โรงเรียนทหารมา้ วชิ า ระบบการตอ่ สเู้ บด็ เสรจ็ รหสั วิชา ๐๑๐๒๐๕๐๓๑๑ หลักสตู ร นายสิบอาวโุ ส แผนกวชิ าฝ่ายอำนวยการ กศ.รร.ม.ศม. ปรัชญา รร.ม.ศม. “ฝกึ อบรมวชิ าการทหาร วทิ ยาการทนั สมยั ธำรงไวซ้ งึ่ คณุ ธรรม”
ปรชั ญา วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ วตั ถปุ ระสงคก์ ารดาเนินงานของสถานศึกษา เอกลกั ษณ์ อตั ลกั ษณ์ ๑. ปรชั ญา ทหารมา้ เป็นทหารเหล่าหน่งึ ในกองทพั บกทใ่ี ชม้ า้ หรอื สงิ่ กาเนดิ ความเรว็ อ่นื ๆ เป็นพาหนะเป็นเหล่าทม่ี ี ความสาคญั และจาเป็นเหลา่ หน่งึ สาหรบั กองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดยี วกบั เหลา่ ทหารอ่นื ๆ โดยมี คณุ ลกั ษณะทม่ี คี วามคลอ่ งแคล่ว รวดเรว็ ในการเคล่อื นท่ี อานาจการยงิ รุนแรง และอานาจในการทาลาย และขม่ ขวญั อนั เป็นคณุ ลกั ษณะทส่ี าคญั และจาเป็นของเหลา่ โรงเรยี นทหารมา้ ศูนยก์ ารทหารมา้ มปี รชั ญา ดงั น้ี “ฝึ กอบรมวิชาการทหาร วิทยาการทนั สมยั ธารงไว้ซ่ึงคณุ ธรรม” ๒. วิสยั ทศั น์ “โรงเรยี นทหารมา้ ศูนยก์ ารทหารมา้ เป็นศูนยก์ ลางการเรยี นรวู้ ชิ าการเหล่าทหารมา้ ทท่ี นั สมยั ผลติ กาลงั พลของเหลา่ ทหารมา้ ใหม้ ลี กั ษณะทางทหารทด่ี ี มคี ุณธรรม เพอ่ื เป็นกาลงั หลกั ของกองทพั บก” ๓. พนั ธกิจ ๓.๑ วจิ ัยและพฒั นาระบบการศกึ ษา ๓.๒ พัฒนาคุณภาพครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ๓.๓ จดั การฝกึ อบรมทางวชิ าการเหลา่ ทหารมา้ และเหล่าอ่นื ๆ ตามนโยบายของกองทัพบก ๓.๔ ผลติ กาลงั พลของเหล่าทหารมา้ ใหเ้ ป็นไปตามวตั ถุประสงคข์ องหลกั สตู ร ๓.๕ พฒั นาสอื่ การเรยี นการสอน เอกสาร ตำราของโรงเรยี นทหารมา้ ๓.๖ ปกครองบงั คบั บญั ชากาลงั พลของหน่วย และผูเ้ ขา้ รบั การศึกษาหลกั สูตรต่างๆ ให้อยู่บน พน้ื ฐานคุณธรรม จรยิ ธรรม ๔. วตั ถปุ ระสงคข์ องสถานศึกษา ๔.๑ เพ่อื พฒั นาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้มคี วามรู้ความสามารถในการถ่ายทอด ความรู้ ใหก้ บั ผเู้ ขา้ รบั การศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ๔.๒ เพ่อื พฒั นาระบบการศกึ ษา และจดั การเรยี นการสอนผ่านส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ให้มคี ุณภาพอย่าง ต่อเน่อื ง ๔.๓ เพอ่ื ดาเนินการฝึกศกึ ษา ใหก้ บั นายทหารชนั้ ประทวน ทโ่ี รงเรยี นทหารมา้ ผลติ และกาลงั พลท่ี เขา้ รบั การศกึ ษา ใหม้ คี วามรคู้ วามสามารถตามทห่ี น่วย และกองทพั บกตอ้ งการ ๔.๔ เพ่อื พฒั นาระบบการบรหิ าร และการจดั การทรพั ยากรสนับสนุนการเรยี นรู้ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ สงู สุด ๔.๕ เพ่อื พฒั นาปรบั ปรุงส่อื การเรยี นการสอน เอกสาร ตารา ให้มคี วามทนั สมยั ในการฝึกศกึ ษาอย่าง ต่อเน่อื ง ๔.๖ เพ่อื พฒั นา วิจยั และให้บรกิ ารทางวิชาการ ประสานความร่วมมอื สร้างเครอื ข่ายทาง วชิ าการกบั สถาบนั การศกึ ษา หน่วยงานอน่ื ๆ รวมทงั้ การทานุบารงุ ศลิ ปวฒั ธรรม ๕. เอกลกั ษณ์ “เป็นศูนยก์ ลางแห่งการเรยี นรูท้ างวชิ าการ และผลติ กาลงั พลเหล่าทหารมา้ อย่างมคี ุณภาพเป็นการ เพมิ่ อานาจกาลงั รบของกองทพั บก”
๖. อตั ลกั ษณ์ “เดน่ สงา่ บนหลงั ม้า เก่งกลา้ บนยานรบ”
สารบญั หนา้ เรอื่ ง 1. 5. บทท่ี 1 กล่าวทวั่ ไป 14. บทที่ 2 ระบบการต่อสู้เบด็ เสรจ็ 31. บทที่ 3 การพฒั นาระบบการตอ่ สเู้ บ็ดเสรจ็ ยุทธศาสตรพ์ ฒั นา
1 บทท่ี 1 กลา่ วทว่ั ไป 1. กลา่ วนำ สงครามเปน็ เครอื่ งมือขนั้ สุดทา้ ยที่รฐั บาลใช้แก้ปัญหาขดั แย้งทางการเมืองระหวา่ งประเทศ แต่การ สงครามมหี ลายรปู แบบจึงยากทจ่ี ะคาดหวงั ว่าประเทศชาติจะเผชญิ กบั สงครามแบบใด โดยเฉพาะอย่างยง่ิ แนวโนม้ ท่จี ะเกดิ สงครามตามแบบขนาดใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นสงครามจำกัดหรือสงครามทั่วไป นบั วันจะลดน้อยลง แต่จะเกิดสงครามเยน็ กบั การรบเฉพาะแหง่ เล็ก ๆ น้อย ๆ เพื่อตอ่ รองทางการเมืองหรือเงอื่ นไขอน่ื ฉะนนั้ การ เตรียมพัฒนาศกั ย์สงครามของชาตใิ หม้ ีความเข้มแข็งพรอ้ มสรรพ จงึ เป็นหนา้ ที่ของขา้ ราชการและประชนชน ทกุ คน จะต้องรว่ มมือรว่ มใจกันดว้ ยจิตสำนึกทจี่ ะรักษาเกยี รติภมู ิของประเทศชาติ โดยรกั ษาไว้ซึ่งเอกราช บูรณภาพแห่งดินแดนไทย ดว้ ยคนไทย เพ่ือคนไทย ดว้ ยการพัฒนาศกั ยภาพของทรัพยากรชาติทง้ั มวลให้เก้ือกูล ต่อการพัฒนาความมนั่ คงของชาติ ท้งั ด้านเศรษฐกจิ สังคม การเมือง และการป้องกนั ประเทศ โดยการพัฒนา \"ระบบการต่อสเู้ บ็ดเสร็จ\" (Total Defense) ให้สามารถ ตอ่ สูก้ บั ภยั คุกคามทุกรูปแบบ (Threats) ท้งั ภัย คุกคามตามธรรมชาติ และภยั คุกคามท่มี นุษยส์ รา้ งขนึ้ ไม่ว่าภัยนนั้ จะเกดิ ขนึ้ ภายในประเทศหรอื แพรก่ ระจายมา จากภายนอกกต็ าม การตอ่ สเู้ บ็ดเสรจ็ เปน็ รปู แบบหน่ึงของการต่อสู้ทางยทุ ธศาสตร์ ท่สี ามารถจะเอาชนะได้ทั้งภยั คุกคาม ทางเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง และการทหาร ดังนนั้ การพฒั นาระบบการต่อสเู้ บด็ เสร็จ จงึ ตอ้ งกำหนดวธิ ีการ และหลกั นิยมให้เหมาะสมกับความเปน็ จริงพ้ืนฐานทางธรรมชาติของประเทศไทย และสอดคล้องกบั ภยั คุกคาม ตา่ ง ๆ ท่อี นุมานขึ้นตามแนวโน้มของสถานการณ์ประกอบกบั สถติ ทิ เี่ คยเกิดจรงิ ๆ มาแล้วในอดีตกาล ดว้ ยการ ใช้ \"ยุทธศาสตร์พฒั นา\" (Strategic Development) นำการพฒั นาระบบโดยการใช้หลกั การ (Scientific Methods) และการมีส่วนร่วม (Participation) การพัฒนา คือ การทำใหด้ ีขน้ึ แตก่ ารพฒั นาก็มีผลกระทบทั้งในดา้ นดี และข้อเสีย แนวความคดิ เชงิ พัฒนาจงึ มักถกู จำกัดขัดแยง้ จากบางกลุ่มบางฝ่ายเพราะความไม่กระจ่างชดั ความไมเ่ ขา้ ใจตรงกัน และความไม่ เชื่อวา่ จะประสบความสำเรจ็ ยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนาจึงจำเปน็ ต้องพยายามดำเนินการให้เกิดความสมดลุ ระหว่าง \"การพัฒนาและการอนรุ กั ษ์\" และสิง่ ที่จะสามารถทำใหท้ ุกฝ่ายมคี วามเขา้ ใจตรงกัน และมีความเช่ือเหมือนกัน คอื \"การศกึ ษา\" เพราะการศกึ ษาคือการพฒั นาเพื่อความเป็นอันหนึ่งอันเดยี วกนั ของประชากร และเพ่ือความ ม่นั คงของชาติ 2. คนไทยกบั การตอ่ สเู้ บด็ เสรจ็ ประวัติศาสตรไ์ ทยชชี้ ัดวา่ เม่อื ก่อนไม่มีการจัดกำลังทหารเหมอื นปัจจบุ ันและในการเรม่ิ คดิ กอ่ ตง้ั อาณา จักรสุโขทยั กย็ งั ไม่เคยมกี ารจารกึ ว่าเราจดั ใหม้ คี นไทยทำหน้าทีแ่ บบทหารโดยเฉพาะ ความเป็นจริงแล้ว คนไทย เราปกติกเ็ ป็นประชาชนธรรมดาท่ีทำมาหากินกันไปในสงั คมแบบชาวบ้าน แต่ถึงเวลาต้องใชศ้ ักยภาพของคนไป ในทางทหารกส็ ามารถจดั ประชาชนธรรมดาท่วั ไปมาแบ่งงานกันทำได้ ไมว่ า่ ชาย หรือหญงิ นอกจาก นน้ั คน ๆ เดียวกนั เม่ือทำการรบบนบกก็เปน็ ทหารบก แต่พอใช้เรอื กเ็ ปน็ ทหารเรอื ได้ แสดงให้เห็นวา่ ในคนไทยคนเดยี วมี ศักยภาพในหลาย ๆ ดา้ น เรยี กวา่ ไมม่ ีข้อจำกดั ใด ๆ บรรพบุรุษไทยจงึ มลี ักษณะของกำลงั ในการต่อสเู้ บด็ เสร็จ
2 อยแู่ ลว้ และมีการจดั ระบบการตอ่ สู้เบด็ เสร็จแบบธรรมชาติ เหมาะสมแกส่ ถานการณแ์ ละสภาพสงั คมขณะน้นั เช่น มกี องทัพหลวงเปน็ กำลังรบหลกั มกี ำลังตามหวั เมืองเปน็ กำลังประจำถ่นิ มกี ำลังประชาชนทีร่ บไดโ้ ดย อัตโนมตั ิ มีการจัดกำลงั บางส่วนเปน็ กลมุ่ ผู้ผลิต และมีการจัดกำลงั ดูแลพระนครเหมอื นการพิทักษ์พนื้ ท่ีเขตหลัง ด้วย โดยธรรมชาตคิ นไทยมีนิสัยเปน็ นักสทู้ ่ี ยามศึกกร็ บ ยามสงบก็ทำมาหากิน ทำใหเ้ กดิ ความมั่นคงทั้งดา้ น เศรษฐกิจ สงั คม การเมือง และการทหาร อาจจะเป็นดว้ ยเหตนุ ก้ี ไ็ ด้ทร่ี ัฐธรรมนูญการปกครอง ซง่ึ ใช้อยู่ปจั จบุ นั นี้ แม้จะเขยี นตามแบบอยา่ งสากล แตก่ ย็ งั คงรักษาวฒั นธรรมไทย หรือทำตามลกั ษณะนิสยั คนไทยไว้เพื่อความ กลมกลืนระหว่างประชาชนท่ัวไป กับประชาชนสว่ นหนงึ่ ที่ทำหนา้ ทท่ี างทหาร เชน่ ในหมวดหนา้ ทข่ี องชาวไทย กลา่ ววา่ \"บคุ คลมีหนา้ ที่ในการป้องกันประเทศ\" และในหมวด แนวนโยบาย ของรัฐ ระบุวา่ \"รัฐต้องจัดให้มี กำลังทหารไวเ้ พื่อรักษาเอกราช ความม่ันคงของรฐั และผลประโยชน์แห่งชาติ กำลงั ทหารพงึ ใช้ เพื่อการรบหรือ การสงคราม เพอื่ ปกปอ้ งสถาบนั พระมหากษัตริย์ เพอื่ ปราบปราม การกบฏและการจลาจล เพ่อื รกั ษาความ ม่ันคงของรัฐ และเพื่อการพฒั นาประเทศ\" คนไทยทกุ คน จงึ ควรเข้าใจว่า ใครจะทำหนา้ ทีห่ รือมีอาชพี ใดก็ตามต้องสามารถทำการป้องกันประเทศ ได้ และขณะเดยี วกนั ก็สามารถใช้ทหารในการพฒั นาประเทศได้ ความสัมพันธ์ระหวา่ งงานในหน้าที่เฉพาะกับ หนา้ ที่ในการป้องกนั ประเทศของทกุ คนเหมือนกับความสอดคล้องระหวา่ งพนั ธกจิ (Function) และภารกิจ (Mission) ซง่ึ ดเู หมอื นวา่ ทกุ คนในชาตติ อ้ งมที ง้ั หน้าทเ่ี ฉพาะหรอื กจิ เฉพาะ (Manifest Function) ซง่ึ ใคร ๆ เห็นก็ร้วู า่ นค่ี ือ ครู ทหาร พ่อคา้ ชาวนา ฯลฯ และหน้าท่ีแอบแฝงไว้หรือกจิ แฝง (Latent Function) คอื มี ส่วนในการป้องกนั ประเทศตามท่ีตนได้รบั มอบหมาย เพอ่ื ความสำเรจ็ ภารกจิ สว่ นรวมของประเทศคือ ความ มั่นคงของชาติ การพัฒนาระบบการต่อสูเ้ บ็ดเสรจ็ ของประเทศไทย จะประสบความสำเรจ็ เปน็ ระบบการต่อสเู้ บ็ดเสรจ็ ทางยุทธศาสตร์ที่มีความถูกต้องกต็ ่อเมื่อทุกคนในชาตมิ คี วามเข้าใจตรงกันว่า เขาจะต้องแบง่ อะไรกต็ ามที่เปน็ ส่วนตวั ของเขาในระดับหนง่ึ เพอื่ ระบบการต่อสู้เบด็ เสรจ็ ของประเทศ ไม่ว่าจะเปน็ เวลาสว่ นตัว เงนิ สว่ นตวั สมบตั ิส่วนตัว หรือแรงงานสว่ นตัวก็ตามแต่ และตอ้ งเข้าใจอีกวา่ การต่อสเู้ บด็ เสรจ็ เปา้ หมายคือความม่ันคงของ ชาติ ยุทธศาสตร์ คือ การปอ้ งกนั ประเทศ ยุทธศลิ ป์ (Operational Art) คอื การพฒั นาพลังอำนาจของชาตทิ งั้ ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการทหาร ตัง้ แตต่ ัวบุคคล ไปสู่หมู่บา้ น ตำบล อำเภอ จังหวดั และ ประเทศชาติ โดยใชย้ ทุ ธวิธีตามหลักวิชาการท่ีเหมาะสมกบั สภาพสงั คม ประชาชนทกุ คนในชาติต้องเข้าใจสภาพสังคมไทยอย่างถูกต้อง ร้วู ่าภัยคกุ คามทจ่ี ะมตี อ่ ประเทศชาติ มีอะไรบา้ ง รู้วา่ อะไรเป็นสิ่งท่ีต้องการพัฒนา ตอ้ งเข้าใจว่าเราควรจะพัฒนาอย่างไรจึงจะเหมาะสม เพ่ือให้ทุก คนเหน็ พ้องต้องกัน ร่วมใจกันทำและบำรงุ รักษาพฒั นายกระดบั พลังอำนาจของชาติ โดยเฉพาะด้านการทหาร จำเป็นตอ้ งมีกฎหมายเก่ยี วกบั การเตรียมและการใช้กำลงั เยาวชนและประชาชน ซง่ึ ต้องแยกใหเ้ ดน่ ชัดว่า ใคร คอื กองหนุนในหน่วยกำลงั รบหลกั ใครบรรจุในกองกำลังประชาชน และควรจะไดจ้ ดั กองหนนุ ในระดบั กองทัพ ภาคโดยเตรยี มพร้อมยทุ โธปกรณ์ไว้ตั้งแต่ยามปกติ
3 การพฒั นาระบบการต่อสู้เบ็ดเสร็จ มุ่งทำเพื่อความเจรญิ ร่งุ เรอื งของประเทศ กุญแจสำคัญส่คู วามสำเร็จ คือ ความเขา้ ใจตรงกนั ความมีจดุ ม่งุ หมายตรงกันรว่ มมือร่วมใจกนั และความสามารถในการไวว้ างใจซง่ึ กนั และ กนั ได้ของทุกฝา่ ยโดยอาศัยประชาชนของประเทศเปน็ สิง่ ยึดเหนีย่ วสูงสุด ให้ทุกคนจงรักภกั ดีตอ่ ความมง่ั คงของ ชาตเิ ปน็ หลักในการแสดงความรักสามัคคีทม่ี ีต่อกนั ความสำเร็จในการพฒั นาดงั กล่าวย่อมทำให้เกิดความม่นั คง ของชาติ ความเจริญรุ่งเรืองของประเทศ และการอยดู่ ีกนิ ดมี ีสุขของประชาชนอยา่ งแท้จรงิ เมือ่ ทุกคนไดร้ ับรู้ใน ปัญหาและนโยบายในการแก้ปญั หาของประเทศ สภาพสังคมไทย ภัยคกุ คามและการพฒั นาอยา่ งเหมาะสม และการร้จู ักประเมนิ ผลปรบั ปรุงพฒั นาให้ดีขึ้นอยา่ งต่อเน่ือง 3. ความสำคญั ของระบบการตอ่ สเู้ บด็ เสรจ็ ประเทศไทยเป็นประเทศเลก็ ที่มีฐานะทางเศรษฐกจิ ซึง่ วดั ดว้ ยรายได้ประชาชาตกิ ็อยู่ระดบั กลางค่อน ข้างต่ำ แต่ทต่ี งั้ ของประเทศไทยเป็นสว่ นหน่ึงทอี่ ยรู่ ิมขอบแผ่นดนิ ใหญข่ องเอเชยี ด้านใตซ้ ึ่งตดิ กับนา่ นนำ้ ในส่วน ของมหาสมุทรอนิ เดียและแปซิฟิก เปน็ เสมือนคอสะพานยุทธศาสตรท์ ีท่ อดผ่านไปมาเลเซยี สงิ คโปร์ อนิ โดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ปาปวั นิวกนี ี ออสเตรเลีย จรดนวิ ซแี ลนด์ แนวดังกล่าวเปน็ ได้ทั้งสะพานทางยุทธศาสตร์ และผนงั ทาง ยทุ ธศาสตร์ทีก่ นั้ ระหวา่ งมหาสมทุ รอนิ เดียกับมหาสมุทรแปซฟิ ิค ซ่งึ มีช่องทางผ่านไดเ้ พียงไม่กแ่ี ห่ง ถา้ ฝ่ายใด หรอื ประเทศใดสามารถยดึ ครองหรอื มอี ำนาจเหนือแนวดังกลา่ วไดก้ ็จะได้เปรยี บในทางยทุ ธศาสตรอ์ ยา่ งเหน็ ได้ ชดั ประเทศไทยจึงเปน็ จดุ ยุทธศาสตรท์ ่ีสำคญั ในยามปกติท่ีทุกฝ่ายมองเหน็ ความสำคัญ และจะเปน็ ภูมิประเทศ สำคญั ยิ่งหากเกดิ สงครามท่ัวไป ซึ่งเป็นเรอ่ื งแน่นอนเหลอื เกินทแี่ ตล่ ะฝา่ ยจะต้องเข้าแยง่ ชงิ ยึดครองเพ่อื เป็นหวั หาดในการขยายผลตอ่ ไปท้ังทิศทางแนวยทุ ธศาสตร์ ท่ีกล่าวแลว้ และการรุกคืบหนา้ ไปบนแผ่นดนิ ใหญท่ ้งั ด้าน อินโดจีน ประเทศจีน และพม่า เหมือนญ่ปี ุ่นเคยดำเนนิ การแล้วเม่อื สงครามโลกคร้งั ท่ี 2 และเราก็จะตา้ นทาน ไมไ่ หวเพราะลักษณะทางภมู ศิ าสตรข์ องไทย ยากต่อการวางกำลังป้องกันประเทศตามแบบแม้จะยังไม่มีส่ิงบอก เหตวุ ่าจะเกิดสงครามทว่ั ไปแตส่ ถานการณ์ต่าง ๆ ที่เปลีย่ นแปลงไปในส่วนตา่ ง ๆ ของโลกกไ็ มน่ ่าจะวางใจนัก หากประเทศไทยจะเตรยี มการป้องกนั ประเทศด้วยกำลงั ทหารเพือ่ รบตามแบบแต่เพียงอยา่ งเดียวจะเป็นการ ไม่เพยี งพออย่างแน่นอน เพราะถูกจำกดั ดว้ ยงบประมาณในการลงทุนทางทหารทั้งคา่ กำลงั พลและยทุ โธปกรณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีของประเทศที่พัฒนาแล้วก้าวหนา้ ไกลกว่าไทยมาก หากไทยซงึ่ ยังไมส่ ามารถผลติ เครอื่ งมอื ท่ีใชเ้ ทคโนโลยีระดบั สูงไดเ้ องจะจัดหามาไว้อยา่ งเพียงพอ เรากต็ อ้ งเปน็ หนแี้ ละตกเปน็ ทาสทาง เทคโนโลยีของประเทศอืน่ มากยง่ิ ข้นึ โดยเฉพาะปจั จุบันการรกุ รานทางด้านสงครามเย็นมมี ากขึน้ ทงั้ ในด้าน เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ทำให้ไทยต้องหนั มาสนใจการสนธิกำลงั ทรพั ยากรของชาติเข้าต่อสภู้ ยั คุกคาม ท้งั มวลทง้ั ในยามปกติและยามสงคราม แทนการวางใจด้วยการหวงั พงึ่ มิตรประเทศ และการลงทนุ ทางทหาร อยา่ งมหาศาลซ่ึงเทา่ กบั ว่าเป็นการไปตดั งบพฒั นาประเทศในดา้ นอื่น ๆ อย่างนา่ เสียดาย และเปน็ การใช้ ทรัพยากรไม่คมุ้ ค่าอีกดว้ ย นอกจากน้นั ภัยคุกคามตอ่ ชาติบ้านเมอื งมใิ ชม่ ีแตภ่ ยั ทางทหารเทา่ นน้ั จึงตอ้ งเตรียม การต่อสู้อยา่ งเบ็ดเสร็จทุกด้านด้วย โดยเฉพาะภัยธรรมชาตทิ ม่ี ักเกดิ ข้นึ บ่อย ๆ ในประเทศไทย มีทรัพยากรต่างๆ ที่มีศักยภาพอยู่แล้วตง้ั แต่คนไทย ทรัพย์ในดนิ สนิ ในน้ำและวฒั นธรรม หากเราได้ลงทนุ ในการพัฒนาศกั ยภาพของทรพั ยากรดังกล่าว แล้วสนธเิ ขา้ ดว้ ยกัน ก็จะทำให้เกิดความมนั่ คง ไปพร้อม ๆ กันท้ังดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง และการทหาร นน่ั ก็คอื เราพัฒนาให้พลงั อำนาจของชาติเข้ม แขง็ ขึ้นทกุ ด้านเปน็ ลำดับ เริ่มจากความอยดู่ ีกนิ ดีมีสุขในแงเ่ ศรษฐกจิ สงั คมแลว้ ความมนั่ คงในแง่การเมือง
4 การทหารก็จะเกิดตามมาโดยอัตโนมตั ิ นับว่าเป็นการพัฒนาเพอื่ ความม่ันคงที่มผี ลโดยตรงตอ่ ความม่งั คง่ั ของ ประชาชนในข้นั ต้น แลว้ มีผลโดยอ้อมกบั ความมนั่ คงของชาติ โดยส่วนรวมซงึ่ ก็มผี ลสะท้อนกลับไปทำใหเ้ กดิ ความมัง่ คั่งของประชาชนมากยงิ่ ขน้ึ ในทส่ี ดุ เรากจ็ ะสามารถเอาชนะภัยคุกคามทกุ ประเภทไดโ้ ดยเบ็ดเสรจ็ การพัฒนาศักยภาพดังกล่าว มเี ป้าหมายสูงสุด เพื่อความม่ันคงของชาติ เปา้ หมายทางยุทธศาสตร์ คือ ระบบการป้องกันประเทศท่ีมีความเข้มแข็ง และเป้าหมายทางยุทธวธิ ีคอื พัฒนาความมั่นคงด้านเศรษฐกิจสงั คม การเมือง และการทหารไปพร้อม ๆ กนั นนั่ ก็คือ การพฒั นาระบบการต่อสูเ้ บ็ดเสร็จ ดว้ ยการใช้แผนยทุ ธศาสตร์ พัฒนา และแผนยุทธศาสตรก์ ารตอ่ สู้เบด็ เสรจ็ ระบบการตอ่ สูเ้ บ็ดเสร็จทพี่ ัฒนาขึน้ นี้ ต้องมีความอ่อนตวั ในลักษณะท่ีมีความสามารถเอาชนะภยั ทกุ รปู แบบ ท่คี ุกคามตอ่ ความม่ันคงปลอดภัยของประเทศ ความอ่อนตัวของระบบการต่อสแู้ บบเบ็ดเสร็จน้ี จะ เกดิ ข้ึนได้ก็ดว้ ยการวางแผนอย่างรอบคอบ การประกอบกำลงั ไวต้ ้งั แต่ยามปกติ และการฝกึ /ปฏิบตั ติ ามแผน รวมท้งั การสนบั สนนุ ที่ได้วางไว้อย่างละเอียดทุกขนั้ ตอน ฯลฯ โดยสรุปแลว้ การพฒั นาระบบการต่อสเู้ บ็ดเสร็จ จะตอ้ งมงุ่ ดำเนนิ การให้เกิดระบบปอ้ งปราม ป้องกัน และตอบโต้ ภยั คกุ คามได้ทุกรูปแบบโดยให้สอดคล้องกับแผนพฒั นาชาติ การตอ่ สู้เบด็ เสรจ็ จึงครอบคลมุ งาน พัฒนาต่าง ๆ ท่ีสามารถเอาชนะภยั คกุ คามท้ังทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการทหารได้ ทงั้ ภยั จาก ธรรมชาติ และภัยทม่ี นุษยส์ รา้ งข้ึน จึงมคี วามจำเป็นท่ีทุกฝ่ายจะต้องมีสว่ นร่วม ไม่เฉพาะหนว่ ยในความ รบั ผดิ ชอบของกองทัพบกเท่าน้นั ต้องเปน็ ระดับรัฐบาล แต่ในข้ันต้นกองทัพบกในฐานะเปน็ หนว่ ยหลักในการ ริเร่มิ จงึ ตอ้ งเปน็ ผู้รบั ผิดชอบในการดำเนนิ การเพ่ือนำเสนอใหอ้ ยใู่ นความรบั ผิดชอบระดับรฐั บาล ใหค้ รอบคลุม ทกุ ฝ่ายทุกพื้นท่ีของประเทศในเวลาอันรวดเร็ว เพราะระบบจะต้องสามารถดำเนนิ การไดต้ งั้ แตย่ ามปกติ ให้ สามารถเผชญิ กับภัยคุกคามทุกรูปแบบไดท้ กุ เวลาและสามารถเปน็ หัวใจในการป้องกันประเทศได้ การพัฒนา ระบบการต่อสูเ้ บ็ดเสร็จ จึงจะเปน็ การประหยดั ทีเ่ กดิ ประโยชน์มีประสทิ ธผิ ล และประสทิ ธิภาพอย่างแท้จริง ในขั้นต้นกองทัพบกได้จัดทำหลกั นิยมในการต่อสู้เบ็ดเสร็จ (รส.100-4) พ.ศ.2528 ขึ้นโดยมงุ่ ใหห้ น่วย ต่าง ๆ ในระดบั กองทัพยดึ ถอื เปน็ หลักในการปฏบิ ตั ิ โดยการสนธิกำลังรบหลัก กำลังประจำถิ่น และกำลงั ประชาชนท่ไี ดจ้ ดั ตั้งข้นึ (เฉพาะกำลังทอ่ี ยู่ในความควบคุมของกองทัพบก) เพื่อเข้าต่อสู้กับศตั รขู องชาติทง้ั จาก ภายนอกและจากภายในทกุ รูปแบบ (มุง่ ในภารกิจการป้องกันประเทศจากการรุกรานจากภายนอกและการก่อ การร้ายภายใน มีการจัดต้ังกำลังประชาชน และหมบู่ า้ นจัดตัง้ เชน่ หมบู่ ้านไทยอาสาปอ้ งกันชาติ (ทสปช.) หมู่บ้านอาสาพฒั นาป้องกันตนเอง (อพป.) และหมบู่ ้านปอ้ งกันตนเองชายแดน (ปชด.) หลักนิยมในการต่อสู้ เบ็ดเสรจ็ พ.ศ.2528 คือ แนวความคิดในการผนกึ กำลังตอ่ สู้เบ็ดเสรจ็ เพื่อการป้องกนั ประเทศในระดบั กองทัพบก โดยให้ความหมายวา่ การผนกึ กำลังเพื่อการต่อสูเ้ บ็ดเสร็จ หมายถึง การสนธอิ ำนาจกำลงั รบทั้งปวง อันประกอบดว้ ยกำลงั รบหลกั กำลงั ประจำถิน่ และกำลังประชาชนทไี่ ดจ้ ัดตง้ั ในความควบคมุ ของกองทพั บก เพ่อื ใหส้ ามารถเอาชนะศัตรขู องชาติได้ทกุ รูปแบบตอ่ มา พ.ศ.2529 กองทัพบกไดแ้ ต่งต้ังคณะกรรมการพัฒนา ระบบการต่อส้เู บ็ดเสร็จ ข้ึน โดยมคี ณะกรรมการท่ปี รึกษา คณะทำงานยุทธศาสตร์การตอ่ สเู้ บ็ดเสร็จ และ คณะทำงานยุทธศาสตรพ์ ัฒนา เพ่ือกำหนดกรอบการพัฒนาระบบ และรา่ งแผนยุทธศาสตร์การต่อสู้เบ็ดเสร็จ และแผนยทุ ธศาสตร์พัฒนาผู้บญั ชาการทหารบก และรองผ้อู ำนวยการปอ้ งกนั การกระทำอนั เปน็ คอมมิวนิสต์ ท่ัวไปทำการแทนผู้อำนวยการ ฯ ได้รบั ทราบและลงนามในแผนยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนา (ยพ.30) เมื่อ 19 มนี าคม
5 2530 และผบู้ ัญชาการทหารบก ได้อนมุ ัติและลงนามในแผนยุทธศาสตร์การต่อสูเ้ บด็ เสรจ็ (ตบ.30) เมื่อ 25 มี.ค.2530 ********************** บทที่ 2 ระบบการตอ่ สูเ้ บด็ เสร็จ 1. องคป์ ระกอบของระบบการตอ่ สเู้ บด็ เสรจ็ ประกอบด้วย 1.1 ยุทธศาสตรก์ ารต่อส้เู บ็ดเสร็จ 1.2 ยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นา 2. ยุทธศาสตรก์ ารตอ่ สเู้ บด็ เสรจ็ ยุทธศาสตรก์ ารต่อสูเ้ บด็ เสร็จ คือ การสนธศิ ักยภาพของทรพั ยากรท้ังมวลที่ได้รบั การพฒั นาตามแผน งานยุทธศาสตร์พฒั นาเขา้ ต่อส้เู อาชนะภยั คุกคามทกุ รปู แบบให้ได้โดยไม่จำกัดเวลา เพือ่ ใหร้ ะบบการต่อสู้ เบ็ด เสร็จของประเทศรักษาความมน่ั คงของชาตไิ ด้อยา่ งแท้จรงิ ภยั คกุ คามทางเศรษฐกิจ ประชาชนจะต้องมี ความเข้าใจการต่อสเู้ อาชนะภัยคุกคามใด ๆ ก็ตามทบ่ี น่ั ทอนต่อความมน่ั คงของสถาบันทางเศรษฐกจิ กลุ่ม เศรษฐกจิ โครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ส่งิ ที่คุกคามตอ่ การทำมาหากินของ ประชาชนส่วนใหญ่ เช่น ฝนแลง้ นำ้ ท่วม ศัตรูพืช ราคาพืชผล ฯลฯ ตลอดจนปัญหาการสง่ ออก การนำเข้าท่ี ไม่เปน็ ธรรม หรอื การใด ๆ ที่ทำใหป้ ระชาชนหรอื ประเทศชาตติ กเป็นทาสทางเศรษฐกจิ ภยั คกุ คามทางสังคม อาจจะมีภัยคกุ คามได้ท้ังดา้ นการศกึ ษาตามแบบนิยมต่างชาติ ภัยคกุ คามจากการแพรก่ ระจายทางวัฒนธรรม จากตา่ งชาติที่ทำใหเ้ กดิ ความเส่ือมเสยี ตอ่ วัฒนธรรมแหง่ ชาติไทย ตลอดจนภัยคุกคามธรรมชาติตา่ ง ๆ รวมทงั้ การแก้ปัญหาขดั แย้งเก่ยี วกับชมุ ชนแออัด ประชาชนจงึ ตอ้ งได้รับการบริการพืน้ ฐานทางสงั คมอยา่ งเป็นธรรม และมีความภาคภมู ใิ นระบบสังคมและวฒั นธรรมไทยภยั คุกคามทางการเมือง อิทธพิ ลของกลุ่มการเมืองทไ่ี ม่ หวังดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยท่ีมพี ระมหากษัตรยิ ์เป็นประมุข ไม่วา่ กลมุ่ การเมืองดังกล่าวจะเป็นคนไทยทีม่ ีความคิดแตกต่างไปเอง หรอื ได้รับการสนับสนุนจากภายนอก ประเทศหรือโดยการบบี ค้ันจากรัฐบาลต่างประเทศกต็ าม ย่อมเปน็ ภัยคกุ คามต่อการเมืองของประเทศท้ังส้ิน ประชาชนจะตอ้ งไดร้ ับการศึกษาในเรอ่ื งการเมอื งอย่างถูกต้องและแสวงหาความถูกต้องในการมสี ว่ นรว่ ม ทางการเมอื ง รฐั บาลจำเปน็ ต้องวางพ้ืนฐานระบบการเมือง และระบอบการปกครองใหเ้ กอ้ื กลู ตอ่ การพัฒนา ประชาธิปไตยภัยคุกคามทางทหาร ตอ้ งใหท้ ุกคนเข้าใจตรงกันว่าจะต้องดำเนินกลยทุ ธให้เกดิ ความสมบรู ณ์ของ บูรณภาพแห่งดินแดนทุกหนทุกแหง่ ของประเทศโดยทรพั ยากรของไทยเองโดยไมถ่ ูกแทรกแซงจากภายนอกจึง ตอ้ งวางระบบการต่อสูท้ างทหารเปน็ เครือขา่ ยที่มีการโยงใยท่วั ประเทศ 3. ยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นา เป็นการพัฒนาคนและพื้นทีต่ ามจดุ ทีเ่ ปน็ ชยั ภูมสิ ำคัญตามแนวชายแดนรอบประเทศอัน ไดแ้ ก่ ช่องทาง สำคญั ๆ และการพฒั นาอนื่ ๆ ทเี่ ก้อื กลู ต่อความมัน่ คงด้านสงั คม เศรษฐกจิ การเมือง และการทหารของ
6 ประเทศ งานสำคญั ของยุทธศาสตร์พัฒนาคือ การพัฒนาคนและการพฒั นาพ้นื ทีย่ ุทธศาสตรพ์ ัฒนา เป้าหมาย ยทุ ธศาสตร์พัฒนา เปน็ การพฒั นาแบบเบด็ เสร็จ เพ่ือให้หมู่บ้านเปา้ หมายในพน้ื ทยี่ ุทธศาสตร์พัฒนา มีความ มัน่ คงในดา้ นการเมือง เศรษฐกจิ สงั คมจติ วทิ ยา และการทหารใหส้ ามารถต้านทานการรุกรานของศตั รูไดใ้ น ระดับหน่ึงโดยสรปุ ยทุ ธศาสตร์การต่อสเู้ บด็ เสรจ็ เป็นการ \"ใช้\" ทรัพยากรตา่ ง ๆ ที่ยุทธศาสตร์พัฒนาดำเนนิ การ ให้แต่ละชิน้ แต่ละสว่ นมาสนธิกนั ทีละเล็กละน้อยจนสมบรู ณ์ เป็นระบบสามารถควบคมุ บงั คับบัญชานำออก ปฏบิ ตั ิการไดท้ ้ังในยามปกติ ยามมีภัยคุกคามและหลงั จากภยั คุกคามสงบ ปจั จัยหลกั ในระบบ คือ กำลังต่าง ๆ ทีน่ ำมาสนธจิ ะต้องมีความพอดีกันต้ังแต่ยามปกติ โดยเฉพาะการควบคมุ ในระดบั ท้องถิน่ จำเปน็ ที่จะต้อง พจิ ารณาโครงสรา้ งการจัดหน่วยทหารท่ีประจำอยู่กบั จังหวัดและอำเภอใหม่ ให้สามารถดำเนนิ การพัฒนาและ ควบคมุ ได้ตัง้ แต่ยามปกติ จำเป็นจะต้องพิจารณาแบง่ มอบภารกิจให้แก่กองพลรบหลกั และมณฑล/จงั หวัด ทหารบกใหม่ใหส้ ามารถควบคุมพน้ื ทไี่ ดต้ ั้งแตย่ ามปกติสบื เนอ่ื งจนถงึ ยามมภี ยั คุกคาม เพื่อให้กองพลรบสามารถ ทำการต่อสูเ้ อาชนะภัยคกุ คามทไี่ ด้รับมอบได้โดยไม่ต้องหว่ งท่ตี ้ังปกติ 4. ระบบการตอ่ สเู้ บด็ เสรจ็ คือ ระบบการต่อสู้เพ่ือป้องปราม ป้องกนั หรอื ตอบโต้ การปฏิบัตกิ ารของฝา่ ยตรงขา้ ม โดยนำเอากำลัง ทุกประเภทมาใชผ้ สมผสานกันอย่างมีแผน ให้เป็นประโยชนเ์ พื่อปฏบิ ัติการไดท้ ุกระดับความขัดแย้ง ตลอดห้วง เวลา และไม่จำกัดดว้ ยเวลา ดว้ ยการสนับสนุนทุกประเภทท้งั ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สงั คม และการทหาร สอดคล้องกับแผนการพัฒนาชาติ ในการป้องกันประเทศจากการรุกรานของข้าศกึ ซง่ึ มีกำลังรบหลกั เหนือกวา่ จำเปน็ อย่างยิง่ ท่ฝี ่ายเราจะต้องผนกึ ทรพั ยากรทุกชนดิ ไม่ว่าจะเป็นคน เครือ่ งมอื ขวัญ กำลงั ใจ และอืน่ ๆ ซง่ึ จะทำใหเ้ กดิ อำนาจกำลังรบสูงสดุ ท่จี ะใช้ในการป้องกันประเทศ การดำเนนิ การดังกล่าวจะตอ้ งกระทำเป็น ระดบั ๆโดยเริม่ ตัง้ แต่ระดบั ชาติ ระดบั กห./บก.ทหารสูงสดุ ระดบั ทบ. และต่ำกว่า การแบ่งมอบความ รบั ผดิ ชอบในแตล่ ะระดับ ควรไดก้ ำหนดให้แนน่ อนและมีความสอดคล้องกนั โดยตลอด และในการผนึกกำลงั ตอ่ สเู้ บด็ เสร็จ เพ่ือการป้องกันประเทศ ปจั จัยพิจารณาสำคญั ในการดำเนินการกค็ ือ จำเป็นอยา่ งยิง่ ทีจ่ ะต้อง สามารถใช้ระบบการต่อสูเ้ บ็ดเสร็จได้อยา่ งต่อเน่ือง ท้ังในห้วงระยะเวลาก่อน ระหวา่ ง และหลังการรุกรานของ ขา้ ศึก นอกจากนัน้ จะต้องมกี ารประกนั ไดว้ า่ ระบบการต่อสู้เบ็ดเสร็จทีพ่ ฒั นาขนึ้ ได้พิจารณาใชท้ รัพยากรทุก ชนดิ ให้เกดิ ประโยชน์เพื่อการปอ้ งกันประเทศ ในขณะเดยี วกนั ก็ครอบคลมุ ถึงวธิ ีการต่อสู้ทุกชนดิ ท่ีสามารถใชไ้ ด้ 5. ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั กิ ารตอ่ สเู้ บ็ดเสรจ็ การปฏบิ ัติการตอ่ สเู้ บ็ดเสร็จจะตอ้ งดำเนินการท้งั ในยามปกติ ยามมภี ัยคกุ คาม และภายหลงั เมอื่ ต่อสู้ เอาชนะภยั คุกคามไดแ้ ล้วต้องฟน้ื ฟจู ัดระเบียบใหม่ จงึ มกี ารปฏบิ ัตแิ ตกต่างกนั ไป 5.1 ขนั้ ท่ี 1 ยามปกติ ในยามปกติ คือการพัฒนา เพอ่ื เตรียมการและต่อสู้ (ในด้านเศรษฐกจิ สังคม และการเมือง) กำลงั ทุกประเภทจะตอ้ งดำเนินงานในหน้าทแ่ี ละมีส่วนรว่ มเพ่ือส่วนรวมตามลำดับการใชก้ ำลงั คอื กำลงั ประชาชน กำลงั ประจำถน่ิ และกำลังทหารหลกั แล้วแต่ระดบั ความยากง่ายของงาน 5.1.1 การพัฒนา เพ่ือใหเ้ กดิ ความมั่นคง ตามลำดับคือ เศรษฐกิจ สงั คม การเมือง และการทหาร (ในเมืองอาจสนใจเฉพาะเร่ือง) โดยดำเนินการอยา่ งตอ่ เนื่องให้เกดิ เป็นระเบียบปฏิบัติประจำ
7 5.1.2 การฝึกศกึ ษา กำลงั ทกุ ประเภท และเยาวชนต้องไดร้ ับการฝกึ ศึกษาอย่างเหมาะสม และ สอดคล้องต้องกันอย่างเป็นระบบตลอดทัว่ ทง้ั ประเทศอย่างน้อยปลี ะ 1 ครง้ั ให้ครอบคลุมการพัฒนาท้ังในด้าน เศรษฐกจิ สงั คม การเมืองและการทหาร 5.1.3 การต่อสู้เพ่ือเอาชนะความยากจนและความถูกต้องชอบธรรม (เสมอภาค/Equity – เท่าเทยี ม /Equality - ความเป็นธรรมในสังคม/Social Justice) ท้งั ในด้านเศรษฐกิจสงั คม และการเมอื ง 5.1.4 การเตรยี มการต่อสู้ภยั คกุ คามต่อความมั่นคงของชาติทุกดา้ น และเน้นหนักการต่อสเู้ อาชนะ ภยั คกุ คามธรรมชาติ และการสูร้ บเม่ือเกดิ ความไมส่ งบทั้งจากภายในและภายนอก 5.2 ขัน้ ท่ี 2 ยามมภี ัยคกุ คาม ภัยคุกคามมีระดับความรนุ แรงต่างกันจึงต้องเตรยี มใชก้ ำลังต่อส้เู อาชนะ ตา่ งกนั เชน่ ภัยคุกคามด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง คงใชก้ ำลังตามลำดบั คือ กำลงั ประชาชน กำลัง ประจำถนิ่ และกำลังทหารหลกั ถา้ เปน็ ภัยธรรมชาติ ตอ้ งใชก้ ำลงั ประจำถิ่น กำลงั รบหลกั และกำลังประชาชน แต่ถา้ เปน็ ภยั คุกคามทางดา้ นการทหารต้องใชก้ ำลังทหารหลกั กำลงั ประจำถิน่ และกำลังประชาชนอยา่ ง พร้อมสรรพ การใชก้ ำลังในระดับภัยคุกคามต่าง ๆ จะต้องมกี ารทำแผนใช้อย่างรอบคอบ และอ่อนตวั ได้ตาม คำสง่ั ของหนว่ ยเหนือ ทุกคนตอ้ งเข้าใจวา่ ความอยู่รอดปลอดภยั ของประเทศชาตหิ รือส่วนรวมคอื ทมี่ าของความ สงบสขุ ของปวงชนชาวไทย และทีส่ ำคญั จะต้องไม่ลืมการพิทักษ์พ้นื ท่ีเขตหลัง 5.3 ขั้นท่ี 3 การฟน้ื ฟูและจดั ระเบียบใหม่ ภายหลังจากเอาชนะภยั คกุ คามได้แล้ว ยอ่ มมีการสญู เสีย เป็นเร่อื งธรรมดาทั้งกำลังประชาชน กำลังประจำถนิ่ และกำลงั รบหลกั ทกุ คนต้องเข้าใจวา่ กำลงั รบหลักยงั ต้อง มีภารกิจสำคัญเพือ่ ความคงอยู่ของประเทศชาติโดยสว่ นรวม จงึ ต้องรีบฟนื้ ฟูและจัดระเบียบใหม่ของตวั เองให้ พร้อมเผชญิ กบั ภัยคุกคามทอ่ี าจเกดิ ข้ึนใหม่ได้ ดังนัน้ การฟ้ืนฟูและจดั ระเบยี บใหมโ่ ดยทว่ั ไป จงึ ใชก้ ำลงั ตาม ลำดับความเร่งดว่ น ดังนี้คือ กำลังประจำถนิ่ กำลงั ประชาชน และกำลงั รบหลัก 6. แนวความคดิ ในการปฏบิ ตั ิ 6.1 แนวความคดิ หลกั ในการปรบั ปรุงและพัฒนาระบบการต่อสู้เบ็ดเสรจ็ คอื การจัดเตรยี มกองกำลงั ตอ่ สู้เบ็ดเสร็จอย่างมปี ระสิทธิภาพ เพอื่ การใช้กำลังเมื่อมภี ัยคกุ คามตอ่ ความม่นั คงของประเทศ โดยดำเนนิ การ ดงั นี้.- 6.1.1 กำลงั รบหลัก กำลังประจำถ่ิน พร้อมด้วยสว่ นราชการของรฐั และภาคเอกชนรว่ มมือกนั ใช้ ยุทธศาสตร์พฒั นา เขา้ ไปพัฒนาหมู่บ้านเปา้ หมายในพน้ื ทยี่ ุทธศาสตร์พฒั นาทีไ่ ด้กำหนดความเรง่ ด่วนไว้ อยา่ ง สอดคล้องกบั แผนป้องกันประเทศ โดยมงุ่ หมายในการยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนใหด้ ขี ึ้น อนั จะเป็น ผลให้เกิดความรกั และหวงแหนแผน่ ดนิ มีความสามัคคี และเสยี สละ อาสาสมัครเขา้ ป้องกนั ประเทศ 6.1.2 จัดต้งั มวลชนในหมูบ่ า้ นยุทธศาสตร์พัฒนา และใหค้ วามรู้ในทกุ ด้านคือ การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจติ วทิ ยาและการทหาร 6.1.3 กำลังรบหลักและกำลังประจำถน่ิ เป็นหน่วยหลักดำเนนิ การฝกึ อบรมกำลงั ประชาชน เพ่ือ พัฒนาขดี ความสามารถตามหน้าทที่ ่ีกำหนด รวมท้ังซักซ้อมการปฏบิ ตั ิรว่ มกนั ของกองกำลังต่อส้เู บ็ดเสร็จทง้ั 3 ส่วน
8 6.1.4 การใชก้ องกำลงั ตอ่ สเู้ บด็ เสร็จท่ีไดพ้ ัฒนาไว้ในการป้องกันราชอาณาจักรใหเ้ ป็นไปตามแผน ป้องกันประเทศ แผนการต่อสู้เพื่อเอาชนะคอมมวิ นิสต์หรอื แผนยทุ ธการอน่ื ๆ ที่เก่ยี วข้องท้ังน้ีทุกแผนจะต้อง ปรับปรุงใหท้ นั สมยั ตามระยะเวลาอยู่เสมอ 6.2 เน่ืองจากระบบการต่อสเู้ บด็ เสรจ็ น้ี เป็นการสนธิขีดความสามารถในการสูร้ บของกำลังต่าง ๆ ท่มี ี การจัด มาตรฐานการฝึก ยุทโธปกรณ์ท่แี ตกต่างกัน ดงั นัน้ ประสทิ ธภิ าพของระบบการต่อส้เู บด็ เสร็จนี้ โดย เฉพาะอยา่ งยง่ิ เมื่อใช้ในการป้องกนั ประเทศ จึงขน้ึ อยู่กับปัจจยั ตา่ ง ๆ คอื 6.2.1 การแบง่ มอบหน้าทขี่ องกำลงั แต่ละส่วนอยา่ งแน่ชัด โดยกำหนดภารกจิ ท่ีจะต้องปฏิบัติท่ี แน่นอนตั้งแต่ก่อนที่จะเกิดการรกุ ราน และเม่ือมีการรุกรานของขา้ ศึกเกดิ ขนึ้ แล้ว 6.2.2 การควบคมุ บงั คับบญั ชากำลงั ตา่ ง ๆ ในระบบการต่อสเู้ บ็ดเสร็จอย่างมีเอกภาพโดยกำหนด หรอื จัดต้งั หน่วย ซ่ึงมีหน้าท่ีในการควบคุมบังคบั บัญชาทีแ่ น่ชัดในแต่ละระดับ ต้ังแตใ่ นระดับ ทบ. ระดบั ทภ. และระดับทีต่ ำ่ กวา่ 6.2.3 การพฒั นาขีดความสามารถของกำลงั แตล่ ะสว่ น ในระบบการต่อสู้เบ็ดเสรจ็ ใหส้ ามารถปฏิบตั ิ ตามบทบาททีไ่ ด้รบั มอบหมายไดอ้ ย่างสอดคล้องและสนับสนนุ ซง่ึ กนั และกนั 6.2.4 การพฒั นาขวัญและกำลงั ใจในการสู้รบของกำลงั แต่ละสว่ นใหฮ้ ึกเหิมพร้อมท่ีจะเสียสละเพ่ือ ปอ้ งกันประเทศชาติใหร้ อดพ้นจากการรกุ รานของขา้ ศกึ 6.3 ภารกจิ หลกั ทรี่ วมอยู่ในระบบการต่อส้แู บบเบด็ เสร็จมี 3 ส่วนคือ 6.3.1 ภารกิจทเ่ี ก่ยี วข้องกับการทำสงครามนอกแบบในพ้นื ที่อิทธิพลของขา้ ศึก เพ่อื ลดขดี ความ สามารถในการรบของขา้ ศึก 6.3.2 ภารกิจท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การรบป้องกนั ในพนื้ ท่ตี ้ังรบั หนา้ ทงั้ น้ี รวมท้ังการรบตามแบบ และการ รบแบบกองโจร 6.3.3 ภารกจิ ที่เกย่ี วขอ้ งกบั การระวังป้องกนั พืน้ ท่เี ขตหลัง โดยใช้มาตรการท้ังปวงที่จำเปน็ เพ่ือการ รักษาความปลอดภยั ในพ้ืนท่ีเขตหลัง ซึ่งเปน็ ปมคมนาคม สถานที่ส่งกำลงั บำรงุ ฯลฯ 6.4 การแบ่งมอบภารกิจ ในการป้องกนั ประเทศ แนวทางหลกั ในการกำหนดความรับผดิ ชอบสำหรบั กำลังส่วนตา่ ง ๆ ในระบบ การตอ่ สแู้ บบเบด็ เสร็จเปน็ ไปดงั นี้.- 6.4.1 กำลงั รบหลักรบั ผิดชอบภารกจิ หนา้ ที่หลักที่ ทบ.จะมอบหมายให้ 6.4.2 กำลงั ประจำถ่ินและกำลงั ประชาชนท่ีได้จัดต้ังขึ้น รับผดิ ชอบเปน็ พ้นื ท่ใี นภารกิจทเี่ หมาะสมกบั ขดี ความสามารถ และสอดคล้อง/สนบั สนุนกบั ภารกิจของกำลังรบหลกั พนื้ ทีซ่ ่ึงมอบเป็นความรับผิดชอบของ กำลังประจำถน่ิ และกำลงั ประชาชนคือพ้ืนที่ที่กำลงั เหลา่ นต้ี ้ังอยู่ การแบ่งพ้ืนทีเ่ พื่อการต่อสเู้ บ็ดเสรจ็ และการ ควบคุมบังคบั บัญชายดึ ถือพนื้ ทข่ี อง มทบ./จทบ.ซึง่ รับผดิ ชอบหลักในการต่อสู้เพ่ือเอาชนะ คม.และการควบคมุ การปฏิบตั ิสงครามกองโจร การระวงั ป้องกันพืน้ ทีเ่ ขตหลัง และการประสานกบั เจา้ หน้าทีฝ่ ่ายพลเรอื นในการ ควบคมุ ความเสยี หายเปน็ พนื้ ท่ี
9 7. กองกำลงั ตอ่ สเู้ บด็ เสรจ็ ภารกิจสำคญั ตามแผนยทุ ธศาสตรก์ ารต่อสเู้ บด็ เสร็จ คือการเตรยี มกำลงั และการพัฒนากำลงั ประเภท ตา่ ง ๆ การกำหนดหน้าท่ีของกำลังแตล่ ะประเภท การจัดช่วงช้นั การบงั คับบัญชา และการใช้กำลังเพื่อการ ต่อสู้เบ็ดเสรจ็ ทงั้ ในยามปกติและยามทม่ี ีภยั คกุ คามกำลงั สำคญั ในระบบการตอ่ สเู้ บด็ เสรจ็ จึงประกอบด้วย 3 ส่วน คือ กำลงั รบหลัก กำลงั ประจำถิน่ และกำลงั ประชาชน 7.1 กำลงั รบหลกั ได้แก่ กำลงั รบที่ประกอบข้นึ ดว้ ยกำลงั ทหารประจำการ และกำลงั พลสำรองท่บี รรจุ ในหน่วยทหารประจำการซึ่งเปน็ หน่วยรองของกรม และกองพลรบ 7.2 กำลงั ประจำถ่นิ หมายถงึ หนว่ ยทหารประจำการบางหน่วยทีเ่ ป็นหนว่ ยรองของมณฑลทหารบก หรือจังหวดั ทหารบกรวมถึงสัสดี และกำลังทหี่ นว่ ยราชการอน่ื ๆ จดั ตั้งขนึ้ และอยู่ในความควบคุมทางยุทธการ หรอื มอบใหข้ ้ึนการบังคบั บัญชากบั กองทัพบก กำลังประจำถน่ิ จงึ ได้แก่ กองรอ้ ยหรอื กองพนั หรือกรมของ มณฑลหรือจังหวดั ทหารบก อาสาสมัครทหารพราน ตำรวจตระเวนชายแดน ตำรวจภูธรหน่วยปฏิบตั กิ ารพเิ ศษ กองร้อยอาสาสมคั รท่ีต้ังโดยฝ่ายปกครอง และกำลงั ก่ึงทหารอืน่ ๆ 7.3 กำลังประชาชน ได้แก่ กลุ่มประชาชนท่ีได้รับการฝกึ อบรมและจดั ตัง้ ขึ้นให้มีหนา้ ทีเ่ ด่นชัด เชน่ กลุม่ สนบั สนนุ การปฏบิ ัตขิ องทางทหาร กล่มุ สนับสนนุ การปฏบิ ัติของตำรวจ กลมุ่ สนบั สนนุ การปฏิบตั ิการของ ขา้ ราชการพลเรือน กลุ่มการผลติ กลุ่มพฒั นายามปกติ กลุ่มรกั ษาความสงบภายในหมู่บา้ น กลมุ่ ปอ้ งกนั หมูบ่ า้ น ฯลฯ 8. การจดั พนื้ ทเี่ พอ่ื การตอ่ สเู้ บด็ เสรจ็ เพ่ือให้เกื้อกลู ต่อการกำหนดงานหลักตามแนวความคิดในการจัดระบบการป้องกันประเทศ จงึ จัดพนื้ ที่ ของประเทศเพื่อการต่อสเู้ บด็ เสรจ็ (ภาพที่ 1) ออกเป็น 3 พื้นท่หี ลกั คอื 8.1 พื้นที่นอกประเทศ/พื้นที่อิทธิพลข้าศึก คือ พ้ืนท่ีซ่ึงข้าศกึ ยึดครองด้วยกำลัง ซึ่งในยามปกติพืน้ ทน่ี ี้ จะเร่ิมต้งั แต่แนวชายแดนที่นานาชาตยิ อมรับออกไป แตใ่ นยามทม่ี ภี ัยคุกคามอาจกำหนดให้เลยแนวชายแดนท่ี นานาชาติยอมรับเข้าไปในดินแดนฝา่ ยตรงข้ามเพื่อใหเ้ กอ้ื กูลตอ่ การป้องกัน เช่นชดเชยความเสยี เปรียบในแง่ หอ้ งภมู ปิ ระเทศทางลกึ หรือเพ่ือยึดแนวภูมิประเทศสำคัญ แตจ่ ะต้องไม่ไกลเกินไปจนฝ่ายเราไมส่ ามารถควบคุม ไดห้ รอื งา่ ยต่อการถูกตัดขาด แนวน้เี รยี กว่าแนวจำกัดการรกุ และในทางตรงกันขา้ มเมอ่ื เกิดภัยคุกคามพ้นื ทน่ี ้ี อาจหมายรวมถึงพนื้ ที่ในประเทศบางสว่ นท่ถี ูกฝา่ ยตรงข้ามยึดครองก็ได้ 8.2 พนื้ ท่กี ารรบ คือ พนื้ ทีซ่ ง่ึ คาดว่าจะใชใ้ นการปฏิบัตกิ ารตอ่ สู้กับภัยคกุ คาม โดยกำหนดตัง้ แต่แนว จำกดั การรุก เขา้ มาในประเทศจนถงึ แนวเสน้ เขตหลงั 8.3 พน้ื ท่เี ขตหลัง คือ พน้ื ทห่ี ลงั แนวเสน้ เขตหลังรวมกับพ้นื ที่ประเทศท่ีเหลือทั้งหมด 9. การจดั กำลงั ประกอบพน้ื ที่เพอ่ื การตอ่ สเู้ บด็ เสรจ็ กำลังทกุ สว่ นมีความรับผดิ ชอบในทุกพ้นื ที่แตกต่างกันไป แต่เพ่อื ใหง้ ่ายต่อการทำความเขา้ ใจโดยท่ัวไป จึงต้องจัดกำลงั ประกอบพื้นที่ในยามมีภัยคุกคามเปน็ หลัก สำหรับในยามปกติก็อ่อนตัวตามความจำเป็นของการ เตรียมการและการพฒั นา 9.1 พืน้ ทอ่ี ทิ ธิพลขา้ ศึก กำลงั ทรี่ ับผดิ ชอบหลกั คือ หนว่ ยสงครามพิเศษ ดว้ ยการสนับสนนุ ของกำลัง ประจำถนิ่ ชายแดน กำลังรบหลกั และกำลังประชาชน ดำเนินการใด ๆ ตามความจำเปน็ ต้ังแตย่ ามปกติ เพ่ือ
10 เตรียมขยายผลเมื่อเกดิ ภาวะไม่ปกติ โดยรุกคืบหนา้ ต่อไป และมอบให้กำลังรบหลกั เขา้ ยึดครองกำลังประจำถน่ิ และฝ่ายบา้ นเมืองเตรยี มการฟื้นฟู 9.2 พ้นื ท่กี ารรบ เปน็ ความรบั ผิดชอบหลักของกำลังรบหลักทไ่ี ด้รบั มอบในกรอบการบังคบั บัญชาของ กองทพั น้อย ดว้ ยการสนบั สนนุ ของกำลังประจำถ่ิน หน่วยสงครามพิเศษ และกำลงั ประชาชน 9.3 พน้ื ที่เขตหลงั เปน็ ความรบั ผดิ ชอบหลกั ของกำลังประจำถน่ิ ในกรอบการบังคบั บัญชาของกองทัพ ผา่ นมณฑล/จงั หวัดทหารบก โดยการสนบั สนนุ ของกำลังประชาชน หน่วยสงครามพิเศษ และกำลังรบหลกั เมอ่ื จำเปน็ ภาพที่ 1 การจัดพ้นื ทเ่ี พอ่ื การตอ่ สเู้ บด็ เสรจ็ พ้นื ท่นี อกประเทศหรือพืน้ ท่ีอิทธิพลข้าศึก ----------------------------- แนวจำกดั การรุก ---------------------------- ------------ แนวชายแดนท่ีนานาชาติยอมรับ ------------ พน้ื ที่การรบ เสน้ เขตหลัง พื้นทีเ่ ขตหลงั
11 10. การปฏบิ ตั กิ ารตอ่ สู้เบด็ เสรจ็ 10.1 การปฏิบตั ิยามปกติ 10.1.1 ในยามปกติ เปา้ หมายในการผนกึ กำลงั เพ่อื การตอ่ สู้เบ็ดเสร็จ คอื การตอ่ ส้กู บั ขบวนการก่อ การร้าย รวมถึงการรกุ ทางทหาร เพื่อทำลายกองกำลังติดอาวธุ ในเขตฐานทม่ี ่ันของขบวนการก่อการร้ายให้หมด สิ้น การรกุ ทางการเมืองเพื่อสนบั สนุนการปฏิบัตกิ ารทางทหารและการทำลายพรรคและแนวร่วมของขบวนการ ก่อการรา้ ย การรว่ มพฒั นาประเทศกับหนว่ ยงานอ่ืน ๆ ของรัฐบาล 10.1.2 การปฏิบัติของกำลังรบหลัก เกย่ี วข้องในการเปน็ ส่วนหลกั ของการต่อสูก้ บั ขบวนการก่อ การรา้ ย งานท่ีสำคญั อกี ประการหน่ึง คือ การเตรยี มการป้องกนั ประเทศในฐานะเป็นสว่ นหนึ่งของกอกำลังต่อสู้ เบด็ เสรจ็ การเตรียมการให้รวมถงึ การเตรยี มพ้ืนท่ีปฏบิ ัตกิ าร การวางพน้ื ฐานสงครามกองโจรและสงครามนอก แบบ การซักซ้อมการปฏบิ ตั ริ ่วมกบั กำลงั สว่ นอน่ื ๆ ของกองกำลังตอ่ สูเ้ บ็ดเสรจ็ ฯลฯ 10.1.3 การปฏิบตั ิของกำลงั ประจำถิน่ ในยามปกติ เก่ียวข้องกับการทดแทนกำลังรบหลักในการต่อสู้ กับขบวนการกอ่ การร้าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำลายกำลังติดอาวธุ ของขบวนการก่อการรา้ ยที่ยงั หลงเหลอื อย่ภู ายหลงั ที่ ทบ.ถอนกำลงั รบหลักไปแล้ว การปฏบิ ัติอืน่ ๆ รวมถึงการเตรียมการเพื่อให้สามารถร่วมรบแบบ กองโจรกับกำลงั สว่ นอื่น ๆ ในพืน้ ท่ีการรบ หรอื การระวังปอ้ งกันพน้ื ท่ีเขตหลงั และการพัฒนาประเทศ เปน็ ต้น 10.1.4 กำลังประชาชนทีไ่ ดจ้ ัดต้ังไวแ้ ล้ว มีส่วนในการผนกึ กำลงั เพื่อการต่อสู้เบด็ เสร็จในยามปกติใน ลกั ษณะของการสนบั สนุนการปฏบิ ัตขิ องกำลังรบหลกั และกำลังประจำถิ่น โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในเรื่องหาขา่ ว การรักษาความปลอดภยั ในพ้ืนที่ และการร่วมพฒั นาท้องถ่ินใหม้ ีความมน่ั คง โดยวางน้ำหนกั การจดั ตง้ั ในระดับ หมู่บา้ นเปน็ หลกั ดว้ ยการจัดใหม้ โี ครงสรา้ งการประกอบกำลังและการควบคุมบังคบั บัญชาท่แี นช่ ดั สามารถ สนบั สนุนการปฏิบตั ิทางทหารในยามสงครามไดใ้ นทนั ที โดยอาศัยประโยชนจ์ ากหม่บู ้าน อพป., ทสปช. และ ปชด.ท่ีได้จดั ตั้งไวแ้ ลว้ 10.1.5 การเตรยี มการผนึกกำลงั เพ่ือการต่อสเู้ บด็ เสร็จในยามสงคราม หมายถงึ การจดั ตัง้ บก. ควบคุมกองโจร และการฝึกพลพรรคกองโจรในพนื้ ที่การรบ การเตรียมแหล่งสะสมเสบียง และยุทโธปกรณ์ การฝึกการรบนอกแบบ การฝึกการระวังป้องกันพ้ืนทเี่ ขตหลงั การจดั การบงั คับบญั ชา 10.2 การปฏิบัติในสถานการณใ์ กลส้ งคราม 10.2.1 ในสถานการณใ์ กล้สงคราม การปฏบิ ัตขิ องกองกำลงั ต่อสูเ้ บด็ เสร็จส่วนใหญเ่ ปน็ การถา่ ย นำ้ หนักจากการต่อสู้กบั ขบวนการก่อการร้ายเปน็ การเตรียมการป้องกนั ประเทศ ทง้ั นี้รวมท้ังการถอนกำลงั ประจำการ ซึ่งปฏิบัตภิ ารกิจการตอ่ สู้กบั ขบวนการก่อการร้ายกลบั เพอ่ื ฟ้ืนฟูการใช้กำลังก่งึ ทหารเข้ารบั ช่วง การตอ่ สู้กบั ขบวนการก่อการร้าย การแจกจ่ายยุทโธปกรณ์เสริมแกห่ น่วยเกี่ยวข้องการฝกึ ขัน้ สุดทา้ ย เพื่อ ทดสอบบทบาทของกำลังแตล่ ะสายการบงั คับบญั ชา 10.2.2 กำลังรบหลัก เตรียมการปฏิบตั กิ ารรบตามแบบ ตามแผนการป้องกันประเทศ เชน่ การ เตรียมพน้ื ที่ตง้ั รบั การปฏิบัติสงครามนอกแบบในพ้ืนที่ระวังป้องกันและการจดั ตั้ง บก.ควบคุมกองโจร เพื่อ เตรยี มการปฏิบตั สิ งครามนอกแบบในพน้ื ที่การรบ การเฝ้าตรวจชายแดน การเตรียมการควบคมุ ทางยุทธการ ต่อกำลังประจำถน่ิ การปฏบิ ตั ิอ่ืน ๆ เพ่ือเตรียมการเขา้ สู่สงคราม
12 10.2.3 การปฏบิ ตั ิของกำลังประจำถ่นิ ในสถานการณ์ใกล้สงคราม รวมถึงการรบั มอบภารกจิ การ ตอ่ สู้กับขบวนการก่อการรา้ ยจากกำลงั รบหลัก การเตรียมปฏิบัตสิ งครามกองโจรในพน้ื ท่รี บหลัก ตลอดจนการ เตรยี มการในเร่ืองอืน่ ๆ ทจ่ี ำเป็น 10.2.4 ในสถานการณ์ใกลส้ งคราม กำลงั ประชาชนเริม่ มบี ทบาทในการรกั ษาความม่ันคงปลอดภัย และความสงบในท้องถน่ิ ร่วมกับเจ้าหน้าที่พลเรือน กำลงั ประชาชนที่อยู่ในพ้ืนที่การรบเตรยี มกาปฏิบัติ เพ่ือ สนบั สนนุ การดำเนินการสงครามนอกแบบและสงครามกองโจรของกำลังส่วนอน่ื ๆ นอกจากนัน้ กำลังประชาชน ต้องมีการกระชบั โครงสร้างการจดั เพ่ือให้สามารถสนองตอบความตอ้ งการทางยทุ ธการของหน่วยควบคมุ การ ผนึกกำลังเพอื่ ต่อสูเ้ บ็ดเสรจ็ ไดอ้ ยา่ งฉับพลันและเป็นผล 10.3 การปฏบิ ตั ิยามสงคราม เมอ่ื ขา้ ศึกเรม่ิ การรกุ รานประเทศไทย ทบ. จะใช้กำลงั ทั้งปวงเขา้ ตอ่ ส้เู บด็ เสร็จ ซึ่งมลี ักษณะการ ปฏิบัตกิ ารดังน้ี.- 10.3.1 กำลังรบหลัก 10.3.1.1 กำลงั รบหลกั ส่วนท่เี ปน็ กำลังรบพเิ ศษปฏบิ ัตกิ ารสงครามนอกแบบในพื้นทีข่ องขา้ ศึก อย่างกวา้ งขวาง โดยเพง่ เลง็ เป็นพเิ ศษในเร่ืองการใชส้ งครามกองโจรเพ่ือลดิ รอนความหนุนเนื่องในการเข้าตี ของข้าศึก เช่น การโจมตที ต่ี ้ังทางการส่งกำลังบำรุง การตดั เส้นหลักการส่งกำลัง ฯลฯ การบอ่ นทำลายและการ กอ่ วินาศกรรมต่อสถานสาธารณูปโภค และสิ่งอำนวยความสะดวกในการเข้าตขี องขา้ ศึก จะทำให้ข้าศึกต้อง พะวกั พะวนกับภัยคกุ คามในพ้ืนทีส่ ว่ นหลังของตน 10.3.1.2 กำลังรบหลักสว่ นใหญ่ที่เป็นกำลงั ตามแบบอ่นื ๆ วางกำลังในพืน้ ที่ต้ังรับหน้า ซึ่ง เป็นจุดยุทธศาสตร์ เพ่ือสกดั กั้นและยับย้งั การเข้าตีของข้าศึกตามยทุ ธศาสตรป์ อ้ งกนั ในเขตหนา้ การวางกำลงั เพง่ เลง็ เปน็ พเิ ศษต่อแนวทางเคลอื่ นที่หลกั ที่เมื่อข้าศึกสามารถเจาะด้วยกำลงั รบในระลอกท่ี 1 และขยายผล ดว้ ยกำลงั ในระลอกที่ 2 แล้ว จะสามารถพงุ่ เข้ายดึ ปมคมนาคม หรือพื้นท่ีเขตหลงั ซึ่งมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจ การเมือง สงั คมจติ วทิ ยาของฝ่ายเราได้อย่างรวดเร็ว การปฏิบัติของกำลังส่วนนจ้ี ดั อยูใ่ นระดบั ของการต้านทาน แบบปอ้ งกัน 10.3.1.3 กำลังรบหลักส่วนที่เหลือวางกำลังเปน็ 2 ลักษณะ คือ ลกั ษณะท่ี 1 วางกำลงั ในพ้ืนที่ตง้ั รบั หนา้ เพือ่ ยับยงั้ การรุกของข้าศกึ ในแนวทาง เคลอ่ื นที่อน่ื ๆ โดยปฏิบตั ใิ นระดับของการต้านทานแบบการรั้งหน่วงหรือการกำบงั ทง้ั นี้ต้องพจิ ารณาให้ เหมาะสมกบั สถานการณ์ ลักษณะท่ี 2 วางกำลงั เป็นกองหนนุ ในพืน้ ทเี่ หมาะสมกบั สถานการณ์ที่จะสามารถ ประกันความสำเรจ็ ของการตั้งรับ 10.3.1.4 การปฏิบตั กิ ารเชิงรุกออกไปในพืน้ ท่ีระวงั ป้องกนั จากแนวชายแดน เป็นการปฏิบัติ ของกำลงั รบหลกั ตามแบบ โดยการประสานอยา่ งใกลช้ ิดกบั หน่วยรบพเิ ศษ 10.3.1.5 เมื่อข้าศึกรุกผ่านแนวชายแดน กำลงั รบหลกั หลกี เล่ยี งการถกู ตดั ขาดอยู่หลังแนว ขา้ ศกึ และถอนตัวไปยงั ท่มี น่ั สกดั ก้ันขนั้ ต่อไปท่ีไดเ้ ตรียมไว้ลว่ งหนา้ โดยพยายามรกั ษาความเปน็ หนว่ ยพร้อม
13 รบไวใ้ หม้ ากท่สี ดุ อยา่ งไรก็ตาม ถ้าถกู ตดั ขาดหลังแนวข้าศึกกำลงั รบหลัก ต้องสลายตัวเป็นกองโจร และ ปฏิบตั กิ ารรว่ มกบั พลพรรคกองโจรอนื่ ๆ ท่อี ย่ใู นพื้นท่ี 10.3.2 กำลังประจำถนิ่ 10.3.2.1 กำลงั ประจำถน่ิ ในพ้นื ที่การรบปฏิบัติการเปน็ หนว่ ยเพื่อสนบั สนนุ การต่อสูข้ องกำลงั รบหลกั กำลงั ประจำถนิ่ ซ่ึงอยูใ่ นบรเิ วณที่เปน็ แนวทางเคลอื่ นที่หลัก เตรยี มปฏิบตั ิการรบแบบกองโจร เม่อื ข้าศึกเริ่มรุกผ่านแนวชายแดน กำลังประจำถ่ินซง่ึ อยใู่ นพ้ืนทกี่ ารรบอ่ืน ๆ นอกแนวทางเคล่ือนท่หี ลกั สนับสนุน การต้งั รบั โดยการปฏบิ ตั ิการร่วมกับกำลงั รบหลักในการกำบงั หรือรง้ั หนว่ ง การป้องกันการแทรกซึมและการ ปฏบิ ตั ิสงครามกองโจร 10.3.2.2 เมอื่ ข้าศึกเร่ิมการรุกราน กำลงั ประจำถนิ่ ท้ังส้นิ ทั้งท่ีอยูใ่ นความควบคมุ ของ ทบ. โดยตรง และขนึ้ ควบคุมทางยุทธการต่อ ทบ.ปฏบิ ัติตามแผนการปอ้ งกันประเทศ โดยมี ทภ.เป็นหนว่ ยควบคุม บังคบั บัญชา ผา่ นทาง มทบ./จทบ.หน่วยปฏิบตั ิในพน้ื ทีก่ ารรบปรบั กำลงั ใหส้ อดคลอ้ งกับภารกิจการระวงั ป้อน กันพื้นทเ่ี ขตหลงั ซง่ึ เพม่ิ ข้ึน 10.3.2.3 หากภัยคกุ คามภายในประเทศอนั เกดิ จากการก่อการร้ายดว้ ยอาวธุ ของขบวนการ ก่อการรา้ ยยงั มีอยู่ จะใช้กำลังประจำถิ่นเปน็ กำลงั หลักในการตอ่ สู้โดยมอบให้ มทบ./จทบ.เป็นหนว่ ยควบคมุ อำนวยการในพ้ืนทร่ี บั ผดิ ชอบของตน 10.3.2.4 เม่ือข้าศกึ รุกผา่ นแนวชายแดน กำลงั ประจำถ่นิ สลายตัวเปน็ กองโจร เพื่อรว่ มทำ สงครามนอกแบบกบั หน่วยกองโจรที่ได้จดั ต้ังไว้แลว้ ในพนื้ ทโี่ ดยหน่วยรบพิเศษ และดำรงการตอ่ สู้อย่างต่อเนื่อง จนกว่ากำลงั รบหลักจะสถาปนาแนวชายแดนได้ โดยไม่พยายามทจ่ี ะถอนตวั แทรกซึมกลับพื้นที่ฝ่ายเรา 10.3.2.5 ในการระวงั ปอ้ งกันพน้ื ทีเ่ ขตหลงั กำลงั ประจำถ่ินปฏบิ ัติในความควบคุมของ มทบ./ จทบ. ทง้ั นรี้ วมทัง้ การทำหน้าทีเ่ ป็นกองหนุนเคล่ือนทเี่ ร็วทว่ั ไปและในระดับท้องถ่ินการรักษาความสงบของ ทอ้ งถิน่ การรักษาความปลอดภยั ต่อท่ีตง้ั ตลอดจนการควบคุมความเสียหายเปน็ พื้นที่ 10.3.3 กำลังประชาชน 10.3.3.1 ในยามสงคราม กำลังประชาชนในพืน้ ท่ีการรบสนบั สนนุ การปฏบิ ัตกิ ารทางยุทธวธิ ี ของกำลังรบหลัก และกำลงั ประจำถิ่นด้วยการแจ้งเตือนการเข้ามาของข้าศึกสอดสอ่ งและป้องกนั การปฏิบตั ิ ของหน่วยก่อวินาศกรรม/บ่อนทำลายของขา้ ศกึ เปน็ แกนของประชาชนในพนื้ ทเี่ พอื่ สนับสนุนการปฏบิ ตั ขิ อง ฝ่ายเรา และขัดขวางการปฏิบัติของข้าศึก และร่วมปฏบิ ตั กิ ารสงครามกองโจร หรอื สงครามนอกแบบ เมื่อ สามารถกระทำได้ 10.3.3.2 เม่อื ขา้ ศึกรุกผ่านแนวชายแดน กำลังประชาชนฝังตัวในพนื้ ที่หลังแนวขา้ ศึกรว่ มกบั ประชาชนอื่น ๆ เพ่ือสนับสนุนการปฏบิ ตั ิการสงครามนอกแบบของฝ่ายเรา ดว้ ยการใหแ้ หลง่ ซุกซอ่ นการ สนับสนุนด้านเสบียงอาหาร การนำทางหลบหลีกแทรกซึมเขา้ ออกจากพ้นื ท่ีท่ีข้าศกึ ยึดครอง ฯลฯ 10.3.3.3 กำลงั ประชาชนในพื้นที่เขตหลงั สนับสนุนการระวังปอ้ งกนั พ้ืนทเ่ี ขตหลงั และการ ต่อสู้กับขบวนการก่อการรา้ ย ด้วยการหาขา่ ว การเคลอ่ื นไหวของขา้ ศึกในพ้ืนท่ี การรักษาความปลอดภัย สถานทีต่ ั้งทางสาธารณปู โภคที่สำคญั และปมคมนาคม ฯลฯ
14 11. ปจั จยั แห่งความสำเรจ็ 11.1 การจดั ตงั้ และควบคมุ บังคบั บญั ชากำลงั ทุกสว่ นอย่างแน่นแฟ้น 11.2 การกำหนดแนวทางปฏิบัตทิ เ่ี ปน็ ผลในทุกระดับ เช่น การปฏิบัติด้านการข่าว ฯลฯ 11.3 การเตรยี มพนื้ ท่ีปฏบิ ัติทง้ั ภายในและภายนอกประเทศ 11.4 การฝกึ กำลงั พลในแต่ละสว่ นให้มีความเข้าใจในบทบาทของตน 11.5 การปลูกฝงั อุดมการณ์ ซึง่ จะก่อใหเ้ กิดขวญั และกำลงั ใจในการสู้รบ 11.6 การเตรยี มแหลง่ สะสม/ซกุ ซ่อนยุทโธปกรณเ์ พื่อใช้ในการต่อสู้ยืดเย้ือ 11.7 การประสานการปฏิบัตใิ นทุกระดับอย่างแน่นแฟน้ 11.8 การปฏิบตั ิการจติ วิทยาและประชาสมั พนั ธอ์ ย่างเป็นผล ------------------------- บทท่ี 3 การพฒั นาระบบการตอ่ สูเ้ บด็ เสรจ็ 1. การพฒั นาพนื้ ทเี่ พอื่ การตอ่ สเู้ บด็ เสรจ็ พนื้ ที่ยุทธศาสตร์พฒั นากำหนดไวใ้ นลำดับความเร่งด่วนสูงสุด คือ พ้นื ท่ีตามแนวชายแดน กบั พ้นื ทีเ่ พื่อ ความมัน่ คงภายในการท่ีใหค้ วามลำดบั เร่งดว่ นเช่นน้ี กเ็ พือ่ ให้สามารถดำเนินการได้ทันเวลาในพน้ื ทที่ ี่มรี ะดบั ภัยคกุ คามสูงและเปน็ ข้อจำกัดทางเศรษฐกจิ แต่ตามหลักการพัฒนาสงั คมและตามสภาพความเป็นจรงิ ของภยั คกุ คามตามธรรมชาติที่มตี ่อประเทศไทย ทำใหย้ ุทธศาสตรพ์ ฒั นาต้องสนใจพฒั นาพื้นทล่ี ่อแหลมอืน่ ๆ ตาม ความเหมาะสม เพ่ือให้เกิดความม่นั คงทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง และการทหารทว่ั ประเทศ โดยไม่ ปล่อยใหพ้ ื้นทห่ี น่ึงพ้นื ทใ่ี ดออกไปนอกแผนการพฒั นา แต่ให้น้ำหนักการพัฒนาแตล่ ะด้านแตกต่างกนั ไปในแตล่ ะ พนื้ ที่ เชน่ พ้นื ท่ียุทธศาสตร์พัฒนามุง่ ใหน้ ำ้ หนกั ด้านการทหารเศรษฐกิจ สงั คมและการเมอื ง พื้นที่ล่อแหลมอ่นื ม่งุ ให้น้ำหนกั ด้านเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื งและการทหาร ตามลำดบั เปน็ ตน้ การพัฒนาพน้ื ท่เี พ่อื การต่อสู้ เบ็ดเสรจ็ มุ่งปรบั ปรุงพ้ืนฐานทางธรรมชาติ ให้เปน็ พ้นื ฐานสำคญั ในการต่อสูเ้ อาชนะภัยคกุ คามของชาติ น่นั ก็ คือมุ่งพัฒนาให้เกดิ พนื้ ทท่ี ีเ่ หมาะสม เคร่ืองมือท่ีมคี ุณภาพและแนวทางต่อส้ทู เี่ กื้อกลู ตอ่ ชัยชนะ การพัฒนาพ้ืนท่ี จึงตอ้ งกำหนดให้เหมาะสมกับสภาพพน้ื ฐานเดมิ อยา่ งมขี ั้นตอนทีแ่ สดงถึงความสำเรจ็ ตามแผนงาน ดงั น้นั การ พัฒนาพืน้ ท่ี จงึ ต้องสนใจศึกษาการเปลย่ี นแปลงสภาพสงั คมไทยใหเ้ ข้าใจ สามารถลำดับภาพการเปลยี่ นแปลง ได้ ตง้ั แตอ่ ดตี จนถงึ ปัจจบุ ันและทำนายแนวโน้มในอนาคตจากความเปน็ ไปไดด้ ้วยตนเอง และจากผลกระทบ จากภยั คุกคามท่ีคาดคิด ในการพัฒนาพืน้ ท่ีนั้น เราใชเ้ ครื่องมือสำคัญ 5 ประการ คอื คน เงิน วัสดอุ ุปกรณ์ การจัดการ และ เทคโนโลยี ไปดำเนินการใหเ้ กิดโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ท่เี ก้อื กูลตอ่ การพัฒนา เช่น ท่ีดิน แหลง่ น้ำ ทอ่ี ยู่อาศัย ฯลฯ และดำเนินการให้มสี ่งิ อำนวยความสะดวกในการพฒั นา เชน่ เคร่ืองมือกลขนาดหนกั เครื่อง
15 กำเนิดพลังงานไฟฟา้ เคร่ืองมือสอ่ื สาร คมนาคม เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมกับการอาชีพ ฯลฯ ส่ิงตา่ ง ๆ เหล่าน้ีจะ ดำเนนิ การพฒั นาได้อย่างถูกทางจะต้องมีการพัฒนาวัฒนธรรมของคนในพนื้ ทเ่ี พื่อเปลี่ยนแปลงความคดิ หรือ ทัศนคติของความเปน็ ผนู้ ิยมบรโิ ภคมาเป็นผู้มีวัฒนธรรมของผผู้ ลิตเป็นอนั ดบั แรก และขัน้ ต่อไปจงึ จะดำเนินการ ใหเ้ กดิ เครื่องช้ีวดั จำเป็นต่อการเปล่ียนแปลงไปในทางทด่ี ีคือ การชว่ ยเหลือสนบั สนุนสิ่งอำนวยความสะดวกใน การดำเนนิ การ การระดมวศิ วกรและชา่ งเทคนคิ การรกั ษา และพัฒนาสิง่ แวดล้อม การพัฒนาคุณภาพชวี ิต และการกระจายรายได้ การพัฒนาสงั คมไทยซงึ่ เดิมเป็นสังคมเกษตรแบบดัง้ เดมิ ตอ่ มาได้ใชเ้ ทคโนโลยเี ข้าชว่ ย เพอ่ื ใหเ้ ป็นเกษตรสมยั ใหม่ แต่ก็ยังไมป่ ระสบความสำเรจ็ เท่าทีค่ วรกม็ ีการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมขึ้นและมีการ พูดถงึ การท่จี ะเปลย่ี นแปลงสังคมไทยไปเปน็ ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ ซ่ึงถ้าพิจารณาเครือ่ งช้ีวัดจำเปน็ ตอ่ การ เปล่ยี นแปลงดังกลา่ วขา้ งตน้ แลว้ ประเทศไทยน่าจะเปลยี่ นแปลงไปสู่สังคมการเกษตรแผนใหมซ่ งึ่ คำนึงถงึ ระบบนิเวทวิทยา เป็นพน้ื ฐานสำคัญของการดำรงอยู่ของชาติ และเสริมดา้ นอุตสาหกรรมการเกษตร ผสมกับ อุตสาหกรรมจำเปน็ ยิง่ ยวด และการบริการ นั่นกค็ ือ การพัฒนาท่ตี ้องคำนึงถึงการอนุรักษค์ วบคู่กันไป เพอื่ ให้ คุณภาพชวี ติ ของประชากรดขี ึ้นจรงิ ให้ประชากรมคี วามกินดีอยู่ดีมีสุขจรงิ มใิ ชม่ งุ่ ยกระดับรายได้ประชาชาตใิ ห้ สงู โดยไมส่ นใจการกระจายรายได้ท่เี ป็นธรรม หรอื สนใจให้มกี ารกระจายรายได้สงู แต่สภาพแวดลอ้ มท่ีดีงามสูญ สน้ิ ไปจะทำให้คนในชาติขาดความมีชีวติ จติ ใจ กลายเปน็ เคร่อื งจักรเครือ่ งยนต์เปน็ ระบบปิดที่เจริญเตบิ โตด้วย ตวั เองตอ่ ไปไมไ่ ด้ การพัฒนาพนื้ ที่ตามแนวความคิดดงั กล่าวน้ี ต้องอาศัยงบประมาณช่วยเหลือหรอื สนับสนุน จากรัฐบาลหรอื ภาคเอกชนเพ่ือจดั ให้มโี ครงสรา้ งพน้ื ฐาน และสงิ่ อำนวยความสะดวกหลัก ๆ ซงึ่ เหนือขดี ความ สามารถทปี่ ระชาชนจะจัดหาเองได้ แต่การช่วยเหลือหรือสนับสนุนเพ่ือการพฒั นาน้ันจะต้องพิจารณาอย่าง รอบคอบ การชว่ ยเหลอื และสนบั สนนุ จากภายนอกพ้ืนที่นัน้ เป็นสง่ิ จำเปน็ ตอ่ การพัฒนา แต่ถ้าดำเนินการไม่พอดี ก็จะเกดิ การครอบงำจนขาดภาวะอิสระของชมุ ชน เพราะการชว่ ยเหลือ (Aid) เป็นลกั ษณะจำเป็นเรง่ ดว่ น เหมาะสำหรับชมุ ชนทปี่ ระสบภยั พิบัตเิ ลวร้ายจนยนื หยัดดว้ ยตนเองไมไ่ ด้แลว้ เช่น ผปู้ ระสบวาตภัยภาคใต้ และ การช่วยเหลือน้ันเปน็ ลกั ษณะของสังคมสงเคราะห์ ถ้าทำบ่อย ๆ ผรู้ บั จะเคยชินจะไม่เกิดความริเรมิ่ ใด ๆ ไม่ เขา้ ใจศักด์ศิ รีแห่งความเปน็ คนอนั จะเป็นหนทางหนงึ่ ท่ีย่ิงทำใหส้ ังคมเลวรา้ ยกลายเป็นสังคมทถ่ี ูกครอบงำ (Corrupted Society) มีความเพอ้ ฝันลม ๆ แลง้ (Dreaming Society) และในทีส่ ุดก็จะทรุดโทรม (Sick Society) เปน็ ภาระตลอดไป การพัฒนาจึงควรสนใจเรื่องการสนบั สนุน (Support) ให้ประชาชนเปา้ หมายได้มี สว่ นรว่ มในการค้นหาความต้องการแท้จริงของเขา ให้เขาเหล่าน้นั รว่ มคิด รว่ มวางแผน ร่วมดำเนินการทั้งลงทนุ ลงแรงในขีดความสามารถอย่างเต็มที่ เพอื่ ให้คนมีศักดิ์ศรีชุมชนมภี าวะอิสระไม่ตกอยภู่ ายใตอ้ ทิ ธิพลของชุมชน อื่นกจ็ ะทำให้สงั คมนั้นกลายเป็นสังคมทีม่ ีศักยภาพเข้มแขง็ (Active Society) สามารถขยายผลการพัฒนา ตนเองได้ทง้ั ในทางด่ิงและทางระดบั การพฒั นาพืน้ ทีเ่ พื่อการตอ่ สเู้ บด็ เสร็จ จงึ ตอ้ งสนใจการพัฒนาคน เพื่อเปล่ียนทัศนคติ ค่านิยมของคน ให้เกิดวัฒนธรรมของผู้ผลติ โดยกำหนดแผนงานและโครงการเพ่ือพฒั นาคนและพนื้ ทค่ี วบค่กู นั ไป ดังตวั แบบ แผนงานยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนาและโครงการต่าง ๆ คือ 1.1 แผนงานยุทธศาสตรพ์ ัฒนา เป็นการแปลงแผนไปสกู่ ารปฏิบตั แิ ละเพ่ือใหเ้ กิดขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน จงึ ได้กำหนดเป็นแผนงานระยะปานกลางในหว้ งเวลาหนึ่ง และหลงั จากนนั้ กส็ ามารถเกบ็ รายละเอยี ดในสงิ่ ท่ยี ัง
16 ไม่สมบูรณ์และยกระดับการพัฒนาย่ิงขึน้ ในแผนระยะยาว และพ้ืนท่ีไว้อย่างเพียงพอแลว้ หากสามารถพัฒนาได้ ครบถว้ นถูกต้องตามหลกั และวิธีการแลว้ ผลของการพัฒนาก็จะสามารถขยายผลต่อไปได้ ทั้งในทางดิ่ง และทาง ระดบั การประมาณการงบประมาณอาจจะตอ้ งได้รับการแก้ไขให้เหมาะสมโดยกระทรวง ทบวง กรมท่เี กี่ยวขอ้ ง 1.2 โครงการพฒั นาเสน้ ทาง แหล่งนำ้ และสาธารณสถาน เปน็ โครงการที่มุ่งพัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐาน และสิง่ แวดลอ้ มให้เกิดประโยชน์ในการดำรงชวี ิตของชุมชน ซง่ึ ถือว่าเปน็ โครงการหลักทีส่ มควรจะไดน้ ำมาจัด ทำรายละเอยี ดใหค้ รอบคลุมตลอดทวั่ ท้ังประเทศ ใหส้ ามารถดำเนินการไดใ้ นระยะเวลาอนั ส้นั เพราะจะทำให้ คุณภาพชวี ติ ของประชาชนดีขึ้น ทง้ั ร่างกายและจติ ใจ 1.3 โครงการปดิ ปลกู และรกั ษาป่าไม้ เปน็ โครงการเพอื่ ฟ้นื ฟูทรัพยากรธรรมชาติ ใหเ้ กดิ สภาพแวดล้อม ทด่ี ีกวา่ ปจั จุบนั อาจจะเป็นการปลกู ปา่ อนรุ ักษ์ หรือปลกู ปา่ เศรษฐกจิ ในพน้ื ที่ตา่ ง ๆ ซึ่งจะนำมาทั้งเร่ืองการ อาชีพเพื่อการอปุ โภคและบริโภค และการสร้างค่านิยมในการรกั ษาตน้ ไม้ รูจ้ กั บำรุงรักษาปา่ ไม้ของคนในชาติ 1.4 โครงการเยาวชนเดินทางไกลและจดั คา่ ยพักแรม เปน็ โครงการตัวอย่างสำหรบั การดดั แปลงไปใชใ้ น พน้ื ท่ตี า่ ง ๆ ให้เหมาะสมกับวยั ของเยาวชน เพ่ือสรา้ งพ้ืนฐานด้านวนิ ยั การช่วยตนเองและหม่คู ณะ และฝึก ความอดทนทง้ั ทางรา่ งกายและจติ ใจในระดบั หนึง่ 1.5 โครงการส่งเสริมอาชีพนักเรยี น นสิ ติ นกั ศกึ ษา เปน็ โครงการที่กระตนุ้ ให้เยาวชนไดร้ ู้จกั ใชศ้ กั ยภาพ ของตนเองทำงานช่วยตนเอง และสงั คม เพื่อเปลย่ี นค่านยิ มและทัศนคติของคนในสังคมใหม้ ีวัฒนธรรมของ ผู้ผลติ และเมอ่ื จบการศึกษาแลว้ จะมที งั้ ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ 1.6 โครงการส่งเสริมบัณฑติ เพ่อื การพัฒนาหมบู่ ้าน เป็นโครงการตัวอย่างอันหนึ่งท่พี ยายามจะกระตุ้น ให้บณั ฑิตกลับไปประกอบอาชีพในหมบู่ ้านของตนเอง เพอื่ ช่วยในการพัฒนาหมบู่ ้านและทำให้ประชากรใน หมบู่ ้านมคี ุณภาพยง่ิ ขนึ้ การพฒั นาพื้นทเี่ พ่ือการตอ่ ส้เู บด็ เสร็จ ก็คือ การพัฒนาท่ีเร่ิมตน้ สนใจหมูบ่ ้านเป้าหมาย ได้แก่การพัฒนา หมบู่ ้านเปา้ หมายให้มีระดับความเขม้ แข็ง ตามแผนงานยุทธศาสตร์พฒั นา และตามตัวแบบหมู่ บา้ นตามแนว ความคิดยุทธศาสตร์พฒั นา โดยอนุโลม แต่เนอื่ งจากการต่อสขู้ องหมบู่ า้ นป้องกนั ตนเองชายแดนในอดตี ให้บท เรียนว่าหมบู่ า้ นเดียวไมส่ ามารถจะดำเนินการให้ประสบชยั ชนะได้ แนวความคิดยุทธศาสตร์ พัฒนาจงึ จำเป็น ต้องจดั กลุ่มหมบู่ ้าน ใหม้ สี ว่ นประกอบจำเปน็ ตามรายละเอียดในแผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาและตามตัวแบบ กลุม่ หมูบ่ ้านตามแนวความคดิ ยทุ ธศาสตร์พฒั นา โดยอนโุ ลม เพ่อื ให้แตล่ ะหมูบ่ ้านชว่ ยเหลือซงึ่ กันและกนั ได้ ตงั้ แต่การรวมกลุ่มเพอ่ื การอาชีพและการต่อส้ภู ยั คุกคามต่าง ๆ และจดั กลมุ่ ให้เปน็ แนวกล่มุ รอบประเทศ การพฒั นาพนื้ ท่ีดงั กล่าวนี้ ตอ้ งได้รบั ความรว่ มมือและการมีสว่ นรว่ มของบุคลากรหลายฝ่าย โดยมีฝา่ ย ทหาร หรอื ผูร้ ับผิดชอบพน้ื ทเ่ี ป็นผู้ประสาน หน่วยงานตา่ ง ๆ ทั้งภาครฐั บาลและเอกชนจะจดั ทำโครงการ เพอื่ ประมาณการค่าใช้จา่ ยต่าง ๆ แล้วดำเนินการพัฒนาในสว่ นท่รี ับผิดชอบ สำหรับอาคารส่ิงก่อสรา้ ง เพือ่ ความ ปลอดภยั ทางทหารหรือปอ้ งกันอบุ ตั ิภัยอน่ื ๆ จะตอ้ งใหเ้ กอื้ กลู ตอ่ การใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกจิ สังคม และการเมืองในยามปัจจุบนั ดว้ ย เชน่ ระบบป้อมค่าย หลมุ หลบภัย ฯลฯ อาจจะใชเ้ ป็นหอ้ งเรียน หอ้ ง ประชมุ ทีจ่ อดรถ สถานท่เี ก็บสงิ่ อุปโภคบรโิ ภคหมนุ เวยี น ตามฤดูกาล และการพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐาน เพอ่ื พฒั นายามปกติต้องเกื้อกลู ต่อยามมภี ัยคุกคามด้วย เช่น แหลง่ น้ำตอ้ งไดป้ ระโยชน์ท้ังด้านการอาชพี แหลง่ พกั ผอ่ นและเคร่อื งกีดขวาง ฯลฯ
17 2. การพฒั นากำลงั เพอ่ื การตอ่ สเู้ บด็ เสรจ็ ยุทธศาสตร์ชาติ คือ การรักษาความเป็นกลางโดยสรา้ งความสัมพันธ์กับทกุ ประเทศ และปฏบิ ัตติ าม พนั ธกรณที ี่มีตอ่ ประเทศค่สู ัญญา กองทัพ และผทู้ ่ีมีหน้าท่ีในการรกั ษาความม่นั คงของชาตกิ ็จำเป็นต้องดำเนิน การให้สอดคล้องกบั ยุทธศาสตรช์ าติ และเหมาะสมกับสภาพความเป็นจริงของประเทศ และสถานการณ์ แวดล้อม การปอ้ งกนั ประเทศและการรักษาความม่นั คงของชาติ จงึ ตอ้ งใชว้ ชิ าการด้านการทหาร การเมือง เศรษฐกจิ และสงั คมจิตวทิ ยาควบคกู่ นั ไปเสมอจงึ จะสามารถบรรลเุ ปา้ หมายในการดำรงความเป็นชาติประเทศ และความมั่นคงไดต้ ลอดไป นนั่ ก็คือความรว่ มมอื ของทุกฝ่ายทุกคนอยา่ งมน่ั ใจเข้มแข็ง และใชค้ วามรคู้ วาม สามารถพฒั นาประเทศอย่างเบด็ เสรจ็ ก็จะเกิดประโยชนอ์ ย่างแทจ้ รงิ กองทัพมคี วามจำเป็นต้องปรับตวั ใหใ้ ช้กำลังพลแต่นอ้ ยและจัดหาอาวธุ ทางยทุ ธศาสตรเ์ ท่าท่ีจำเปน็ อยา่ งเพยี งพอ เพ่ือเปน็ การประหยดั และชดเชยอำนาจดังกล่าวดว้ ยการผนกึ กำลงั ทรัพยากรท้งั ปวงของชาติเข้า พัฒนาความมน่ั คงของชาติ ดังนนั้ การเตรยี มการทางยุทธศาสตร์ จงึ ต้องม่งุ ที่การเตรียมกำลังคน เตรียมอาวธุ ทางยุทธศาสตร์ และการพัฒนาระบบการต่อสู้เบ็ดเสรจ็ ซึ่งการเตรียมการทางยทุ ธศาสตร์ น้ี สิง่ สำคญั คือ \"เตรียมกำลังคน\" ให้พรอ้ มทุกคนทง้ั ทหาร ข้าราชการพลเรือน และประชาชน โดยการพัฒนาคนในชาติท้งั ใน ระยะสนั้ ระยะปานกลาง และระยะยาว 2.1 การพัฒนากำลงั ในระยะสัน้ คอื การพฒั นาประชากรของชาติในวัยผใู้ หญป่ ัจจุบนั ใหเ้ ข้าใจสามารถ รบั ใช้ระบบได้ ทั้งผู้นำระดับสูงของประเทศ กำลงั รบหลัก กำลังประจำถนิ่ และกำลังประชาชน 2.1.1 การพฒั นาผนู้ ำระดับสงู ของประเทศ ผนู้ ำระดบั สงู ของประเทศจะต้องเขา้ ใจระบบรู้เหตผุ ล ความจำเปน็ ในการจดั ระบบและสามารถ กำหนดนโยบาย อำนวยการ ควบคมุ กำกับดูแลการพัฒนาระบบได้ และดำเนนิ การใด ๆ ก็ตามใหม้ กี ารพฒั นาพลังอำนาจของชาติให้สอดคล้องกนั ไปตง้ั แต่ยามปกติ โดยไม่จำกดั ในเรือ่ งการสนบั สนุนให้เกิดการลงทุนเพื่อความอยู่ดีกินดมี ีสุขของประชาชนจนเกดิ ความมน่ั คงของชาตแิ ละจัด หน่วยทมี่ ีเอกภาพในการพัฒนาระบบการต่อสเู้ บ็ดเสรจ็ 2.1.2 การพฒั นากำลงั รบหลกั กำลังรบหลกั จะต้องมีความรู้เรอ่ื งการป้องกันประเทศทางยทุ ธศาสตร์ รูห้ นา้ ที่เฉพาะของตนเองอย่างดยี ง่ิ และเข้าใจหน้าที่ของขา้ ราชการพลเรือน และหนา้ ที่ของประชาชน สามารถ ประสานการปฏิบตั ิใหส้ อดคล้องไมซ่ ำ้ ซ้อนต้งั แตย่ ามปกติ โดยตวั กำลังรบหลกั เองต้อสามารถดำเนินการพฒั นา ในเร่ืองเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองไดด้ ว้ ย เม่ือกองทัพมนี โยบายปรับกำลังให้กะทัดรัดไมใ่ หญโ่ ตเกินความ สามารถทางเศรษฐกจิ กำลังพลย่ิงจำเปน็ ต้องไดร้ ับการศึกษาเรื่องการพฒั นาให้มขี ดี ความสามารถเพิ่มมากข้ึน กวา่ เดมิ ดงั คำที่ว่ายามศึกสรู้ บยามสงบพัฒนาประเทศ แต่ทงั้ นีม้ เี ง่ือนไขสำคัญท่กี ารใหส้ วสั ดกิ ารกำลังพลอยา่ ง พอเพียงต่อเป้าหมายความต้องการพัฒนากำลังพล ซึ่งเรอื่ งน้กี องทัพต้องทบทวนระบบสวสั ดกิ ารทกุ ด้านใหม่ ใหก้ ำลังพลทกุ คนหมดกังวล ขวญั ดี และมีความภาคภูมิ 2.1.3 การพฒั นากำลังประจำถ่นิ ในด้านกำลังทหารประจำการ ต้องสนใจปรบั ปรงุ แก้ไขภารกิจ หน้าที่ และโครงสรา้ งการจดั ของกรมกิจการพลเรือนทหารบก กรมการรักษาดินแดน กรมกำลงั สำรองทหารบก มณฑล/จงั หวดั ทหารบก สัสดีจงั หวดั /อำเภอ เสียใหม่ให้สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของระบบทีต่ ้องการกำลัง ประจำการเป็นโครงหลักในกองกำลงั ประจำถิ่น ซึ่งมีโครงสร้างการจดั ที่สนธคิ วบคู่ไปกับโครงสรา้ งการจัดของ
18 กำลังรบหลกั อย่างเป็นอันหน่ึงอนั เดยี วกัน ตัง้ แต่ระดบั จังหวัดฝ่ายปกครอง จงั หวดั / มณฑลทหารบก และ ระดบั ภาค ซึ่งเป็นหน่วยสงู สุดในการบังคับบญั ชากำลงั ประจำถน่ิ ระดบั 1 คอื ระดับจังหวัด ไดแ้ ก่ ตำรวจภธู รหนว่ ยปฏบิ ัตกิ ารพเิ ศษ และหน่วยอาสาสมัครของฝา่ ย ปกครองระดับจังหวดั มีหนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบในระดับจังหวัด สามารถรบได้แบบทหาร ซึ่งมีโครงสรา้ งการจัดหนว่ ย ใหร้ บั กำลงั ประชาชนจัดตง้ั เข้าสมทบเม่ือมีภยั คุกคาม และในยามปกติกำลังเหลา่ น้ี ก็ปฏบิ ตั ิหน้าที่พัฒนา ประเทศตามแผนงานของแตล่ ะหนว่ ยกบั ทำน้าท่เี ป็นกำลังปฏบิ ัติการพเิ ศษของจงั หวดั ระดบั 2 คือ ระดบั มณฑลทหารบก หรอื จงั หวัดทหารบกที่ข้นึ ตรงต่อกองทัพภาค ไดแ้ ก่ หนว่ ยทหารใน ปกครองซง่ึ ต้องมีความรบั ผิดชอบโดยตลอดเขตพ้ืนท่ีของตน (อาจไดร้ ับการสมทบกำลังประเภทอ่ืนดว้ ย) และ ปกครองบังคบั บัญชาระดับ 1 ด้วย ระดับ 3 คือ ระดับกองทพั ภาค อาจจัดตงั้ รองแม่ทัพภาค ควบคมุ หนว่ ยทหารทีน่ อกเหนือจากกองทพั น้อย (หนว่ ยที่บรรจุมอบให้กองทพั น้อย) รับผดิ ชอบพื้นทใ่ี นความรบั ผิดชอบของกองทพั ภาคทงั้ หมดเปรยี บ เสมือนกองหนนุ ประจำถนิ่ ในกองทัพภาค ซ่ึงต้องมีการปรับปรุงให้มีหน่วยเคลื่อนท่เี รว็ สามารถป้องกันการโอบ ทางดิ่งได้ และปกครองบงั คับบญั ชากำลงั ระดับ 2 ด้วย หน้าท่ีของกำลงั ประจำถิน่ 3 ระดับ ยามปกติ คือ การพัฒนาตามแผนงานการพัฒนาระบบการต่อสู้ เบ็ดเสรจ็ สำหรับสัสดีจงั หวดั และสัสดอี ำเภอ ถอื วา่ เป็นโครงสรา้ งหลกั ในหน่วยกำลงั ประชาชน จงึ ตอ้ งไดร้ บั การปรับโครงสรา้ งใหม่ ภาพที่ 2 โครงสรา้ งการจดั กำลงั ประจำถ่ิน กองทัพภาค กองอำนวยการรักษาความมน่ั คงภายในภาค หน่วยทไี่ ด้รับมอบ หน่วยทหารประจำการ มณฑลทหารบก/จงั หวดั ทหารบก หนว่ ยทหารประจำการ ตำรวจตระเวนชายแดน จังหวดั ฝ่ายปกครอง กองพนั ประชาชน ตำรวจภูธรหนว่ ยปฏิบตั ิการพิเศษ หนว่ ยอาสาสมคั รฝ่ายปกครอง อ่ืน ๆ ทำนองเดียวกนั
ภาพท่ี 3 โครงสรา้ งการจดั กองกำลงั ประชาชน 19 จงั หวดั ฝ่ายปกครอง กาลงั ประจาถิ่น กองพนั กาลงั ประชาชน (ระดบั จงั หวดั ) กองร้อยบงั คบั การและบริการ ฝ่ ายอานวยการ (ระดบั อาเภอ) กองร้อยกาลงั ประชาชน ฝ่ ายอานวยการ หมวดบริการชุมชน (ระดบั ตาบล) ฝ่ ายอานวยการ หมวดกาลงั ประชาชน (2-3 หมบู่ า้ น) ตอนบริการชุมชน ฝ่ ายอานวยการ ตอนกาลงั ประชาชน หม่กู าลงั ประชาชน กลมุ่ ฝ่ายอานวยการ กลุ่มพฒั นาสังคม กลุ่มพฒั นาการ กลุม่ ส่งกาลงั บารุง กลมุ่ บริการชุมชน ทหาร กลุ่มพฒั นาเศรษฐกิจ กลมุ่ พฒั นาการเมือง กลมุ่ เสนารักษ์ กลุ่มความปลอดภยั 2.1.4 กำลงั ประชาชน การจดั กำลงั ประชาชน เป็นเรือ่ งทลี่ ะเอยี ดอ่อน จงึ ต้องแยกแยะกลมุ่ บุคคลให้ ครอบคลุมทุกการในหน้าทจี่ ำเป็น และมโี ครงสรา้ งการจดั ที่รดั กมุ ตัง้ แต่ระดับ หมูบ่ ้าน ตำบล อำเภอ ถึงจงั หวัด และถือวา่ กำลังประชาชนในกรณนี ี้มอี ายุตงั้ แต่ 21 ปี เป็นตน้ ไป กำลงั ประชาชนจะต้องได้รับการฝึกศกึ ษาใน เร่ืองของการพัฒนาการอาชพี การพฒั นาชุมชน การต้งั ถ่นิ ฐานใหม่ และการป้องกันรักษาความม่ันคงของชมุ ชน
20 โดยกำลังดังกลา่ วจะได้รับการฝกึ แตกตา่ งกันออกไปในแตล่ ะประเภทให้เหมาะสมกับพื้นท่ีและแนวโน้มของภัย คมุ คาม กลา่ วคือ ประเภท 1 คือ กำลงั ในหมบู่ า้ นยทุ ธศาสตร์พัฒนาประเภทท่ี 1 และ 2 ประเภท 2 คือ กำลังในหมู่บ้านยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนาประเภทที่ 3 ประเภท 3 คือ กำลงั ในหมู่บ้านลอ่ แหลมอน่ื ในชนบท ประเภท 4 คือ กำลังในเขตเทศบาล และในเมือง กำลงั ประชาชนทุกประเภท จัดเปน็ หน่วยขนาดหม่ใู นระดับหมบู่ ้าน ขนาดตอนในระดับ 2 – 3 หม่บู ้าน (พิจารณาพนื้ ที่และกำลัง) ขนาดหมวดในระดับตำบล ขนาดกองร้อยในระดับอำเภอ และขนาดกองพนั ในระดับ จงั หวดั จำนวนกำลังประชาชนในแต่ละหน่วยจะแตกต่างกันไปตามอตั ราความหนาแนน่ ของประชาชน แตก่ าร ประกอบกำลงั จะต้องสมบูรณ์เบด็ เสรจ็ ในตวั เอง และชว่ งชน้ั การบังคับบญั ชาตามลำดบั ถงึ ระดบั จังหวัดให้ กองพันกำลังประชาชนขึ้นการบงั คับบัญชากบั ผบู้ งั คบั หนว่ ยต่อสเู้ บด็ เสร็จจังหวดั (ภาพท่ี 3 โครงสรา้ งการจัด กองกำลังประชาชน) หมู่บ้านประชาชนประกอบดว้ ยกำลงั อยา่ งนอ้ ย 85 คน มีผู้บงั คับหมู่จากการเลือกตง้ั เปน็ ผู้บังคับบัญชา และผู้บังคบั หมู่เปน็ ผแู้ ต่งต้ังรองผูบ้ งั คับหมู่ 3 คน แบ่งการบงั คับบัญชาเปน็ 9 กลุ่ม แตล่ ะกล่มุ มกี ำลังอยา่ งน้อย 9 คน ไดแ้ ก่ กลุ่มฝ่ายอำนวยการ กลมุ่ พฒั นาเศรษฐกจิ กลมุ่ ส่งกำลงั บำรุง กลุ่มรักษาความปลอดภัย และกลุ่ม บรกิ ารชมุ ชน กำลงั ประชาชนแต่ละคนจะต้องได้รับการฝึกศกึ ษา หลดั สูตรการเสรมิ สรา้ งผ้นู ำชุมชนซ่ึงกำหนด ไว้อย่างเหมาะสมกบั ประเภทของกำลงั ประชาชน เพ่ือให้กำลงั ประชาชนได้ทงั้ การพฒั นาชุมชนยามปกติ และ การต่อสเู้ อาชนะภัยคุกคามในยามฉกุ เฉิน หน้าท่ีท่ัวไปของกำลงั ประชาชนยามปกติ มดี ังนี้ หวั หน้ากลุ่มทุกกลมุ่ เป็นผู้บังคบั บัญชารบั ผดิ ชอบ กลุ่ม และทำหนา้ ท่ีเป็นผ้ชู ว่ ยผู้บงั คับหมู่ในฝา่ ยทต่ี น รบั ผดิ ชอบ การจดั ลำดบั ความสำคญั ของผชู้ ว่ ยข้นึ กบั มติของหมูบ่ า้ น กลมุ่ ฝ่ายอำนวยการ รบั ผดิ ชอบงานด้านกำลังพล การสำรวจขอ้ มลู ความตอ้ งการด้านตา่ งๆ ของชมุ ชน ประเมินผลการปฏิบัติต่าง ๆ ของชมุ ชน เป็นฝา่ ยอำนวยการประสานงานของผู้บงั คับหมู่ กลุ่มพฒั นาเศรษฐกจิ รับผดิ ชอบด้วยพฒั นาการอาชีพของชุมชนใหค้ รอบคลุมอาชีพทั้ง 3 ประการ คือ เกษตร อุตสาหกรรมปละบริการ ดำเนนิ การใด ๆ ก็ตามในส่วนทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การอาชีพ กลุ่มพฒั นาสังคม รับผิดชอบด้านการพฒั นาคุณภาพชวี ิตของชุมชนดำเนนิ การในด่านต่าง ๆ ที่เกยี่ วกบั การพฒั นาชมุ ชนเช่น การปลูกฝงั อุดมการณ์ การในเร่ืองสังคมวัฒนธรรม ฯลฯ เปน็ เสมอื นฝา่ ยกจิ การพลเรือน ของหน่วยทหารโดยอนโุ ลม กลมุ่ พัฒนาการเมือง รบั ผิดชอบดา้ นพฒั นาการเมืองของหมูบ่ า้ นทัง้ การเมืองภายใน และภายนอก จนถึงระดับประเทศ นอกจากน้นั ยงั ทำหน้าท่ีการข่าวกรองของหมู่บา้ นดว้ ย กลมุ่ พฒั นาการทหาร รับผิดชอบด้านการพัฒนา เพ่ือความมั่นคงของหม่บู ้าน ในแง่การทหารจากภัย คุกคามท่ีอาจจะเกดิ จากการก่อการรา้ ย ศัตรูจากภายนอก และรบั ผดิ ชอบคลงั อาวุธกระสุนของหน่วยเปน็ เสมอื นฝา่ ยยุทธการของหน่วยทหารโดยอนุโลม และเสมือนกบั กำลังทหารบ้าน
21 กลุ่มเสนารกั ษ์ รบั ผดิ ชอบดา้ นการบรกิ ารสายแพทย์ทง้ั ปวง ท้งั ด้านเวชกรรมป้องกนั และการรักษา พยาบาล กลมุ่ สง่ กำลังบำรุง รบั ผดิ ชอบดา้ นทรัพย์สินและสหกรณ์ การตลาด และเปน็ เสมือนฝ่ายส่งกำลังของ หนว่ ยทหารโดยอนโุ ลม กลมุ่ รกั ษาความปลอดภยั รบั ผิดชอบด้วนการป้องกนั ภัยพิบัตติ ่างๆ การรักษาความสงบเรยี บร้อย เปน็ เสมอื นกำลังตำรวจบ้าน กลมุ่ บริการชมุ ชน รบั ผิดชอบดา้ นการดแู ลเด็กเล็กและคนชรา การพทิ ักษ์พน้ื ทเี่ ขตหลัง และการอพยพ การจดั กำลังประชาชนถอื สทิ ธิเท่าเทยี มกันในเรื่องเพศวัย อาศยั ระบบกลุ่มสามคน และให้มกี ารพัฒนา ทางการเมือง ควบค่ไู ปกับการแตง่ ตั้งหวั หนา้ หรอื ผู้บงั คับบัญชาทุกระดับ เพ่ือใหก้ ารดำเนินการทกุ อย่างเป็นไป ตามธรรมชาติ กล่าวคอื ทุกคนประกอบอาชีพเป็นไปตามปกติตามแนวทางยุทธศาสตร์พัฒนา ที่แตล่ ะหน่วยนำ หรือใหก้ ารศึกษา และขณะเดียวกันทกุ คนกเ็ ตรียมพรอ้ มปอ้ งกนั ภยั คกุ คามได้ และเอาชนะภยั คุกคามไดท้ ัง้ ภัย ธรรมชาตแิ ละการสู้รบ หากจำเป็นต้องใช้กำลังประชาชนนอกพ้นื ที่รบั ผิดชอบของแตล่ ะหมู่บา้ นในกรณีใด ๆ ก็ ตามใหค้ งกลมุ่ ส่งกำลงั บำรงุ กล่มุ รักษาคามปลอดภยั และกลุ่มบริการชุมชน เพ่ือปอ้ งกันหมูบ่ ้าน ดำเนนิ การใน เรื่องอน่ื ๆ ท่จี ำเป็นในหมู่บ้าน และใหก้ ารสนบั สนุนช่วยเหลอื หมู่ที่ออกปฏิบตั ิการไดต้ ามขีดความสามารถ ตอนกำลังประชาชน บงั คับบัญชา 2-3 หมู่บ้าน ตามความเหมาะสมในดา้ นพื้นทีแ่ ละความแออัดของ ประชาชน มีการเลอื กตง้ั ผู้บังคบั ตอน 1 คน และรองผู้บงั คับตอน 3 คน ใหผ้ ู้บังคับหม่เู ป็นผู้ชว่ ยบงั คบั ตอน และ จดั ฝ่ายอำนวยการในทีบ่ ังคับการอยา่ งเพียงพอ หมวดกำลงั ประชาชน บังคบั บัญชาตอนท้ังหมดในเขตตำบล มกี ารเลือกผบู้ ังคับหมวด และรองผู้บังคบั หมวด 3 คน ให้ผู้บงั คบั ตอนเปน็ ผ้ชู ่วยผบู้ ังคบั หมวด และจดั ฝา่ ยอำนวยการในที่บงั คับการหมวดอย่างเพียงพอ หากจำเป็นใหม้ ตี อนบริการชุมชนเพ่ิมขนึ้ ได้ กองร้อยกำลังประชาชน บังคับบญั ชาทุกหมวดในเขตอำเภอ มผี ู้บงั คบั กองร้อยเป็นผบู้ งั คับบญั ชา รบั ผิดชอบเลอื กตั้งใหป้ ระชาชนเป็นรองผู้บังคบั กองรอ้ ย 3 คน ให้ผบู้ ังคบั หมวดเปน็ ผ้ชู ว่ ยผูบ้ งั คับกองร้อยและ จัดฝา่ ยอำนวยการในท่ีบงั คับการอย่างเพยี งพอ หากจำเป็นใหม้ ีหมวดบริการชมุ ชนเพิ่มข้ึนได้ กองพนั กำลังประชาชน มผี บู้ ังคบั กองพันบงั คบั บัญชารับผดิ ชอบทกุ กองร้อยในเขตจังหวดั เลือกตัง้ ประชาชนเปน็ รองผบู้ ังคับกองพนั 3 คน ใหผ้ ้บู ังคบั กองร้อยเปน็ ผู้ชว่ ยผบู้ ังคับกองพนั และจัดฝ่ายอำนวยการ อย่างเหมาะสม พร้อมทั้งให้มีกองร้อยบังคับการบรกิ าร กองพนั กำลงั ประชาชนเปน็ หน่วยขา้ งเดียวของกำลงั ประจำถนิ่ ระดับจังหวดั ซง่ึ ขึน้ ตรงต่อผูบ้ ังคับหนว่ ยตอ่ สเู้ บ็ดเสร็จของจังหวัดตัง้ แตย่ ามปกติ หลกั สตู รการเสรมิ สร้างผนู้ ำชุมชนนอกจะเนน้ นำ้ หนกั ในเรื่องการพฒั นา การป้องกันภัยธรรมชาติ การป้องกนั การก่อการรา้ ยและขา้ ศกึ ศัตรตู ามความเหมาะสมของพืน้ ที่แลว้ ตอ้ งกำหนดให้มีการยกระดับความรู้ เพอ่ื ปรับแนวความคิดให้ทัดเทียมกันโดยเข้าอบรมในหลกั สตู รต่าง ๆ ดงั นี้ หลักสตู รพ้นื ฐาน เปน็ หลกั สตู รท่ีกองรอ้ ยกำลงั ประชาชนเปิดการฝกึ ศึกษา ให้แกป่ ระชาชนทกุ คนให้ เข้าใจระบบและหนา้ ทข่ี องประชาชนในการพัฒนาระบบการต่อสู้เบด็ เสรจ็ เฉาะผู้ทยี่ ังไม่เคยผ่านการอบรม ใช้เวลาฝกึ ศกึ ษา 7 วันหรือ 60 ชัว่ โมง
22 หลกั สูตรชัน้ ผู้บงั คบั หมู่ เป็นหลกั สูตรทีก่ องร้อยกำลงั ประชาชนเปดิ การฝึกศึกษาให้แก่ผูท้ ี่เป็นหวั หน้า กลุม่ และรองผ้บู งั คบั หมู่ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจงานการบรหิ ารของระบบและความรใู้ หม่ ๆ เกยี่ วกบั งาน ใชเ้ วลา 3 วัน หรอื 30 ช่วั โมง หลักสูตรทบทวนประจำปี เป็นการฝกึ ทบทวนประจำปีเปน็ หนว่ ยของทุกระดบั เพื่อฝึกซ้อมการใช้งาน ทงั้ ในรูปของการฝึกทีบ่ ังคบั การและการแสดงแสนยานภุ าพ มกี ารสอดแทรกการแสดงสนิ ค้าผลผลิตการอาชพี และเคร่ืองอุปโภคบรโิ ภคที่จำเปน็ ในพ้ืนที่ของแตล่ ะหมู่บา้ น มีการสาธิตเรอ่ื งต่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั ระบบใน ระดับกองร้อยและกองพัน ใช้เวลา 3 วัน 3 คืน ติดต่อกนั งบประมาณในการฝกึ แต่ละหลักสูตรใชข้ องทางราชการเสริมดว้ ยงบประมาณท้องถนิ่ และใชเ้ คร่ืองมือ ส่ิงอำนวยความสะดวกของท้องถ่ิน เวน้ กรณีการแสดงหรือสาธิตเครอื่ งมือใหม่ เวลาในการฝึกควรจัดให้มีความ เหมาะสมไม่กระทบกระเทือนการอาชีพ กาจแบ่งเป็นวันหยดุ ทง้ั วนั หรอื ตอนค่ำคร้งั ละ 32 ชวั้ โมงกไ็ ด้ หน่วย ทหารท่ปี ระจำอยตู่ ามตามอำเภอและจงั หวดั การปกครองเป็นผูว้ างแผน และประสานในเรือ่ งการฝึกศกึ ษาใหแ้ ต่ ละปีไดห้ มนุ เวียนพื้นท่ีไปเร่อื ย ๆ อาจใช้สถานทฝ่ี ึกในวดั หรอื โรงเรยี นท่เี หน็ วา่ เหมาะสม การศึกษาในการพัฒนากำลงั เพื่อการต่อสู้เบ็ดเสร็จระยะสน้ั นี้เป็นการอ่อนตัว เพื่อวางรากฐานความ เขา้ ใจ ท้ังนี้เพ่ือให้เปน็ แนวทางท่สี อดคล้องกบั การพฒั นากำลงั ระยะปานกลางและระยะยาวได้ จึงต้องดำเนิน การใหค้ รอบคลมุ ทุกบุคคลทุกประเภททงั้ ทหาร ข้าราชการพลเรือน ประชาชนทว่ั ไปและเพศบรรพชติ 2.2 การพฒั นากำลงั ในระยะปานกลาง คือ การพัฒนาผู้นำในอนาคต กำลังทหารหลักกำลังประจำถิ่นและ กังประชาชนในระยะปานกลาง หมายถึง เยาวชนปัจจบุ ันทีอ่ ายุต้งั แต่วยั การศึกษาภาคบงั คับ ถึงจบการศึกษา ระดับดดุ มศกึ ษา ทงั้ จากสถาบนั ทางทหาร สถาบันการศกึ ษาอ่ืน และผู้ท่ีไม่ไดเ้ ข้ารับการศกึ ษาต่อหลงั จากจบ การศกึ ษาภาคบังคับเพือ่ เตรยี มกำลงั ให้เขา้ ส่รู ะบบเป็นการสบื ทอดเจตนารมณป์ จั จบุ ันและพฒั นาให้ดีขึน้ ได้ใน อนาคต ซ่งึ จะต้องแบ่งกลมุ่ ให้การศกึ ษาอยา่ งเหมาะสมกับบุคคล 5 กลุ่ม คือ ระดบั การศึกษาภาคบงั คับ ระดบั มธั ยมศึกษา ระดบั อุดมศกึ ษา เยาวชนหลังวัยเรยี นและเพศบรรพชติ ซง่ึ อยู่ในวัยเรยี น เมือ่ พน้ วยั เยาวชนแล้วก็ ประยุกตว์ ิธีการพัฒนาเข้าสรู่ ะบบ เช่นเดยี วกับการพฒั นากำลงั เพ่อื การต่อสเู้ บด็ เสรจ็ ระยะสน้ั การใหก้ ารศึกษา แกเ่ ยาวชนแตล่ ะกลุ่มจงึ ต้องมีขอบเขตเน้ือหา ซึ่งเน้นหนักต่างกนั แต่สอดคล้องกัน 2.1.1 ระดบั การศึกษาภาคบงั คับ ในทุกปี กำหนดให้การสอนวิชายุทธศาสตรพ์ ฒั นา เพอ่ื การพัฒนา ความม่นั คงของประเทศเปน็ วิชาบงั คบั วชิ าหน่ึงเพือ่ ปลกู ฝังพ้นื ฐานความรูน้ กึ สำนึกในความรบั ผิดชอบต่อตนเอง และชาตบิ า้ นเมืองอยา่ งเป็นระบบ และให้มีการฝึกในทางปฏิบัติอย่างเหมาะสมกับวยั เช่น อนบุ าลจนถงึ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ใหม้ ีการจัดกจิ กรรมภายในโรงเรียน ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 ข้นึ ไป จัดกจิ กรรมภายนอก โรงเรยี นเพ่ือใหร้ วู้ นิ ัย การช่วยตนเอง และหมู่คณะ สามารถทีจ่ ะใช้ชวี ติ ในสงั คมตามท่ชี ุมชนตอ้ งการได้ หากจบ การศึกษาภาคบังคับ เชน่ โครงการเยาวชนเดนิ ทางไกล และจดั ค่ายพกั แรม ฯลฯ 2.2.2 ระดับมธั ยมศึกษา ให้มที ง้ั การศึกษาวิชายุทธศาสตร์เพื่อความมุน่ คงของประเทศภาคทฤษฎเี ป็น วชิ าบงั คบั ลำการปฏบิ ตั ิในกจิ กรรมทีเ่ หมาะสมเช่น โครงการเยาวชนเดนิ ทางไกล และจัดคา่ ยพักแรม โครงการ สง่ เสริมอาชพี นักเรยี น ฯลฯ
23 2.2.3 ระดบั อดุ มศึกษา ดำเนินการทง้ั ภาคทฤษฎีและปฏบิ ัติ แตใ่ นลกั ษณะการประยุกต์มากยงิ่ ขนึ้ เพ่ือ เตรยี มตัวเขา้ ระบบ และแยกให้เหมาะสมกบั อาชีพในอนาคต เช่น นกั เรียนทหาร นักเรยี นตำรวจ นิสติ นกั ศึกษา ฯลฯ 2.2.4 เยาวชนหลงั วยั เรียน เยาวชนหลงั วัยเรียนหมายถงึ ผทู้ ่ีจบการศึกษาภาคบังคบั แลว้ ไม่เรียนตอ่ หรอื ออกระหว่างเรยี นระดบั ที่สงู กวา่ แต่อายุยังไมถ่ งึ 211 ปี ใหก้ องกำลงั ประชาชนต้ังแต่ระดบั หมู่ถึงระดับกอง พนั รบั ผดิ ชอบจัดการฝึกศึกษาให้ โดยอนโลมจากหลักสูตรของเยาวชนในสถาบนั การศกึ ษาและมีการปฏิบัติ กิจกรรมตามความเหมาะสม 2.2.5 เพศบรรพชิตในวัยเรียน เชน่ เดียวกบั ทีก่ ลา่ วมาแล้วระดบั มธั ยมและอุดมศึกษากรมการรักษา ดนิ แดนเป็นหน่วยงานทางทหารที่รับผิดชอบการพฒั นา เยาวชนระยะปานกลางร่วมกับหนว่ ยกำลงั ประชาชน ต้ังแตร่ ะดบั หมู่จนถงึ กองพนั โดยจัดศนู ย์เยาวชนและกองกำลังเยาวชนควบคไู่ ปกับหน่วยกำลงั ประชาชน และ อยูใ่ นการปกครองบังคบั บัญชาของผู้บังคบั บญั ชาหน่วย แต่ละระดับ 2.3 การพฒั นากำลังในระยะยาว คอื การทำใหเ้ ด็กท่เี กิดใหมจ่ นถึงวยั เขา้ รบั การศกึ ษามีสขุ ภาพสมบูรณ์ ท้ังด้านร่างกายและจติ ใจ เพ่ือให้มพี ื้นฐานทีด่ ีตอ่ การพัฒนาตอ่ ไป การพฒั นาระยะน้ีจึงตอ้ งสนใจหญงิ ชายวยั เจริญพันธ์ุ กลุ่มใหญ่ คือ เยาวชน ตอ้ งทำความเข้าใจในเรื่องของการครองเรอื น การมบี ุตรการดูแลสตรมี คี รรภ์ ให้บริโภค พกั ผ่อน และออกกำลงั กายอย่างเหมาะสม เมอื่ คลอดบตุ รแล้วต้องรู้จกั ปฏิบตั ิใหถ้ ูกต้องกับววิ ฒั นา การเจรญิ เติบโตของเด็ก เพื่อส่งเด็กเข้าสขู่ ้นั ตอนการพัฒนาเยาวชนให้ไดต้ ามความต้องการของสังคม จงึ เป็น ความจำเป็นท่ีรฐั บาลจะต้องมีกฎหมายคมุ้ ครองสตรีมีครรภ์และเดก็ เล็กอยา่ งเหมาะสม การพฒั นากำลงั เพ่อื การต่อส้เู บด็ เสร็จระยะปานกลางและระยะยาวน้ี ต้องวางพื้นฐานใหม้ ่นั คงที่ สถาบันครอบครวั และสถาบันการศึกษาภาคบงั คับ หมู่กำลงั ประชาชนจะตอ้ งสนใจฝกึ ให้คนรุน่ ใหมท่ ำงานเปน็ กลมุ่ ได้โดยรวมการในการเลย้ี งดเู ดก็ จัดให้มรี ะบบการแบ่งงานกนั ทำ และจดั ให้การดำเนินการในสถาบันการ ศกึ ษาภาคบังคบั เก้ือกูลต่อความตอ้ งการของชุมชนในทุกดา้ น ตลอดจนพยายามให้บคุ ลากรในศาสนสถานทไี่ ด้มี ส่วนร่วมในการพัฒนาใหม้ ากท่สี ุดเท่าทจ่ี ะทำได้ 3. การจดั ระบบการตอ่ สเู้ บด็ เสรจ็ ในระบบการต่อสเู้ บ็ดเสรจ็ ประกอบด้วย ระบบย่อย 3 ระบบ คอื ระบบประชาชน ระบบพฒั นา และ ระบบป้องกัน ซึ่งมกี ำลงั สำคัญ 3 ส่วน คอื กำลงั รบหลัก กำลงั ประจำถน่ิ และกำลงั ประชาชน แต่เนื่องจากเปน็ เปา้ หมายของการต่อส้เู บ็ดเสร็จ คอื ความม่นั คงของชาติ ยุทธศาสตร์ คือ การปอ้ งกันประเทศโดยใช้แนวคิด ยทุ ธศาสตร์พฒั นาทำการพัฒนาระบบ ยทุ ธศิลป์ คือ การพฒั นาพลงั อำนาจของชาติท้ังดา้ นเศรษฐกจิ สังคม การเมือง และการทหารให้เข้มแข็งสอดคล้องกันไปตัง้ แต่ในระดับตวั บุคคลแตล่ ะคน ในหมบู่ ้าน ตำบล อำเภอ จังหวดั จนถงึ ระประเทศชาติ โดยใช้ยุทธวิธตี ามหลักวิชาการทเ่ี หมาะสมกับสภาพสังคมและดำเนินการต้ังแต่ บัดนี้เป็นต้นไปอย่างต่อเนื่อง ให้สามารถต่อสู้เอาชนะภัยคุกคามทุกประเภท ประเทศชาติสามารถพัฒนาให้เกิด ความเจริญรงุ่ เรืองไปได้อยา่ งราบรน่ื การพัฒนาระบบต่อสู้เบด็ เสร็จ จึงตอ้ งมกี ารจัดการจัดหน่วยงานปรับ โครงสร้างของหน่วยให้สามารถควบคุมบัญชากำลังทั้งมวลได้ ต้องกำหนดวิธปี ฏิบัตขิ องระบบทงั ในยามปกติ และยามมภี ัยคกุ คาม ตอ้ งสนใจในเรือ่ งการสนับสนุนตา่ ง ๆ 3.1 หนว่ ยงานที่รบั ผิดชอบ หนว่ ยรับผิดชอบระบบตามลำดบั ต้ังแตร่ ะดับรฐั บาลถึงหมู่บ้านดงั น้คี ือ
24 3.1.1 ระดับรัฐบาล ตอ้ งจัดตงั้ สำนักงานคณะกรรมการว่าด้วยการต่อสเู้ บ็ดเสรจ็ ของประเทศ มี เจ้าหนา้ ทีเ่ กยี่ วข้องในเรื่องการพัฒนาเศรษฐกจิ พัฒนาสงั คม พัฒนาการเมอื ง และพัฒนาการทหาร โดยจัด เจา้ หน้าทจี่ ากกระทรวงทบวงกรมตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้องแต่ละสาขาการพฒั นา มหี นา้ ทกี่ ำหนดนโยบายอำนาจการ กำกบั ดูแล และให้การสนับสนุนให้การพฒั นาและการปฏิบัติงานของระบบมีเอกภาพโดยสำนักงานน้ีข้นึ ตรงต่อ สำนักนายกรัฐมนตรี 3.1.2 สว่ นกลาง คือ กองอำนวยการรกั ษาความมนั่ คงภายในจัดหน่วยงานรับผิดชอบ เฉพาะเปน็ หน่วยงานรบั นโยบายจากคณะกรรมการระดับประเทศแปลงสูก่ ารปฏิบัตไิ ปสหู้ นว่ ยระดับภาคโดยจดั เจา้ หนา้ ที่ จากผู้เกย่ี วข้องระดับกระทรวง และกรมที่เป็นหลกั ในกาปฏิบตั ิ อันไดแ้ ก่ ผแู้ ทนจากกระทรวงกลาโหม และ กระทรวงอืน่ ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง ผู้แทนกองบัญชาการทหารสูงสุด ผ้แู ทนจากศนู ยป์ ฏิบตั กิ ารกองทัพบก เรอื อากาศ ฝ่ายอำนวยการกรมตำรวจ และผแู้ ทนกรมการรักษาดนิ แดน หนว่ ยตา่ ง ๆ ท่ตี อ้ งไดร้ บั การปรบั โครงสร้างและหน้าท่ีให้เหมาะสมคือ กองอำนวยการพัฒนา เพื่อ ความมั่นคง (กอ.พค.) กองบัญชาการทหารสงู สดุ ควรเปน็ หนว่ ยทร่ี บั ผิดชอบงานระดบั รัฐบาล ระดบั กระทรวง กลาโหมและระดบั กองบัญชาการทหารสงู สุด เพอ่ื ให้การปฏบิ ัติงานระดับสงู มีความคล่องตัว นน่ั ก็คอื ในสำนัก งานคณะกรรมการพฒั นาระบบการตอ่ สเู้ บ็ดเสร็จของประเทศ มเี จา้ หน้าที่จากทุกฝายท่เี กยี่ วข้องมาร่วม แตเ่ จ้า หน้าท่หี ลกั คือ เจา้ หนา้ ทจี่ ากกองอำนวยการพฒั นาเพ่ือความมัน่ คง ซึง่ รวมไว้ทงั้ ผแู้ ทนของกองทัพบก กองทพั เรือ กองทัพอากาศ กรามตำรวจ และกรมการรักษาดินแดน เจ้าหน้าเหล่าน้เี ป็นกรรมการระดับกระทรวง กลาโหมดว้ ย เจา้ หน้าท่หี ลกั ของกองอำนวยการพฒั นาเพื่อความมน่ั คงจึงเป็นหลัก ปฏิบตั หิ น้าทเี่ กีย่ วกบั เร่ือง การพฒั นาระบบการตอ่ ส้เู บ็ดเสรจ็ ในสำนกั นายกรัฐมนตรี กองอำนวยการรกั ษาความมน่ั คงภายในกระทรวง กลาโหม และกองบญั ชาการทหารสงู สดุ วิธนี จ้ี ำทำใหป้ ระหยัด งานคลอ่ งตัว มปี ระสทิ ธิภาพ ผูแ้ ทนจากกระทรวงทบวงกรมอน่ื ๆ จัดอย่างเหมาะสมกับผ้แู ทนของตน ในระดับประเทศ และ ตอ้ งมสี ำนักงานของตนเองในหนว่ ยงานรับผดิ ชอบงานการตอ่ สเู้ บ็ดเสรจ็ โดยเฉพาะ 3.1.3 ระดับกองทพั ภาคและกองอำนวยการรักษาความม่นั คงภายในภาค จำเป็นต้องมีคณะ กรรมการระดับนีป้ ระกอบด้วย ผแู้ ทนจากฝ่ายทหารทุกเหล่า ตำรวจ ข้าราชการพลเรือนและผ้แู ทนประชาชน โดยแบ่งใหเ้ ด่นชัดในเรือ่ งความรบั ผิดชอบตอ่ กำลังรบหลกั กำลังประจำถิ่นและกำลังประชาชน เชน่ แม่ทพั ภาค รับผดิ ชอบทัง้ หมดในภาค แม่ทัพน้อยรับผิดชอบดา้ นกำลงั รบหลกั รอแม่ทัพคนใดคนหน่ึงรบั ผิดชอบกำลงั ประจำถ่ิน และรองแม่ทัพอกี คนหนึ่งรบั ผิดชอบด้านกำลังประชาชน หรอื แบง่ ความรบั ผิดชอบให้รองแม่ทัพเป็น พนื้ ทมี่ ณฑล/จงั หวัดทหารบก โดยดำเนินการทั้งในเรอื่ งกำลงั ประจำถน่ิ และกำลงั ประชาชนสำหรบั กองกำลัง ปอ้ งกันชายแดนจนั ทบุรี – ตราด และกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดนพจิ ารณาโดยอนุโลม (อาจเพ่มิ กองทพั อากาศ) 3.1.4 ระดับมณฑล/จงั หวัดทหารบก ท่ขี นึ้ ตรงตอ่ กองทัพภาค รับผดิ ชอบทั้งกำลังประจำถ่นิ และ กำลังประชาชนในเขตพืน้ ท่ี อาจมอบให้ราองผบู้ ัญชาการรับผิดชอบในเขตจังหวัดปกครองต่าง ๆ หรือแยก รบั ผิดชอบกำลังแตล่ ะประเภทได้ แตเ่ พอื่ ความง่ายควรรับผิดชอบจากมณฑล/จงั หวดั ทหารบก ท่ขี ้ึนตรงต่อ กองทพั ภาคตรงไปสจู่ ังหวัดฝ่ายปกครอง
25 3.1.5 ระดับจังหวัดฝา่ ยปกครอง เปน็ หน้าท่ีของจงั หวัดฝ่ายปกครอง จะตอ้ งจัดเจ้าหน้าทผี่ ู้ เหมาะสมเป็นผปู้ กครอง บังคบั บญั ชากำลงั ประจำถ่นิ ระดบั จังหวัดและกำลังประชาชนภายในจงั หวัดทัง้ หมด (ผา่ นอำเภอ) ซงึ่ ระดบั นี้ตอ้ งสนใจการปรับโครงสร้างสัสดีจังหวัดใหม่ ใหเ้ หมาะสมกบั การรองรบั งานในระบบ ควบคไู่ ปกบั งานสสั ดจี ังหวดั ปัจจบุ ันด้วย 3.1.6 ระดบั อำเภอฝ่ายปกครอง ระดับนมี้ เี ฉพาะกำลงั ประชาชน เปน็ หน้าที่ของนายอำเภอ ประสานกบั นายกเทศมนตรี และสสั ดีอำเภอ ดำเนนิ การให้เหมาะสม และต้องสนใจปรับโครงสร้างสัสดอี ำเภอ ให้เหมาะสมกบั ความรบั ผิดชอบที่เพมิ่ ขึ้นด้วย 3.2 การบังคับบัญชา นายกรฐั มนตรีเปน็ ผูร้ ับผิดชอบสูงสุดในการบงั คับบัญชากำลงั ต่อสู้เบ็ดเสร็จ โดย คณะกรรมการระดบั ชาติ แต่ในยามปกติอาจมอบอำนาจให้ผูอ้ ำนวยการสำนักงานระดับชาติ หรอื ผ้อู ำนวยการ ป้องกนั การกระทำอันเปน็ คอมมวิ นิสตท์ ว่ั ไป แตต่ ้องมอบอำนาจให้สามารควบคู่ไปถึงกำลังทง้ั 3 ประเภท คือ กำลงั รบหลกั กำลังประจำถิ่น และกำลังประชาชนด้วย โดยจัดสายกาบงั คับบญั ชาผา่ นไปยงั กองทัพภาค/กอง อำนวยการรกั ษาความมนั่ คงภายในภาค (ตอ้ งพิจารณาให้อำนาจกองกำลงั ป้องกันชายแดนจันทบุรี – ตราด หนว่ ยของกองทัพอากาศและตำรวจอยา่ งเหมาะสม) มณฑล/จงั หวดั ทหารบก จงั หวัดฝา่ ยปกครอง อำเภอ ตำบล และหมบู่ ้าน (ภาคที่ 4 การบงั คับบัญชากำลังต่อสู้เบ็ดเสร็จ) ท้ังนต้ี ้องจดั สรรอำนาจให้เหมาะสมแต่ละ ระดับใหม้ สี ว่ นร่วมทัง้ ทหารพลเรอื นและประชาชน เฉพาะการประสานการปฏิบตั ริ ะหว่างหน่วยงานกระทรวง ทบวง กรมตา่ ง ๆ ในแต่ละระดบั และตา่ งระดับ เชน่ การดำเนินงานของหน่วยสงครามพิเศษ ในพน้ื ท่ีอทิ ธิพล ข้าศึก และการดำเนนิ งานระดับมณฑล/จังหวัดทหารบก (สมควรให้มีฝา่ ยพลเรือน และประชาชนเข้ารว่ มด้วย) ฯลฯ
26 ภาพที่ 4 การบงั คบั บญั ชากำลงั ต่อสเู้ บด็ เสรจ็ สานกั นายกรัฐ กองอานวยการรักษาความมน่ั คงภายใน กระทรวงตา่ ง ๆ บก.สส. ทบ. ทร. หน่วยสงครามพิเศษ กองทพั ภาคและ กอ.รมน.ภาค กปช.จต. ทน./กาลงั รบหลกั กาลงั ประจาถ่ิน กกล.ทอ. มณฑล/จงั หวดั ทหารบก บก.ตชด. กาลงั ประจาถ่ิน กาลงั ประจา จงั หวดั ฝ่ายปกครอง กองพนั กาลงั ประชาชน อาเภอ/กองร้อยกาลงั ประชาชน 3.2.1 การจดั การบงั คับยามปกติ (ภาพที่ 5 ) 3.2.1.1 มทบ./จทบ. จะเป็น บก. ควบคมุ กองกำลงั เพ่อื การต่อสเู้ บ็ดเสรจ็ 3.2.1.2 รอ้ ย อส., ทพ., นปพ., ตชด.ฯ ซงึ่ เป็นกำลังประจำถ่ิน (เปน็ กำลงั พล กอ.รมน.จว. ) กใ็ ห้ข้นึ ควบคมุ ทางยุทธการต่อ มทบ.๑จทบ. เพท่อการตอ่ สู้เบ็ดเสรจ็
27 3.2.1.3 กำลงั ประชาชนทจี่ ัดตง้ั แลว้ ทงั้ สน้ิ จดั ในการควบคุมของหมู่บ้านและหมู่บา้ นต่าง ๆ นัน้ ก็ขน้ึ การบังคบั บญั ชากบั มทบ./จทบ. 3.2.1.4 กำลังรบหลกั เตรียมการปอ้ งกนั ประเทศ ศปก.ทบ./กอ.รมน. ทภ./กอ.รมน. ภาค กองพลรบ มทบ./จทบ. กอ.รมน.จว. กาลงั รบหลกั กาลงั ประจาถิ่น กาลงั ประชาชน หมบู่ า้ นยทุ ธศาสตร์พฒั นา ทพ. ตชด. ในพ้ืนที่ ตร.นปพ. ร้อย อส. ทสปช. อพป. ปชด. ............ประสานงาน ข้นึ ควบคมุ ทางยทุ ธการ ข้ึนบงั คบั บญั ชา ภาพที่ 5 การจดั การบงั คบั บญั ชายามปกติ
28 3.2.2 การจดั การบงั คับบญั ชายามสงคราม (ภาพที่ 6) 3.2.2.1 หน่วย รพศ. ซง่ึ ปฏบิ ตั ิการรบนอกแบบตามคำร้องขอ ทภ. ในพ้นื ทก่ี ารรบ ภายในประเทศทถี่ ูกขา้ ศกึ ยึดครอง ข้นึ การควบคุมทางยุทธการตอ่ ทภ. 3.2.2.2 ในยามสงคราม ทภ. เปน็ บก. การควบคุมต่ำสุดท่ีประสานการปฏบิ ตั ิการตอ่ ส้เู บ็ดเสร็จ เป็นส่วนรวม 3.2.2.3 กำลงั รบหลักปฏิบตั อิ ยู่ในการบังคับบญั ชาของกองพลรบ 3.2.2.4 กำลงั รบประจำถิ่นขนึ้ การควบคุมทางยทุ ธการกบั มทร./จทบ. ศปก.ทบ./กอ.รมน. ทภ./กอ.รมน.ภาค นสศ. (ตามการร้องขอ) หน่วย รพศ. กองพลรบ มทบ./จทบ. กอ.รมน.ภาค กาลงั รบหลกั กาลงั ประจาถิ่น กาลงั ประชาชน ทพ. ตชด. กาลงั ก่ิง อส. ทพ. หมู่บา้ นยทุ ธศาสตร์พฒั นา ทหารอืน่ ปชด.และอนื่ ๆ ประสานงาน ทสปช. อพป. ข้นึ ควบคุมทางยทุ ธการ ข้ึนการบงั คบั บญั ชา ภาพท่ี 6 การจดั การบงั คบั บญั ชายามสงคราม
29 3.3 การสนบั สนนุ ความสำเร็จในการจัดการจดั ระบบการต่อสเู้ บด็ เสรจ็ อยู่ทปี่ จั จุบนั ช้ีขาดของประเทศ คือ การสนับสนนุ ในเรื่องต่าง ๆ เพื่อใหก้ ารพฒั นาการเตรยี มการต่อสตู้ ง้ั แตย่ ามปกติสามารถปฏิบตั กิ ารไดอ้ ยา่ ง ราบร่นื ต่อเนือ่ งตลอดไป การสนบั สนุนจึงต้องประกอบดว้ ยสิง่ สำคัญดงั ต่อไปน้ี 3.3.1 บคุ ลากร ตอ้ งเข้าใจแม้คนเราจะฝึกได้ พัฒนาได้ แต่บุคลากรท่มี าจัดการพัฒนาระบบการ ต่อสูเ้ บ็ดเสร็จ ควรจะมีพืน้ ฐานความเสยี สละ มีความเขา้ ใจการทำงานเพ่ือบรรลเุ ป้าหมายของสว่ นรวมในระยะ ยาว และมีความรเิ รม่ิ ที่ยอมรับความคดิ ของผู้มีส่วนร่วมได้ ดังนั้นการสนบั สนุนดา้ นบคุ ลากรทกุ หน่วยงาน จงึ ตอ้ งสรรหาคนที่มีคุณคา่ มาทำงานในโครงการนี้ จงึ จะทำใหส้ ำเรจ็ ได้ตามความคิด 3.3.2 งบประมาณ การดำเนินการพฒั นาระบบการต่อสเู้ บ็ดเสร็จ ตอ้ งใช้งบประมาณในการ ลงทุนพฒั นาทุกด้านจำนวนมาก เพราะตอ้ งทำให้ทนั เวลาและไดร้ ะดับความเขา้ ใจเขม้ แข็งทีต่ ้องการ รฐั บาล ตอ้ งยอมรับเอกภาพในการพัฒนาจึงตอ้ งระดมทุนทั้งภาครัฐ เอกชน และการสนบั สนุนจากต่างประเทศ 3.3.3 การจดั หน่วยใหม่ และการปรบั โครงสร้างหน่วยเดิมตงั้ แต่ละดับประเทศ ในสำนกั นายก รฐั มนตรจี ดั หน่วยใหม่ โดยใชก้ ำลงั พลหรือบุคลากรที่มีอยู่แลว้ มาจดั ตง้ั ขนึ้ ใหม่หรอื ให้มีกำลงั ประจำการถาวรไว้ จำนวนหนง่ึ เพอื่ ความต่อเน่ืองก็ได้ แต่ตอ้ งให้สอดคล้องกบั หนว่ ยทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับงานในการรักษาความมัน่ คงของ ประเทศ กรมการรักษาดนิ แดน จะต้องได้รบั การปรบั ปรุงโครงสรา้ งการจดั ใหส้ ามารถรบั งานด้านกำลงั ประชาชน และเยาวชนได้ ตอ้ งจัดตงั้ ศนู ยฝ์ กึ เยาวชน/ประชาชนอยา่ งเป็นเครือขา่ ยตั้งแตร่ ะดบั ประเทศถึง หมูบ่ ้าน หนว่ ยทหารทุกหน่วยจะต้องได้รบั การปรบั ปรุงให้มสี ว่ นประกอบจำเปน็ เช่น หมบู่ า้ นหรือกลุ่ม หมบู่ า้ นตามแนวความคิดยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นา เพ่ือตวั เอง ได้รบั สวัสดกิ ารท่พี อเพยี ง เกิดขวญั กำลงั สูง สามารถ เปน็ ได้ทัง้ ผ้ปู ระสานและผ้ปู ฏิบตั ิในกระบวนการ โดยเฉพาะสัสดจี ังหวัด สัสดีอำเภอ ต้องปรับโครงสรา้ งการจัด ใหม่ และสรรหาบคุ คลทีเ่ หมาะสมขน้ึ หน่วยงานข้าราชการพลเรือน เช่นเดยี วกบั หน่วยงานทางทหาร ตอ้ งไดร้ ับการพัฒนา ใหม้ ีขวญั กำลงั ใจในการปฏิบตั ิงานสูง โดยเฉพาะหน่วยปฏบิ ัตใิ นระดับพนื้ ที่ รฐั ต้องสนใจเรอื่ งสวัสดิการควบคู่กันไป การดำเนนิ การในเรื่องตา่ ง ๆ นี้ตอ้ งใชข้ องเดิมให้เกิดประโยชน์ เชน่ ใช้อาคารสถานทเ่ี ดมิ แต่ แกไ้ ขปรับปรุงระเบียบแบบแผน และกฎหมายให้ทันสมยั 3.3.4 การสนบั สนุนด้านขอ้ มูลขา่ วสาร การขา่ ว และการส่งกำลงั บำรุง 3.3.5 การสื่อสารมวลชนเพื่อสรา้ งความเขา้ ใจ เพ่ือให้การศึกษา และเพื่อการแจง้ เตือนแต่เน่ิน ทง้ั หนงั สอื พมิ พ์ วิทยุ และโทรทัศน์ สามารถใช้ไดแ้ ต่การเสริมสร้างความรูย้ ามปกตเิ ป็นประจำ 3.3.6 การให้การศึกษาท้งั ในระบบ นอก โดยเฉพาะการศึกษาทางไกลผ่านสือ่ มวลชน 3.3.7 การจดั ตง้ั ศนู ยส์ นับสนุน ดา้ นการสง่ กำลังสิ่งอุปกรณ์ ต่าง ๆ เพื่อรักษาระดับราคาสนิ ค้า ยามปกติ และเพ่ือสะสมไวใ้ ช้ประโยชน์ในยามมภี ยั คุกคาม โดยจดั ตง้ั คลังระดับประเทศเปน็ เครือข่ายไปสู่ระดบั ภาคจนถึงระดับหม่บู า้ น 3.3.8 การสนบั สนุนด้านสาธารณสุข และการจดั ตงั้ ที่รักษาพยาบาล โรงพยาบาลในพ้นื ท่ี ปลอดภยั เกือ้ กลู ต่อการดำเนินการในขน้ั ต่อสู้เอาชนะกบั ภัยคกุ คาม
30 3.3.9 การปรับโครงสร้างการจดั และช่วงชัน้ การบังคบั บัญชา ขององคก์ รอาสาต่าง ๆ ให้อยู่ใน ระบบเครือข่ายในแตล่ ะสายงานหรือกระทรวง ทบวง กรม เชน่ สมาคมแม่บ้าน สตรีอาสาสมัครรักษาดนิ แดน ฯลฯ 4. ระเบยี บปฏบิ ตั ปิ ระจำและมาตรการควยคมุ ระบบต่อสเู้ บ็ดเสรจ็ เปน็ ระบบการป้องปราม ปอ้ งกันและตอ่ สู้ โดยการสนธกิ ำลังทรัพยากรของชาติเขา้ ตอ่ ส้เู อาชนะดว้ ยการพฒั นาประชากรทุกคนในชาติให้รูจ้ ักวิธีการตอ่ สทู้ ุกรูปแบบ จึงเป็นการล่อแหลมท่ีสดุ ต่อ การท่ีบางกลุ่มผลประโยชนจ์ ะนำกำลงั ต่อสเู้ บ็ดเสรจ็ ไปใชใ้ นเจตนาท่ีไม่ถูกต้องตามความประสงคข์ องเปา้ หมาย ในการพัฒนาระบบการตอ่ ส้เู บด็ เสร็จ จึงจำเป็นทจี่ ะต้องป้องกนั การก่อความไม่สงบภายใน จากการขดั แยง้ กันเองแล้วใช้กำลังเข้าเผชญิ หนน้ากัน และเพ่ือให้การพฒั นาเปน็ ไปโดยอตั โนมัติ คณะกรรมการผูเ้ ก่ยี วขอ้ งทกุ ระดบั ตอ้ งกำหนดระเบยี บปฏิบตั ปิ ระจำ และมาตรการควบคุมทท่ี ุกระดบั ยอมรบั ได้ 4.1 ระเบยี บปฏิบัตปิ ระจำ ต้องกำหนดให้ทกุ คนทุกฝ่ายทุกระดบั เขา้ ใจตรงกนั เช่นการเก็บรักษา อาวธุ กระสนุ การนำออกใชง้ านตอ้ งมีคลังแน่นอน เช่น การรกั ษาความปลอดภยั หมบู่ า้ นยามปกติ การร่วมมือ พฒั นายากปกติ การจัดการฝึกในแต่ละระดับแต่ละโครงการ ฯลฯ 4.2 มาตรการควบคุม ไดแ้ ก่การจดั สรรอำนาจและการจดั ชว่ งช้นั การบงั คบั บญั ชาการกำหนดขอ้ ห้าม ทำแผนงานโครงการ การนำกำลงั ออกใชง้ าน การให้สิทธิพิเศษ ฯลฯ ------------------------ เอกสารอา้ งองิ 1. รส.100-4 หลกั นิยมในการต่อสู้เบ็ดเสรจ็ กองทัพบก พ.ศ. 2528 2. แผนงานยทุ ธศาสตร์พฒั นาระยะปานกลาง สำนักคณะกรรมการพัฒนาระบบการตอ่ สู้เบ็ดเสรจ็ พ.ศ. 2531 3. เอกสารประกอบการบรรยาย ยุทธศาสตร์พฒั นา โรงเรียนเสนาธิการทหารบก พ.ศ. 2531 4. เอกสารแนวสอน การพัฒนาระบบการต่อส้เู บด็ เสรจ็ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก พ.ศ. 2533 5. เอกสารแนวสอน ยุทธศาสตรพ์ ัฒนา โรงเรยี นเสนาธกิ ารทหารบก พ.ศ. 2533
31 ยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นา ประวตั คิ วามเปน็ มา เมื่อ มิ.ย. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั และสมเดจ็ พระนางเจ้าพระบรมราชนิ นี าถ ได้เสดจ็ เยีย่ มคา่ ย สฤษดิเ์ สนา ทกี่ องพนั รบพิเศษ อ.วงั ทอง จว.พษิ ณโุ ลก เน่ืองจากมีการปราบปรามผู้ก่อการร้ายบนเขาค้อ พระองค์ทรงห่วงใยเจ้าหน้าท่ี พลเรอื น ตำรวจ ทหาร และอาสาสมัคร ทบี่ าดเจบ็ และเสยี ชวี ิตในการต่อสู้ ขณะนน้ั ทภ. ได้พยายามปราบปราม ผกค. ให้ราบคาบแต่ยังไม่ประสบผลสำเรจ็ ทภ. พยายามสร้างเสน้ ทางขึน้ เขาค้อ แต่ถกู ผกค.ขัดขวางอยา่ งหนกั เมอื่ ไดก้ ราบบังคมทูลให้ทรงทราบแลว้ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ฯ ไดพ้ ระราชทานแนวความคดิ ว่า “ใหจ้ ดั ตั้งหมู่บา้ นราษฎรอาสาสมัครตามเส้นทางทตี่ ัดถนนขน้ั และสร้างใหเ้ ขา มีความมั่นคงในด้านอาชีพดว้ ย” ทภ. จึงได้ดำเนนิ การตามแนวพระราชดำริน้ันจดั ทำเปน็ “โครงการพฒั นาลุ่ม นำ้ เข็ก” และประสบความสำเรจ็ ในเวลาต่อมา นคี่ ือ ความเปน็ มาของ “ ยทุ ธศาสตร์พัฒนา” กองทัพบก ได้จัดต้งั สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาระบบการต่อสูเ้ บด็ เสรจ็ (สง.คพส.) ขน้ึ เมือ่ ก.ย. ภารกจิ สำคัญ คอื การพฒั นาคนและพัฒนาพืน้ ทีต่ ามแนวชายแดนดแู ลพ้นื ที่ทีม่ ปี ญั หาความม่นั คงภายใน โดย ใชย้ ทุ ธศาสตร์พัฒนา เพอื่ พัฒนาระบบการต่อสเู้ บ็ดเสรจ็ ของประเทศ ยุทธศาสตร์พัฒนา เป็นการพฒั นาตามแผนการเตรยี มพร้อมแห่งชาติ โดยรวมแผนงานทางทหารกับ แผนงานการพัฒนาตามแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติเขา้ ด้วยกนั เปน็ การพฒั นาคนกับพ้นื ที่ด้วย วิธีการทร่ี วดเรว็ รวมการ ดำเนินการปฏบิ ตั ิให้สำเร็จ ตามความตอ้ งการดา้ นความมัน่ คงของชาติ แผนการดำเนนิ งายยุทธศาสตร์พัฒนา ได้กำหนดไว้เปน็ ระยะ คือ - ระยะสัน้ (ปี . ) ดำเนนิ การให้เกดิ กลมุ่ หมู่บ้านตามแนวชายแดนรอบประเทศให้เป็นกลุ่มหมบู่ ้าน ตัวอยา่ ง ตามแนวความคิดยุทธศาสตรพ์ ฒั นา - ระยะกลาง (ถึงส้นิ แผนพัฒนาฉบบั ที่ “ พ.ศ.-) ให้งานยุทธศาสตร์พฒั นาสำเร็จและสามารถประเมนิ ผลระบบการต่อสู้เบ็ดเสร็จได้ - ระยะยาว (ชว่ งแผนพฒั นาฉบับที่ พ.ศ.-) ดำเนนิ การปรบั ปรงุ ตามผลการประเมนิ ผล ทัง้ ในดา้ นหลัก นยิ มการต่อสูเ้ บ็ดเสร็จของประเทศ และการจัดระบบเพอ่ื ปฏิบตั ิจรงิ เหตุที่แยกแผนยุทธศาสตรพ์ ัฒนาออกมาเปน็ อกี แผนหนึง่ ต่างหาก ก็เพื่อความอ่อนตวั ง่ายต่อการ ปรับปรุงแก้ไข โดยไม่ต้องเปล่ียนแปลงแผนยุทธศาสตรก์ ารตอ่ สเู้ บด็ เสรจ็ ภารกจิ สำคญั ของแผนยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นา คอื วางแผนและดำเนินการยุทธศาสตร์พฒั นาร่วมกบั สว่ นราชการของรัฐและภาคเอกชน โดยพฒั นา พ้ืนที่ยุทธศาสตร์พัฒนา และจัดเตรียมกำลังประชาชนตง้ั แต่ปจั จบุ นั เพื่อใหเ้ กดิ ความมน่ั คงทางดา้ นการเมอื ง เศรษฐกิจ สงั คมวทิ ยา และการทหาร อนั จะบังเกิดผลเก้อื กลู ต่อการพฒั นาระบบการต่อสเู้ บด็ เสรจ็ ในการ ปอ้ งกันประเทศ
32 เป้าหมายของยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นา เสรมิ สรา้ งและปรับปรงุ ความม่ันคงของชาติ โดยพฒั นาอยา่ งเปน็ เชิงวทิ ยาศาสตร์ ให้ประชากรของ ประเทศทกุ คน มีความอยดู่ ี กินดี มีความสุข จนเกิดความรักหวงแหนแผน่ ดินไทย เสียสละ และอาสาสมคั รเข้า ตอ่ สเู้ ม่ือมีภัยคกุ คาม พัฒนากำลงั รบต่าง ๆ อยา่ งมีโครงสร้างการจดั และระบบ กับมาตรการควบคมุ ทเ่ี หมาะสม และมี ประสิทธิภาพ สามารถผนึกกำลังทรัพยากรท้ังมวลของประเทศ เพื่อปอ้ งกนั ประเทศได้อย่างต่อเน่ือง วตั ถปุ ระสงคข์ องยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นา คือ การพฒั นาแบบเบด็ เสร็จในหมู่บา้ นเป้าหมายใหส้ ามารถสะสมเสบยี งอาหาร มีงบประมาณจดั หา ส่งิ อุปกรณ์ดว้ ยตัวเอง เพื่อทำการตอ่ ต้านการรุกรานของข้าศกึ อย่างต่อเนื่อง โดยไม่จำนน และมอี ิทธิพลต่อการ ขยายอทิ ธิพลของพลงั อำนาจของชาติลึกเขา้ ไปในพน้ื ทฝ่ี ่ายตรงขา้ มตัง้ แตใ่ นยามปกติ สอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ ปอ้ งกนั อยา่ งแนน่ แฟ้น กลยทุ ธในการดำเนนิ การ ดำเนนิ การพัฒนา “ คน “ ทง้ั ระยะสน้ั ระยะปานกลาง และระยะยาว ในด้านกายภาพ บุคลกิ ภาพ และชวี ติ จติ ใจ โดยถอื ว่าคนคือปจั จยั สำคญั สูงสุดในการพัฒนาประเทศ ซง่ึ จะต้องไดร้ ับการบรกิ ารพนื้ ฐานทาง สังคม และไดร้ ับการพัฒนาอยา่ งถูกต้องตามหลกั วิชาการ ดำเนนิ การพฒั นาพนื้ ท่ี ทั้งหมูบา้ นเปา้ หมาย และ ศูนย์ทดลอง/สาธติ การอาชีพท่ีเหมาะสมกับพ้นื ที่ ตลอดท่วั ท้ังประเทศ โดยอาศัยแหล่งความรใู้ นการพจิ ารณาโครงสร้างพน้ื ฐานส่ิงอำนาจความสะดวกและการใช้ เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมในการประกอบอาชีพ การเกษตร อันจะเป็นพ้ืนฐานอน่ื ๆ ใหส้ ามารถยกระดบั ไปสอู่ าชีพ การเกษตร – อุตสาหกรรม และการบรกิ ารที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมกับ สภาพสงั คม – วฒั นธรรมท้องถ่นิ การดำเนนิ การในกรณี และในขน้ั ตอนอาศัยข้อพิจารณาจากปัจจยั สำคญั ประการคอื ปัจจัยความม่ันคง ปัจจัยการพฒั นา และปจั จยั การมสี ว่ นรว่ ม โดยลำดบั ความเร่งดว่ นจากสถานการณแ์ ละยุทธศาสตร์ชาติ การพัฒนา คือ ขบวนการในการสร้าง การเปลี่ยนแปลงไปสู่เป้าหมายท่เี ลือกแลว้ โดยใช้ทรพั ยากรที่มี อยูอ่ ย่างมีประสิทธภิ าพ และสามารถควบคุมอัตราการเปลี่ยนแปลงน้นั ได้ ยุทธศาสตร์พฒั นาเพ่อื การต่อสเู้ บด็ เสรจ็ คือ การพฒั นาท่มี ผี ลเก้ือกูลทางยทุ ธศาสตร์พัฒนา ซง่ึ หมายถงึ พน้ื ทบ่ี างสว่ นของประเทศบรเิ วณชายแดน และบริเวณทล่ี อ่ แหลมต่อภยั คุกคามภายใน เพื่อใหเ้ กดิ ความมนั่ คงท้ังในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตรวิทยาและการทหารซึ่งต้องดำเนินการแบบเบ็ดเสรจ็ เร่งด่วน ดว้ ยความเด็ดขาด การรวบรวมการและตอ้ งการผลในเวลาอันส้นั การจดั พนื้ ที่ พนื้ ท่ยี ทุ ธศาสตร์พฒั นา แบ่งเป็นประเภท ดงั นี้ พนื้ ท่ีเพ่อื ความมน่ั คงตามแนวชายแดน หมายถึง พนื้ ท่ีตามแนวชายแดน หมายถงึ พืน้ ท่ีตามแนว ชายแดนเฉพาะบรเิ วณเปา้ หมายของขา้ ศึก เช่น พนื้ ท่บี ริเวณช่องทางแทรกซึมตามแนวชายแดน พ้ืนทบ่ี รเิ วณ
33 เส้นหลักการรกุ ของข้าศึกตามสมมตุ ิฐานการเจาะในแผนป้องกันประเทศพืน้ ท่ีบรเิ วณที่มีปรากฏการละเมดิ อธปิ ไตรของฝา่ ยตรงข้ามอยเู่ นื่องๆ และพ้นื ท่ีทมี่ ีภยั คุกคามภายในซง่ึ อยู่บริเวณชายแดน พืน้ ที่เพ่อื ความมนั่ คงภายใน หมายถึงพ้นื ที่ที่มภี ัยคกุ คามภายใน และพืน้ ที่ท่ีมีแนวโน้มของภยั คกุ คาม อันเกิดจากขบวนการ และกลุ่มก่อการรา้ ยต่างๆหรอื พื้นที่ล่อแหลมซ่ึงมีแนวโนม้ วา่ เรม่ิ มคี วามไมป่ ลอดภัย หมบู่ า้ นยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นา คือ หมู่บา้ นเป้าหมายในพื้นท่ียุทธศาสตรพ์ ฒั นา แบ่งเปน็ ประเภท คอื - หมบู่ ้านยทุ ธศาสตร์พฒั นา ประเภทท่ี 1 คือ หมบู่ า้ นทอี่ ยู่ในพนื้ ท่ีเพอ่ื ความมั่นคงตามแนวชายแดน และ อยู่ในแนวทางการเคล่ือนท่ีที่สำคัญของขา้ ศึก ตามสมมตุ ฐิ านของแผนปอ้ งกนั ประเทศ - หมบู่ ้านยุทธศาสตรพ์ ัฒนา ประเภทที่ 2 คือ หมู่บ้านที่อยู่เพื่อความมน่ั คงตามแนวชายแดน แต่อยู่ นอกทางการเคลือ่ นทีท่ สี่ ำคญั ของข้าศึก ตามสมมุตฐิ านของแผนปอ้ งกนั ประเทศ - หมูบ่ า้ นยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนา ประเภทที่ 3 คือ หมูบ่ ้านทอี่ ยู่ในพ้ืนท่เี พือ่ ความมั่นคงภายใน ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ติ ามแผนยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นา แนวทางในการปฏิบัติ เพือ่ เป็นการดำเนนิ การพฒั นาการต่อสู้เบ็ดเสร็จ ตามแผนงานยุทธศาสตร์พฒั นา ซ่ึงตอ้ งดำเนินการอย่างต่อเน่ือง ให้สอดคลอ้ งกบั แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ และแผนเตรยี มพร้อม แห่งชาติ จงึ กำหนดขน้ั การปฏบิ ตั ิออกเป็น – ขน้ั ดังน้ี ขั้นที่ 1 การวางแผนและจัดทำแผนยุทธศาสตรพ์ ฒั นาของหนว่ ยรบผดิ ชอบพ้ืนทเี่ ปา้ หมาย ซ่งึ ประกอบ ด้วย แผนพฒั นาพืน้ ที่ยุทธศาสตรพ์ ัฒนา และการจดั เตรยี มกำลงั ประชาชน ขั้นท่ี 2 การจัดตั้งหมบู่ ้านยุทธศาสตร์พฒั นา การศึกษาภูมปิ ระเทศในพื้นที่รบั ผดิ ชอบ เพือ่ กำหนดที่ต้งั การจดั ระเบียบหรือปรบั ปรงุ หมูบ่ า้ นท่มี ีอย่แู ล้ว การจดั ตั้งหม่บู ้านยุทธศาสตร์พัฒนาข้ึนใหม่ เพื่อเกื้อกลู ต่อระบบการต่อสู้เบ็ดเสร็จ ขั้นที่ 3 การจดั ตั้งมวลชนในหมบู่ า้ นยทุ ธศาสตร์พัฒนา งานน้ีอาจดำเนินการไปพร้อมกบั ขัน้ ท่ี 3 คือ การคดั เลือกสมาชกิ ได้แก่ การคดั เลือกทหารกองประจำการก่อนปลดประจำการเปน็ กองหนนุ หรือทหารพรานทมี่ ีความสมคั รใจ เพ่ือที่จะเปน็ แกนนำของประชาชน รวมท้งั การคดั เลือกประชาชน ในพน้ื ท่เี พอื่ เขา้ ไปอยู่อาศยั และทำกนิ ในหมูบ่ า้ นยุทธศาสตร์พฒั นา การฝกึ อบรมแก่ทหารกองประจำการ และทหารพรานทจ่ี ะเปน็ แกนนำ การใหค้ วามร้แู กก่ ำลงั ประชาชน - การฝึกอาชีพท้งั หลักและรอง เช่น เลยี้ งสตั ว์ การเล้ยี งปลา การเพราะปลูก การฝึกศิลปาชีพ และหัตถกรรม ตามความเหมาะสมของสภาพพื้นท่ีในทอ้ งถ่ิน - การฝึกอบรมทางการเมอื ง เช่น สทิ ธิและหน้าที่ของคนไทย การปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์เปน็ ประมุข ปลกู ฝังใหป้ ระชาชนรกั และหวงแหนแผน่ ดนิ - การพัฒนาจิตใจ ต้องพัฒนาจิตใจให้ จนท. และประชา เข้าใจเหตุผลในการพัฒนาตนเอง - การสร้างผนู้ ำชุมชนในอนาคต (ให้ความสำคัญแก่เยาวชนปจั จบุ ัน)
34 - การพัฒนาชมุ ชนและสง่ิ แวดลอ้ ม ขัน้ ท่ี 4 การประสานการปฏบิ ัติกับแผนยุทธศาสตร์การต่อสู้เบ็ดเสรจ็ และการตดิ ตามประเมินผล เพือ่ ให้การดำเนนิ การเปน็ ไปอยา่ งสอดคลอ้ งและต่อเนื่อง แนวความคดิ ในการปฏิบตั ติ ามแผนยทุ ธศาสตร์พฒั นา งานตามแผนยุทธศาสตรพ์ ฒั นา ไดแ้ ก่ พัฒนาคน และพัฒนาพื้นทยี่ ุทธศาสตร์พฒั นา การพัฒนาคน ตอ้ งมงุ่ ทงั้ คนที่มีอย่แู ล้วและคนท่ีจะเกดิ ตามมาในอนาคต เพราะทุกคนตอ้ งมสี ว่ นรว่ ม และมีสิทธใิ นความเป็นคนของประเทศชาติ คนทมี่ ีอยู่แลว้ ต้องอาศยั การสร้างอุดมการณจ์ ากการเล้ียงดู การอบรมทางสงั คม และการเรยี นรูท้ าง สังคมทเ่ี ก้ือกลู หรอื บางที่ก็ต้องใชก้ ารบังคบั ในบางบุคคลท่ีมลี กั ษณะฝืนสังคม โดยอาศัยตวั บทกฎหมายท่ี ค่อนข้างเข้มงวดเด็ดขาด คนทีจ่ ะเกิดตามมา เปน็ ปัญหาทใ่ี หญห่ ลวง คือต้องเร่ิมสร้างลกั ษณะทางกายภาพตง้ั แตย่ ังอย่ใู นครรภ์ มารดา และ ลกั ษณะทางจติ ใจหรอื ทางสังคมวัฒนธรรม เม่ือได้คลอดออกจากครรภม์ ารดาจนเติบโต ไดร้ ับการ อบรมและเรยี นรู้ทางสังคม โดยสรปุ การพฒั นาคน ก็คือ ตอ้ งการใหค้ นเปน็ ทรพั ยากรที่มคี ณุ คา่ เป็นพลงั มวลชนทีไ่ ด้ช่อื ว่า “กำลัง พล” ทม่ี ีคุณค่าต่อระบบการป้องกันประเทศ ทงั้ น้ีจะต้องพัฒนากำลังรบหลัก และกำลังประจำถ่นิ ในความควบคุมของกองทัพให้อยใู่ นระดบั ที่ ยอมรับกนั ทกุ ฝา่ ยและต้องกำหนดหนา้ ที่ของกำลงั แตล่ ะประเภทใหเ้ ห็นเดน่ ชัดเป็นเอกภาพและไม่เกดิ ความ ลงั เลในการเข้าปฏิบตั หิ น้าท่ี การพฒั นาพื้นที่ยุทธศาสตรพ์ ัฒนา มงุ่ หวังทจี่ ะสร้างหมู่บา้ นยุทธศาสตร์พฒั นา ใหม้ ีส่ิงอุปโภคบริโภค อย่างเพียงพอ และมีความหวังวา่ จะต้องพัฒนาต่อไปในพน้ื ทดี่ งั กล่าวให้มีความเจรญิ รงุ่ เรืองเท่ากบั พื้นทใ่ี นเมือง เพอ่ื ให้พี่น้องในพนื้ ทย่ี ทุ ธศาสตร์พฒั นามีความภาคภมู ิ มคี วามมั่นคงและมีความสขุ สบาย อยดู่ กี ินดี มเี กยี รตเิ ท่า บุคคลในเมือง โดยปราศจากข้อเปรียบเทียบ งานสำคญั ในการพฒั นาพนื้ ทยี่ ทุ ธศาสตร์พฒั นา คอื การพฒั นาคนในพืน้ ทีย่ ทุ ธศาสตรพ์ ฒั นา การให้ความรู้แกค่ น ให้สามารถประกอบอาชีพได้อยา่ ง ครบวงจร และ การจดั ตง้ั หมู่บ้านยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาให้มรี ะดบั ความเข้มแขง็ ตามท่ีคาดคิดไว้ และมแี บบตามที่ กำหนดไว้ด้วยความเรง่ มอื ของทกุ ฝ่าย โดย การพฒั นาคนในพน้ื ทยี่ ทุ ธศาสตรพ์ ฒั นา เป็นการบรกิ ารพ้ืนฐานทางสงั คม จะต้องร่วมมือกับสมใจในเรื่องใหญ่ – เรอื่ ง ซึ่งจะสามารถชว่ ยพฒั นา คณุ ภาพประชากรให้ดีข้นึ ทั้งทางดา้ นร่างกายและจติ ใจ คอื การให้การศกึ ษา การสาธารณสขุ โภชนาการ และ ความมนั่ คงปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ นิ ระดบั 1 คอื ระดับจงั หวดั ได้แก่ ตำรวจภูธรหน่วยปฏบิ ตั กิ ารพเิ ศษ และหนว่ ยอาสาสมัครของฝ่ายปกครอง ระดับจังหวัด มหี น้าทร่ี ับผิดชอบในระดบั จงั หวดั สามารถรบไดแ้ บบทหาร ซ่งึ มโี ครงสร้างการจดั หนว่ ยให้รับ
35 กำลงั ประชาชนจัดตงั้ เขา้ สมทบเม่ือมภี ัยคุกคาม และในยามปกตกิ ำลงั เหล่านี้ กป็ ฏบิ ัติหนา้ ทพี่ ัฒนาประเทศตาม แผนงานของแต่ละหน่วยกบั ทำนา้ ทเี่ ป็นกำลงั ปฏิบัติการพิเศษของจงั หวัด ระดบั 2 คือ ระดบั มณฑลทหารบก หรอื จงั หวัดทหารบกที่ขึน้ ตรงตอ่ กองทัพภาค ได้แก่ หน่วยทหารในปกครอง ซง่ึ ต้องมีความรบั ผิดชอบโดยตลอดเขตพื้นที่ของตน (อาจได้รบั การสมทบกำลงั ประเภทอนื่ ด้วย) และปกครอง บังคบั บญั ชาระดับ 1 ด้วย ระดบั 3 คือ ระดบั กองทัพภาค อาจจัดตั้งรองแมท่ ัพภาค ควบคมุ หนว่ ยทหารท่ีนอกเหนือจากองทัพน้อย (หนว่ ยท่บี รรจุมอบให้กองทัพนอ้ ย) รับผิดชอบพนื้ ที่ในความรับผดิ ชอบของกองทัพภาคทั้งหมดเปรยี บเสมอื น กองหนนุ ประจำถ่นิ ในกองทัพภาค ซ่งึ ตอ้ งมกี ารปรับปรุงให้มหี น่วยเคลอ่ื นทีเ่ รว็ สามารถป้องกนั การโอบทางด่ิง ได้ และปกครองบังคบั บญั ชากำลงั ระดับ 2 ด้วย การพฒั นากำลงั รบหลกั กำลงั รบหลักจะต้องมีความรู้เรือ่ งการป้องกนั ประเทศทางยทุ ธศาสตรร์ ูห้ น้าที่ เฉพาะของตนเองอย่างดยี ่งิ และเขา้ ใจหนา้ ทขี่ องข้าราชการพลเรือน และหน้าท่ีของประเทศ สงิ่ ต่าง ๆ เหล่านจี้ ะเกิดขนึ้ ได้ตามกจิ กรรมในโครงการต่าง ๆ ท่ีชมุ ชน จะต้องชว่ ยกนั จดั ใหม้ ขี นึ้ อย่าง เหมาะสมกบั วถิ ีชีวติ ความเป็นอย่ขู องชุมชน เชน่ ก. การดูแลเอาใจใสห่ ญิงมีครรภ์ ให้มีจิตใจผ่องใส ร้จู กั บริโภคอาหารอย่างถูกหลักโภชนาการ ร้จู ัก ออกกำลังกายอย่างเหมาะสม และพักผอ่ นอย่างเพยี งพอ ข. จดั ใหม้ ศี ูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก เพอื่ ให้พฒั นาการของเด็กใหเ้ ป็นไปตามขัน้ ตอนอย่างสมส่วน รจู้ กั ชว่ ย ตนเอง ร้จู ักปรับปรงุ ตัวเข้ากับกลมุ่ เพ่ือน และเพื่อฝึกเด็กใหเ้ ปน็ ผู้มวี ินยั ค. จัดการศกึ ษาแก่เยาวชนใหค้ รอบคลมุ กลุ่มเสริมทกั ษะ กล่มุ เสริมสร้างประสบการณ์ชีวิต กลุม่ เสรมิ สร้างลกั ษณะนสิ ัย และกลมุ่ การงานพืน้ ฐานอาชีพ โดยมงุ่ ใหเ้ ยาวชนสนใจจดั ตงั้ กล่มุ พัฒนาถนิ่ กำเนิด ร้จู ักรักษา สุขภาพอนามยั รูจ้ ักบริโภคอาหารท่มี ีประโยชน์ ง. จัดใหม้ ีแหลง่ ความร/ู้ ที่อา่ นหนังสอื พมิ พ์/ห้องสมุด เพอื่ เสริมการศึกษาแกป่ ระชาชนท่ีได้รบั การ ศกึ ษาในระบบ และพัฒนาอย่างเหมาะสม จ. ส่งเสรมิ การกีฬา ดนตรี งานประเพณี นนั ทนาการ ศลิ ปหัตถกรรมและระบบการตลาด ฉ. จัดใหม้ ีสวสั ดิการทางสังคม เช่น กองทนุ ยา กองทนุ การศึกษา กองทุนกีฬาสวสั ดกิ ารของเด็ก และ คนชรา สหกรณ์ และการประกันสังคม ช. จดั ใหม้ ีหอกระจายข่าว ด. จดั ใหม้ ีการแบง่ งานกันทำโดยผลัดเปลี่ยนหมนุ เวียนกนั เลย้ี งเด็ก ดแู ลคนชรา เขา้ เวรยามตามจุด ต. จัดตง้ั ที่ปฐมพยาบาล สถานพยาบาล และพฒั นาให้เหมาะสม ถ. สง่ เสรมิ อุตสาหกรรมในครอบครวั และพฒั นาต่อไปสโู่ รงานอุตสาหกรรมแปรรูปขนาดยอ่ มตาม ลักษณะสงั คมเกษตร – อตุ สาหกรรม จาการรวมกลุ่มของประชากรในท้องถิ่น การใหค้ วามรแู้ กค่ นใหส้ ามารถประกอบอาชพี ไดอ้ ยา่ งครบวงจร เปน็ การยกระดับรายได้หรือการพัฒนาด้าน เศรษฐกจิ เพ่ือความอย่ดู ีมีสขุ สมาชิกในชมุ ชนจะได้รับการสนับสนนุ ให้ร้จู ักทำมาหากินตามแนวทางที่ตนพอใจ อย่างมีแผน ตามข้นั ตอนและเหมาะสมกบั สภาพพ้นื ท่ี เชน่ ก. วางแผนการผลติ อย่างผสมผสาน (พชื หลายชนิด ปศุสตั ว์ ประมง)
36 ข. มอี ตุ สาหกรรมขนาดกลาง,ยอ่ ม รองรับ ค. เทคนิคการผลิตอย่างเหมาะสม (ไมม่ ีมลภาวะ) ง. รายไดส้ ทุ ธิ บาท/ครอบครัว/ปี จ. มีการกระจายรายได้อย่างเท่าเทยี มกนั ฉ. มีระบบสหกรณเ์ อนกประสงค์ ประกอบดว้ ย สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์รา้ นคา้ ช. อตั ราการทำงาน เมื่อแบ่งงานเป็นหน่วยละ – ช่วั โมงแล้ว ใหส้ ามารถทำงานไดป้ ลี ะ ชั่วโมงขนึ้ ไป ด. มีโรงงานอตุ สาหกรรมของหมู่บ้าน ต. มีศูนย์เครอื่ งจักรกล ศูนย์การค้าของหม่บู า้ น หนว่ ยตอ่ หมบู่ า้ น การจดั ตง้ั หมูบ่ า้ นยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นา เพอื่ ให้มรี ะดับความเขม้ แขง็ ตามท่คี าดไว้และมแี บบตามลักษณะกำหนดของหมบู่ า้ นยทุ ธศาสตร์พฒั นา โดยต้องสามารถจัดรปู แบบงานดา้ นยทุ ธการ ดังน้ี ก. ประกอบดว้ ยสงิ่ ปลูกสรา้ งถาวร เพ่ือเป็นเคร่ืองกดี ขวางลดความคลอ่ งแคลว่ และอำนาจการยงิ ของ ฝา่ ยรกุ ราน ข. ฝึกปฏบิ ตั ิการรบเป็นชุดขนาดเล็ก และการรบในส่ิงปลูกสร้างถาวร ค. สามารถสนับสนนุ หรอื เสรมิ การปฏิบตั กิ ารรบของกำลังรบหลกั ง. กำลงั ประชาชนจัดตงั้ ในหม่บู ้าน มคี วามสามารถเฉพาะตัวในเรื่อตา่ ง ๆ เชน่ ปรบั การยิงปืนใหญ่ และสามารถกำหนดที่ต้ังเปา้ หมายอากาศยานได้ สามารถสร้างเครอื่ งกดี ขวางและสนามทุ่นระเบิดได้ สามารถ ใช้อาวธุ ประจำกายพนื้ ฐาน และอายธุ ของฝา่ ยตรงขา้ มได้ องคป์ ระกอบทจ่ี ำเปน็ ของหมบู่ า้ นยทุ ธศาสตร์พฒั นา ประชาชนอาศัยอย่างน้อย ครอบครวั (กำลังจัดตง้ั อย่างนอ้ ย คน) พืน้ ท่ปี ระกอบอาชีพและระบบการผลติ ทีค่ รบวงจร (รวมทั้งเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสม) แหล่งนำ้ เช่น อ่าวเกบ็ น้ำ บ่อนำ้ บาดาล ประปาหมูบ่ ้าน การพลงั งาน เช่น ไฟฟ้า เคร่ืองกำเนิดพลังงาน ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก และศนู ย์อนามยั แมแ่ ละเด็ก ศูนย์สนับสนุนประจำพนื้ ท่ี ดำเนินการในดา้ นแหล่งความร/ู้ การขา่ ว การส่งกำลงั บำรุง / สหกรณแ์ ละ กจิ การพลเรือน/วัฒนธรรม ระบบการติดตอ่ ภายในและระหว่างหมู่บ้าน ระบบการคมนาคมภายในและระหวา่ งหม่ลู า้ น สเู้ ส้นทางคมนาคมหลกั โดยเฉพาะถนนเลยี บชายแดน รอบประเทศ ระบบฉากขดั ขวางและระบบการป้องกัน ระบบการพิทักษ์พนื้ ท่ีเขตหลงั
37 องคป์ ระกอบจำเปน็ ในกล่มุ หมูบ่ า้ น ประกอบด้วยหมบู่ ้านยุทธศาสตรพ์ ัฒนา – หมบู่ ้าน ระบบการติดตอ่ สื่อสาร ระบบการคมนาคม (ถนน F4 เลียบชายแดนรอบประเทศ) สถานการศึกษา สถานพยาบาล ศาสนาสถาน กองกำลงั ประจำถน่ิ พทิ ักษ์หมู่บา้ น ระบบปอ้ มค่ายและระบบการป้องกัน สำหรบั หมู่บ้านทีจ่ ดั ตง้ั ขึ้นใหม่ จะมกี ารหมายแนวชายแดนโดยใชร้ ะบบฉากขดั ขวางวางจากแนว ชายแดน จนถึงหมบู่ า้ นยทุ ธศาสตร์พฒั นาโดย แนวที่ เป็นแนวพรมแดน แนวที่ เป็นแนวปลกู ปา่ หมายแนวชายแดน แนวที่ เปน็ แนวสนามทุน่ ระเบดิ แนวที่ เปน็ แนวรั้วลวดหนาม แนวที่ เป็นถนนเลียบชายแดนมาตรฐานเอฟ “หา่ ง” แนวท่ี เปน็ แนวปลกู ปา่ ไมโ่ ตเรว็ สกดั กนั้ ยานยนต์ แนวที่ เป็นพืน้ ท่ตี งั้ หมู่บา้ น ที่ทำกนิ ท่ีอยอู่ าศยั -------------------------
Search
Read the Text Version
- 1 - 41
Pages: