกาลังเกี่ยวกับ เวลาในการเตรียมการการส่งเบิก การรบั ช้นิ ส่วนซอ่ ม การใช้แบบพมิ พ์ประวัติ การเกบ็ รักษาชน้ิ สว่ นซอ่ มที่ อนุมตั ิ และจานวนทใ่ี ห้มีไวใ้ นอตั รา การปฏบิ ตั ิการในสนามหรือในเวลาทาการรบยงิ่ มีความตอ้ งการการส่ง
ห น้ า | 31 กาลังบารุงท่ีดี และเป็นส่งิ สาคัญท่ีสุด ปัจจัยท่ีทาให้เกิดความยุ่งยากในการส่งกาลังก็คือ น้าหนักบรรทุก และการเคล่ือนยา้ ยของหนว่ ย เอกสารซอ่ มบารุง และการปฏบิ ัตขิ องเจ้าหนา้ ที่ 1. อตั ราการจดั และยุทโธปกรณ์ (อจย.) อัตราส่ิงอุปกรณ์ (อสอ.) จะมีรายการยุทธโธปกรณซ์ ่งึ หนว่ ยจะตอ้ ง มตี ามอตั รา และอนมุ ัติให้เบกิ เม่อื ยังไม่มียุทโธปกรณห์ รือยงั มีไม่ครบ โดยจะบอกจานวนยานพาหนะ และ ยังครอบคลุมถึงส่ิงอุปกรณ์การซ่อมบารุงเคร่ืองมือเครื่องใช้ หน่วยรอง จะต้องปรึกษา และเสนอความ ต้องการไปยงั หนว่ ยเหนอื เม่ือยงั ไม่ได้รบั ส่งิ อปุ กรณเ์ ต็มอัตรา 2. คู่มือช้ินส่วนซ่อม (คท.-20-P) ของยุทโธปกรณ์แต่ละชนิด เป็นเอกสารส่งกาลังที่สาคัญอีกอยา่ งหนึ่ง ซึ่ง จะตอ้ งนามาใช้ในการเบกิ ช้นิ สว่ น เพ่อื ทาการซอ่ มบารงุ ประจาหน่วย 3. รายการชน้ิ ส่วนซอ่ ม สาหรบั การซ่อมบารงุ ระดับหน่วย เอกสารแสดงรายการชิน้ สว่ น ซึ่งหน่วย มีสทิ ธ์ิ เบิก โดยเบิกไปเพ่ือสะสม หรือเบกิ ไปเพ่ือทาการซอ่ มบารงุ ได้ เฉพาะช้ินส่วนต่าง ๆ ของ ยุทโธปกรณ์ท่ี หนว่ ยมอี ยใู่ นครอบครองตามอัตราอนมุ ัติ หรือเรียกอีกอย่างหนึง่ ว่า รายการชิ้นส่วน ซ่อมตามอัตราพกิ ัด (ชอพ.) ตอนที่ 4 การซอ่ มฉุกเฉิน ในระหว่างการปรนนิบัติบารุง หรือในระหว่างการใช้งานยานยนต์ อาจตรวจพบความบกพร่องหรือ อาจเกิดชารุดข้ึนได้ เพ่ือให้ยานยนต์คืนเข้าสู่สภาพใช้งานได้ตามปกติ และรักษาจานวนรถใช้งานให้อยู่ใน เกณฑ์สูงตลอดไปจึงจาเป็นต้องทาการซอ่ มใหเ้ ร็วที่สดุ เทา่ ทจ่ี ะทาได้ตามความสามารถ และชิ้นส่วนอุปกรณ์ ที่มีอยู่ การซ่อมในกรณีฉุกเฉิน อาจพิจารณาได้เป็น 2 วิธี คือ การซ่อมบารุง ที่สามารถกระทาได้โดยใช้ ช้ินส่วนอุปกรณ์ท่ีถูกต้อง และวิธีการปฏิบัติตามคู่มือทางเทคนิค มีเครื่องมือ เคร่ืองใช้สิ่งอานวยความ สะดวก อาจเรยี กว่า การซ่อมฉุกเฉินแบบธรรมดา แต่ถ้าไม่สามารถใช้ช้ินส่วนอุปกรณ์ หรือต้องใช้วิธีการ ปฏบิ ตั ทิ ่แี ตกตา่ งไปจากการปฏบิ ัตมิ าตรฐาน การซ่อมวธิ ีนี้กอ็ าจเรียกวา่ การซ่อมฉกุ เฉนิ ในสนาม การซ่อมฉกุ เฉนิ ในสนาม ในระหว่างการใช้ยานยนต์แล้วเกิดชารุดเสียหายขึ้น และไม่สามารถจัดหาช้ินส่วนอุปกรณ์ เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้หรือต้องใช้วิธีการซ่อมท่ี แตกตา่ งไปจากการปฏิบัติมาตรฐาน โดยมีความจาเป็นที่จะต้องนายาน ยนต์นั้นเข้าปฏิบัติภารกิจที่มีความสาคัญย่ิง ในกรณีเช่นนี้เจ้าหน้าท่ีซ่อมบารุงหรือช่างจะต้องใช้ความรู้ ความสามารถและประสบการณพ์ ิจารณาหาวิธีทเ่ี หมาะสม และไม่เปน็ สาเหตุใหเ้ กิดการชารดุ เสยี หายอย่าง หนักข้ึนกับยานยนต์นั้นในภายหลัง และเมื่อเสร็จส้ินภารกิจท่ีจาเป็นน้ันแล้วจะต้องดาเนินการซ่อมแบบ มาตรฐานใหก้ ลับคนื สู่สภาพเดิมโดยรวดเร็วทีส่ ุดเท่าท่ีจะกระทาไดแ้ นวทาง และวิธกี ารซอ่ มฉุกเฉินในสนาม และการแกป้ ัญหาทางเทคนคิ จะศึกษาได้จาก TM 9-2320-356-BD DECEMBER 1987 สาหรับยานยนต์ ประเภทล้อ และ TM 9-2350-276-BD FEBRUARY 1984 สาหรบั ยานยนตป์ ระเภทสายพาน
ห น้ า | 32 ตอนท่ี 5 การซ่อมบารงุ ขณะเดินทาง 1.การส่งกลับ หลังจากได้รับคาสงั่ เตือนแล้วยานยนต์ท่ีไมส่ ามารถซ่อมให้แล้วเสร็จก่อนเวลาเคล่ือนท่ี จะ ถูกสง่ กลับไปยังหน่วยสรรพาวุธท่สี นับสนนุ อยู่ แต่ถา้ เวลาไม่อานวยให้ส่งกลบั ได้ หรือยานยนต์ไม่สามารถ เคลื่อนทไ่ี ด้ ใหร้ ายงานสถานทอ่ี ยู่ และสภาพของยานยนตน์ ้นั ไปยงั สว่ นซ่อมบารงุ ของหน่วยเหนอื 2. การเดินทาง ในขณะเดนิ ทาง ตอนซอ่ มบารงุ ของกองพนั หรือ กรม และหมซู่ อ่ มบารงุ ของกองร้อยจะอยู่ ท่ีทา้ ยขบวนของหนว่ ย 3. การปฏิบัติตอ่ รถท่ชี ารดุ รถที่ชารุดไมส่ ามารถแลน่ ตอ่ ไปได้ จะตอ้ งจอดหรอื ลากไปจอดไว้ขา้ งทางเพื่อมิ ให้กีดขวางการจราจร ต่อจากน้ันพลขับหรือพลประจารถทาการตรวจแก้ไขเบื้องต้นเท่าท่ีสามารถจะ กระทาได้ หมู่ซ่อมของกองร้อยจะซ่อมรถที่เสียน้ัน หรือลากจูงให้ไปถึงจุดหมายปลายทาง แต่ถ้าทาไม่ได้ ตอนซ่อมของกองพนั หรือ กรม จะรับผดิ ชอบในการซ่อมต่อไป หรือลากจงู รถที่เสยี ไปยงั ปลายทาง ถา้ วิธี นี้ยังไม่สามารถทาได้อีก รถจะถูกท้ิงไว้พร้อมด้วยพลขับหรือพลประจารถ เพ่ือให้หน่วยสรรพาวุธที่ สนับสนุนทาการซ่อมต่อไปจากการรายงาน ซ่ึงจะถูกเสนอไปยังหน่วยสรรพาวุธ โดยนายทหารยานยนต์ หรอื นายทหารซ่อมบารงุ แจ้งตาบลที่อยู่ของรถชารดุ และชนดิ ของการซอ่ มทต่ี อ้ งการ ตอนที่ 6 การกรู้ ถ การสง่ กลบั และการซ่อมในสนาม การปฏิบัติการซ่อมบารุงอย่างมีประสิทธิภาพ การกู้รถ การส่งกลับ การซ่อมฉุกเฉิน และการ เปลี่ยนทดแทนรถที่ใช้การไม่ได้ เป็นส่ิงสาคัญย่ิงทั้งน้ีเพื่อเป็นหลักประกันว่าจะไม่สูญเสียอานาจการทะลุ ทะลวงของทุก ๆ กองทัพ ภารกิจของหน่วยซ่อมในระหว่างการรบก็คือ ทาการซ่อมบารุงอย่างต่อเนอ่ื งให้ ยุทโธปกรณ์ทุกชิ้นสามารถใช้งานได้ตลอดเวลา ถ้าหน่วยใช้ต้องการให้สภาพสมดุลของยุทโธปกรณ์ที่ สนับสนุนในสนามรบคงที่ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในระหว่างการรบ เจ้าหน้าท่ซี ่อมบารุงของหน่วยจะตอ้ งทา การสนบั สนุนอยา่ งใกล้ชิด และในบางโอกาสยังตอ้ งเตรยี มงานการซอ่ มขั้นสงู กวา่ อีกด้วย 1. การกู้รถในสนาม คือ การนายานพาหนะที่ชารุดเสียหาย หรือท่ีถูกทอดท้ิงออกมาจากสนามรบ และ นาไปไวต้ ามเสน้ หลักการรกุ และเส้นหลักการสง่ กาลัง หรอื ไปยังตาบลรวบรวมยานพาหนะที่จัดตั้งข้ึน หรือ ไปส่งยังการซ่อมบารุงตามที่กาหนดไว้ 2. การส่งกลับ คือ การเคลื่อนย้าย หรอื การขนส่งยานพาหนะท่ีชารุดเสียหาย หรือทถ่ี ูกทอดทิ้งไว้ ตาม เส้นหลักการส่งกาลัง หรือตาบลรวบรวมยานพาหนะ หรือจากการซ่อมบารุงตามท่ีกาหนดไว้ ไปยังการ ซ่อมบารุงขั้นเหนือกว่า เพื่อรับการซ่อม แล้วส่งกลับคืนมาใช้งานดังเดิม หรือส่งไปตาม สายการส่งกาลัง เพ่ือไว้แจกจา่ ยใหม่ 3. หมซู่ อ่ มบารุงของกองร้อย หมู่ซอ่ มบารุงของกองร้อย (ชุดซ่อมฉุกเฉนิ ) จะติดตามหน่วยของตัวเองเข้า ทาการรบ เพื่อสนับสนุนอย่างใกล้ชิดที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยทาการซ่อมขนาดเล็ก ทาการซ่อม ฉุกเฉิน ทาการกู้รถโดยรถกู้ซ่อมของหน่วยด้วยการลากจูงรถทีช่ ารดุ เสยี หายเข้าที่กาบัง และดาเนินการ ซอ่ มให้เท่าท่ี ความสามารถ และเวลาจะอานวยให้ ในการรบด้วยวธิ รี ุกเคลื่อนที่อย่างรวดเรว็ ถ้าช่างซ่อม ของกองร้อยไม่สามารถซอ่ มให้สาเร็จได้ ก็จะลากจูงรถคันนัน้ ไปไว้ตามเส้นหลักการสง่ กาลังของกองพัน
ห น้ า | 33 แล้วรายงานให้ตอนซ่อมของกองพันทราบตาบลท่ีอยู่ของรถ สภาพการชารุดเสียหาย และความต้องการ ในการซ่อมบารุง ในการรบดว้ ยวธิ ีรุกเคลื่อนท่ีชา้ หรือในการตง้ั รับถ้าชา่ งซ่อมของกองรอ้ ยไม่สามารถซ่อม ได้ ก็จะลากจงู รถเสียไปสง่ ท่ตี าบลรวบรวมรถของกองพัน 4. ตอนซอ่ มบารงุ ของกองพัน ในการรบดว้ ยวธิ รี ุกเคลอ่ื นทีอ่ ยา่ งรวดเรว็ เจา้ หน้าทซ่ี อ่ มบารุงของกองพนั จะจัดการสง่ กลับยานพาหนะท่ีชารดุ เสยี หายจากตาบลรวบรวมรถของกองพนั ไปยังเส้นหลกั การส่งกาลัง ของกรม หรือจัดการส่งกลบั ไปไว้ตามเส้นหลกั การสง่ กาลงั ของหน่วยสรรพาวธุ ของกองพล ที่สนับสนุน (กองรอ้ ยสรรพาวธุ สนบั สนนุ ส่วนหนา้ ) ในการรบดว้ ยวิธีรุกเคล่ือนท่ชี า้ หรือในการต้งั รบั เจ้าหนา้ ทซ่ี ่อมบารุงของกองพัน จะจดั การสง่ กลบั ไปยังตาบลรวบรวมรถของกองพล ตอนท่ี 7 การบริการ และการรายงานการชารดุ ของยานยนตส์ งครามที่รบั มาใหม่ หรอื ซ่อมสร้างใหม่ เมื่อหน่วยได้รับรถใหม่จากการจัดซื้อหรือรถที่ได้รับการซ่อมสร้างใหม่ เจ้าหน้าที่ซ่อมบารุงประจา หน่วย จะต้องพิจารณาตรวจสอบว่า รถท่ีได้รับมานั้น อยู่ในสภาพสมบูรณ์หรือไม่ ด้วยการตรวจ องค์ประกอบทุกส่วน และอุปกรณ์ท่ีติดตั้ง เพื่อให้มั่นใจว่าสิ่งเหล่านี้ได้รับการประกอบเข้าที่อย่างถูกต้อง มัน่ คง ไดร้ ับการจัดปรับ และบริการหลอ่ ล่นื เรยี บร้อย แล้วตรวจเครื่องมือเครื่องใชป้ ระจารถ ตามรายการ สิ่งอุปกรณ์ประจารถ เพ่ือตรวจว่าได้รับจ่ายมาครบถ้วนทุกรายการ และอยู่ในสภาพดี สะอาด ได้รับการ ติดต้ังหรือเก็บเข้าท่ีอย่างถูกต้อง หลังจากน้ันต้องนารถไปทาการทดลองวิ่ง (RUN-IN) เป็นระยะทางที่ พอเพียงประมาณ 10 ไมล์ เพ่ือตรวจการทางานของเครื่องยนต์ และระบบต่าง ๆ ของรถว่าทางาน เรียบร้อยมีประสิทธิภาพหรือไม่ โดยปฏิบัตติ ามขน้ั ตอนวธิ ีการปฏบิ ัตทิ ่ีกาหนดไว้ในคู่มือทางเทคนิคประจา รถ การแกไ้ ขข้อบกพรอ่ ง ข้อบกพรอ่ งท่ีเกิดขนึ้ ในระหวา่ งการทดลองวงิ่ (RUN-IN)จะต้องได้รบั การปฏิบัติ ดังนี้ * ข้อบกพร่องใด ๆ ซึ่งอยู่ในขอบเขตของการซ่อมบารุงระดับหน่วย หน่วยใช้จะต้องดาเนินการ แก้ไขใหเ้ รยี บรอ้ ย กอ่ นท่ีจะนารถออกใชง้ าน * ขอ้ บกพร่องซ่ึงเกินขัน้ การซอ่ มบารุงของหนว่ ยใช้ จะต้องรายงานสง่ ซ่อมไปยงั หน่วยซอ่ มบารงุ ขั้น สูงกวา่ โดยไม่ชกั ช้า เพอื่ มิใหส้ ญู เสียประโยชนเ์ น่ืองจากพ้นห้วงเวลาการประกนั คุณภาพส่ิงของ * ข้อบกพร่องอย่างหนัก ซ่ึงเกดิ จากความบกพรอ่ งในการออกแบบ หรือใช้งานไม่ได้ผล หน่วยใช้ จะตอ้ งทารายงานข้อบกพรอ่ งเสนอตามสายบริการสรรพาวุธ จนถึงกรมสรรพาวุธโดยเรว็ ที่สดุ ตอนที่ 8 การแก้ไขดดั แปลงยทุ โธปกรณ์ 1. ยทุ โธปกรณ์สายสรรพาวุธที่ใช้อยใู่ นกองทพั บกนัน้ อาจมคี วามจาเป็นทจี่ ะต้องดดั แปลงแก้ไข เพอ่ื เพ่ิม ความปลอดภยั แกผ่ ใู้ ช้ เพือ่ ลดงานซอ่ มบารงุ เพ่อื เพมิ่ ประสิทธิภาพในการรบ หรือการใชง้ าน
ห น้ า | 34 2. การดัดแปลงแก้ไขยทุ โธปกรณ์นั้น ใหท้ าตามคาสง่ั กองทัพบกท่วี ่าด้วยการแก้ไขดัดแปลงยุทโธปกรณ์น้ัน ซ่ึงกองทัพบกจะได้ออกคาส่ังเป็นครั้งคราวตามความจาเป็น โดยกาหนดยุทโธปกรณ์ซึ่งจะต้องทาการ ดัดแปลงแก้ไข ชน้ิ สว่ นท่ีตอ้ งทาการดดั แปลงแกไ้ ข และผู้รบั ผิดชอบในการ ดัดแปลงแก้ไข รวมท้งั วิธีการ ดดั แปลงแก้ไขโดยละเอียด และเมือ่ มีคาสั่งให้ดัดแปลงแก้ไขยุทโธปกรณ์แล้ว ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการ ดัดแปลงแกไ้ ขตอ้ งดาเนินการตามคาส่ังทันที จะละเว้นเพิกเฉยเสียมิได้ 3. ห้ามมิให้ทาการดัดแปลงแก้ไขยุทโธปกรณ์ โดยมิได้มีคาสั่ง หรอื ผิดแผกนอกเหนือไปจากแผนแบบ ใน คาส่ังที่เกี่ยวข้อง ในกรณีที่พิจารณาเห็นว่า ถ้าหากฝืนใช้ยุทโธปกรณ์น้ันๆ ต่อไปแล้ว อาจเกิด อันตราย รา้ ยแรงแกช่ ีวิตและทรัพยส์ ินแลว้ ให้งดการใช้ยทุ โธปกรณ์น้ันทนั ที แลว้ รีบรายงานไปตาม สายการบังคับ บัญชา พรอ้ มทง้ั ข้อบกพรอ่ งของยทุ โธปกรณ์สายสรรพาวธุ 4. การดัดแปลงแก้ไขยุทโธปกรณ์ จัดตามลาดบั ความเร่งดว่ นออกเปน็ 2 ประเภทคอื 4.1 ประเภทดัดแปลงแก้ไขทันที เมื่อมีคาส่ังให้มีการดัดแปลงแก้ไขทันที ผู้รับผิดชอบต้องดาเนินการ ดัดแปลงแก้ไขยุทโธปกรณ์ในหนว่ ยใช้ทันที กอ่ นทีจ่ ะใช้ยทุ โธปกรณ์ตอ่ ไป สาหรบั ยุทโธปกรณ์ทีเ่ ก็บรักษา ไว้คงคลังนั้น ผู้รับผิดชอบในการเก็บรักษา และแจกจ่ายจะต้องจัดการให้ยุทโธปกรณ์นั้น ๆ ได้รับการ ดัดแปลงแกไ้ ข ก่อนท่จี ะแจกจา่ ยให้หน่วยทหาร ทั้งน้ีนอกจากคาส่ังดัดแปลงแก้ไขเฉพาะยุทโธปกรณ์แตล่ ะ อยา่ งจะได้กาหนดไวเ้ ปน็ อย่างอนื่ 4.2 ประเภทปกติ การดัดแปลงประเภทน้ี ให้ผู้รับผดิ ชอบดาเนินการดัดแปลงแก้ไขโดยเร็วที่สดุ เทา่ ที่จะ ทาได้ ทัง้ น้โี ดยไมท่ าให้เสียผลในการฝึก หรอื การปฏบิ ัติตามภารกจิ ของหนว่ ยทหาร สว่ นยทุ โธปกรณ์ทีบรรจุ หีบหอ่ เพอื่ การเก็บรักษาไว้ในคลังสรรพาวธุ นนั้ ไม่ต้องนามาดัดแปลงแก้ไข 4.3 การเสนอแนะให้มีการดัดแปลงแก้ไข ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ มีสิทธิ์ที่จะ เสนอแนะให้มีการดัดแปลงแก้ไขยุทโธปกรณ์ เพื่อความมุ่งหมายดังกล่าวมาแล้วข้างต้น เจ้ากรมสรรพาวุธ ทหารบก มีหน้าท่ีพิจารณาข้อเสนอแนะในการดัดแปลงแก้ไขยุทโธปกรณ์ และดาเนินการทางเทคนิคอัน เหมาะสม เพอื่ ให้บรรลผุ ลสมความมงุ่ หมายดงั กลา่ วแล้ว ตอนท่ี 9 แบบพิมพ์-ประวัติการซ่อมบารุง การทาแบบพิมพ์ บันทึกประวัติ และการรายงานการซ่อมบารุงน้ัน เป็นหน้าท่ีของเจ้าหน้าที่ซ่อม บารุง รวมทั้งพลขับ หรือพลประจารถ วิธีการใช้แบบพิมพ์สาหรับการซ่อมบารุงน้ัน จะมีคาอธิบายและ แสดงตัวอย่างไว้ในคู่มือเทคนิค 37-2810 ตามคาส่ัง ทบ.ที่ 400/2507 เรื่อง ให้ใช้คู่มือทางเทคนิค 37-2810 ลง 9 พ.ย.07 ทแี่ นบ ตอนที่ 10 เวลาในการซ่อมบารงุ 1. เวลาในการซ่อมบารุง หมายถงึ เวลาทใี่ ช้สาหรับการฝกึ พลขบั พลประจารถ และชา่ งซอ่ มบารุง ใหป้ ฏิบตั งิ านเกี่ยวกับการซอ่ มบารงุ และเวลาท่ีบคุ คลเหล่านี้ใช้กระทาการซอ่ มบารงุ ให้กบั ยทุ โธปกรณ์
ห น้ า | 35 2. เวลาในการฝึกใช้ยุทโธปกรณ์ในโรงเรียนของเหล่าตามสายวิทยาการ ส่วนมากนั้นใช้เวลา 2-8 สัปดาห์ และการฝกึ ช่างประจาหนว่ ยใชเ้ วลา 8-12 สัปดาห์ สว่ นการฝึกปฏิบัติงานซอ่ มบารงุ ให้ เกดิ ความ ชานาญทางปฏิบตั ินนั้ จะกินเวลานานกวา่ 2-3 เทา่ และต้องใช้ครผู ู้สอนท่ีมีประสิทธิภาพดีด้วย 3. เวลาในการปรนนิบัติบารุง ย่อมเปล่ียนแปลงไปตามชนิดของยุทโธปกรณ์ และชนิดของการ ปรนนิบัติบารุง เช่น รองเท้าคู่หน่ึง อาจขัดให้เสร็จภายในเวลา 4 นาที ส่วนการทาความสะอาดปืนเล็ก กระบอกหน่ึงอาจใช้เวลาถึงคร่ึงช่ัวโมง และในการปรนนิบัติบารุงประจาวันสาหรับ รยบ.2 1/2 ตัน ใช้ เวลาเพียง 15-30 นาที แต่การปรนนบิ ตั ิบารุงประจาเดอื นน้นั ตอ้ งใช้เวลาหลายชัว่ โมง 4. กาหนดเวลาการปฏิบัติ จะต้องให้เปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ในการฝึก เม่ือสามารถ กาหนดเวลาปฏิบัติให้ตายตัวได้ ก็ควรจะได้กาหนดเวลาการปรนนิบัติบารุงไว้ส่วนหน่ึงในตารางฝึก โดยเฉพาะเวลาในการฝึกแต่ละวัน การกระทาเช่นนี้จะช่วยให้เกิดความสะดวกท้ังในการฝึก และการ กากับดูแล ในระหว่างราชการสนาม เช่น เวลาทาการรบการกาหนดเวลาปรนนิบัติบารุงตายตัวไม่อาจ กระทาได้ ดังน้ันจึงกาหนดข้ึนตามเวลาที่จะสะดวกที่สุดเป็นวันๆ ไป และแจ้งให้ทราบล่วงหน้าไม่นาน อย่างไรก็ดีควรระลึกว่าในราชการสนามหรือเวลาทาการรบน้ัน การปรนนิบัติบารุงมีความสาคัญอยู่มาก และจะตอ้ งกาหนดใหก้ ระทาให้ได้ นอกเสยี จากว่าหนว่ ยนัน้ อยากจะรบด้วยดุ้นฟืน 5. เพ่ือให้การซอ่ มบารุงของหน่วย เป็นไปอยา่ งสมบรู ณ์และมีประสทิ ธภิ าพ จะต้องแบ่งเวลาจาก ตารางฝึกให้เพียงพอที่จะทาการซ่อมบารุงข้ันที่ 1 ของพลขับหรือพลประจารถ สาหรับเวลาในการซ่อม บารุงขั้นที่ 2 น้ัน ขึ้นอยู่กับสถานภาพการฝึกพลขับหรือพลประจารถ สภาพของยุทโธปกรณ์ และความ ชานาญของช่างซ่อมบารุง หน่วยได้รับอนุมัติให้มีช่างซ่อมบารุงได้ตามจานวนท่ีเพียงพอต่อการซ่อมบารุง ของหน่วยเท่านั้น จึงไม่ควรพยายามให้ช่างซ่อมบารุงไปปฏิบัติงานหน้าท่ีอ่ืน ช่างซ่อมบารุง ควรจะ ปฏิบัติงานประจาวันให้มากที่สุดเท่าท่ีเวลาจะมีให้ในแหล่งรวมรถ และรับงาน การฝึกสอนอื่นๆเท่าที่ ผูบ้ งั คบั บัญชาพิจารณาว่าเป็นส่ิงจาเปน็ นอกจากน้ี จะต้องใหพ้ ลขับหรือ พลประจารถอยู่ท่รี ถดว้ ย เม่ือนา รถเข้ารับการปรนนิบัติบารุงตามตารางทีก่ าหนด เพื่อทางานรว่ ม กนั ในโรงซอ่ ม โดยพลขับหรอื พลประจา รถจะช่วยเหลือช่างซ่อมบารุงปฏิบัติงานที่จาเป็น เช่นการ หล่อล่ืน การทาความสะอาด หรือการขัน แน่นสิ่งทห่ี ลวมคลอน เป็นตน้ 6. ปัจจัยสาคัญเกี่ยวข้องกับเวลาในการซ่อมบารุง ปัจจัยสาคัญซ่ึงเกี่ยวข้องกับจานวนเวลาท่ี ตอ้ งการสาหรับการซ่อมบารุง ท่ีจะต้องนามาพิจารณาประกอบได้แก่ 6.1 สภาพของเครื่องมือเครอื่ งใช้ เครือ่ งมือเครื่องใช้จะต้องเหมาะสมกบั งานทีก่ ระทาใน คร้ังนั้น ๆ การถอดช้ินส่วนประกอบท่ีติดแน่นมาก อาจต้องใช้วิธีการตัด หรือใช้สว่านเจาะออก ส่วนประกอบท่บี ิดงอ หรือยดื หยุ่นยึดจบั ให้ม่นั คงไมไ่ ด้ก็เป็นสาเหตุให้ต้องใช้เวลาเพ่ิมข้นึ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าเครื่องมือเคร่ืองใช้มีสภาพไม่สมบูรณ์ใช้งานได้อย่างไม่มีประสิทธิภาพก็จะต้องเสียเวลาในการซ่อม เครื่องมอื เคร่อื งใชใ้ ห้ดเี สียก่อนจึงจะเร่มิ ปฏิบัตงิ าน
ห น้ า | 36 6.2 ความเพียงพอของเครื่องมือเครื่องใช้ ถ้าเครือ่ งมือเคร่ืองใช้ท่ีจาเป็นต้องใช้สาหรับ ทาการซ่อมบารงุ น้ัน ๆ ไมม่ ี ก็อาจจาเป็นท่จี ะต้องใช้การดัดแปลง หรือประดษิ ฐ์เครื่องมอื ขึ้นเอง หรือไปยืม จากหน่วยงานอ่นื ซึง่ ยอ่ มต้องเสียเวลามากขนึ้ 6.3 ความสามารถในการจัดหาช้นิ ส่วน ในระหว่างการปฏิบัติงานซ่อมบารงุ อยา่ งหนึ่งน้ัน หาก เกิดการชารดุ เสยี หายของชน้ิ ส่วนข้ึน จะตอ้ งเสียเวลาเพิ่มข้ึนเพอ่ื แก้ไข ตวั อย่างเช่น ในขณะหล่อลื่น รถถัง และพบว่าหัวอัดไขข้น 2-3 หัว ใช้การไม่ได้หรือหัก ซ่งึ จาเป็นตอ้ งจัดหามาเปลี่ยนใหม่ หรือในการ ถอดลูกปืนล้อรถออก เพ่ือทาความสะอาดและอัดไขข้นใหม่แล้วพบว่าลูกปืนตลับน้ันชารุดจาเป็นต้อง เปล่ียนใหม่ดงั น้ี งานซ่อมบารุงกต็ อ้ งหยดุ ชะงกั ลง จนกว่าจะได้ชน้ิ สว่ นใหม่มาทดแทน 6.4 ความชานาญ และความสามารถของช่าง ช่างซ่อมบารุงที่มีความชานาญงาน ประกอบด้วย ความรู้ความสามารถอย่างดี จะทางานพิเศษอย่างใดอย่างหน่ึงสาเร็จได้ด้วยเวลาเล็กน้อย แต่ชา่ งผู้ยังไมช่ านาญงาน ย่อมต้องใชเ้ วลาในการปฏบิ ตั งิ านอย่างเดียวกันด้วยเวลาทีน่ านมาก และช่างซอ่ ม บารุงคนหน่ึง ๆ มกั จะมีความถนัด และความชานาญเป็นพิเศษเพียงด้านเดียว ดังน้ันนายทหารยานยนต์ และนายสิบยานยนต์ จะต้องรู้ขีดความสามารถของชา่ งซ่อมบารุง ซงึ่ อยู่ภายใตก้ ารกากบั ดูแลของตน และ มอบหมายงานท่ีแต่ละบุคคลมีความถนัดให้ อย่างไรก็ตามควรจัดให้มีการฝึกฝนช่างให้มีความรู้ ความสามารถหลาย ๆ ด้านเพือ่ ขจัดปัญหาการชะงักของงาน เมอื่ ขาดชา่ งผชู้ านาญงานไปเพียงคนเดียว 6.5 สภาพของภูมิประเทศ และลมฟ้าอากาศ สภาพภูมิประเทศ และลมฟ้าอากาศจะ กระทบกระเทือนต่อจานวนเวลาในการปรนนิบัติบารุง ตัวอย่างเช่น ในอากาศหนาวจดั จาเป็นต้องสวมถุง มือ เพื่อป้องกันอันตรายจากการสัมผัสชิ้นส่วน หรือเครื่องมือที่เย็นจัดจะทาให้ปฏิบัติงานไม่ถนัด หรือ การซ่อมองค์ประกอบของรถ เช่น สายพาน หรือเพลาล้อท่ีฝังจมอยู่ในโคลนลึก ย่อมต้องการเวลานาน มากกว่าเวลาทใ่ี ช้ในการปฏิบตั ใิ นสภาพปกติ 6.6 ปัจจยั อน่ื ๆ งานปรนนบิ ัตบิ ารงุ จะถูกกระทบกระเทือนเมอ่ื เจา้ หน้าที่ ป่วย ลา หรือ ต้องไปปฏิบัติงานธุรการอื่น ๆ การขาดพลประจารถไปจากที่ได้รับบรรจุไว้จะเป็นการเพ่ิมงานให้กับพล ประจารถที่เหลอื ในกรณเี หล่านี้ควรจะเพมิ่ เวลาสาหรับการปรนนบิ ัติบารุงให้มากขึ้น 6.7 ตารางเฉลีย่ เวลาการซอ่ มบารุง เวลาโดยเฉลย่ี ซึง่ ต้องใชใ้ นการซอ่ มบารุงตา่ ง ๆ ท้ัง ยานยนต์ล้อ และยานยนต์สายพาน ท่ีแสดงไว้ในตารางเฉลยี่ เวลาการซ่อมบารุงเป็นเวลาเฉล่ีย ซ่ึงประเมิน จากการปฏิบัติงานของบุคคลที่ได้รับการฝึกมาอย่างดีแล้ว มีการส่งกาลังบารุงที่เหมาะสม และปฏิบัติใน สภาวการณ์ปกติ สรปุ การท่ีหน่วยจะรกั ษาระดบั ยานยนตใ์ ช้งานไดใ้ ห้อยใู่ นเกณฑส์ ูง หรืออยใู่ นสภาพพรอ้ มรบ ตลอดเวลาน้ันยอ่ มขึ้นอยู่กับการจดั ระเบยี บสายงานซ่อมบารงุ ที่เหมาะสม เจ้าหนา้ ทที่ ุกคน รู้จกั หนา้ ทีร่ ับผิดชอบของแตล่ ะบคุ คล แลการปฏบิ ัติหนา้ ทอี่ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ อทุ ศิ ตนให้ กับงานเต็มความรู้ ความสามารถของแตล่ ะคน *************
ห น้ า | 37 ตารางเฉลยี่ เวลาการซอ่ มบารงุ ( เอกสาร 17 - 160 ทบ.สหรัฐฯ ) การบริการ หรือการซ่อม ยานยนตส์ ายพาน ยานยนตล์ ้อ - การบรกิ ารกอ่ นใชง้ าน 30 นาที ( พลประจารถ ) 15 นาที ( พลขบั ) - การบริการขณะหยดุ พัก 15 นาที ( พลประจารถ ) 5 นาที ( พลขบั ) - การบริการหลงั ใชง้ าน 1 ชม. ( พลประจารถ ) 20 นาที ( พลขับ ) - การบรกิ ารประจาเดือน 1 วัน ( ชา่ ง 1 และพลประจารถ 2 ) 1 วนั ( ชา่ ง 1 และพลขบั ) - การบริการประจา 3 เดอื น 1 1/2 วัน ( ช่าง 1 และพลประจารถ 2 ) - - การบริการประจา 6 เดอื น - 1 - 2 วัน (ช่าง 1 และพลขับ ) - การยกเครื่องยนต์ออก 4 ชม. ( ชา่ ง 1 และพลประจารถ 2 ) - - การถอดเปลย่ี นเครอ่ื งยนต์ รยบ. 1/4 ตัน - 3 ชม. ( ชา่ ง 2 ) - การเปลย่ี นหีบเฟอื งขบั ข้นั สดุ ทา้ ย และเฟอื งขบั สายพาน 6 ชม. ช่าง 1 และพลประจารถ 2 ) - - การเปลี่ยนเคร่อื งผ่อนแรง 1 ชม. ( พลประจารถ ) 30 นาที ( ช่าง 1 ) สะเทอื น 2 ชม. ( พลประจารถ ) - - การเปลย่ี นคานรบั แรงบดิ - การเปลยี่ นลอ้ กดสายพาน 1 ชม. ( พลประจารถ ) - - 15 นาที ( พลขับ ) 1 ลอ้ 6 ชม. ( พลประจารถ ) - - การเปลยี่ นลอ้ รถ 1 ลอ้ 30 นาที ( พลประจารถ ) - - การเปลยี่ นสายพาน 1 ขา้ ง - การปรบั สายพาน 1 ขา้ ง 1 ชม. ( พลประจารถ ) 5 - 10 นาที ( พลขบั ) - การเติมน้ามันเช้อื เพลงิ ด้วย ถงั ขนาด 5 แกลลอน
ห น้ า | 38 แผนกวิชายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรียนทหารม้า ศูนยก์ ารทหารมา้ ค่ายอดศิ ร สระบรุ ี ---------- ผนวกประกอบเอกสารเพิ่มเติม การจัด และการทางานของหนว่ ยซ่อมบารุงการจดั กองพนั ทหารมา้ รถถงั . กองพนั ทหารมา้ (รถถงั ) อจย. 17-15 กองบงั คบั การกองพนั และกองร้อยกองบงั คบั การ กองร้อยรถถงั กองบงั คบั การกองพนั กองร้อยกองบงั คบั การ กองบงั คบั การกองร้อย หมวดรถถงั หมู่บงั คบั การ หม่นู ้ามนั และกระสุน หมซู่ ่อมบารุง หมสู่ มั ภาระ กองบงั คบั การกองร้อย ตอนการข่าว ตอนส่งกาลงั ตอนซ่อมบารุง ตอนธุรการและกาลงั พล ตอนยทุ ธการ ตอนส่ือสาร
ห น้ า | 39 1. การจัด กองพันทหารม้ารถถัง มีการจดั ตาม อจย. 17 - 15 ( 25 ม.ค.19 ) ประกอบด้วย กองบังคับ การกองพันและกองร้อยกองบังคับการ และกองรอ้ ยรถถัง 3 กองร้อย บก.พัน. ประกอบดว้ ยเจ้าหน้าที่ที่ จาเป็นในการบังคับบัญชา ควบคุม และกากับดูแลของกองพัน ได้แก่ ผบ.พัน รอง ผบ.พัน. ฝ่าย อานวยการประสานงานและผู้ช่วย ได้แก่ ฝอ.1 ฝอ.2 ฝอ.3 ฝอ.4 และฝ่ายกิจการพิเศษ ได้แก่ ฝสส. นตต. นยน. (ร.อ.) นายแพทย์ และฝกง. 2. กองรอ้ ยกองบังคับการ ( รอ้ ย.บก.พนั .ถ. ) มเี จ้าหน้าที่ซอ่ มบารุงอยู่ใน บก.ร้อย. ดังน้ี 2.1 ช่างอาวธุ ( จ. ) 2.2 นายสบิ ยานยนต์ ( จ. ) 2.3 ชา่ งยานยนต์ล้อ ( จ.1 สอ.3 ) 2.4. เสมียนสง่ กาลงั (ช้ินส่วนซอ่ ม) ( ส.อ ) 2.5 พลขับ ( จ. ) 3. เครื่องมอื ซอ่ มบารุง ( บก.ร้อย ) 3.1 เครื่องมอื ชุดช่างอาวธุ 2 ชดุ 3.2 เครอื่ งมือชุดชา่ งทั่วไป 2 ชุด 3.3 เครือ่ งมือชดุ ช่างทวั่ ไปเสรมิ 2 ชดุ 3.4 เครอื่ งมอื ซอ่ มบารงุ ขนั้ หนว่ ย ชุดหมายเลข 1 ทั่วไป 2 ชดุ 3.5 เครอื่ งมอื ซ่อมบารุงข้ันหนว่ ย ชดุ หมายเลข 1 ทั่วไป เพิม่ เตมิ 1 ชุด 3.6 เครอ่ื งมอื ซอ่ มบารุงขั้นหนว่ ย ชุดหมาย 7 ( ลากจูง ) 1 ชุด 4. ตอนซ่อมบารุง ( ร้อย.บก.พัน ถ. ) มีหน้าท่ีในการซ่อมบารุงระดับหน่วย ( ข้ันท่ี 2 ) ซึ่งเกินขีด ความสามารถในการซ่อมบารุงท่ีกองร้อยจะกระทาได้ ตอนซ่อมบารุงจะทาการกู้รถ และส่งกลับ ยานพาหนะ และส่งกาลังชิ้นส่วนซ่อมตามท่ีได้รับการอนุมัติ ( เว้นสายสื่อสาร และสายแพทย์) ตอนซ่อม บารงุ จะปฏบิ ัตภิ ายใต้การกากับดแู ลของนายทหารยานยนตก์ องพัน 4.1 กาลงั พลในตอน ซบร. ( รอ้ ย. บก.พนั .ถ. ) 4.1.1 นายสิบยานยนต์ ( จ. ) 4.1.2 ช่างยานยนต์สายพาน ( จ.2 ส.อ. 4 ) 4.1.3 ช่างปืนใหญ่รถถงั ( จ.1 ส.อ. 1 ) 4.1.4 นายสิบรถกู้ ( จ. 2 ) เป็นพลขบั ด้วย 4.1.5 นายสบิ ชนิ้ สว่ นสาย สพ. ( ส.อ. ) 4.1.6 พลขบั ( ส.อ. ) 4.2 เครอื่ งมือในตอนซอ่ มบารงุ ( รอ้ ย.บก.พัน.ถ. ) 4.2.1 เคร่ืองมือชุดซ่อมบารงุ ขั้นหนว่ ย หมายเลข 2 ทวั่ ไป 1 ชุด 4..2. เคร่ืองมอื ชุดซอ่ มบารงุ ข้ันหน่วย หมายเลข 2 เสริม 1 ชดุ 4.3 เครอ่ื งมือซ่อมบารงุ พเิ ศษ ชุด B (ของรถแตล่ ะชนดิ ) ชนิดละ 1 ชุด
ห น้ า | 40 5. กองรอ้ ยรถถังในกองพันรถถังมีการอตั ราการจดั ตาม อจย. 17-17 (25 ม.ค.19) 5.1 หมู่ซอ่ มบารุง มหี น้าท่ีรบั ผิดชอบการซ่อมบารุงภายในกองร้อย เก่ยี วกับยานพาหนะ เครือ่ ง ตดิ ตอ่ สอื่ สาร และอาวธุ ของกองร้อย นอกจากน้ยี งั ทาการกซู้ อ่ ม และสง่ กลับตามขีดความสามารถของตน 5.2 เจ้าหนา้ ทใี่ นหมู่ซอ่ มบารงุ รอ้ ย.ถ. ประกอบด้วย 5.2.1 นายทหารยานยนต์ ( ร.ท. ) 5.2.2 นายสิบยานยนต์ ( จ.ส.อ. พ.) 5.2.3 นายสิบรถกู้ ( จ. 2 ) เป็นพลขบั และช่างเชอ่ื มโลหะดว้ ย 5.2.4 ช่างยานยนต์สายพาน ( จ.3 ส.อ. 7 ) เปน็ พลขบั ดว้ ย 5.2.5 ช่างวทิ ยุ ( ส.อ. ) 5.2.6 ช่างปนื ใหญ่รถถงั ( จ. 1 ส.อ. 1 ) 5.2.7 ช่างอาวุธ ( ส.อ. ) 5.2.8 นายสบิ ช้ินส่วนสาย สพ. ( ส.อ. 1 ) 5.2.9 พลขบั ( ส.อ. 2 ) เปน็ พลวิทยดุ ้วย 5.3 เคร่อื งมอื ในหม่ซู ่อมบารุง รอ้ ย.ถ. 5.3.1 เครอื่ งมอื ชดุ ช่างซ่อมปนื ใหญข่ ้ันตน้ 1 ชุด 5.3.2 เคร่อื งมอื ชุดชา่ งป้อมปืนใหญร่ ถถัง 1 ชุด 5.2.3 เครื่องมอื ชดุ ชา่ งอาวธุ 1 ชดุ 5.3.4 เคร่อื งมอื ชดุ ชา่ งทว่ั ไป 12 ชดุ 5.3.5 เครอ่ื งมอื ชดุ ช่างท่วั ไป เสริม 12 ชุด 5.3.6 เครื่องมอื ชดุ ซอ่ มบารุงขนั้ หนว่ ย หมายเลข 1 ท่ัวไป 1 ชดุ 5.3.7 เครือ่ งมือชุดซอ่ มบารงุ ข้นั หน่วย หมายเลข 1 ท่วั ไปเพิม่ เตมิ 1 ชดุ 5.3.8 เคร่อื งมือชุดซ่อมบารุงข้นั หนว่ ย หมายเลข 2 เสริม 1 ชดุ 5.3.9 เครือ่ งมือชุดซอ่ มบารุงขน้ั หน่วย หมายเลข 5 1 ชุด …………………………………..
ห น้ า | 41 การจัดกองพันทหารม้า ( ลาดตระเวน ) กองพนั ทหารมา้ (ลาดตระเวน) อจย.17-55 ก. กองบงั คบั การและกองร้อยกองบงั คบั การ อจย.17-56 ก. กองร้อยทหารมา้ ลาดตระเวน อจย.17-57 ก. กองบงั คบั การกองพนั กองร้อยกองบงั คบั การ กองบงั คบั การกองร้อย หมวดลาดตระเวน บก.มว. ตอนลาดตระเวน ตอนรถเกราะ หมู่ ปล. หมู่ สน. บก.ร้อย. ตอนธุรการและ กาลงั พล ตอนข่าวกรอง ตอนส่งกาลงั ตอนเสนารักษ์ ตอนสื่อสาร ตอนซ่อมบารุง ตอนการบนิ ไมจ่ ดั ในอตั ราลด
ห น้ า | 42 การจดั กองพันทหารม้า (ลาดตระเวน ) มีการจัดตาม อจย. 17-55 ก. ( 10 มิ.ย.28 ) ประกอบด้วยกอง บงั คับการ กองรอ้ ยกองบังคบั การ และกองร้อยลาดตระเวน 3 กองร้อย บก.พัน.ประกอบด้วยเจ้าหนา้ ที่ท่ี จาเป็นในการบังคับบัญชา ควบคุม และกากับดูแลของกองพัน ได้แก่ ผบ.พัน รอง ผบ.พัน. ฝ่าย อานวยการประสานงานและผู้ช่วย ได้แก่ ฝอ.1 ฝอ.2 ฝอ.3 และผู้ช่วย ฝอ.4 และผู้ช่วย ฝ่ายกิจการ พเิ ศษ ได้แก่ ฝสส. นตต. นยน. (ร.อ.) นายแพทย์ และฝกง. 1. ตอนซอ่ มบารุงกองพนั ( ร้อย.บก.พัน.ลว. ) มหี นา้ ท่ีในการซอ่ มบารงุ ระดับหน่วย ( ขนั้ ท่ี 2 ) ซงึ่ เกินขีด ความสามารถในการซ่อมบารุงท่ีกองร้อยจะกระทาได้ ตอนซ่อมบารุงจะทาการกู้รถ และส่งกลับ ยานพาหนะ และส่งกาลังช้ินส่วนซ่อมตามท่ีได้รับการอนุมัติ ( เว้นสายส่ือสาร และสายแพทย์) ตอนซ่อม บารงุ จะปฏิบัตภิ ายใตก้ ารกากับดแู ลของนายทหารยานยนตก์ องพนั 2. เจา้ หน้าที่ ในตอนซอ่ มบารงุ ร้อย.บก. ( อจย. 17-56 ก. 10 มิ.ย.28 ) 2.1 นายทหารซ่อมบารงุ ( ร.ท. ) 2.2 นายสบิ ยานยนต์ ( จ. ) พ. 2.3 เสมยี นชิ้นสว่ นสาย สพ. ( จ. ) 2.4 ช่างยานยนตล์ อ้ ( ส.อ. 5 ) เป็นพลขับดว้ ย 2.5 ชา่ งเชื่อม ( ส.อ. ) 2.6 นายสิบบัญชคี มุ ( ส.อ. ) 2.7 พลขับ ( ส.อ. ) เปน็ พลวทิ ยดุ ว้ ย 3. เครอื่ งมอื ซ่อมบารงุ ( อจย.17-56 ก. 10 มิ.ย.28 ) 3.1 เครอ่ื งมอื ชุดชา่ งทัว่ ไป 6 ชดุ 3.2 เครื่องมือชดุ ชา่ งทั่วไป เสริม 6 ชุด 3.3 เครอ่ื งมือชดุ ซอ่ มบารงุ ขน้ั หน่วย หมายเลข 2 ทัว่ ไป 1 ชุด 3.4 เคร่อื งมือชุดซอ่ มบารงุ ขัน้ หน่วย หมายเลข 2 ทั่วไปเพมิ่ เติม 1 ชดุ 3.5 เครอ่ื งมอื ชดุ ซอ่ มบารุงข้นั หนว่ ย หมายเลข 1 เสรมิ 1 ชดุ 3.6 เครอ่ื งมือชุดซ่อมบารุงขั้นหน่วย หมายเลข 2 เสรมิ 1 ชุด 4. เจ้าหนา้ ที่ ซ่อมบารงุ ใน บก.ร้อย ( รอ้ ย.ลว. อจย. 17-57 ก. 19 พ.ค..18 ) 4.1 นายสิบยานยนต์ ( จ. ) 4.2 ช่างยานยนต์ล้อ ( ส.อ. 5 ) 4.3 ช่างวิทยุ ( ส.อ. 2 ) 4.4 เสมยี นชนิ้ ส่วนสาย สพ. ( ส.อ. ) 4.5 ชา่ งอาวุธ ( ส.อ. ) 4.6 นายสบิ สง่ กาลงั ( จ. ) 5. เครอ่ื งมอื ซอ่ มบารงุ 5.1 เครอ่ื งมือชุดชา่ งทวั่ ไป 5 ชุด
ห น้ า | 43 5.2 เครอ่ื งมือชดุ ชา่ งทว่ั ไป เสรมิ 5 ชุด 5.3 เคร่อื งมือชดุ ชา่ งอาวธุ 1 ชดุ 5.4 เคร่ืองมือชดุ ซอ่ มบารงุ ข้นั หนว่ ย หมายเลข 1 ท่ัวไป 1 ชุด 5.5 เครื่องมอื ชุดซอ่ มบารงุ ขัน้ หน่วย หมายเลข 1 ท่ัวไปเพิ่มเตมิ 1 ชดุ …………………………………. การจดั กองรอ้ ยทหารมา้ (ลาดตระเวน) กองร้อยลาดตระเวน อจย. 17-57 พ. กองบงั คบั การกองร้อย หมวดลาดตระเวน หมบู่ งั คบั การ หมู่ซ่อมบารุง หมสู่ ัมภาระ บก.หมวด ตอนคอยเหตุ ตอนรถถงั หมู่ ปล. หมู่ ค. เจา้ หน้าทใี่ นหมู่ซอ่ มบารุง ร้อย.ลว. ประกอบดว้ ย 1. นายทหารซ่อมบารุง ( ร.ท. ) 2. นายสิบยานยนต์ ( จ. ) พ. 3. ช่างวิทยุ ( ส.อ. 2 ) 4. ชา่ งยานยนต์สายพาน ( จ. 1 ส.อ. 1 ) 5. ช่างยานยนต์ลอ้ ( จ. 1 ส.อ. 3 ) 6. ชา่ งปืนใหญ่รถถัง ( ส.อ. ) 7. นายสบิ ชน้ิ สว่ นสาย สพ. ( ส.อ. ) 8. ชา่ งอาวุธ ( ส.อ. ) 9. นายสบิ รถกู้ ( จ. 2 ) เครอื่ งมอื ซ่อมบารุง ตาม อจย. 17-57 พ. 10 มิ.ย. 28 ……………………………….
ห น้ า | 44 การจัดกองพันทหารม้าบรรทกุ ยานเกราะ พนั .ม. ( ก. ) อจย.17-25 พ. บก.พนั ./ ร้อย.สสก. ร้อย.สสช. ร้อย.ม. ( ก. ) อจย.17-16 พ. อจย.17-28 พ. อจย.17-27 พ. หมู่ ซบร. หมู่ ซบร. บก.ร้อย. มว. ซบร. หมู่ ซบร.
ห น้ า | 45 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรียนทหารม้า ศูนยก์ ารทหารมา้ ค่ายอดิศร สระบุรี ------------------------------ เอกสารนา เอกสารการซ่อมบารงุ , การซ่อมบารงุ ทางธรุ การ และแบบพมิ พป์ ระวัติ 1 .ความมุ่งหมาย เพื่อให้นักเรียนทราบวิธีปฏบิ ัติเกีย่ วกับการใช้เอกสารการซอ่ มบารุงและ แบบพมิ พ์ตา่ ง ๆ ทีใ่ ช้ในการซ่อมบารุงระดับหนว่ ย 2.ขอบเขตการศกึ ษา ให้นักเรียนมีความรใู้ นเร่อื ง 2.1 เอกสารการซอ่ มบารุง 2.2 แบบพมิ พท์ ี่ใชใ้ นการซอ่ มบารงุ ข้นั ที่ 1 ดงั ต่อไปน้ี 2.2.1 บัตรการใช้รถประจาวัน ทบ.468-310 2.2.2 รายงานอุบัตเิ หตุ ทบ.468-702 2.2.3 คาสั่งการหลอ่ ล่ืน 2.2.4 คู่มอื ทางเทคนิคประจายุทโธปกรณ์ 2.2.5 ใบอนญุ าตขับข่ยี านยนตท์ หาร 2.3 แบบพิมพท์ ใี่ ช้ในการซ่อมบารงุ ขน้ั ท่ี 2 ดงั ต่อไปน้ี 2.3.1 รายการจ่ายรถประจาวนั ทบ.468-375 2.3.2 รายการตรวจสภาพเฉพาะอยา่ ง - ยานยนต์ล้อ ทบ.468-368 - ยานยนต์สายพาน ทบ.468-369 2.3.3 ตารางกาหนดการปบ.ยทุ ธภณั ฑ์ ทบ.468-360 2.3.4 รายการปบ.และตรวจสภาพทางเทคนคิ - ยานยนตล์ ้อ ทบ.468-361 - ยานยนต์สายพาน ทบ.468-362 2.3.5 ซองประวตั ยิ ทุ ธภัณฑ์ ทบ.468-378 2.3.6 ใบส่งซอ่ มและส่ังงาน ทบ.468-311 3.ระยะเวลาการศกึ ษา - ชั่วโมง 4.หลักฐาน - คท.37-2810 - คาส่ังทบ.ที่ 400/2507 ลง 9 พ.ย.07 เร่ืองให้ใช้ คท.37-2810 เกี่ยวกับการตรวจ สภาพ และการปบ.ยานยนต์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144