Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาการขี่ม้า

วิชาการขี่ม้า

Published by qacavalry, 2021-01-12 02:38:25

Description: วิชาการขี่ม้า
รหัสวิชา ๐๑๐๒๐๓๐๘๐๑
หลักสูตร ปฐมนิเทศนายทหารใหม่ เหล่า ม.
แผนกวิชาการขี่ม้า กศ.รร.ม.ศม.

Search

Read the Text Version

๑ โรงเรียนทหารม้า วชิ า การข่ีมา้ รหสั วชิ า ๐๑๐๒๐๓๐๘๐๑ หลักสูตร ปฐมนเิ ทศนายทหารใหม่ เหล่า ม. แผนกวิชาการข่ีมา้ กศ.รร.ม.ศม. ปรัชญา รร.ม.ศม. “ฝกึ อบรมวชิ าการทหาร วิทยาการทนั สมยั ธารงไวซ้ ง่ึ คณุ ธรรม”

๒ ปรชั ญา วิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ วัตถปุ ระสงค์การดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ ๑. ปรชั ญา ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหน่ึงในกองทัพบก ท่ีใช้ม้าหรือสิ่งกาเนิดความเร็วอ่ืน ๆ เป็นพาหนะ เป็นเหล่าท่ีมีความสาคัญ และจาเป็นเหล่าหนึ่ง สาหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารอื่น ๆ โดยมีคุณลักษณะ ที่มีความคล่องแคล่ว รวดเร็วในการเคลื่อนท่ี อานาจการยิงรุนแรง และอานาจในการทาลายและข่มขวัญ อนั เป็นคณุ ลกั ษณะทีส่ าคญั และจาเปน็ ของเหล่า โรงเรยี นทหารมา้ ศูนยก์ ารทหารม้า มปี รชั ญาดังน้ี “ฝกึ อบรมวิชาการทหาร วิทยาการทันสมัย ธารงไวซ้ ึ่งคุณธรรม” ๒. วสิ ยั ทัศน์ “โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้วิชาการเหล่าทหารม้าที่ทันสมัย ผลติ กาลงั พลของเหล่าทหารมา้ ใหม้ ีลักษณะทางทหารทด่ี ี มคี ุณธรรม เพือ่ เป็นกาลังหลกั ของกองทัพบก” ๓. พนั ธกิจ ๓.๑ วิจัยและพัฒนาระบบการศึกษา ๓.๒ พัฒนาคณุ ภาพครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๓.๓ จดั การฝกึ อบรมทางวิชาการเหลา่ ทหารมา้ และเหลา่ อ่ืนๆ ตามนโยบายของกองทพั บก ๓.๔ ผลติ กาลังพลของเหล่าทหารม้า ใหเ้ ป็นไปตามวตั ถุประสงค์ของหลักสูตร ๓.๕ พัฒนาส่ือการเรยี นการสอน เอกสาร ตาราของโรงเรียนทหารม้า ๓.๖ ปกครองบังคับบัญชากาลังพลของหน่วย และผู้เข้ารับการศึกษาหลักสูตรต่างๆ ให้อยู่บนพื้นฐาน คุณธรรม จริยธรรม ๔. วตั ถุประสงคข์ องสถานศึกษา ๔.๑ เพ่ือพฒั นาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ให้กับผู้ เขา้ รับการศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๔.๒ เพ่อื พัฒนาระบบการศกึ ษา และจดั การเรียนการสอนผ่านสื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์ ใหม้ ีคณุ ภาพอย่างตอ่ เนอื่ ง ๔.๓ เพ่ือดาเนินการฝึกศึกษา ให้กับนายทหารชั้นประทวน ที่โรงเรียนทหารม้าผลิต และกาลังพลท่ีเข้ารับ การศึกษา ให้มีความรคู้ วามสามารถตามที่หนว่ ย และกองทพั บกต้องการ ๔.๔ เพ่อื พัฒนาระบบการบรหิ าร และการจัดการทรัพยากรสนับสนุนการเรียนรู้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ๔.๕ เพือ่ พฒั นาปรับปรุงส่ือการเรยี นการสอน เอกสาร ตารา ให้มคี วามทันสมยั ในการฝึกศึกษาอย่างตอ่ เนื่อง ๔.๖ เพื่อพัฒนา วิจัย และให้บริการทางวิชาการ ประสานความร่วมมือ สร้างเครือข่ายทางวิชาการกับ สถาบันการศึกษา หน่วยงานอ่ืนๆ รวมทง้ั การทานบุ ารุงศลิ ปวัฒธรรม ๕. เอกลักษณ์ “เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ทางวิชาการ และผลิตกาลังพลเหล่าทหารม้าอย่างมีคุณภาพเป็นการ เพิม่ อานาจกาลงั รบของกองทัพบก” ๖. อัตลักษณ์ “เดน่ สงา่ บนหลงั มา้ เก่งกลา้ บนยานรบ”

สารบัญ ๓ ๑. วชิ าการปฏิบตั ิบารงุ ม้า หนา้ ๒. วชิ าการขีม่ า้ ๔ ๓. วชิ า Coach Education Level 1 ๓๑ ๔. วชิ าการบรรทุกตา่ ง ๖๔ ๕. วิชาการฝกึ ม้าใหม่ ๗๗ ๙๕ .........................................................................

๔ วชิ าการปฏบิ ัติบารงุ มา้ การปฏิบัติบารุงม้า คือ การกระทาให้สิ่งอุปกรณ์อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดีอยู่เสมอ ตามขีด ความสามารถ และอายุการใชง้ านของส่งิ อปุ กรณน์ ้ัน ๆ ม้าเป็นอุปกรณ์ประเภท ๒ เพราะฉะนั้นการปฏิบัติบารุงม้า คือ การกระทาให้ม้าแข็งแรง สมบูรณ์ สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา เต็มความสามารถตลอดการใช้งาน ม้าตัวผู้ ๑๕ ปี ,ม้าตวั เมีย ๑๒ ปี และ ล่อ ๑๖ ปี การท่ีจะปฏิบตั บิ ารงุ มา้ ใหไ้ ด้ผลดนี ้นั ขึ้นอยูก่ บั องคป์ ระกอบ ๓ ประการ คือ ๑. การเลี้ยงดทู ดี่ ี ไดแ้ ก่การเลือกท่ตี ั้งคอกมา้ วธิ กี ารตง้ั และการดแู ลรักษาโรงม้า ๒. การดแู ลท่ดี ี ได้แก่การทาความสะอาดม้าการอาบนา้ ม้า การตัดขนม้า และการบารุงกีบม้า ๓. การใช้งานท่ดี ี ไดแ้ ก่การฝกึ ซ้อมและการใช้งาน การใช้มา้ ให้เหมาะสมแกก่ าลัง และการเดนิ ทางไกล วธิ เี ลือกทต่ี ้งั โรงม้า ท่ีตงั้ โรงม้าต้องเป็นที่สูง เป็นที่แจ้งลมพัดอากาศภายในโรงม้าจะได้ไม่ร้อน ข้อ สาคัญคอื น้าตอ้ งไมท่ ่วมอากาศไม่ช้ืนซึ่งที่ต่ามักชื้นกว่าท่ีสูง เหตุนี้ทาให้ท่ีอยู่ที่ต่ามักจะมีโรงภัยมากกว่าที่อยู่บนที่สูง เวลากลางวันมักจะร้อนจัดเวลากลางคืนจะหนาวมากบริเวณท่ีต้ังโรงม้าต้องมีความกว้างสาหรับให้ม้าได้ว่ิงและเดิน ไดส้ ะดวกและสาหรับจะไดก้ วาดแปรงมา้ และตากฟางที่ปูให้ม้านอนท่ีต้ังโรงม้าควรอยู่ใกล้แม่น้าคลองท่ีมีน้าสะอาด สาหรับให้ม้ากินและอาบน้าบ้างก็จะเป็นการดี เพราะตามธรรมดาสัตว์ที่อยู่ในเขตร้อนได้อาบน้าบ้างจะได้รู้สึก สบายอนึ่งที่ตั้งโรงม้าต้องเป็นท่ีเงียบสงัดไม่มีสิ่งท่ีอึกทึกครึกโครมมาก เช่นอยู่ตลาดหรือเครื่องจักรโรงสีต่าง ๆ ที่ ทางานในเวลากลางคืนด้วย ม้าก็ไม่ค่อยได้นอน และถ้าติดตลาดก็มีแมลงวันรบกวนทาให้ม้าต้องดิ้นรนปัดอยู่ ตลอดเวลาทาให้ซบู ผอมได้ วิธีต้ังโรงม้า ในประเทศเราฤดูหนาวลมพัดมาทางเหนือ ฤดูแล้งลมพัดมาจากทางใต้ ฉะน้ันการ สร้างโรงม้าควรเป็นโรงยาว จากทิศตะวันออกมาทางทิศตะวันตก เม่ือลมพัดจะได้เข้าทางหน้าต่างโรงม้าในตอน บ่ายแดดจะส่องผ่านถูกน้อยท่ีสุดและถ้าทาหลายโรงไม่ควรจะให้ติดกันมาก เพราะการติดกันมาก ๆ โรงกลางจะ ไมไ่ ดร้ ับอากาศพอ และมืด ฉะนนั้ จงึ ควรให้โรงมา้ เรยี งหา่ งกันเป็นขั้นบันไดเพื่อให้ลมผ่านสะดวกและต้องให้ห่างกัน พอสมควรตามธรรมดาระยะห่างระหวา่ งโรงม้าต้องหา่ งกนั อยา่ งนอ้ ยเทา่ กับส่วนสงู ของโรงม้า แสงสว่างจะได้เข้าไป ในโรงมา้ ไดส้ ะดวก ลักษณะของโรงม้า พ้ืนโรงม้าควรทาให้สูงกว่าพ้ืนดินธรรมดาประมาณ ๕๐ ซม. เพื่อสะดวกแก่ การวางท่อให้มูลไหล คอกต้องกว้างพอให้ม้าหันหรือเล้ียวได้สะดวก ขนาดคอกที่แก้ไขเปลี่ยนแปลงใหม่น้ัน คือ คอกม้าไทยมีขนาดกว้าง ๒.๕๐ ม. ลึก ๒.๕๐ ม. คอกม้าเทศกว้าง ๒.๕๐ ม. ลึก ๓ ม. และมีรางข้าว รางหญ้า สาหรับให้ม้ากินได้สะดวก พ้ืนที่ควรเทด้วยซีเมนต์ แต่อย่าให้เรียบมากเพราะจะทาให้ม้าล้มเป็นอันตรายได้ พ้ืน ด้านคอกต้องต่ากวา่ พ้นื ด้านหลังคอกเลก็ น้อย เพื่อให้นา้ สง่ิ สกปรกไหลออกได้สะดวก ฝาคอกมี ๒ แบบ คอื แบบปูน และแบบกระดาน ซง่ึ แตล่ ะชนดิ มีข้อแตกต่างกันคือ ฝาคอกแบบ ปูนหรือจะดีกว่ากระดาน เพราะไม่ร้อนแข็งแรงทนทาน ทาความสะอาดง่ายและปูองกันเช้ือโรค แต่ราคาแพง ส่วนฝาท่ีทาด้วยไมก้ ระดานไมค่ ่อยทนทาน ถ้าไม่ทาสีจะผุเร็ว เป็นรอยต่อเป็นท่ีสะสมเชื้อโรค และพยาธิทาให้เกิด โรคผิวหนังไดง้ ่าย หลังคา ถ้ามุงด้วยกระเบื้องจะดีมาก ถ้าเป็นสังกะสีควรมีฝูาเพดาน และสุดท้ายควรปูหญ้าให้ม้า นอน กันการกัดของปนู ไม่ทาให้เกดิ แผล

๕ การทาความสะอาดตัวมา้ การกราดแปรง ถือว่าเป็นการทาความสะอาดม้าท่ีมีประโยชน์ ทาให้ร่างกายสะอาด ปูองกันโรค ผิวหนงั และบารงุ ผวิ หนงั ใหม้ ีความสมบรู ณ์ เนื่องจากเลือกม้าเลี้ยงผิวหนังไดม้ ากกระจ่ายทัว่ ผิวหนงั การกราดแปรง ในข้ันต้นใช้กราดเหล็กตามคอ ตามตัว เพ่ือให้รังแคออกหมด แต่ต้องระมัดระวัง อย่าให้ผิวหนังถลอกเพราะฟันกราด ในบริเวณหนังบาง เช่น หน้าและที่ท้องไม่ควรกราด ยิ่งม้ามีผอมบาง เช่น มา้ เทศควรระมัดระวงั ยงิ่ ข้นึ ถ้าเปน็ การจาเปน็ ไมค่ วรใชก้ ราดเลย การแปรง จับแปรงมอื ขวาและกราดเหล็กมือซา้ ย เอาแปรงถูย้อนขนไปมาจะมีรังแคติดแล้วนาไป ถูกับกราดเพื่อให้รังแคหลุดจากแปรง ควรทาความสะอาดจากด้านซ้ายไปก่อน แล้วทาด้านขวาเพื่อสะอาดเท่ากัน เมื่อกราดแปรงแล้วก็เช็ดตา จมูก ปาก และใบหน้าให้สะอาด ม้าท่ีกลับจากใช้งานใหม่ ๆ ควรใช้หญ้าถูตัวก่อน เพอ่ื ใหเ้ หงอื่ แหง้ ไม่เกรอะกรงั และทาใหเ้ ลอื ดใต้ผวิ หนงั กระจาย และสุดทา้ ยก็แคะกบี ลา้ งกบี ใหส้ ะอาด การอาบน้ามา้ การอาบนา้ ม้าไม่สู้จาเปน็ นัก คงอาบเพื่อล้างโคลนและฝุนตามตัวซึ่งกราดแปรงไม่ ออก การอาบน้าบ่อย ๆ ด้วยสบู่ทาให้น้ามันท่ีขนน้อยลง และอาจทาให้เป็นหวัดได้ง่าย สัปดาห์หน่ึงไม่ควร อาบนา้ ม้าเกิน ๑ ครัง้ และการอาบน้ามา้ มขี อ้ ควรระมดั ระวัง ดงั น้ี ๑. ควรหาทส่ี ะดวก คือ เป็นท่ตี ลิง่ ไมช่ นั หรือใกล้กับทีส่ กปรก เชน่ ทถี่ า่ ยอจุ จาระเป็นต้น ๒. ทนี่ า้ ไม่ควรหา่ งไกล เพราะการเดินไปไกล ๆ ม้ารอ้ นเปน็ หวดั ได้เน่อื งจากรอ้ นกระทบเยน็ ๓. มา้ ท่ีเปน็ หวดั ไม่ควรอาบน้า และในเวลาแดดรอ้ นก็ไม่ควรอาบนา้ เมื่ออาจเสร็จกเ็ ช็ดตวั อย่าให้โดนลม การตัดขนและผมม้า มีประโยชน์สาหรับการกวาดแปรงง่าย และดูสะอาด การตัดควรตัดในฤดูร้อน ห้ามตัดในฤดู หนาว ท่ีสาหรับตัดควรอยู่นอกโรงม้าและห่างเพราะผมท่ีตัดอาจปลิวติดตามคอกหรือเข้าจมูกทาให้ระคายเคือง และเป็นการปูองกันโรคผิวหนังและโรคติดต่อ เคร่ืองมือเมื่อใช้เสร็จทาความสะอาดและใช้เฉพาะตัวย่ิงเป็นการดี การตัดน้นั จะตดั จากขาก่อน หรือตัวก่อนก็ได้ตามสะดวก เพราะม้าบางตัวต่ืนง่าย และตัดเป็นหน้า ๆ ไป ขนหาง และทีห่ น้าไม่ควรตัด ผมหนา้ ปอู งกันแสงส่องกระหมอ่ มกันร้อนและหางสาหรบั ไลแ่ มลง ถ้าหางยาวมากตดั ออกก็ ได้แตจ่ ะตัดข้อน่องแหลมไมไ่ ด้ เคราท่ใี ต้คางควรตดั ออกให้หมดเพราะหนา้ เกลียดไม่มีประโยชน์ การบารุงกีบ การบารุงกีบเป็นส่ิงสาคัญมาก ถึงแม้ม้าไทยกีบจะทนทานแข็งแรงดีก็จริง แต่ผู้เล้ียงไม่เข้าใจ วิธีการบารงุ ก็ทาให้กีบมา้ เสยี บอ่ ย ๆ วธิ ีการบารงุ กบี มีดงั นี้ ๑. เม่ือกลับมาจากราชการหรือฝึก ตอ้ งเอาดนิ หรือโคลนทีต่ ิดออก ๒. ถา้ ใชน้ า้ อุ่นล้างกบี ยง่ิ ดี ไม่ควรใช้นา้ เย็นลา้ งเมอ่ื ว่งิ มาใหม่ ๆ ต้องพกั ๑๕ นาที ๓. การจะให้กีบอ่อนและเหนียว ต้องให้มาวิ่งทุกวันและเดินท่ีนุ่ม ๆ ห้ามขึ้นที่แข็งที่มีหินโต ๆ ทาให้กีบ แตกรา้ วเสียได้งา่ ย บนถนนไมค่ วรวงิ่ เร็วควรวิง่ เรียบช้า ๆ ๔. ห้ามใช้สิ่งหนึ่งส่ิงใด เช่น ตะใบ บุ้ง กระดาษทราย ขัดถูที่ประทุนกีบหรือที่พ้ืนกีบ เพราะจะทาให้กีบ แตกร้าวเสยี ไดง้ ่าย ๕. ห้ามยนื ท่ีแข็งนาน ๆ เช่น กระดานหรือพื้นซเี มนต์ ถา้ กีบมา้ แห้งเกนิ ควรใชด่ ินเหนียว

๖ พอกหรอื ยนื บนท่ีแฉะหรือโคลนท่ไี มส่ กปรก หรอื ใช้ผ้าชุบนา้ มันบารงุ กบี ทา เชน่ นา้ มันวาสลิน ๖. ควรเปลี่ยนเกือกตามกาหนดเวลา และตรวจเกอื กเสมอ ๆ ถา้ หลวมควรเปลยี่ นหรอื ตอกใหแ้ น่น การฝกึ ซ้อมและการใชง้ าน การให้ม้าวิง่ หรือเดนิ อยเู่ สมอนัน้ เปน็ ประโยชนต์ ่อรา่ งกายม้ามาก เพราะการวิ่งหรือเดินทาให้หัว ใจเตน้ แรง หายใจถี่ ทาให้โลหติ และน้าเหลืองเดินเร็วขึ้น การแลกเปล่ียนธาตขุ องเซลลด์ ขี นึ้ การขับของเสียก็ดีข้ึน การที่สัตว์ไม่ได้ออกกาลังกายทาให้ร่างกายไม่ปรกติใช้ง่ายได้ไม่ดี แต่การออกกาลังกายไม่ควรจะให้เหน่ือยเกินไป เพราะทาให้กล้ามเน้ือล้าได้หรือทาให้ซูบผอม เบื่ออาหาร และถ้าบารุงกลับคืนสภาพไม่ได้ก็เสียม้าราชการ เมื่อมี ความประสงค์จะให้ม้าทางานหนักหลายชั่งโมง ควรจะให้ทางานหนักข้ึนทีละน้อย ไม่ควรหักโหมทาทีเดียว ข้อ สาคญั ถา้ ทางานมากต้องเพมิ่ อาหารมากข้ึนตามสว่ นดังท่ีกล่าวแลว้ ข้างต้น การใช้ม้าให้เหมาะสมแก่กาลังและเหตูการณ์นั้น เป็นข้อสาคัญยิ่งสาหรับความสมบูรณ์ของม้า เพราะถา้ ทางานได้ดแี ละสมบูรณ์ไม่ทรุดโทรมน้ัน ต้องเกี่ยวกับการใช้และการออกกาลังที่ถูกต้อง ต้องเร่ิมจากงาน ทีเ่ บาไปหาหนักและวนั หนง่ึ ไม่น้อยกวา่ ๑ ชม. การเดินทางไกล เป็นประเภทหนักของม้า ดังน้ันที่นาออกเดินทางไกล ควรได้รับการฝึกซ้อมจน ร่างกายแข็งแรงเสียก่อน และก่อนเดินทางไกลควรตรวจเช็คอุปกรณ์การข่ี เช่น อาน บังเหียน และเกือกม้าให้ เรยี บร้อย ซึ่งถือว่าสาคญั มากดังสภุ าษติ ทว่ี ่า ไม่ตรวจดูตะปตู วั เดยี วถอน เกอื กม้าคลอนไมก่ ระชับเข้ากบั ที่ ม้าจงึ พลาทาขนุ พลหล่นทัน ทัพไม่มีใครบัญชาจงึ ปราชยั ในเวลาเดินควรวิ่งบ้างเดินบ้างและว่ิงโขยกสลับกัน แต่ไม่ควรวิ่งเกินกว่าคราวละ ๑๕ นาที ควร เลือกทาเลท่ีเหมาะถ้ามีปัญหาควรจูงเดิน เช่น เนินท่ีขรุขระ และขบวนเดินถ้าเป็นหน้ากระดานได้ย่ิงดี ม้าจะได้ มองเห็นทางสะดวกและไม่ได้รับฝุนละออง เม่ือเดินได้ ๒-๓ กม. ควรจะหยุดพัก ๒-๓ นาที เพ่ือตรวจความ เรียบรอ้ ยด้วย และคราวต่อไปพัก ๕-๑๐ นาที ทุก ๆ ชั่งโมง ส่วนน้าให้กินได้ในขณะหยุดพัก แต่ควรให้กินทีละ น้อย และกินแล้วต้องเดินต่อไปอีก เพราะถ้าหยุดเลยโลหิตจะไปคลั่งท่ีกล้ามเนื้อมากเกินไป จะทาให้ม้าเป็นโรคโร มาตสิ ์ม และเป็นโรคปอดบวมได้ ดังนัน้ กนิ น้าควรให้กินพอแกก้ ระหานเทา่ น้ันไม่ควรให้อิ่ม การจะกนิ ใหอ้ ิม่ ตอ้ งได้ พักนานพอสมควรและหายเหนอ่ื ยแลว้ ลักษณะม้าและการตรวจคดั เลอื กม้า ลักษณะม้า การเรียนเร่ืองนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อให้รู้เคร่ืองหมาย ตาหนิ สี ขวัญ ของตัวม้า เพื่อให้เป็นท่ีสังเกตจดจาตามหลักฐานทางราชการ เช่น ทาทะเบียนประวัติ รูปพรรณ ให้ถูกต้อง อันจะเป็น หลกั ฐานในการตรวจสอบเมอื่ มคี วามจาเป็น เครอื่ งหมายและตาหนิบนตัวม้า มีอยู่หลายอย่างด้วยกัน แต่ละอย่างก็อาจจะเกิดข้ึนได้ตามส่วน ตา่ ง ๆ รา่ งกายมา้ แต่ที่เราสังเกตได้งา่ ยจากส่วนใหญ่ ๆ ๓ สว่ น คอื ๑. ส่วนศีรษะ ตลอดจนใบหนา้ ของม้า มตี าหนเิ คร่ืองหมายปรากฏอยหู่ ลายอยา่ ง เช่น ๑.๑ มา้ หน้าดาว คือ ม้าท่ีมีหน้าผากมขี นสขี าวเป็นจดุ กลมโตประมาณ ๒-๓ นิว้

๗ ๑.๒ มา้ หน้าใบโพธ์ิ คือ มา้ ทมี่ ีหน้าผากมีขนสีขาวขนึ้ อย่เู ป็นรปู คล้ายใบโพธ์ิ ๑.๓ มา้ หนา้ แด่น คอื มา้ ทมี่ หี น้าผากมขี นสีขาวขน้ึ เปน็ ทางยาวถึงปลายจมูก ๑.๔ ม้าหน้าดา่ ง คือ มา้ ท่ีมีขนสีขาวท่หี น้าผากเฉพาะบริเวณปลายจมกู หรือปาก ๑.๕ มา้ ตาแหวน คอื ม้าท่ลี ูกตาขา้ งใดข้างหน่งึ หรือสองขา้ งเปน็ สีขาวโดยรอบเปน็ รปู วงแหวน ๒. สว่ นขา มตี าหนทิ ี่มองเหน็ ไดห้ ลายอย่างและเรียกต่างกันดังนี้ ๒.๑ มา้ ขาสวมถงุ คือ ม้าท่ีขนสขี าวตงั้ แต่ไรกีบข้นึ ไป สงู กวา่ ข้อตาตุม่ ทั้งสองคหู่ น้า หรอื ขาคู่หลังแม้เพียง ค่เู ดียว ๒.๒ ม้าขาด่าง คอื มา้ ที่มขี นสขี าวทไ่ี รกบี ขึ้นไปเพียงข้างเดียว ๓. สว่ นลาตัว เราจะสงั เกตไดจ้ ากสีของมา้ ซงึ่ อาจเปล่ียนแปลงไดเ้ ม่ือสูงอายุขึ้น สีของม้าเราแบ่งออกเป็น ๓ พวก คอื ๓.๑ สลี ว้ น คือ ม้าทีม่ ขี นสีเดียวหรือคลา้ ยคลึงกันทัง้ ตัว และผิดกันบา้ งเล็กน้อย เช่น ลาตัวสีแดงอาจจะ มจี ุดสีดาปนบ้างเลก็ นอ้ ยกอ็ นุโลมเข้าอยูก่ ับพวกสีล้วนได้ มา้ สลี ว้ นจะมีสตี า่ ง ๆ เช่น สีขาว สเี หลอื ง สีน้าตาล สีเขียว สีดา เหล่านี้หากมีสีปน ๆ กัน เช่น สีแดงกับสีน้าตาลหากมีสีใดเป็นสีนาหรือสีเด่นกว่าก็เรียกตามสีที่นา หรอื สที ีเ่ ดน่ ๓.๒ สีแซม ม้ามีสแี ซม คือ ม้าทม่ี สี ีหนึ่งขึ้นปนกับอีกสีหนงึ่ เชน่ แซมดา คือ ม้าที่มีขนสีดาขึ้นปนสีขาว อยู่ท่ัวตัวจานวนใกล้เคียงกัน แซมเหลือง คือ ม้าที่มีขนสีเหลืองข้ึนแซมอยู่ทั่วตัว แซมแดง คือ ม้าที่มีขนสีแดงขึ้น ปนกบั ขนสีขาว ๓.๓ สีผ่าน ม้าสีผ่านก็คือม้าด่างน่ันเอง โดยถือสีขาวเป็นพื้นเดิม แล้วมีสีอ่ืนตัดผ่านเป็นทางยาว หรืออาจขา้ มสนั หลังไปกไ็ ดโ้ ดยถือเอาสอี น่ื นอกจากสขี าวเป็นสีที่เรยี ก เชน่ ผ่านแดง ผ่านเหลือง อนึ่ง ม้าบางตัว อาจมีสเี หลืองหรือสีแดงเป็นพื้นแต่มีสีดาเป็นทางผ่านตั้งแต่ ตะโหนกถึงโคลนหาง ม้าเช่นน้ีเรียกว่าม้าบรรทัดหาง เหล็ก นอกจากสีและจุดสีต่าง ๆ อันเป็นตาหนิประจาม้าท่ี กล่าวมาน้ัน ยังมีส่ิงสังเกตบนตัวม้าซ่ึงถือว่าสาคัญ ยิ่งอีกอย่างหน่งึ คอื ขวัญ ซึ่งจะได้กลา่ วต่อไป ขวญั ของมา้ จดั วา่ เป็นเคร่อื งสาคัญอย่างหนงึ่ ซึง่ มีเกือบจะทุกแห่งบนตังม้าและจะมีบางแห่งบาง ตวั เท่าน้นั ซ่ึงโบราณถือกันเคร่งครัดมากอาจให้คุณหรือให้โทษได้มากแต่ทหารไม่ถือเร่ืองขวัญเป็นเร่ืองสาคัญ ถือ วา่ ม้าน้ันแข็งแรงฝเี ท้าดเี ป็นสาคัญ ตามธรรมดาขวัญมา้ มรี ูปร่างอยู่ ๒ ชนดิ ๑. ขวญั ตะขาบ ขวัญชนิดน้มี ีขนขน้ึ เรียกกันทแยง ๆ แสกเปน็ ทางยาวคลา้ ยตัวตะขาบ ๒. ขวัญก้นหอย เป็นขวัญท่ีมีขนขึ้นชัดเรียงกันคล้ายก้นหอย และจะมีอยู่ทั่ว ๆ ไปตามร่างกายในท่ีต่าง ๆ ขวญั ตา่ ง ๆ เหล่านี้ ถ้าตาหนริ ปู พรรณก็ใชจ้ ุดหรอื ทารูปตามท่ีต่าง ๆ ในรูปประพรรณกระดาษพอให้รู้ว่าเป็นขวัญ และมชี ือ่ เรียกกนั แตโ่ บราณ ดังน้ี ๑. ขวญั ดอกไม้ อยู่ที่โคนหซู า้ ยขวา ๒. ขวัญรดั เกลา้ อย่รู มิ ผมทัง้ สองข้าง ๓. ขวญั หอ้ ยราชสาร อยทู่ ่ใี ต้คอต่ากว่าลกู กระเดือก ๔. ขวัญผาดหอก เปน็ ขวัญตะขาบอ ยขู่ า้ งใดข้างหนง่ึ ถา้ มที งั้ สองขา้ งเรยี กวา่ ขวญั ขนาบ ๕. ขวญั กาจบั ปากโลง อยู่ท่ีตอนใต้ของขากรรไกรทั้งสองข้าง (ไม่ด)ี ๖. ขวญั คอเชือด อยใู่ ตค้ อตรงลกู กระเดอื ก (ไมด่ )ี

๘ ๗. ขวัญดวงจนั ทร์ อยทู่ ่หี นา้ ผาก (ด)ี ๘. ขวัญชัย อยู่ที่ปลายใบหู (ด)ี ๙. ขวัญหลุมผี อยู่ที่หน้าผากมีลักษณะลึกโบ๋ (ไมด่ ี) ๑๐. ขวญั จุกเลือด อยทู่ ่ีหน้าอกระหว่างขาหนา้ (ไม่ด)ี ๑๑. ขวญั ลิงเจ่า อยทู่ ี่ผมนกเอ้ยี งใกลต้ ะโหงก (ไม่ด)ี ๑๒. ขวัญทีน่ ่ังโจน อยทู่ ่ีกลางหลงั ๑๓. ขวัญจาตรวน อย่ทู ่ีบริเวณตาตุม่ ทั้งสองข้างของขาหนา้ (ไมด่ )ี ๑๔. ขวัญโกลนพระอินทร์ อย่ตู รงแนวรัดทึบเหนอื ข้อศอกทั้งสองข้าง ๑๕. ขวญั บนั ไดแกว้ อยเู่ หนือขอ้ เข่าด้านหลังของขาหนา้ ๑๖. ขวญั อูต่ ะเภา อยตู่ รงกระพุง้ ท้องมกั มที ั้งสองขา้ ง (ดี) ๑๗. ขวญั ลึงคจ์ า้ อยตู่ รงปลายลึงคโ์ ผลอ่ อกมา (ไม่ด)ี ๑๘. ขวัญหวั ค้วิ อยู่ตรงหวั คิ้ว ๑๙. ขวัญแร้งกระพือปกี อยู่บริเวณหัวไหล่ม้า ขวญั ตา่ ง ๆ ของม้าก็มีอยเู่ ทา่ น้ี ซึ่งทางราชการไมส่ นใจว่าดหี รอื ไมด่ ีของขวญั การทราบก็เพอื่ ให้ ทราบตาแหนง่ ทอ่ี ยู่ เพือ่ ประโยชนใ์ นการทาตาหนริ ูปพรรณเท่านัน้ หลกั เกณฑใ์ นการคัดเลือกมา้ เพอื่ ใช้ในราชการทหาร ม้าท่ีใช้ในราชการทหารจาเป็นอย่างย่ิง จะต้องมีหลักเกณฑ์ในการตรวจคัดเลือกเพ่ือให้ได้ม้าที่ได้ ขนาดเหมาะสมในการข่ี เทียนลาก หรือบรรทุกต่าง ตามท่ีกาหนดความมุ่งหมายเอาไว้ว่า จะใช้งานในประเภทใด ม้าทด่ี จี ะมีหลักเกณฑโ์ ดยสว่ นรวมดงั น้ี ๑. มีความสมบรู ณ์ทางรา่ งกายโดยเดน่ ชัด ไม่มีสว่ นใดบกพร่อง ๒. ไมม่ โี รคภัยไขเ้ จ็บโดยเฉพาะโรคตดิ ตอ่ ๓. อายุพอเหมาะแก่การใชง้ าน ไมอ่ ายนุ ้อยหรือมากเกินไป ๔. ควรอยใู่ นเกณฑพ์ อเหมาะท่จี ะใชง้ านแต่ละประเภท ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ๔.๑ ความสมบูรณ์ของรา่ งกาย ม้าที่สมบูรณ์จะมีลักษณะร่าเริง ปราดเปรียว ฉลาด ฝึกง่าย ทางานหนัก ไดน้ าน และไม่อยู่ในข้อห้ามข้อใดข้อหนึ่งดังน้ี - ตาบอดฝาู ฟาง ตาบอดตาใส หรือมีพยาธใิ นตา - สตั ว์ทม่ี ีโรคทางปอดเรือ้ รัง - สตั ว์ทเี่ ปน็ โรคกระดกู ผุ เชน่ หนา้ บวม ขอ้ บวม เอวและหลังแขง็ - ม้าหลงั แอ่นเอวยาวและออ่ น - มา้ ทม่ี ีหัวตะคากยุบข้างใดขา้ งหน่ึง - หางเน่ากุดหายไป - ลิ้นขาดหายไปเกินคร่ึง - ซี่โครงและอกลีบเล็กมาก - แข้ง เอน็ ขา ข้อน่องแหลมพิการ - ขอ้ ขาพิการ ขาเสยี - ขาอ่อนโคง้ ขอ้ ใตต้ าตุ่มขาหนา้ ยาวอ่อนเอนมาก

๙ - เปน็ โรคทางกบี ซึง่ ไม่สามารถรักษาได้เรว็ วนั - นสิ ยั ดรุ ้ายผดิ ธรรมชาติ - รปู ร่างผิดธรรมดาจนน่าเกลียด - สัตว์เจ็บปุวยเป็นโรคติดตอ่ ต่าง ๆ - เนอ้ื งอกอยา่ งร้ายแรง - ร่างกายทรดุ โทรมซูบผอมมากซึง่ จะฟนื้ ตัวได้ยาก - เป็นโรคทางอวัยวะสืบพนั ธ์หุ รือพกิ าร ๔.๒ การไม่มโี รคภัยไขเ้ จบ็ โดยเฉพาะโรคตดิ ตอ่ ต่าง ๆ ๔.๓ อายุ อายุของม้าท่ใี ชใ้ นราชการได้กาหนดไวด้ งั นี้ มา้ ขไ่ี ด้ถือเกณฑ์อายุไม่ต่ากว่า ๓ ปี และไม่เกิน ๘ ปี ส่วนโค ,กระบือ ต้องมีอายุไม่ต่ากว่า ๔ ปี และไมเ่ กิน ๗ ปี ๔.๔ ความสูง ตามระเบยี บกาหนดไวด้ ังนี้ ๔.๔.๑ ม้าข่ีสาหรับนายทหารทั่วไป ใช้ม้าสูงตั้งแต่ ๑.๒๐ - ๑.๓๐ เมตร แต่ถ้าผู้ขี่ม้ามีน้าหนักเกิน กว่า ๖๐ กก. ใหใ้ ช้มา้ ทม่ี ีขนาดสูง ๑.๓๐ - ๑.๓๕ เมตร ๔.๔.๒ มา้ ขสี่ าหรับนายทหารมา้ ใช้ม้าท่มี ขี นาดสงู ๑.๓๖ เมตรขน้ึ ไปหรอื มา้ เทศ ๔.๔.๓ มา้ ขี่สาหรบั กองพันทหารม้าทว่ั ไป ใช้ม้าทม่ี ขี นาดต้ังแต่ ๑.๒๐ - ๑.๓๐ เมตร เว้น ม.พนั .๒๙ รอ. ใชม้ ้าขนาดสูงเกินกว่า ๑.๓๐ เมตรขนึ้ ไปหรือมา้ เทศ ๔.๔.๔ ลา ลอ่ และโค ทใี่ ช้เทียมลากและบรรทกุ ตอ้ งมขี นาดสงู ต้ังแต่ ๑.๑๖ - ๑.๒๔ เมตร การวัด ความสงู ของมา้ ลา ลอ่ ใหถ้ ือระดบั ความสูงทสี่ ดุ ของตะโหงก สาหรับโคให้ถือระดับความสงู ตรงเท้าตะโหงก บรเิ วณขวญั กลางหลงั เรือ่ งการสตั ว์ สัตวพ์ าหนะ ในราชการทหารหมายถึงสตั วพ์ าหนะใช้ในราชการในการขับขี่ เทียมลาก บรรทุกต่าง และผสมพนั ธุ์ เช่น ม้า ลา ล่อ โค กระบอื สตั วฉ์ กรรจ์ หมายถงึ สตั ว์พาหนะท้งั เพศผู้และเพศเมีย มอี ายุ ๓ ปี บรบิ รู ณข์ นึ้ ไป การจัดหาสัตว์พาหนะใช้ในราชการ ทบ. จัดหาโดย ๑. จดั หาซื้อดว้ ยเงินงบประมาณ ทบ. เปน็ คร้งั คราว หรอื จัดซ้ือดว้ ยเงนิ รายไดร้ ายใดรายหน่ึงตามความ เหมาะสม ๑.๑ จดั ซอื้ ภายในประเทศ ๑.๒ จัดซอื้ นอกประเทศ ๒. จัดหาด้วยการเกณฑม์ าจากประชาชน หรอื มีผใู้ ห้ หรอื จากการผสมพันธภุ์ ายในหนว่ ย ๒.๑ สัตวพ์ าหนะมาใชท้ างราชการทหารน้ัน ให้ปฏบิ ัตติ ามพระราชบญั ญัตกิ ารเกณฑพ์ ลเมือง อุดหนุนราชการทหาร ๓. การจัดหาสัตว์พาหนะในปีใดจะซ้ือภายในหรือต่างประเทศเท่าใด ให้แจ้งให้ ทบ. ไปพร้อมกับการขอตั้ง งบประมาณ ส่วนราชการคิดวงเงินจดั ซื้อให้ถอื ราคาสัตว์พาหนะของท้องถิ่นในปัจจุบันเท่าที่ปรากฏมีการซื้อขายกัน การจัดซื้อจะต้องมีนายแพทย์เป็นกรรมการดว้ ย ๑ นาย เป็นอย่างนอ้ ยเสมอไป

๑๐ ลักษณะสัตว์ใชใ้ นราชการ ๑. ม้าที่ ทบ.จัดหาใชใ้ นราชการน้นั มีขนาดดงั น้ี ๑.๑ มา้ สาหรับนายทหารท่ัวไปใช้ม้าขนาดสงู ตง้ั แต่ ๑.๒๕ - ๑.๓๐ ม. แต่ถ้ามผี ู้ขม่ี ีนา้ หนกั ตั้งแต่ ๖๐ กก. ข้ึนไปใหใ้ ช้ม้าขนาดสูง ๑.๓๐ - ๑.๓๕ ม. ๑.๒ มา้ ข่สี าหรับนายทหารมา้ ใช้ม้าท่มี ีความสูง ๑.๓๖ ม. ขน้ึ ไปหรอื ม้าเทศ ๑.๓ ม้าขก่ี องพนั ทหารม้าทั่วไปใช้ม้าท่มี ีขนาดต้ังแต่ ๑.๒๐ - ๑.๓๐ ม. เว้น ม.พัน.๒๙ รอ. ใช้ม้าสูงเกิน กวา่ ๑.๓๐ ม. หรือม้าเทศ ๑.๔ ม้า ลา ล่อ และ โค ท่ีใชเ้ ทยี มลาก และบรรทุกต่างต้องมขี นาดสงู ต้ังแต่ ๑.๑๖ - ๑.๒๔ ม. ๒. การวดั ขนาดความสูงของม้า ลา ล่อ ให้ถือความสูงที่สุดของตะโหงก สาหรับโค ให้ถือระดับความสูงตรง ทา้ ยตะโหงกบรเิ วณขวญั กลางหลงั ๓. อายุของมา้ ลา ล่อ ทจ่ี ะซ้อื มาใชใ้ นราชการ ทบ. น้ัน ให้ถือหลักเกณฑอ์ ายุไมต่ ่ากวา่ ๓ ปี และไมเ่ กนิ ๘ ปี สว่ น โค กระบอื ต้องมอี ายไุ ม่ตา่ กวา่ ๔ ปี และไมเ่ กิน ๗ ปี ๓.๑ มา้ ลา ลอ่ ให้สังเกตฟันเปน็ หลักในการดูอายุ ๓.๒ โค กระบือ ให้สังเกตฟันกบั เขาเปน็ หลกั ๔. ลักษณะของสัตวท์ ่ีหา้ มซือ้ ในราชการ ๔.๓ ตาบอด ตาฝาู ฟาง บอดตาใส หรือมพี ยาธิในตา ๔.๔ สตั วท์ ี่เป็นโรคทางปอดเรอื้ งรัง เช่น หอบหดื ๔.๕ ม้า ลา ล่อ ท่ีเปน็ โรคกระดูกผคุ อื อาการหนา้ บวม ข้อบวม เอวและหลงั แข็ง ๔.๖ เป็นโรคสบู สมุทร ๔.๗ มา้ ทีม่ ีรปู รา่ งลักษณะหลังแอน่ เอวยาวและอ่อน ๔.๘ หัวตะคากยุบไปขา้ งหนง่ึ หรอื สองขา้ ง ๔.๙ หางกุดหรือหลุดไป ๔.๑๐ ลิ้นขาดหายไปเกนิ ครึ่ง ๔.๑๑ มซี ี่โครงและอกลบี มาก ๔.๑๒ แขง้ และเอ็นขา หรอื ข้อน่องแหลมพิการ ขาดหรอื เป็นปุมโตจนกีดขวางการเคล่ือนไหว ๔.๑๓ กระดกู ข้อพิการหรือขาเสีย ๔.๑๔ ขาอ่อน ขาโคง้ หรอื ขาเก หรือข้อใตต้ าตมุ่ ขาหนายาวและออ่ นแอมาก ๔.๑๕ มีโรคทางกบี ซงึ่ สตั วแพทยต์ รวจแลว้ เหน็ วา่ ไม่มที างรกั ษาหายเปน็ ปกติได้ในเร็ววนั เชน่ กีบผุ กีบแตกร้าวจนเห็นเน้ือในกบี กบี ช้าบวมจนอ้งุ กบี บวมนูนผดิ ปกตธิ รรมดา ๔.๑๖ มนี สิ ัยดรุ า้ ยผิดธรรมชาติ ๔.๑๗ มีรูปรา่ งผดิ ธรรมชาตจิ นหนา้ เกลียด ๔.๑๘ เจ็บปวุ ยดว้ ยโรคตดิ ตอ่ ตา่ ง ๆ ๔.๑๙ เปน็ แผลเนื้องอกอย่างร้ายแรง ๔.๒๐ แสดงอาหารปรากฏชดั วา่ เปน็ โรคทางสืบพันธ์ ๔.๒๑ รา่ งกายทรุดโทรมซูบผอมมากซงึ่ สตั วแพทยต์ รวจแลว้ มอี าการฟนื้ ตัวยาก

๑๑ การนาสตั วข์ นึ้ ทะเบยี น ๑. กรมการสัตว์ทหารบก เป็นเจ้าหนา้ ที่ควบคุมยอดสัตว์พาหนะของหน่วยต่าง ๆ ในกองทัพบก รวมทั้งการ ปลดจาหน่ายทะเบียนโดยตลอด การปลดจาหนา่ ยถอื ตามระเบียบ ทบ.ว่าดว้ ยการจาหน่ายส่งิ อุปกรณ์ พ.ศ.๒๔๐๙ ๒. เมื่อกรมกองต่าง ๆ ได้รับสตั ว์พาหนะเพ่มิ เติมข้นึ มาใหม่ ให้รายงานขออนุญาตนาสัตว์ข้ึนทะเบียน พร้อม ด้วยบัญชีนาสัตว์ขึ้นทะเบียน เสนอผู้บังคับบัญชาช้ัน ผบ.พล หรือ ผบ.หน่วยอิสระรวบรวมส่งกรมการสัตว์ ทหารบกในทา้ ยรายงานให้แจ้งสัตว์พาหนะทอ่ี ยูเ่ ดิม ประเภทใด เท่าใด ขอขน้ึ ทะเบียนใหม่ประเภทใดเทา่ ใด ๓. สตั ว์พาหนะท่จี ะตอ้ งนาข้นึ ทะเบยี นคอื ๓.๑ สตั วพ์ าหนะท่ีเกิดใหม่ ๓.๒ สตั ว์พาหนะทสี่ ญู หายใหจ้ าหนา่ ยจากบญั ชีแลว้ ภายหลังไดค้ นื มา ๓.๓ สตั ว์ที่ได้รบั มาใหม่จากการจัดหาหรือโอนมาจากหน่วยอนื่ หรือมบี ุคคลมอบ ใหเ้ ปน็ สมบัตขิ องทางราชการ ๔. สตั ว์พาหนะทนี่ าข้ึนทะเบยี นใหมน่ ั้นให้ ผบ.หนว่ ย ส่งั ตัง้ คณะกรรมการประกอบด้วย สัตวแพทย์ของหน่วยน้ัน ตรวจตาหนิรูปพรรณทาประวัติประจาตัวแนบกับรายงานขอขึ้นทะเบียน เสนอ ผู้บงั คับบญั ชารวบรวมสง่ กรมการสตั วท์ หารบกภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันท่ีได้รับสัตว์พาหนะเข้า แต่ลูกสัตว์ที่ได้รับ โอนซ่ึงมปี ระวัติประจาตวั อยู่แล้ว ไมต่ อ้ งส่งประวัติประจาตวั ๕. เมื่อกรมการสัตว์ทหารบก ได้รับเรื่องการขอขึ้นทะเบียนสัตว์พาหนะแล้วพิจารณาตั้งช่ือและกาหนด เครื่องหมายประจาตัวแก่สัตว์น้ันๆ และแจ้งหน่วยต้นสังกัดทราบแล้วนาสัตว์ขึ้นทะเบียนสัตว์พาหนะตามประเภท และชนดิ ของสัตว์ ๖. เมื่อลูกสัตว์ได้ข้ึนทะเบียนประเภทลูกสัตว์ไว้แล้ว เมื่อมีอายุครบ ๓ ปีบริบูรณ์ ให้หน่วยต้นสังกัด ตรวจ ตาหนิรูปพรรณ ลงในประวัติประจาตัวสตั วอ์ กี ครั้งหนง่ึ แนบกับรายงานการขอย้ายประเภทเปน็ สตั ว์ฉกรรจ์ ๗. ให้กรมการสัตว์ทหารบก กาหนดตรวจเครื่องหมายทะเบียนสาหรับใช้ประทับที่มุมขวาบนของประวัติ ประจาตัวสัตว์ ซง่ึ แสดงว่าสตั ว์นั้นได้ผา่ นการข้นึ ทะเบียน ณ กรมการสตั วท์ หารบก โดยถกู ต้อง ๘. หน่วยที่ต้องรับผิดชอบเล้ียงดูสัตว์พาหนะ มีหน้าท่ีเก็บรักษาประวัติประจาตัวสัตว์และทาบัญชีทะเบียน สัตวป์ ระจาหน่วยไวใ้ หเ้ รียบร้อยถูกตอ้ งกบั สัตว์ในปกครองเสมอ ๙. การทาประวตั ิประจาตัวสตั ว์ขน้ึ มาใหม่ เพื่อทดแทนฉบับท่สี ญู หายหรือถูกทาลายไปด้วยเหตุใด ๆ กต็ าม ให้ ผบ.หน่วยชน้ั ผบ.พนั ส่งั ต้งั คณะกรรมการซง่ึ ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่สัตวแพทย์ทาการสารวจ โดยอาศยั บญั ชี ทะเบียนสัตว์ของหนว่ ยทาประวตั ิประจาใหม่ แนบรายงานเสนอผบู้ ังคับบญั ชี ส่งไปกรมการสัตว์ทหารบกเพือ่ ตรวจสอบและประทบั ตราเครื่องหมายใหม่

๑๒ การปลดจาหนา่ ยสัตว์พาหนะออกจากทะเบยี น ๑. สัตวพ์ าหนะจะจาหน่ายออกจากทะเบียนได้ตามเหตุตอ่ ไปน้ี ๑.๑ ตาย ๑.๒ สูญหาย ๑.๓ ได้รบั อนมุ ตั ใิ ห้โอนย้ายไปสงั กดั หน่วยอื่น ๑.๔ ร่างกายอ่อนแอทรุดโทรมใช้ราชการไม่ได้ ซึ่งเจ้าหน้าที่สัตวแพทย์ตรวจสอบแล้วเห็นว่า ไม่มีทางให้ สมบรู ณ์แขง็ แรงได้ ๒. เมื่อสัตว์พาหนะตายหรือประสบอันตรายบาดเจ็บสาหัส ผบ.พัน ตั้งคณะกรรมการซ่ึงประกอบด้วย เจ้าหน้าที่สัตวแพทย์สอบสวนหาสาเหตุ พร้อมทั้งรายงานการตรวจซากศพเสนอความเห็นต่อผู้บังคับบัญชา แต่ถ้า ตายด้วยสาเหตุ เช่น ตกเขาตาย ถูกรถชนตาย หรือถูกทาร้ายถึงตายหรือประสบอันตรายบาดเจ็บสาหัส ให้ตั้ง คณะกรรมการสอบสวนหาหลกั ฐานและพจิ ารณาหาตัวผกู้ ระทาความผดิ เพ่ือชดใชร้ าคาสัตว์หรือลงโทษผู้รับผิดชอบ ตามควรแต่กรณี เว้นแต่กรณที เ่ี หน็ ว่าเปน็ เหตุสุดวิสยั ๓. สัตว์พาหนะสูญหาบไปด้วยสาเหตุใด ๆ ก็ตามให้ถือว่าเป็นความบกพร่องของผู้รับผิดชอบโดยตรงจึงให้ ผบ.หนว่ ยเทียบชน้ั ผบ.พัน ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนพจิ ารณาตามลักษณะเหตุการณ์ดงั นี้ ๓.๑ ถ้าสูญหายแล้วติดตามตัวได้คืนมาภายใน ๑ เดือน ยังไม่ถือว่าเป็นความบกพร่องเพราะขาดความ ระมดั ระวงั ให้พิจารณาลงทณั ฑผ์ กู้ ระทาผิด เว้นแต่กรณที เ่ี ห็นว่าเป็นเหตสุ ุดวสิ ยั จริง ๆ ๓.๒ ถ้าสูญหายไม่ได้คืนมาภายใน ๑ เดือน ให้ผู้รับผิดชอบร่วมกันชดใช้ เว้นแต่ในกรณีท่ีได้ตัวคนร้าย และศาลไดพ้ จิ ารณาลงโทษให้จาเลยไดร้ ับโทษโดยเด็ดขาดแล้ว ไม่ตอ้ งให้ผูร้ บั ผดิ ชอบชดใชร้ าคาสตั ว์ ๔. การย้ายสัตวพ์ าหนะออกจากการปกครองของเจ้าหน้าท่ี ของหน่วยหนึ่งไปให้อีกฝุายหนึ่งเม่ือได้รับอนุมัติ จากผู้บังคับบัญชาแลว้ ใหแ้ จ้งกรมการสตั ว์ทหารบกทราบภายใน ๗ วนั เพอื่ จัดการลงทะเบยี นต่อไป ๕. การอนุญาตจาหน่ายสัตว์พาหนะออกจากทะเบียนให้หน่วยต้นสังกัดรายงานต่อผู้บังคับบัญชา นับตั้งแต่ สัตว์ตายหรือโยกย้าย เว้นแต่กรณีสูญหายให้รายงานเม่ือครบ ๑ เดือน รวบรวมส่งกรมการสัตว์ทหารบก พร้อม หลักฐานตอ่ ไปน้ี ๕.๑ ยอดสัตว์พาหนะเมื่อไดจ้ าหนา่ ยในครง้ั น้นั แล้ว คงเหลอื คงเหลอื ทัง้ สนิ้ ประเภทใดเทา่ ใด ๕.๒ สาเนารายงานผลการสอบสวน ๕.๓ ความเห็นของเจ้าหน้าท่แี พทย์ ๕.๔ บญั ชจี าหน่ายสตั ว์พาหนะ ๖. ให้กรมการสัตว์ทหารบกพิจารณาเสนอความเหน็ ขออนุมัตติ ่อ ผบ.ทบ. ตอ่ ไป ๗. สัตว์พาหนะซ่ึงไม่เหมาะสมแก่การใช้ราชการน้ัน ให้หน่วยต้นสังกัดรายงานขออนุญาตขายต่อ ผบ.ทบ. และเมือ่ ได้รบั อนุมัตแิ ลว้ ให้ผูบ้ งั คบั บัญชาชัน้ ผบ.พล ดาเนินการขาย เสร็จแล้วขอจาหน่ายทะเบียนต่อกรมการสัตว์ ทหารบก ๘. ถ้าสัตวต์ ายด้วยโรคติดตอ่ และเน้ือใช้เป็นอาหารไมไ่ ด้ ใหจ้ ัดการฝังหรือเผาซากสัตว์ให้ดีที่สุดห้ามนามาใช้ ประโยชน์ใด ๆ เปน็ อันขาดการตรวจรกั ษาและคดิ ราคาสตั วพ์ าหนะ ๙. เม่ือสัตวพ์ าหนะของหนว่ ยเจบ็ ปุวย ให้หน่วยต้นสังกัดนาสัตว์ส่งเจ้าหน้าที่สัตวรักษ์รักษาพยาบาลด้วยใบ

๑๓ ส่งสัตว์พร้อมกับประวัติประจาตัว เม่ือสัตว์น้ันหายปุวย ตาย หรือ พิการ เป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่สัตวรักษ์จะต้อง กรอกรายการเจ็บไข้ และลงบันทึกความคิดเห็นในประวัติประจาสัตว์น้ัน ๆ ไว้ ให้ชัดเจน และลงนาม,วัน,เดือน,ปี กากบั ไว้ทุกคร้งั ๑๐. ให้ผูบ้ ังคบั บัญชาช้ัน ผบ.พนั ทาการตรวจเขตสุขาภิบาลสตั วพ์ าหนพของหนว่ ยเดอื นละครัง้ และเพอ่ื ให้ สัตวข์ องกองทพั บกอยูใ่ นสภาพสมบรู ณ์จึงให้ ผบ.หมวด หรอื กองสตั วรักษ์ ทาการตรวจสขุ าภิบาลสตั ว์พาหนะใน หน่วยต่าง ๆ ท่ีอยู่ในความรับผิดชอบ ทารายงานและทาบัญชีงบยอดสัตว์เจ็บปุวยประจาเดือน เสนอ ผู้บังคบั บัญชา เพอ่ื ส่งใหก้ ับกรมการสัตวท์ หารบกภายในวันท่ี ๑๐ ของเดือน หลกั เกณฑ์การตรวจใหถ้ อื ดังนี้ ๑. สัตว์พาหนะของหน่วยใดมีขนาดเทา่ ใด ๒. ความสมบูรณ์ของร่างกายดเี ลวเท่าใด ๓. ความเอาใจใสใ่ นการปฏบิ ัติเลยี้ งดอู ยู่ในระดับดเี ลวเพียงใด ๔. มโี รคภยั ไข้เจ็บอย่างใด เท่าใด ๕. บรเิ วณท่ีอยู่ของสตั วเ์ รียบร้อยเพยี งใด ๖. ถ้ามีการบกพรอ่ งใหต้ ักเตือนแนะนาอยา่ งใด ๑. เมื่อสัตว์พาหนะมีร่างกายทรุดโทรมซูบผอม ให้หัวหน้าหน่วยปกครองสัตว์พิจารณาส่ังแยกสัตว์ไปพัก ทอดและบารงุ ให้สมบูรณ์ หรือขอคาแนะนาจากเจา้ หน้าที่สตั วรักษ์ ๒. ให้ ผบ.หมู่ หมวด หรือ กองพันสัตวรักษ์ ทาสถิติพยากรณ์โรคสัตว์ภายในหน่วยต่าง ๆ ท่ีอยู่ในความ รับผิดชอบทุก ๆ ๖ เดือน ทารายงานเสนอผู้บังคับบัญชา เพื่อส่งให้กรมการสัตว์ทหารบกภายในวันท่ี ๑๐ ของ เดอื น กรกฎาคมและ มกราคม ของทกุ ปี ๓. บรรดาสัตว์พาหนะที่ใช้ราชการตามหน่วยต่าง ๆ นอกจากมีโรคภัยเบียดเบียนแล้วร่างกายอาจเสื่อม โทรมตามอายุ จึงกาหนดอายเุ พ่อื พิจารณาจาหนา่ ยสัตว์ดงั ต่อไปนี้ ๓.๑ มา้ ผอู้ ายปุ ระมาณ ๑๕ ปี ๓.๒ ม้าเมียอายปุ ระมาณ ๑๒ ปี ๓.๓ ลา ลอ่ มอี ายุประมาณ ๑๖ ปี ๓.๔ โค กระบือ มอี ายปุ ระมาณ ๑๖ ปี ระยะความเส่ือมโทรมของร่างกายสัตว์ที่กาหนดเมื่อคณะกรรมการเห็นว่าสัตว์ตัวใดยังมีร่างกาย สมบูรณแ์ ขง็ แรงดี พอทจ่ี ะปฏิบตั งิ านของหนว่ ยไดก้ ใ็ หง้ ดการปลดจาหน่ายไว้ชว่ั คราว หรอื เห็นสมควรจะใชท้ าการ ผสมพนั ธไ์ ด้ก็มอบใหแ้ กเ่ จ้าหน้าท่ีสัตวรักษข์ องหนว่ ยหรือกรมการสตั ว์ทหารบก นาไปใชผ้ สมพนั ธแ์ ล้วแต่กรณี ๔. สัตวพ์ าหนะของทางราชการ จะได้มาด้วยการซ้ือหรือมีผู้ให้ หรือผสมพันธ์ข้ึนก็ตาม ต้องกาหนดราคา ไวป้ ระวัติประจาตัว โดยอาศยั หลักเกณฑ์ดงั น้ี ๔.๑ ถา้ สตั ว์พาหนะนนั้ ไดม้ าด้วยการซอ้ื ให้ถือตามราคาซื้อ ๔.๒ ถ้าสัตว์นั้นได้มาด้วยการให้ คณะกรรมการจะต้องพิจารณาต้ังราคาตามปัจจุบันของท้องถิ่นนั้น ประกอบสภาพสัตว์ ๔.๓ การคิดราคาลูกสัตว์ ให้เป็นหน้าที่ของกรมการสัตว์ทหารบกเป็นผู้กาหนดและวางระเบียบ

๑๔ ปลีกย่อย และเมื่อลูกสัตว์มีอายุ ๓ ปีบริบูรณ์ จึงกาหนดราคาแน่นอนลงในประวัติประจาตัวเน่ืองจากราคาสัตว์ พาหนะไม่คงตามสภาพทอ้ งถ่นิ ดงั น้นั การคดิ ราคาควรให้คณะกรรมการยดึ ถือหลกั เกณฑด์ ังน้ี ๔.๓.๑ ถ้าราคาสัตว์ในท้องถิ่น เมื่อเฉล่ียแล้วมีราคาสูงกว่าท่ีกาหนดไว้ในประวัติประจาตัว ให้ถือ ราคาท้องถิ่นน้ัน ถ้าราคาในท้องถ่ินต่ากว่าราคาในประวัติประจาตัวม้า ให้ ถือราคาชดใช้ตามกาหนดไว้ในประวัติ ประจาตัว ๔.๓.๒ ถ้าสัตวน์ ้ันมอี ายุตง้ั แต่ ๗ ปบี ริบูรณข์ นั้ ไป ก็ใหล้ ดราคาชดใช้ลงปีละ ๑๐ เปอรเ์ ซ็นต์ ๕. ถ้าสัตว์พาหนะเป็นของประชาชนหรือองค์กรต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่หรือเพื่อส่งเสริมบารุงพันธ์ ให้ กรมการสตั วพ์ จิ ารณาและเสนออนุมตั ิ ผบ.ทบ. เป็นราย ๆ ไป ๖. เงินคา่ สตั วพ์ าหนะให้นาเงนิ สง่ ต่อเจ้าหนา้ ที่ฝุายการเงนิ ตามข้อบงั คับทหารว่าดว้ ยการเงนิ การใชแ้ ละบารุงสัตว์พาหนะ ๑. ห้ามนาสัตว์พาหนะของทางราชการไปประกอบกิจอันเป็นประโยชน์ส่วนตัว เว้นแต่กรณีซ่ึงเป็น นโยบาย ที่ต้องการให้ความช่วยเหลือเป็นคร้ังคราว อันเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ทางจิตใจ ให้ ผบ.หน่วย ช้ัน ผบ.พนั พิจารณาผอ่ นผันตามสมควร แต่ถ้าสัตว์น้ันต้องประสบอันตรายล้มตายลงด้วยเหตุอันใดก็ดี ผู้นาสัตว์หรือผู้ รับรองต้องชดใช้เงนิ ๒. ให้ ผบ.หน่วยเทียบชั้น ผบ.พล ต้ังกรรมการสารวจสัตว์พาหนะตามกรมกองต่าง ๆ ท่ีอยู่ในความ รับผิดชอบในเดือนมกราคมทุกปี คณะกรรมการต้องประกอบด้วยข้าราชการชั้นสัญญาบัตรไม่น้อยกว่า ๔ นาย และสตั วแพทย์ ๑ นาย เป็นอยา่ งนอ้ ย หลักการสารวจใหค้ ณะกรรมการปฏิบัติดังนี้ ๒.๑ สตั ว์พาหนะหน่วยใดมียอดเดิมชนิดใด เทา่ ใด มีตัวจรงิ ในขณะนน้ั เทา่ ใด ขาดจานวนเท่าใด ๒.๒ สัตวพ์ าหนะทม่ี ีอยู่นน้ั รา่ งกายสมบูรณ์ ใช้ราชการได้ทุกตัวหรือเจ็บปุวย ทรุดโทรมหรือชราจนไม่ สามารถใช้ราชการไดจ้ านวนเทา่ ใด ๒.๓ สัตว์พาหนะชนิดใดของหน่วยใด ยังขาดอัตราเท่าใด ควรจัดหาเพิ่มเติมอีกเท่าใด แล้วรายงาน ผลการสารวจเสนอตัง้ กรรมการ ๓. ห้ามมใิ ห้นาสตั วพ์ าหนะไปให้บุคคลอ่ืนใดเช่าหรือยืมไปประกอบกิจการต่าง ๆ อันเป็นประโยชน์ส่วน บุคคล เว้นแต่กรณีอันเก่ียวกับการส่งเสริมบารุงสัตว์ ซึ่งเป็นหน้าท่ีของกรมการสัตว์ทหารบกต้องพิจารณา ดาเนินการตามระเบียบท่กี าหนดไว้สาหรับกจิ การนั้น ๆ ๔. ให้ ผบ.หน่วยเทียบช้ัน ผบ.พล แจ้งผลการสารวจสัตว์พาหนะประจาปี พร้อมด้วยบัญชีรายช่ือสัตว์ พาหนะ ท่อี ยใู่ นวนั สารวจนั้นตอ่ กส.ทบ. ภายในเดือน กุมภาพันธ์ ทุกปี ๕. ให้กรมการสัตว์ทหารบกเป็นเจ้าหน้าที่รวบรวมรายงาน พิจารณาขอตั้งวงเงินงบประมาณจัดหาสัตว์ พาหนะตามทีก่ าหนดไว้ ๖. เพ่ือให้สุขภาพของสัตว์พาหนะทุกตัว ได้อยู่ในสภาพม่ันคงแข็งแรงและทนต่อการตรากตรางาน ให้ ผู้บังคับบัญชาเอาใจใส่สอดส่องดูแล และกวดขันการปฏิบัติบารุงของผู้ใต้บังคับบัญชา ให้ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบงั คับกล่าวคือ ๖.๑ ต้องกินอาหารทม่ี คี ุณภาพดสี มบรู ณ์ตามอัตราในระเบยี บนี้

๑๕ ๖.๒ สัตว์พาหนะตัวใดมีร่างกายทรุดโทรม ซูบผอมหรือเจ็บไข้ซึ่งจะหวังพ่ึงแก่การรักษาทางยาย่อม ได้ผลชา้ ควรจัดหาอารพิเศษเลี้ยงดูดว้ ย ๖.๓ ในวันหนง่ึ ๆ โดยเฉพาะม้าทุกตัวจะต้องออกกาลังกายด้วยการเดินหรือวิ่ง ไม่ต่ากว่าวันละครึ่ง ชัว่ โมงและนาออกล่ามในสนามหญ้าในตอนเช้าเย็น ๗. ห้ามนาม้าออกไปขี่ภายนอกบริเวณโรงทหาร เว้นแต่กรณีที่เกี่ยวกับการฝึก หรือกิจการอันเกี่ยวกับ การส่งเสรมิ บารุงพนั ธมุ์ า้ หรอื กจิ การทเี่ ก่ียวแก่สโมสรของกองพันทหารม้าให้ ผบ.หน่วย เทียวชั้น ผบ.พัน พิจารณา ผ่อนผันตามสมควร แต่ถ้าม้านั้นต้องประสบอันตรายถึงล้มตายหรือบาดเจ็บสาหัส ก็ให้ต้ังคณะกรรมการสอบสวน ความเห็น ว่าควรจะชดใชห้ รือลงโทษสถานใดหรือควรผ่อนผนั เพียงใด ๘. น้าหนักของสัตว์พาหนะย่อมเล่ือมล้าต่าสูงกันเสมอ แม้แต่สัตว์ขนาดเดียวกัน ดังนั้น จึงให้ถือเกณฑ์ น้าหนักของสัตว์ ท่มี ีสาภาพอยู่ในลักษณะสมบูรณ์อ้วนไม่ซูบผอมเกนิ ไปโดยประมาณ ดงั น้ี ๘.๑ มา้ เมอื งไทย พื้นเมอื ง ลง ลอ่ ขนาดตา่ สูงตัง้ แต่ ๑.๒๕ - ๑.๓๕ ม. นา้ หนกั ตัวประมาณ ๑๔๐ - ๒๔๐ กก. ๘.๒ ม้า ลา ล่อ ขนาดเลก็ สูง ต้งั แต่ ๑.๒๕ - ๑.๓๕ ม. มนี ้าหนกั ตวั ประมาณ ๑๘๐ - ๒๘๐ กก. ๘.๓ มา้ ลา ลอ่ ขนาดกลาง สูง ตง้ั แต่ ๑.๓๖ - ๑.๔๗ ม. มีน้าหนักตัวประมาณ ๒๘๐ - ๓๘๐ กก. ๘.๔ ม้า ลา ลอ่ ขนาดใหญ่ สูง ต้งั แต่ ๑.๔๘ - ๑.๖๐ ม. มนี ้าหนักตัวประมาณ ๓๖๐ - ๕๐๐ กก. ๘.๕ โค กระบือ พืน้ เมือง ขนาดสงู ไมเ่ กนิ ๑.๒๕ ม. มีน้าหนกั ตวั ประมาณ ๒๔๐ - ๓๐๐ กก. ๘.๖ โค กระบือขนาดใหญ่ ขนาดสูงไม่เกิน ๑.๒๕ ม. ขน้ึ ไปมนี ้าหนกั ตัวประมาณ ๓๐๐ - ๔๕๐ กก. ๙. หน้าที่ของสัตว์พาหนะดังกล่าวโดยท่ัวไปย่อมเก่ียวกับการขับข่ีรับน้าหนักบรรทุกต่างเทียมลากต่าง ๆ จึงจาเป็นต้องทราบข้อพิจารณาในสมรรถภาพสัตว์ และลักษณะส่ิงของท่ีสัตว์จะต้องบรรทุกหรือลากเข็น เพื่อมิให้ เป็นการทรมาน และทาลายสตั วโ์ ดยใช้หลกั เกณฑ์ดงั นี้ ๙.๑ ต้องพิจารณาลกั ษณะประจาตวั ของสตั วท์ ี่จะปฏิบัตงิ านคือ ๙.๑.๑ นา้ หนักตวั ของสตั ว์ สตั ว์ที่มนี า้ หนกั สูงย่อมบรรทกุ ของไดม้ ากกว่าสัตวท์ ่มี ีน้าหนักตวั น้อย ๙.๑.๒ ความสงู ของร่างกายและกลา้ มเน้ือตามปกติสัตว์ที่ล่าสันย่อมจะมีสมรรถภาพในการใช้งาน สงู กวา่ ๙.๑.๓ การฝึกสัตว์อดทนและชินต่องาน ข้อน้ีถึงแม้ว่าสัตว์จะล่าสันดีแต่ถ้าหากไม่ชินต่องานหนัก มากอ่ น เมื่อมารับงานหนักทันทีจะเป็นอันตรายต่อรา่ งกายมาก ๙.๒ ตอ้ งพจิ ารณาลกั ษณะของวตั ถุที่ใช้บรรทกุ ลากเขน็ ๙.๒.๑ วัตถุคานวณไว้ต่อไปน้ี ให้ถือว่าเป็นน้าหนักแท้ของวัตถุที่สัตว์จะบรรทุกได้โดยมิได้ เก่ียวกบั น้าหนักตวั ของสัตว์เอง ๙.๒.๒ วัตถุเทียมลากในที่น้ีหมายถึงการเทียมลากที่ใช้ล้อเล่ือนเป็นพาหนะเท่านั้น จะต้องคิด รวมน้าหนักของล้อเลื่อนนั้นด้วย ๙.๓ ใหพ้ ิจารณาสภาพแวดล้อมและงานจะต้องลดนา้ หนกั บรรทุกหรือเทยี มลากลงในเมื่อ ๙.๓.๑ สัตว์ตอ้ งทางานหนกั ตดิ ต่อกันหลายชั่วโมง โดยไม่มกี ารพักผอ่ น ๙.๓.๒ ทางท่สี ตั ว์เดนิ เปน็ ทางวิบาก เชน่ โขดเขา ห่มโคลน ทราย เปน็ ตน้ ๙.๓.๓ สัตว์ต้องการใช้กาลังเรง่ เม่ือต้องการใหส้ ตั ว์ว่ิงเร็วขึ้นต้องลดน้าหนักบรรทุกหรือฉุดลากให้ นอ้ ยลงตามลาดับ

๑๖ เกณฑ์นา้ หนกั ของสง่ิ ของทจ่ี ะให้สตั ว์บรรทุกหรือฉดุ ลากนัน้ ให้เปน็ ไปตามกฎเกณฑด์ ังน้ี ๑. มา้ น้าหนกั บรรทกุ หรอื น้าหนักฉุดลากมดี งั นี้ ๑.๑ นา้ หนกั บรรทุก สามารถรบั น้าหนักบรรทุกได้ ๑/๓ ของน้าหนกั ตวั ๒. ลา ล่อ นา้ หนกั บรรทุกหรอื นา้ หนกั ฉดุ ลากดังน้ี ๒.๑ นา้ หนกั ฉดุ ลาก ไมเ่ กิน ๒ เทา่ ของน้าหนกั ตวั ๓. โค กระบอื น้าหนกั บรรทกุ หรอื ฉดุ ลาก ดงั น้ี ๓.๑ นา้ หนกั บรรทกุ สามารถรับน้าหนกั ไดถ้ ึง ๑/๓ ของนา้ หนักตัว ๔. ความสามารถในการเดินทางของสตั วพ์ าหนะตา่ ง ๆ มีดังนี้ ๔.๑ มา้ ขี่ขนาดต่า และขนาดเลก็ เดนิ ทางไดช้ ่ัวโมงละ ๖ - ๗ กม. ในวนั หนึง่ เดินทางได้ประมาณ ๓๐ - ๔๐ กม. ๔.๒ ม้าข่ี ขนาดกลาง และใหญ่ เดนิ ทางได้ช่วั โมงละ ๖ - ๗ กม. ในวนั หน่งึ เดนิ ทางได้ประมาณ ๓๕ - ๔๕ กม. อย่างสงู ไม่เกิน ๕๐ กม. ๔.๓ ม้า ลา ล่อ และ โค กระบือ บรรทุกต่างเดินทางได้ชั่วโมงละประมาณ ๔ - ๕ กม. ในวันหน่ึง เดินทางไดป้ ระมาณ ๓๐ - ๓๕ กม. ๔.๔ โค เกวียน เดนิ ทางไดช้ ั่วโมงละประมาณ ๓ - ๔ กม. ในวนั หนง่ึ เดินทางไดป้ ระมาณ ๒๐ - ๒๕ กม. การบารุงสตั ว์พาหนะในราชการทหาร การเลีย้ งและระวงั รักษา ๑. ให้ ผบ.ชา ช้ัน ผบ.พนั เป็นผกู้ าหนดวางระเบียบการเลี้ยงระวังรักษาสัตว์พาหนะในหน่วยของตนให้ได้รับ การเลี้ยงดู การอนามัย และการปอู งกันความสญู หายหรืออบุ ตั ิเหตุใด ๆ ใหร้ ัดกมุ ๒. การแบง่ ประเภทของสตั วด์ งั น้ี ๒.๑ สตั วผ์ ู้ตอน ๒.๒ สตั วผ์ ฝู้ ัก ๒.๓ สตั ว์เมีย ๒.๔ ลกู สตั ว์ สัตว์ท้ัง ๔ ประการนี้ ให้พิจารณาการล่ามหรือปล่อยเลี้ยงโดยถือเกณฑ์ว่า ถ้าเลี้ยงด้วยวิธีปล่อย ไมส่ ะดวกดว้ ยประการใด ๆ แลว้ ต้องใชว้ ธิ ลี ่ามเสมอ ทั้งนีต้ ้องคานึงถงึ ภูมปิ ระเทศและเหตกุ ารณด์ ว้ ย ๓. ผบ.ชาช้ัน ผบ.มว. เป็นผู้รับผิดชอบในการเล้ียงดูและระวังรักษาสัตว์ภายในหมวดของตนเองโดยเฉพาะ แยกสัตวท์ ซี่ ูบผอมเจบ็ ปวุ ยมาทาการเลีย้ งดู และรกั ษาเป็นกรณีพเิ ศษนอกเหนือจากที่ ผบ.ร้อย ไดป้ ฏบิ ตั ิแล้ว ๔. การนาสัตว์ออกจากคอก เมื่อเลี้ยงด้วยวิธีล่ามหรือปล่อยเล้ียงเป็นฝูงจะต้องจัดผู้ระวังรักษาโดยถือเกณฑ์ คนเล้ียงหนง่ึ คนจะต้องดแู ลสตั ว์ที่เลยี้ งไว้ไม่เกิน ๓๐ ตวั ๕. ผู้ควบคุมการนาสัตว์ออกเลี้ยง จะต้องตรวจตราต้ังแต่สัตว์ออกจากคอกขณะไปล่ามและเล้ียงในที่ ๆ มี หญา้ ดีจรงิ ๆ ตลอดจนการนากลบั เข้าคอกโดยเรียบรอ้ ย

๑๗ ๖. การนาไปเลี้ยงหรือกลับจากเล้ียง ห้ามมิให้ใช้ฝีเท้าสัตว์อย่างเร่งรีบโดยไม่จาเป็น เป็นอันขาด เพราะจะ ทาให้สตั ว์แตกกระจายเปน็ อนั ตรายและเหนด็ เหน่ือย ๗. การนาสตั วอ์ อกจากคอกเปน็ หมู่ หมวด กองร้อย กองพัน ให้ ผบ.ชา ของหนว่ ยนน้ั ๆ เปน็ ผู้ควบคุม ๘. ทุก ๆ ครั้ง หลังจากที่ให้สัตว์ปฏิบัติงานเสร็จในคร้ังหน่ึงหรือเลิกจากการใช้ก่อนท่ีจะให้สัตว์ได้รับการ พักผอ่ น หรอื นาสตั วเ์ ข้าคอก ต้องทาการปรนนิบัติบารุงให้ถูกต้องตามหลักวิทยาการเสียก่อนดังนี้ ปลดส่ิงของที่อยู่ บนหลงั ออก หรอื ผู้ขล่ี งจากหลงั ผ่อนเคร่อื งรัดกุมสตั ว์ เชน่ หย่อนสายรัดทึบ และขยับท้ายอานให้อากาศเข้าหลาย ๆ คร้ัง ๘.๑ จงู สัตวใ์ ห้หายเหนอื่ ยประมาณ ๑๐ นาที ๘.๒ ปลดอานและผา้ ปูหลังออกจากหลงั นาไปผ่ึงใหเ้ หงือ่ แหง้ แล้วใช้ฝาุ มอื ขย้ีตามหลังบริเวณเคร่อื งบรรทุ วางอยู่เพือ่ ให้โลหิตเดนิ สะดวก ๘.๓ ใชฟ้ างหรือหญา้ แหง้ หรอื เศษผา้ ก็ได้ เขด็ ตามตวั ให้แห้ง ใหต้ ัวสตั วส์ ะอาด ๘.๔ ควรทาการดดั ขาตามวิธี ขาละประมาณ ๒ - ๓ ครงั้ เพ่อื ใหส้ ตั ว์หายเมือ่ ยลา้ ๘.๕ ผูกหรือลา่ มไวใ้ นท่ีร่มเย็นและอากาศดี และนาเขา้ คอก ๘.๖ ให้น้าสะอาดหลังจากใช้งานแลว้ ประมาณไม่นอ้ ยกว่า ๓๐ นาที ๘.๗ หลงั จากให้น้าประมาณ ๓๐ นาที จงึ ใหก้ นิ ข้าว เร่อื งอาหารมา้ อาหารสัตว์ทเ่ี รานามาเลี้ยงดูหรอื มีอยู่ ตอ้ งมีประโยชน์ซึง่ จะทาให้มีความเจริญเติบโตแข็งแรง เรื่อง อาหารสัตว์เป็นท่ีกว้างขวางมาก และมีการทดลองค้นคว้าทดลองให้สัตว์กินเพ่ือดูผลเสมอ คาว่าอาหารน้ีเป็นสิ่งท่ี สตั ว์สามารถกนิ เขา้ สรู่ ่างกายไดโ้ ดยไม่เป็นพิษ และเมอื่ กินเข้าไปแลว้ มีคณุ สมบัตหิ ล่อเล้ียงรา่ งกายเชน่ ๑. ตอ้ งไม่เป็นพษิ และมเี ชอื้ โรคเจือปน ๒. มีแรธ่ าตุเข้าไปหลอ่ เลยี้ งร่างกาย ๓. สะดวกในการกินและการย่อย ๔. หายได้งา่ ยและลดต้นทนุ อาหารตา่ ง ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ ชนิดใดก็ตามส่วนประกอบของอาหารแบ่งเปน็ ๕ จาพวก คอื ก. นา้ ข. คารโ์ บไฮเดรท ค. ไขมนั ง. แร่ธาตุ ส่วนประกอบของอาหารแตล่ ะหมปู่ ระกอบดว้ ยอาหารที่มสี ว่ นประกอบทางเคมเี หมือนกนั อกี เปน็ จานวนมาก เราเรยี กวา่ สว่ นประกอบยอ่ ยของอาหารเหลา่ น้ีว่า “โภชนะ”

๑๘ แผนภูมปิ ระกอบอาหาร อาหาร น้า วตั ถแุ หง้ คาร์โบไฮเดรท ไขมัน โปรตีน แร่ธาตแุ ละเกลอื ๑. อาหารจาพวกโปรตีน มีในอาหารทุกชนิดที่มีเนื้อปน จะมากหรือน้อยแล้วแต่ชนิดของอาหาร เช่น ปลา นม ไข่ และโปรตีนจากพืช เช่น กากถั่ว ข้าวหรือข้าวโพด หน้าที่เก่ียวกับอาหารประเภทโปรตีน เกี่ยวกับร่างกาย สัตว์นน้ั คือ ช่วยบารงุ ร่างกายหรือซ่อมแซมส่วนทส่ี ึกหรอใหก้ ลบั คนื สู่สภาพเดิม ทาให้ร่างกายได้รับความร้อน ทาให้ ไดพ้ ลังงาน และสดุ ทา้ ยเปล่ยี นไขมันได้ ถา้ เกินความตอ้ งการของร่างกาย ๒. อาหารจาพวกแห้ง มมี ากในพืช เช่น ข้าวต่าง ๆ ท่ีมีน้อยในอาหารจาพวกเนื้อสัตว์ อาหารจาพวกแปูงนี้ ทาประโยชน์แบบพวกเน้ือ ทาให้เกิดความร้อนเป็นพลังงานของร่างกาย หรือเปล่ียนเป็นน้าตาลต่าง ๆ และ สุดท้ายกเ็ ปน็ ไขมนั คารโ์ บไฮเดรทแบง่ เปน็ ๒ พวก - พวกยอ่ ยงา่ ย เช่น ข้าวโพด และมัน - พวกย่อยยากเปน็ สายเยอ่ื ใย ได้แก่ เซลลโู ลส มีมากในพวกหญา้ ๓. อาหารจาพวกไขมันได้มาจากไขมันสัตว์ และไขมันพืชต่าง ๆ ร่างกายจาเป็นต้องมีอาหารจาพวกน้ี เพ่ือ ทาให้เกิดความร้อนเป็นพลังงานมากกว่าพวกอื่น ๆ เป็นฉนวนกันความหนาว ทาหน้าที่กันการกระทบกระเทือน จากภายนอก เป็นตัวละลายและดูดซมึ วิตามนิ บางชนดิ เช่น วิตามนิ เอ ดี อี และ เค ๔. อาหารจาพวกแร่ธาตุ หรือเกลือนับว่าสาคัญเหมือนกัน เพราะส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น โลหิต กระดูก กล้ามเน้ืออวัยวะต่าง ๆ ต้องการแร่ธาตุเกลือทั้งสิ้น ถ้าขาดจะทาให้สุขภาพเสื่อม โลหิตจาง กระดูกไม่แข็ง หนา้ ทข่ี องน้าในรา่ งกาย ๕. เป็นสื่อกลางทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย เช่น การย่อย การดูดซึมการเปล่ียนแปลงสายต่าง ๆ ใน รา่ งกาย ๖. เปน็ ตัวโภชนาตา่ ง ๆ ท่ียอ่ ยแล้วไปเลีย้ งส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย และลาเลยี งของเสยี ออกจากร่างกาย ๗. ชว่ ยปรับและรกั ษาระดบั อุณหภมู ใิ นร่างกายใหค้ งท่ี ๘. เป็นตัวปูองกันการกระทบกระเทือนของเซลล์ร่างกาย เพ่ือทาให้เกิดการยืดหยุ่นตามธรรมชาติแหล่งท่ีมี ของนา้ ๙. ไดม้ าจากการดืม่ โดยตรง ๑๐. ได้จากนา้ ในอาหาร อาหารอวบน้าไดด้ มี าก เช่น หญา้ สด ๑๑. ไดจ้ ากการสลายตวั ของอาหารภายในร่างกาย เชน่ คารโ์ บไฮเดรท ไขมัน ความต้องการน้าของม้าข้ึนอยู่กับสภาพอากาศและชนิดของอาหารท่ีสัตว์กิน โดยม้าต้องการน้า วันละ ๖๐ - ๗๐ ลิตร และถ้าสัตว์อดอาหาร ๒๐ วัน สามารถมีชีวิตอยู่ได้ ๗ วันเท่าน้ัน นอกจากอาหารพวกต่าง ๆ แลว้ วิตามนิ และเกลอื แรต่ ่าง ๆ ถ้าสัตว์ขาดแล้วก็อาจทาให้เกิดโรคหรือทาให้สุขภาพเสื่อมโทรมทันทีวิตามินท่ี นกั วิทยาศาสตรพ์ บโดยแยกจากอาหารต่าง ๆ น้นั มีมากมายหลายขนาด ก็ทาหนา้ ที่ทาประโยชน์แตกต่างกัน

๑๙ เป็นท่ีทราบกันแล้วว่า อาหารของม้ามักเป็นพวกพืช แต่นอกจากอาหารจาพวกพืชแล้ว ยังมี อาหารพเิ ศษต่าง ๆ ซึง่ ช่วยบารงุ ร่างกายให้เจริญเตบิ โตรวดเรว็ ดงั น้ันจงึ แบ่งอาหารทมี่ ้ากินได้เปน็ ๖ ชนดิ คอื ๑๒. อาหารจาพวกข้าว มอี ย่มู ากมายหลายชนดิ พวกกินแลว้ ไดป้ ระโยชน์ไดแ้ ก่ ขา้ วโพด ขา้ วเปลือก ขา้ วสาลี ขา้ วโอต๊ ๑๓. อาหารจาพวกถวั่ นับวา่ เป็นอาหารบารุงร่างกายที่นิยมกิน เชน่ ถั่วลิสง ถั่วเหลอื ง ถัว่ เขยี ว ถ่วั ขาว ๑๔. อาหารจาพวกรา ได้แกร่ าขา้ วเจ้าแบง่ ออกเป็น ๒ ชนิด ราละเอยี ด ราหยาบ ๑๕. อาหารจาพวกหญ้า เป็นอาหารหลักทาให้อ่ิมท้อง มีหญ้าต่าง ๆ ที่นิยมให้ม้ากิน เช่น หญ้าแพรก หญ้า ขน หญ้าใบขาว หญ้าหางกระรอก เป็นต้น หญ้านอกจากจะกินสด ๆ สามารถเก็บไว้เป็นหญ้าแห้ง เพื่อเก็บไว้ กินหน้าแลง้ ไดน้ าน ๆ ๑๖.อาหารพเิ ศษจดั ว่าจาเป็นอยู่เช่นกัน ได้แก่ เกลือต่าง ๆ กระดูกปนุ เลอื ดแหง้ เปลอื กหอยปุน ๑๗. อาหารบารงุ มี นม ไข่ และนา้ ตาล ซ่ึงนบั ว่าจาเปน็ หลกั การให้อาหารสตั ว์ ๑. ข้าวเปลอื ก ต้องเปน็ ข้าวทีไ่ ม่เสยี และขึน้ รา ปราศจากฝุนละออง ถ้ามีฝุนละออง ควรล้างน้าเสียก่อนหรือ ฝดั กอ่ น และปนราปนหญ้า ปนเกลอื พอประมาณ (๑๕ กรัม) ผสมให้กินวันละ ๒ ม้ือ เช้าและเย็น ถ้าม้าไม่เคยกิน ข้าวเปลือกเลยคร้ังแรกควรใส่เล็กน้อย เพ่ือให้กระเพราะเคยชิน มิฉะนั้นอาจเกิดอาการท้องเสียหรือแน่นขึ้นกับม้า ได้ ๒. รา ควรให้ราโรงสอี ย่างละเอียดเพราะมีเชื้ออาหารและย่อยง่าย เวลาให้กินควรดูสิ่งเจือปนและดูว่าเหม็น อับหรือไม่ และเราจะให้ม้ากินอย่างเดียว คือ ม้าท่ีเป็นโรคกระดูกพิการ เช่น โรคหน้าบวม ควรให้กินแทน ขา้ วเปลอื กหรอื ลดจานวนข้าวเปลือกแลว้ เพมิ่ ราแทน และมา้ ปุวยเร้ือรัง ม้าที่ร่างกายทรุดโทรม และตรากตรา ม้าที่ ไม่เคยกินราอาจมีอาการท้องเสียได้ ควรเริ่มกัดกินโดยปนกับข้าวเปลือก ๒ - ๓ กามือ แล้วเพ่ิมข้ึนเร่ือย ๆ ตาม ธรรมดาวันหน่งึ ไมค่ วรเกนิ ๓ กก. ๓. หญ้าแห้ง ควรเป็นหญ้าท่ีดีคือเป็นหญ้าค้างปี เวลาให้กินควรตัดเป็นท่อน ๆ ยาว ประมาณ ๒ - ๓ ซม. คลุกปนราและขา้ ว ก่อนให้กิน นาหญา้ มาขยายออกเก็บหนามและสง่ิ เจอื ปนออกนาใหส้ ตั วก์ ินตลอดเวลา ๔. หญ้าสด สาหรับสัตว์ที่มีร่างกายอ่อนแอหรืออวัยวะย่อยอาหารไม่ปกติหรือม้าแม่ลูกอ่อนส่วนม้าที่ สมบูรณ์อาจปลอ่ ยให้แทะเล็มหญา้ ในแปลงได้ ๕. เกลอื ท่ใี หก้ ินคือเกลอื สินเธาว์ หรือธรรมดาผสมข้าวเปลือกกิน ม้ือละประมาณ ๑๕ กรัม หรือปล่อยให้ เลียเองในรางข้าว ๖. น้า ควรให้กินก่อนกินข้าวประมาณ ๓๐ นาทีเป็นอย่างน้อย และน้าต้องสะอาด ไม่ร้อนหรือเย็นเกินไป วันหน่ึงประมาณ ๔ ครั้ง คือ เวลา ๐๖๐๐ , ๑๑๐๐ , ๑๘๐๐ และ ๒๑๐๐ ในขณะเดินทางเวลากินควรให้กินแต่ น้อย หลงั เดินทางควรให้กนิ อกี แลว้ จงู ใหเ้ หง่ือแห้ง อาหารปกติและอาหารพเิ ศษ สาหรับ มา้ ลา ล่อ อาหารปกติ ได้แก่อาหารท่ใี หม้ า้ ลา ลอ่ กนิ ดารงชีพ เพือ่ ใหเ้ ผาผลาญไปสร้างกาลังให้แก่ร่างกาย อันไดแ้ ก่ ขา้ วเปลือก ราละเอยี ด เกลอื หญ้าแห้ง ปลาปุน หญา้ สด

๒๐ อาหารพิเศษ ได้แก่อาหารท่ีใช้ให้ม้า ลา ล่อ กินเป็นการบารุงร่างกาย สาหรับสัตว์ท่ีใช้งานมาก เปน็ พเิ ศษ และสาหรับเจบ็ ปุวย หรอื สัตวฟ์ นื้ ไข้ สัตวใ์ หน้ มลกู สัตว์อายุนอ้ ยหรอื มากเกินไปอาหารเหลา่ นีไ้ ด้แก่ กากถว่ั ตา่ ง ๆ เช่น ถวั่ เหลอื ง ถัว่ ลิสง ถ่ัวเขยี ว ข้าวโพดปนุ นม เกลือแร่ น้าตาล อัตราการให้อาหารม้า ในปัจจุบัน อาศัยคาส่ังกองทัพบก (เฉพาะ) ที่ ๑๔๔๗/๒๕ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๕ ผนวก ก.และ ผนวก ข.ที่แนบผนวก ก. (ประกอบ คาสง่ั ทบ.(เฉพาะ) ที่ ๑๔๔๗/๒๕ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๕ (เกณฑ์การจ่ายอาหารสัตว์ (มา้ ,ลา,ล่อ) ใช้ผสมพันธุใ์ น ๑ วัน) ประเภทสัตว์ นน.ตวั ข้าวเปลือก อาหารสาเร็จรปู จ่ายอาหาร เปลอื กหอยปนุ พ่อมา้ , พอ่ ลา ประมาณ (กก.) กก. กก. กก. เกลือ หญา้ แห้ง กก. กก. แม่ม้าแม่ลาท้อง ๓๐๐ ขึ้นไป ๔ ๑.๕ ๐.๐๕ ๕ ๐.๐๒๕ แม่มา้ แม่ลา ๔๐๐ ขน้ึ ไป ๔ ๑.๕ ๐.๐๕ ๕ ๐.๐๒๕ แม่ลกู อ่อน ๓๐๐ – ๔๐๐ ๔ ๑๑ ๐.๐๔ ๔ ๐.๐๒๕ แมม่ ้า แม่ลา ตา่ กว่า ๓๐๐ ๓ ๑ ๐.๐๓ ๓ ๐.๐๒๕ ผสมพันธ์ุ ลูกม้า ลกู ลา หย่านมแล้ว ม้า,ลา,ล่อ รุน่ หมายเหตุ ๑. ถ้าข้าวเปลือกไมม่ ีให้ใช้อาหารสาเร็จรปู แทนอตั รา ๒ กก./นน. ๑๐๐ กก. กับให้งดเกลอื และเปลือก หอยปนุ ๒. ถา้ อาหารสาเรจ็ รูปขาดแคลนให้ใช้รา,ข้าวโพด,ขา้ วเปลอื ก ตามลาดับแทนในอตั รา ๑/๑ โดย นา้ หนัก ๓. การทดแทนตามข้อ ๑ และ ๒ ให้ใชก้ รณีทจี่ าเป็นเทา่ น้ัน ๔. ควรเกย่ี วหญ้าสดใหก้ นิ ๖ - ๑๐ กก./ตัว/วนั หรือปลอ่ ยเล้ยี งในแปลงแทะเลม็ ๕. การผสมอาหารตอ้ งผสมคลุกเคลา้ ทงั้ อาหารสาเร็จรปู ขา้ วเปลือกและหญา้ แหว้ ห่ันวันละ ๑ กก./ตวั ๖. ถ้าสัตว์ทอ้ งอ่อน หรอื แมล่ ูกอ่อนควรเพิ่มหญา้ สดให้

๒๑ ผนวก ข. (ประกอบคาส่งั ทบ.(เฉพาะ) ท่ี ๑๔๗๗/๒๕ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๕ เกณฑก์ ารจา่ ยอาหารสตั ว์ (มา้ ลา ล่อ) ใช้งานใน ๑ วัน ประเภท นา้ หนกั ตวั ขา้ วเปลือ อาหารสาเรจ็ รูป เกลือ หญา้ แห้ง เปลอื กหอย ประมาณ ก กก. กก. กก. ปนุ กก. เกณฑ์ปกติ กก. ม้า ลา ลอ่ ๓๐๐ ขนึ้ ไป ๔ ๑.๕ ๐.๐๕ ๕ ๐.๐๒๕ ตา่ กว่า ๒๐๐ ๓ ๑ ๐.๐๓ ๓ ๐.๐๒๕ เกณฑ์ในสนาม ๔๐๐ ขน้ึ ไป ๖ - ๐.๐๘ - - ม้า ลา ลอ่ ๓๐๐ – ๔๐๐ ๕ - ๐.๐๖ - - ต่ากว่า ๓๐๐ ๔ - ๐.๐๕ - - หมายเหตุ ๑. ถ้าข้าวเปลือกไม่มีให้ใชอ้ าหารสาเรจ็ รูปแทนในอัตรา ๑ กก/นา้ หนกั ตวั ๑๐๐ กก. กบั ใหง้ ดเกลือและ เปลือกหอยปนุ ๒. ถ้าอาหารสาเรจ็ รูปขาดแคลนใหใ้ ชร้ า,ขา้ วโพด,ข้าวเปลือก ตามลาดับแทนในอัตรา ๑/๑ โดยน้าหนกั ๓. การทดแทนตามข้อ ๑ และ ๒ ให้ใชก้ รณีที่จาเป็นเทา่ น้ัน ๔. หากเก่ยี วหญ้าสดให้กนิ ไดไ้ มเ่ กิน ๔ กก./ตวั /วนั หรอื ปล่อยแปลงเลี้ยงในสนามในแปลงหญา้ แทะเล็มท่ี อุดมสมบรู ณ์ได้ตลอดวนั ใหล้ ดข้าวเปลอื กได้ ๑ กก. ๕. การผสมอาหารต้องผสมคลุกเคลา้ ทง้ั อาหารสาเรจ็ รูป ข้าวเปลือกและหญ้าแห้งนน้ั วันละ ๑ กก./ตวั

๒๒ อายุรศาสตร์ ที่กลา่ วถึงต่อไปนเ้ี ป็นวิชาทีก่ ล่าวถึงโรคต่าง ๆ ของสตั ว์โดยเฉพาะ ความถึงสาเหตุและอาการ การ ทานายหรือการคาดโรควา่ สตั ว์จะมีอาหารโรคถงึ ตายหรือไม่ การรกั ษาและการปูองกันโรค โรคของสตั ว์แบ่งออกเป็น ๒ ชนิดตามลักษณะของโรค ๑. โรคระบาด ๒. โรคธรรมดา ๑. โรคระบาด คือ โรคทเี่ กิดจากเชื้อโรคอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วติดต่อจากสัตว์อีกตัวหนึ่งไปอีกตัวหนึ่ง ได้โดย วิธีแตกต่างกนั สุดแล้วแตช่ นดิ ของเชื้อโรค ซ่ึงโรคระบาดสตั วอ์ าจแพรห่ ลายไดด้ ้วยวธิ ีตา่ ง ๆ กนั คือ ๑. เช้ือท่ีไปกับส่ิงท่ีขับถ่ายออกมา เช่นน้ามูก น้าลาย ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดจนหนองจากแผลเรื้อรัง ของฝี และการกระจายไปตามนา้ และอาหาร ๒. เชือ้ ท่ีตดิ ไปกับแมลงดดู เลอื ด โดยแมลงดูดเลือดสตั วป์ วุ ยท่ีมีเชือ้ โรคเขา้ ไปแล้วไปกัดสัตว์ทเี่ ป็นโรค ๓. เชื้อตดิ ไปกับสัตว์ เชน่ สนุ ัข หนู นก ทไ่ี ปกินสัตว์ที่ตาย เชือ้ โรคกต็ ดิ เข้าไปกบั สตั ว์ ๔. สัตว์บางตัวเป็นโรคระบาดเร้ือรังไม่แสดงให้เห็น ทางานบางประเภทได้ แต่มีเช้ือในตัว เมื่อไปรวมกับ สัตว์เลีย้ ง ก็อาจติดเชอ้ื โรคได้ โรคเข้าสรู่ ่างกายสัตวต์ ามทางต่าง ๆ ได้ดงั น้ี - ทางปาก ตดิ ไปอาหารและน้า - ทางจมูก หายใจเอาฝุนละออง - ทางบาดแผล รอยถลอกของผวิ หนัง และเยอ่ื เสมหะต่าง ๆ - ทางอวัยวะสืบพันธุ์ เน่อื งจากการสบื พันธุ์ - ฉีดเขา้ ทางรา่ งกายเพ่ือการทดลองต่าง ๆ ๒. โรคธรรมดา คือโรคทไ่ี ม่ใช่โรคตดิ ต่อ เกิดขน้ึ เนื่องจากสภาวะของอวยั วะตามระบบต่าง ๆ ทางานผิดปกติ อาจจะมกี ารติดเช้ือหรือไม่ก็ได้ และเป็นกบั สตั ว์เฉพาะตวั ไมม่ กี ารเผยแพรไ่ ปยังตัวอน่ื โรคอาจแยกออกไดต้ ามลักษณะความรุนแรง แบง่ ออกเป็น ๔ ชนิด คือ ๑. ชนิดรา้ ยแรง หมายถึง สัตวท์ ่เี ปน็ โรคอยา่ งกะทนั หันและระยะเวลาการเป็นสิน้ สุดลงในเวลาไม่ก่วี นั ๒. ชนิดอ่อน หมายถึง สัตว์เป็นโรคอย่างช้า ๆ ไม่กะทันหันและระยะการเป็นโรคอาจติดเรื้อรังไปเป็น สปั ดาห์หรอื หลายสปั ดาห์ ๓. เรอื้ รงั หมายถงึ สตั ว์เป็นโรค เป็นเวลาหลายสัปดาห์หรือเปน็ เดือน และไมม่ กี าหนดหายแน่นอน บางราย ไมม่ ีอาการใหเ้ หน็ แต่มีเชื้ออยู่ เชน่ โคเปน็ โรคเซอร่า สาเหตุชกั นาให้สตั ว์เปน็ โรคหลายอย่างด้วยกัน ๑. การเปลี่ยนแปลงทางอากาศ เช่น อากาศหนาวเป็นอากาศร้อนอย่างกะทันหันโดยที่ร่างกายปรับ สภาพไม่ทัน ทาให้ร่างกายอ่อนแอ ความแห้งแล้ง ความช้ืน ความกดดันของอากาศส่ิงเหล่าน้ีถึงปรับตัวได้ก็ต้อง อาศยั เวลา ๒. อากาศทใ่ี ชห้ ายใจ เชน่ ขังในคอกทีจ่ ากดั อากาศบริสุทธิ์ทใี่ ชห้ ายใจไมเ่ พยี งพอ สตั วห์ ายใจไม่ สะดวก จึงเป็นช่องทางทาให้เกิดโรคเก่ียวกับช่องทางเดินลมหายใจ อากาศท่ีมีฝุนละอองก็เพ่ิมการระคายเคืองต่อ ระบบหายใจและเปน็ ช่องทางทาใหเ้ กดิ โรครา้ ยแรงเขา้ สรู่ า่ งกายของสัตวไ์ ดง้ ่ายทางหายใจและอาหาร

๒๓ ๓. พนื้ ดิน พนื้ ทชี่ น้ื และเปียก ย่อมเปน็ แหลง่ เพาะพันธเ์ุ ช้ือโรคมากกว่าทแี่ หง้ ซง่ึ เชือ้ โรคเขา้ สรู่ า่ งกาย ๔. น้าและอาหาร เช้ือโรคบางชนิดอยู่ในอาหารและน้า อาหารที่สกปรกเป็นแหล่งสาคัญทาให้เกิด โรค ๕. การกินอาหารมาก จะทาให้อ้วนจนกระเพราะคราก กระทบกระเทือนระบบย่อยอาหาร และ อาจเป็นหมัน ผสมตดิ ยาก และถา้ ไดร้ ับอาหารนอ้ ยขณะท่สี ตั ว์กาลังเจริญเติบโต สัตว์อาจชะงักการเจริญเติบโตธาตุ อาหารไมค่ รบไมถ่ กู สว่ น ทาให้การต้านทานโรคน้อยลง ๖. อายุ โรคบางอย่างไม่เปน็ กบั สัตวท์ โ่ี ตเต็มท่ีหรือเปน็ กไ็ ม่รา้ ยแรงเทา่ สัตว์เล็ก เช่น โรคกระดกู อ่อน ๗. เพศ ก็เป็นปัจจัยทาให้สัตว์เป็นโรค สัตว์ตัวผู้มักมีความต้านทานโรคมากกว่าตัวเมียหรือ โรค บางอย่างทเี่ ป็นกับสตั ว์ตัวเมียและมอี าหารรนุ แรง เชน่ แท้งตดิ ต่อ แตต่ ัวผูไ้ ม่มอี าการ ๘. กรรมพันธุ์ สตั ว์ที่ไม่มีโรคตอดต่อทางกรรมพันธุ์ ท่ีว่าสัตว์ติดโรคมาแล้วแต่กาเนิดนั้นหมายถึงโรค เอามาเม่อื ตอนคลอดเทา่ นั้น ๙. การจาดการออกกาลังกาย การขังสัตว์ในท่ีแคบ หรืออยู่กันเป็นฝูงมาก ๆ จะทาให้สัตว์แข็งแรง การออกกาลังกายทาใหก้ ารไหลเวยี นของโลหิตดีขึ้น และทาให้อาหารท่ยี อ่ ยนาออกมาใชไ้ ด้ดีแทนที่จะสะสมให้อ้วน ๑๐. การใช้แรงงานสัตว์ เม่ือสัตว์โตเต็มที่แต่ใช้งานหนัก อาจแคระแกรนได้ หรือสัตว์กินอ่ิมแล้ว นามาใช้งานอาจเกิดโรคเสียดได้จะเห็นว่าสาเหตุชักจูงของโรคน้ันมีอยู่มาก ก่อนที่สัตว์จะเป็นโรคจากสาเหตุที่ แท้จรงิ ควรหาทางปอู งกันไว้ก่อนเสมอ สาเหตุของโรค โรคของสัตว์จะเป็นโรคธรรมดาหรือเป็นโรคระบาดก็ตาม ย่อมเกิดจากสาเหตุ โดยตรงและสาเหตุโดยอ้อมประกอบกันสาเหตุโดยตรง ต้นเหตุของโรคท่ีทาให้เกิดโรคแก่สัตว์ปัจจุบันทันด่วน เจบ็ ปุวยข้นึ ทันทสี ตั ว์จะเป็นโรครุนแรงขึน้ เมือ่ มสี าเหตุชักนามาประกอบกันสาเหตุของโรค จาแนกได้ ๔ ชนดิ ๑. เกดิ จากเชื้อโรค เช่น ไวรัส จลุ ินทรยี ์ รา และ โปรโตรซวั ๒. เกิดจากการขาดอาหารและแร่ธาตสุ าคัญ น้าอาหาร แร่ธาตุ ไวตามิน ฮอร์โมน ๓. เกดิ จากส่ิงทมี่ ีพษิ ได้แก่ พษิ ของยา พษิ ของพชื พษิ จากสัตว์รา้ ยแรงและอาหารเปน็ พิษ ๔. เกิดจากอุบัตเิ หตุ หรอื เกดิ บาดแผล เกิดจากของมีคม หรือได้รับการกระทบกระเทอื น และหาทาง ปอู งกนั กดดนั ไวย้ อ่ มเปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งย่ิง อาหารท่วั ไปของสตั ว์ที่เปน็ โรค อาการท่ัวไปได้แก่ การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมใด ๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงของชีพจรและการ หายใจ แสดงว่าสัตว์เป็นไข้หรือไม่เป็น ตลอดจนสิ่งขับถ่ายออกจากสัตว์ รวมทั้งการสังเกตดูอาการกิริยาสัตว์เวลา เดนิ ยนื นอน ตลอดจนผวิ หนัง หรือจากการสอบถามผู้เล้ยี ง สตั ว์เจ็บโดยมากจะแสดงอาหารเตน้ ของหวั ใจเร็วหรือช้าผิดปกติ มีไข้สูง หายใจถี่กลายเป็นหอบ หรอื หายใจชา้ ผิดปกติ ถา้ เป็นสัตว์เล็ก เช่นสุนัข ถ้าหูเจ็บจะเดาแถว ๆ ข้างหูหรือถูจนเป็นแผล ตาแดงกล่า หรือมีสี ซีดขาวไม่เป็นสชี มพู มีขตี้ า จมูกแหง้ สัตว์ที่มีอากัปกริยาในเวลาเดิน เวลายืนเปลี่ยนแปลงไปจากลักษณะธรรมดา เช่นเวลาก้าวเดิน โซเซ ขาหลังอ่อนเปล้ีย ไม่มีแรง สะโพกปัดไปปัดมา หรือเวลาสัตว์ยืนไม่สามารถรับน้าหนักได้ ยืนสักครู่ก็ล้มลงยั น ตวั ไมข่ ้นึ ลักษณะนี้เรียกวา่ อัมพาต เกย่ี วกบั เรือ่ งอาหาร สัตวบ์ าดเจบ็ มักเบือ่ อาหารเป็นครั้งคราวหรือไม่กินเลยการถ่ายอุจจาระเหลว เป็นนา้ บางครง้ั เปน็ มูกเลือด หรือถา้ สตั วถ์ ่ายไม่ออกก็จะเกดิ อาหารท้องผกู หรืออาเจยี นออกมามีพยาธิปน เวลาถ่าย

๒๔ ปัสสาวะมักจะเบง่ หรอื ไม่ถ่าย บางคร้งั ปสั สาวะสีเข้มเหมือนชาแก่เรียบเป็นผื่นคันมาก และพยาธิไต่ตอมขุมขน เช่น เห็บ หมดั และ เหา อาการดงั กล่าวตา่ ง ๆ จัดเขา้ อยูอ่ าการทั่วไป ซึ่งจะพบในสัตว์ที่เป็นโรค แต่ไม่ใช่อาหารของโรคใน โรคหนึ่งโดยเฉพาะ ท้ังน้ีแล้วชนิดของโรคว่าจะเกิดจากไวรัส จุลินทรีย์ เชื้อรา และพยาธิ หรือเกิดจากพืชหรือส่ิงมี พิษ อาการของสัตว์บางตัวแสดงออกมาวินิจฉัยว่าเป็นโรคอะไรย่อมแล้วแต่ความชานาญของสัตวแพทย์ ท่ีเคย ปฏบิ ตั ิในด้านรกั ษาโรคมาแลว้ อยา่ งช่าชองเท่านัน้ การปอ้ งกนั และการรักษาโดยทวั่ ไป ตามหลักการปูองกันสัตว์นั้น ในขั้นต้นต้องปูองกันสาเหตุที่ชักนาให้สัตว์เป็นโรคซ่ึงเป็นสาเหตุ ทางอ้อม ที่มีสิ่งแวดล้อมชักนาให้สัตว์เป็นโรคต่าง ๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงทางอากาศ พื้นดิน และ การให้อาหาร และการออกกาลังกายตามท่ีกล่าวมาแล้ว ส่วนที่เป็นสาเหตุโดยตรงก็พึงปูองกันสาเหตุที่เกิดโรค เช่น ระวังปูองกัน เร่อื งอาหาร ใหม้ ีคณุ ค่าตามความตอ้ งการของร่างกายซ่งึ รวมทั้งแรธ่ าตแุ ละวติ ามินตา่ ง ๆ ระวังส่ิงท่ีมีพิษ เช่นยาพิษ พิษของพืช พิษของอากาศส่ิงแวดล้อม พิษของอาหาร และแร่ธาตุ รวมท้งั พษิ ท่เี กดิ จากสตั วร์ ะมดั ระวงั สงิ่ ที่ทาให้สตั ว์บาดเจ็บ ซึง่ อาจเกิดบาดแผล จากของมีคมท่มิ ตา การถกู ตี สว่ นทเ่ี กิดจากเช้ือโรคเรียกวา่ โรคระบาดสตั ว์ สตั วก์ ็มกี ารปูองกนั โดยการควบคุม ซึง่ กระทาได้ ๒ วธิ ี ๑. ทาการปูองกันไมใ่ ห้โรคแพร่หลาย ทาให้เกิดความตา้ นทานขึ้นภายในรา่ งกายเพ่ือต่อส้กู บั เช้ือโรค ซง่ึ ได้แก่ การปลกู ภมู ิคมุ้ กัน ๒. การปูองกันมใิ ห้เช้ือโรคแพรห่ ลาย สว่ นใหญ่ไดแ้ ก่การควบคมุ และทาลานซากโดยการ เผาหรอื ทาการฝัง การฝังซากสัตว์มีหลกั การดังนี้ ๑. การเลอื กสถานทีอ่ ย่าให้ใกล้แหล่งน้าลาธาร เพราะแหลง่ น้าจะเป็นตัวเพาะเชือ้ ทาให้เชื้อขน้ึ จากนา้ ส่ดู ิน ๒. บริเวณทฝี่ ังขุดดนิ พอให้ลกึ และมีดินถมใหห้ นาได้ เพ่อื ปอู งกนั การคุ้นของสตั วอ์ ื่นทาให้เชือ้ โรคแพรไ่ ด้ ๓. ขนาดของหลุมลกึ ประมาณ ๒.๕๐ – ๓.๐๐ ม. ๔. ขนาดความกวา้ งหลุม ม้าใหญ่ประมาณ ๒ – ๒.๕๐ ตาราง ม. โคขนาดใหญ่ ๒.๕๐ ตาราง ม. สุกร ๑.๐๐ ตาราง ม. ๕. การนาซากสตั วไ์ ปฝังอยา่ ให้โลหิตหรอื สงิ่ ทขี่ ับออกมาเปรอะเปอ้ื นทาลายด้วยยาฆ่าเช้ือ ๖. เมอื่ เอาซากลงหลุมแลว้ ลาดด้วยยาฆ่าเช้ือ เชน่ ปูนขา หรือเผาแบบคล้ายเตาถ่านหรือจะเผาโดยไม่ขุดหลุม เลยก็ได้ ๗. บรเิ วณที่ฝังตอ้ งปูองกันสตั ว์อ่นื เขา้ เหยียบยา่ ขดุ คุ้ย ควรมีไม้ทับการเผาซากสตั ว์ จะเผาไดโ้ ดยขุดหลมุ เปิดฝาแล้วเผา หรือเผาแบบคล้ายเตาถ่านหรือจะเผาโดยไม่ขุดหลุมเลยก็ได้การทาให้ร่างกายเกิดการต่านทนขึ้น ภายใน ซง่ึ ได้แกก่ ารปลกู ภูมิคมุ้ กนั เช่น การใช้วคั ซนี และเซร่มุ วัคซีนที่ใช้ปูองกันแล้วแต่โรค เช่นปากและเท้าเป่ือย จะต้องใช้ให้ถูกต้อง ฉะนั้นจาเป็นต้องทราบ ชนิดเสียกอ่ น วัคซนี จะไมใ่ หภ้ ูมิคุ้มกันทันที จะตอ้ งใช้ระยะเวลาประมาณ ๑๕ – ๒๐ วัน จึงจะให้ภูมิคุ้มกันโรค ท้ังน้ี แล้วแต่ชนดิ ของวคั ซีน วคั ซีนแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ๑. วัคซนี เช้ือตาย เปน็ วัคซนี ที่ทาให้เชอ้ื หมดสามารถที่จะทาใหเ้ กิดโรค แตย่ ังมีความสามารถ ทีจ่ ะ กระตนุ้ ใหร้ า่ งกายสร้างภูมิค้มุ กนั โรคไดว้ คั ซนี เชือ้ เป็น เป็นวคั ซีนทไ่ี ด้จากเชอ้ื ที่มชี ีวิตอยู่เจริญเตบิ โตได้ แต่เป็นชนิดท่ี

๒๕ ไมส่ ามารถทาใหเ้ กดิ โรคได้ ๒. เซร่มุ ไดจ้ ากส่วนทเี่ ปน็ นา้ ของโลหิตของสตั วท์ ม่ี ีภูมคิ ุ้มกันโรคแลว้ โดยจะนามาทาให้ โลหิตตกลิ่ม ส่วนที่เป็นน้าเรียกว่าเซรุ่ม ซ่ึงจะมีสารชนิดหน่ึง และภูมิคุ้มกันโรค ใช้ฉีดให้แก่สัตว์ จะมีภูมิคุ้มกันโรค ทันทจี ึงจะมีผลในการรักษา แตภ่ ูมิคมุ้ กนั โรคจะอยใู่ นรา่ งกายสตั วเ์ พียงระยะเวลาส้ัน ไมเ่ กนิ ๑๕ วนั โรคระบาดสัตว์ โรคระบาดสัตว์ใน พรบ.โรคระบาดสัตว์ พ.ศ.๒๔๙๙ มี ๑๑ โรค ๑. โรครินเดอร์เบสต์ ๒. โรคเฮโมเรยิกเซพตีนิเวีย ๓. โรคแอนแทรค ๔. โรคเซอรา่ ๕. โรคซาราตคิ ๖. โรคมงคลอ่ พิษ ๗. โรคปากและเทา้ เปือ่ ย ๘. โรคอหวิ าสกุ ร ๙. โรคทนิ โิ ตนซิสต์ ๑๐.โรคบเู ซลโรซีสต์ ๑๑.โรคกาฬโรคเป็ด โรคธรรมดาและโรคระบาดท่พี บในมา้ บ่อย ๑.โรคเสยี ด หมายถงึ การเจบ็ ปวดหรอื ทอ้ งเสีย เปน็ การยากท่จี ะทราบสาเหตุ สาเหตุ มีหลายประการด้วยกนั อาจเกดิ จากสัตว์ที่กินอาหารมากเกินไป กนิ อาหารบูดเน่า กินอาหารผิด เวลา หรือกินน้าทันทีหลังจากการใช้งานมาใหม่ ๆ หรือนาออกใช้งานทันทีท่ีกินอาหาร หรืออาจเกิดจากลาไส้มี แก๊สมาก หรือลาไส้บางส่วนหดตัวหรือกระตุ้นอย่างรุนแรง หรือลาไส้บิดพันกัน หรือ ในกระเพราะอาหารมีพยาธิ มาก อาการ สัตว์จะตน่ื เต้นทุรนทรุ าย เหงอ่ื ออกมากผิดปกติ ด้ินรน เตะคอก เหลียงดทู ้องตนเองตลอดเวลา บางทจี ะนอนเกือกกลิ้ง ท้องพองโตกว่าปกติ อาการไข้ไม่มี สัตว์ไม่ยอมกินอาหาร จะเบ่งอุจจาระตลอดเวลา ชีพจร เต้นแรง ตัวเย็น เปน็ ตะครวิ ตวั สน่ั ขากรรไกรแขง็ หายใจถี่ ถ้ามีอาการมากสัตว์จะล้มลงแล้วตายในทส่ี ุด การรักษา ต้องจูงสัตว์เดินอย่าให้นอน ใช้ฝุามือหรือหญ้าแห้งถูใต้ท้องตามตัว หรือใช้น้าร้อน ๆ หรือ พวกน้ามันสน สวนอุจจาระ หรือสบู่อ่อน ๆ ล้วงเอาอุจจาระออก ถ้าท้องโตมากควรเจาะเอาแก๊สออกโดยใช้ เครื่องมือเจาะ ซ่ึงจะเป็นวิธีการรักษาขั้นท้ายสุด เมื่อสัตว์ทุเลาแล้วให้กินน้า นาไปเล้ียงที่อากาศปลอดโปร่ง งดใช้ งาน ๒ – ๓ วัน ใหอ้ าหารอ่อนพวกหญา้ สดปนหญ้าแหง้ ๒.โรคทอ้ งร่วง เกิดจากสารอาหารบดู เนา่ เชน่ หญ้าเนา่ ข้าว ราเน่า หรอื กนิ ท่ีมีธาตุ เหลอื หรอื เกดิ อวัยวะย่อยอาหารอ่อนแอ เช่นฟันหัก หรือมีพยาธิในลาไส้มาก หรือเกิดจากโรคติดต่อบางชนิด หรือ เกดิ จากการเปล่ยี นแปลงอาหารทันที เกิดจากการทางานหนัก ร่างกายไมส่ มบรู ณ์

๒๖ การรกั ษา ให้ยาสมานลาไว้ สวนทวารหนกั ด้วยดา่ งทบั ทิม และใหก้ นิ ยาทกุ ๔ ชม. ถ้าเพลียมากควรฉีด น้าเกลือ ใช้ยาบารุงชว่ ย งดอาหารหนัก ใหอ้ าหารออ่ นแทน ถ้าเป็นมากควรงดอาหาร ๓.โรคหน้ามดื สาเหตเุ นือ่ งจากสัตวอ์ ย่กู ลางแดดนาน ๆ หรืออย่ใู นท่ีร้อนอบอา้ วเวลาบรรทุกรถไปมา ไกล ๆ มักพบโรคนี้บ่อย อาการ สัตว์ยืนซมึ ศรี ษะตก หอบมาก อ่อนเพลยี และมไี ข้ อุณหภูมิสูง ๑๐๖ - ๑๑๐ F ในท่ีสุดจะเป็น ลมและชกั ตายลงการรักษา และปฐมพยาบาล ในขั้นตน้ ใหป้ ลดเคร่ืองรัดกุมออกให้หมดนาสัตว์เข้าท่ีร่ม มีอากาศ ถา่ ยเทสะดวก ใชน้ ้าแข็งหรือน้าเยน็ ลบู ศีรษะเสมอ ๆ หรือใช้ยาแกไ้ ข้ลดความร้อน ถ้าอาการไม่ทุเลาให้ถ่ายยา เช่น ดเี กลือ แลว้ ใหย้ าบารงุ ประสาท สุดท้ายงดใช้งาน ๒ - ๓ วัน ๔.โรคหลังพอง สาเหตุ เน่ืองจากเครือ่ งต่างหรืออานกดหลังถูหลังเม่ือเวลาว่งิ หรือเดนิ หรือ ผ้าปหู ลงั ไมเ่ รยี บรอ้ ย หรือไมใ่ ช้ผ้าปหู ลัง เวลาผูกอาน อานไม่ดี เช่นโครงเหล็ก หรือตะปูแหลมออกมาทาให้ขูดหลังแตกพอง ได้ อาการ เมือ่ เริ่มเป็นสงั เกตอาการได้ม้าจะไม่วิ่ง เดนิ ช้า ถา้ ลูบหลังไปพบที่พองหรือแตก มา้ จะ แอ่นหลัง แสดงอาการดิ้นรนและร้อนท่ีหลัง ถ้าเป็นน้อยจะยุบไปเอง ถ้าเป็นมากอาจกลายเป็นแผลมีน้าเหลืองไหล ควรรีบรกั ษา ๕.โรคกระดูกหรือหน้าบวม เกิดจากธาตุหินปูนในอาหารซ่ึงสัตว์จาเป็นต้องได้รับมากพอกับความ ต้องการของร่างกายที่นาไปสร้างกระดูก ถ้ารับน้อยจะทาให้เป็นโรคกระดูกผุ เปาะไม่แข็งและธาตุหินปูนหรือ แคลเซยี ม ยงั มคี วามสมั พันธก์ ับฟอสฟอรสั และวิตามินดมี ากอีกด้วย อาการ มา้ ท่ีเปน็ โรคน้จี ะมกี ระดกู งอกมาทร่ี ิมสันจมูกทงั้ สองข้าง เม่อื คลาดูสัตวจ์ ะไม่รูส้ กึ เจบ็ ต่อมาจมกู จะงอกโตทุกวัน ถ้าเอามือเคาะท่ีกะโหลกจะมีเสียงดังโปร่ง แสดงว่าเป็นโพรงภายใน สัตว์จะหงอยซึม ไม่ อยากกินอาหาร สุขภาพทั่วไปเสื่อมโทรมอย่างเห็นได้ชัด ผิวหนังและขนหยาบกระด้างถ้าเป็นมากจะพบว่าขาแข็ง กา้ วขาไม่ออก ทางานหนกั อาจขาหกั พกิ าร และบางทีม้ายืนไม่ได้ต้องนอนตลอดเวลาและอาจลุกขึ้นไม่ไหวเพราะมี อาการทเี่ อว การรักษา หลักใหญอ่ ยู่ทก่ี ารเพม่ิ ปรมิ าณของหินปนู ในร่างกายให้เพียงพอ โดยบารุงอาหาร และการให้อาหารพวกบารุงกระดูก ถ้าได้รับน้อยจะทาให้กระดูกผุ ไม่แข็งแรง สัตว์จะเดินไม่ไหว อาหารที่ให้ควรมี แคลเซยี มและวิตามนิ มา้ ที่แสดงอาการของโรคนม้ี ักจะไมห่ ายหรือหายยาก ๖.โรคบาดทะยัก สาเหตเุ นอ่ื งจากเชอ้ื เขา้ สูร่ า่ งกายทางบาดแผล ระยะฟกั ตัวประมาณ ๔ - ๒๐วัน ถ้าสัตว์เป็นโรคน้ีไม่ตายภายใน ๑๐ วนั มักจะหาย และมคี วามตา้ นทานโรค๑ปี อาการ ถา้ มีอาการสัตว์จะเดนิ ขาลาก ถ้าทางานไมเ่ ป็น แตเ่ วลาหยุดจะมีอาการเป็น บางทีอาจจะมีอาการอ้าปากลาบาก มีความร้อนสูง ๑๐๓ - ๑๐๔ F นอกจากนั้นจะหายใจเร็วตื่นตกใจง่าย เหง่ือ ออกเป็นแห่ง ๆ ถ้ามีอาการมากสัตว์จะยืนขาถ่าง ขาหลังยันเข้าใต้ท้องลาบาก กล้ามเนื้อเป็นตะคริว รูจมูกขยาย ใหญ่ รมิ ฝปี ากเม้มเห็นฟันหนา้ หชู ดิ กนั ลกู ตาลกึ น้าลายไหล สัตว์ ๆ ไมช่ อบแสงตะเกยี ง หางอาจส่ัน หรือมีอาการ ยกตวั ตลอดเวลา การปอ้ งกันรักษา โรคนี้ส่วนใหญ่มักตาย การปูองกันโดยรักษาแผลให้สะอาด ฉีดเซรุ่มบาดทะยัก เม่ือเป็นนาสัตว์ไม่ท่ีมืด และเงียบ ให้อาการอ่อน น้าดื่มควรใส่ดีเกลือเพื่อระบาย เมื่อสัตว์เป็นตะคริวให้รักษาตาม อาการ โรคน้มี กั เปน็ กบั สัตวเ์ ฉพาะตัว ไมร่ ะบาด แต่ตดิ ตอ่ กันไดโ้ ดยเช้อื เข้าทางบาดแผล

๒๗ ๗.โรคภาคี โรคชนิดนี้เป็นโรคตดิ ต่อร้ายแรงของสัตว์กนิ หญ้า เชอ้ื สามารถตดิ ต่อถงึ คนทาให้ตายได้ สาเหตุ เกิดจากเช้ือบาซิรัสแอนทราซิส ระยะฟักตัว ๑๔ - ๔๐ ชม. บริเวณที่เป็นโรคนี้ มักเกิดโรคได้อีก เพราะโลหติ ของสัตว์ติดตอ่ ได้ทางพืน้ ดิน และทนอยู่นาน เมื่อสัตว์กินหญ้าบริเวณนั้นก็ติดเช้ือ และเชื้อน้ีมากับแมลง ดดู เลือด และมากับนา้ และอาหาร สว่ นทางบาดแผลมักเปน็ ไปได้น้อย อาการเกดิ ขน้ึ ได้ ๔ ชนิด คอื ๑. ชนิดเฉียบพลัน สตั วจ์ ะตายทันที มเี ลอื ดออกทางทวารตา่ ง ๆ ๒. ชนดิ ร้ายแรงสตั วจ์ ะตายภายใน ๒๔ - ๔๘ ชม. ๓. ชนิดอ่อนสัตว์อยูไ่ ด้ ๔ - ๕ วนั หรอื อาจหายจากโรคน้ไี ด้ ๔. ชนิดเรอ้ื รัง จะพบเฉพาะแผลที่ลิ้น , คอ อาการชนิดรา้ ยแรง ๑. อณุ หภมู สิ ูงถึง ๑๐๗ องศา F ตืน่ เตน้ ผิดชกติ ตัวสน่ั เบือ่ อาหาร ขาไมม่ ีกาลงั ๒. ท้องเสีย อจุ จาระที่ถา่ ยมามีเลือดปน ๓. ลาตวั ทอ้ งและคอมอี าการบวม ร้อนและเมอ่ื กดจะเจบ็ ๔. เจ็บบรเิ วณท้อง มีอาการของโรคเสยี ดอย่างรนุ แรง ๕. หายใจลาบาก ชัก และจะหายใจในเวลาต่อมา การควบคมุ ปอ้ งกนั ๑. โดยการทาวคั ซนี ปอู งกนั โดยเฉพาะบริเวณที่มีอาการระบาดของโรค ๒. เมื่อสัตวต์ าย ควรทาลายซากโดยฝังลึก ๆ หรอื เผา รวมทั้งพ้ืนดินที่มเี ลอื ดสตั ว์ ๓. กักสัตว์ไว้ท้ังหมด ตรวจดูอาการ แยกสัตว์ปุวยไว้ และรักษาด้วยซีร่ัมรักษาโรค แอนทรา เพนนิซิลีน หรือ เทอรามัยซนิ ๔. ยา้ ยทเ่ี ลย้ี งสัตวใ์ หม่ ๕. ใชย้ าฆา่ แมลงกาตดั บรเิ วณน้นั ใหม่ เพ่อื ปูองกนั การแพรโ่ รค ๖. ใช้โซดาละลายน้า ๕ ส่วนใน ๑๐๐ ส่วน ฆ่าเชื้อโรคนี้ได้ดีท่ีสุด ใช้ทาลายเชื้อโรคที่ติดมากับดินโดยเลือด สัตว์ ขอ้ ควรจา ๑. เปน็ เช้อื โรคตดิ ต่อร้ายแรงของสัตว์ท่ีติดต่อถึงคนทาใหต้ ายได้ ๒. เช้อื สามารถสรา้ งสปอร์อยใู่ นดินได้นาน ๑๘ ปี ๓. ซากสตั ว์มีโลหติ ออกทางผวิ หนงั โลหติ ไม่แข็งตัว อจุ จาระมีสดี า ถ้าผ่าซากมา้ จะโตกวา่ ปกตหิ ลายเท่า ๔. ตายโดยปจั จบุ ันซากเน่าเรว็ ๕. ปอู งกนั โดยฉีดวัคซีปีละ ๑ ครัง้ ๘.โรคเซอรา่ โรคนี้แสดงอาการรุนแรงในมา้ ลา และลอ่ สาเหตุ เกิดจากเชื้อโปรโตซัวท่ีอยู่ในโลหิตชื่อ ทริพาโนโวม่า อีวานไซ พาหะเแพร่เชื้อคือ แมลงดูด เลือด ระยะฟักตวั ๔ - ๑๓ วัน อาการ สัตว์พวกกีบเดยี วเป็นโรคน้ไี ด้ง่ายกว่าสัตวอ์ ่ืน โดยเฉพาะม้าจะแสดงอาการรุนแรง ๑. ไขส้ งู ๑๐๒.๕ F มไี ขข้ ึ้น ๆ ลง ๆ

๒๘ ๒. เบ่ืออาหาร ยืนหงอยเหงา ก้าวขาไม่ปกติ ซมึ ยืนเพลีย ขนหยาบดา้ น ขนร่วง ๓. หายใจหอบถี่ มเี ลือดออกเป็นจดุ ๆ ท่ีเหงอ่ื ชมุ่ เย่ือช่มุ ซีด ๔. เลอื ดออกช่องด้านหน้าของลูกตา ๕. บวมตามหนัง อวัยวะสืบพันธ์ุ ขา และใตค้ างและทีท่ ้อง ๖. ก่อนตายมอี าการชักถี่ ๆ ไมร่ ุนแรงมาก แลว้ ตายภายใน ๑ – ๒ ชม. การรักษา ๑. ใชย้ า โปรโตซัว เช่น แอนตสิ ซ์ซลั เฟส นากานอล ๙.โรคซาราติค สาเหตุ เกดิ จากเชื้อรา โรคน้ที าใหต้ อ่ มนา้ เหลอื งอกั เสบ พบบ่อยในสัตว์ จาพวกมา้ ลา ลอ่ โดยเฉพาะ รวมท้งั คนอาจติดโรคน้ไี ด้ โรคระบาดนเ้ี ขา้ ทางบากแผลและรอยแตกของผิวหนังนอกจากนี้ยังติดต่อจาก เครื่องมือทาความสะอาด เชน่ กราด แปรง อาการ ๑. กิดตมุ่ พองคล้ายฝีบรเิ วณตอ่ มนา้ เหลืองที่ไดร้ ับเช้อื เรยี กว่า “ฝีสาระตคิ ” ๒. ตามปกตเิ กิดฝบี ริเวณตอ่ มนา้ เหลืองทโ่ี คนขา แลว้ รวมมาท้องและระบาดท่วั ตัวหรอื เกิดตามเส้น น้าเหลืองเรียงกนั เปน็ แถว ๑. ฝีเกดิ ขนึ้ ออ่ นจะแตกมีน้าเหลอื งไหล และโลหติ ไหล ๒. บางรายมีฝที ช่ี ่องจมกู ทาให้หายใจไมอ่ อก และท่ีปากทาใหก้ ินอาหารไมไ่ ด้จะทาให้สตั ว์ตายเร็ว การรักษา ๑. ผา่ ตัดฝีออกเยบ็ แผล ๒. ใช้เหลก็ เผาไฟจ้ที ่แี ผลฝี ๓. การรักษาดว้ ยยาเกลอื่ นฝี เชน่ ทงิ เจอรไ์ อโอดนี ๒๐ % ๔. ใชย้ าปฏิชีวนะฉีด เชน่ สเตรบโตมยั ซนิ ขอ้ ควรจา ๑. เป็นโรคติดต่อของม้า ลา ลอ่ และอาจตดิ ต่อถึงคนได้ ๒. เกดิ จากเช้ือรา ๓. อาการสาคญั คอื เปน็ ฝีตามเส้นน้าเหลือง ๑๐.โรคแกลเดอร์ ชื่อพอ้ ง โรมงครอ่ พิษ สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทเี รยี เปน็ โรคตดิ ตอ่ รุนแรง เกิดในมา้ และสตั วต์ ระกูลเดียวกับมา้ โรคนี้ ทาใหเ้ กิดตมุ่ ท่ีปอด ตับม้า และอวยั วะส่วนอืน่ ๆ โดยเฉพาะเยอ่ื ทีบ่ ริเวณทางเดนิ หายใจ อาการ ๑. มไี ขส้ งู ๑๐๓ – ๑๐๔ ฟ. หรือมากกว่า ๒. มีนา้ มกู ขน้ เป็นหนอง ๓. ในรายร้ายแรง พบวา่ สตั วเ์ ปน็ ปอดบวม และจะตายภายใน ๒ – ๓ วัน ๔. ในรายเรือ้ รัง ม้าจะผอมอย่างรวดเร็ว ขนด้าน ไม่มีแรงเคลือ่ นไหว

๒๙ ๕. พบต่มุ แผลหลุมตามผวิ หนัง และในเยอ่ื จมกู ๖. ในรายท่เี ปน็ มาก ตอ่ มน้าเหลอื งใกลข้ ากรรไกรจะบวมใหญ่แขง็ ๗. พบแผลหลุมตามขา โดยเฉพาะใกล้ ๆ กบั ขอ้ เทา้ ๘. ต่มุ หนองอาจพบในอวยั วะภายใน เช่น ตบั มา้ ด้วย ๙. มา้ ทเ่ี กดิ โรคมักจะตาย ในลาจะตายอย่างรวดเร็ว กล้ามเนอ้ื กระตุก ๑๐. คนและแมวสามารถตดิ ต่อโรคนไี้ ด้ การรักษา ๑. ไม่มีวคั ซนี ปูองกนั ๒. ยาปฏิชีวนะมักใช้ไม่ได้ผล ๓. ในระยะเริม่ แรก การใช้ยาซลั ฟาไดอะมีน จะชว่ ยได้ การควบคมุ ๑. การทาลายซากปุวยทิ้ง ๒. ทาการตรวจเลือดม้าทุกวนั ถา้ ไดผ้ ลบวกคัดท้ิง ๓. แยกสัตว์ที่สขุ ภาพดอี อกจากสตั ว์ปวุ ย ๔. ทาความสะอาดและฆ่าเชอ้ื บรเิ วณคอก และอปุ กรณท์ ี่ใช้เล้ียงสัตวป์ วุ ย รวมทั้งรางขา้ วน้า ๕. รางอาหาร ๑๑. โรคสมองและไขสันหลงั อักเสบตดิ ต่อมในม้า สาเหตุ เกิดจากเช้ือไวรัส โรคน้ีทาให้สมองและไขสันหลังอักเสบ มีแมลงเป็นสื่อทาให้เกิดโรคระบาด แพร่หลาย นอกจากนี้ยังติดต่อถึงสัตว์ทดลอง แกะ โค กวาง และเชื้อติดต่อถึงคนได้อีกด้วย โรคน้ีแบ่งเป็น ๒ ชนิด คอื ๑.โรคบอนนาดิซสั แพรร่ ะบาดครง้ั ที่เมืองบอนนา เยอรมนี อาการ ๑. มีไข้อ่อน กลนื อาหารลาบาก น้าไหลผดิ ปกติ กลา้ เนอื้ คอแข็งเกรง็ ๒. ความร้สู ึกไวตอ่ การสมั ผัส ๓. มีอาการสมองอักเสบ เชน่ งว่ งเหงามีอาการอมั พาต ๔. มอี ตั ราการตายสงู ๙๐ % ระยะของโรคประมาณ ระยะของโคประมาณ ๑ – ๓ สัปดาห์ การปอ้ งกนั ฉดี วคั ซนี ปูองกนั โรคทาจากกระตา่ ย ใหค้ วามค้มุ กันนาน ๖ เดือน – ๑ ปี ๒. โรคอไี ควเอนเซฟาโลไมอีไลเซติค อาการ ๑. อาการเริ่มแรกมีไข้สูง หงอยซึม ในระยะนี้มีไวรัสในร่างกายทั่วไปจนถึงสัตว์ จึงเป็นแหล่งแพร่ระบาด ของเช้อื โดยแมลงดูดเลือด ๒. ไมก่ นิ อาหารและตอ่ มาซึมงว่ งเหงา เมอื่ ทาให้ตกใจจะต่ืนเต้น และง่วงซึมตอ่ ๓. มีอาการอัมพาตขึ้นตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น บังคับปากพูดไม่ได้ ปากย้อย ลิ้นย้อย บังคับขา ลุกไมข่ นึ้ ๔. สตั ว์จะตายภายใน ๑ – ๒ วนั ภายหลงั เม่อื มอี าการทางประสาทเกิดขน้ึ ๕. สตั วท์ ีห่ ายปวุ ยจะมีอาการทางสมองเห็นชัดวา่ มีอาการทางสมองพกิ าร

๓๐ ๖. ตอ่ มาเชื้อเข้าระบบประสาท อาการไขห้ ายไป สัตว์เริ่มมีอาการทางประสาท ต่ืนเตน้ ไมเ่ ป็นสุขอาจ เดนิ เปน็ วงกลมหรือเดนิ อยเู่ ร่อื ย ๆ การติดโรค โดยแมลงดดู เลือด เชน่ ยุง เห็บชนดิ ตา่ ง ๆ เม่ือเข้าสรู่ ่างกายจะอยูต่ ลอดชวี ิต เพราะไวรสั แพร่เชื้อได้ด้วยตัวเอง ในเห็บแพร่เช้ือได้เร็วโดยแพร่เข้าสู่ลูกได้อีก เมื่อม้ามีน้ามูกเชื้อก็จะออกมาและถ้ามีการเลีย กันกจ็ ะเกดิ โรคได้ การปอ้ งกัน ๑. โดยการฉีดวัคซนี โดยมากจะเปน็ เชอ้ื ตายท่ีทาจากไข่ฟัก ใชฉ้ ดี เข้าผิวหนงั ๒. ทาการปราบพาหะ เช่นยาฆ่าแมลง ฉีดแพร่แหลง่ เพาะพนั ธุ์ยุงและแมลงดดู เลอื ดตา่ งๆ ๑๒.โรคโลหติ จางตดิ ต่อในมา้ (EIA) สาเหตุ เกิดจากเชือ้ ไวรัส เป็นโรคติดต่อของสัตว์ตระกูลม้า ลา ล่อ มีการทาลายของเม็ดเลือดแดงจนทาให้เกิดโรค โลหติ จาง และมีไข้ สตั ว์จะอ่อนเพลียและซบู ผอมอยา่ งรวดเร็ว อาการ สามารถแบ่งไดต้ ามลักษณะ ๔ แบบ คือ ๑. ชนิดเฉียบพลัน แสดงอาการของโรคออกมาตายภายใน ๗ – ๑๘ วัน สัตว์ซึมทางานไม่ไหว ขาหลังอ่อน ทรงตัวไมไ่ ด้ หายใจเร็ว เบอ่ื อาหาร หน้าตาบวม นา้ ตาไกล บวมนา้ อณุ หภมู สิ ูงประมาณ ๑๐๕ ฟ. ปัสสาวะ มากผิดปกติ อาจมอี าการท้องร่วงลาไสอ้ ักเสบ สองขาหลังเป็นอมั พาตแล้วตายในทีส่ ุด ๒. ชนิดกึ่งเฉียบพลันมีอาการเช่นเดียวกับชนิดเฉียบพลัน ไข้ลดลง และกลับเป็นปกติ ในระยะหลาย ๆ อาทติ ย์ หรือหลายเดือนแล้วจะกลบั มาเปน็ อีก มกั จะรนุ แรงกวา่ คร้ังแรก ๓. ชนิดเรื้อรัง อุณหภูมิเป็นปกติ แต่ซึม เย่ือตาและเหงือกซีด ทางานไม่ไหว ซูบผอม อ่อนแอ ปัสสาวะมาก ท้องเดนิ เป็นครง้ั คราว ทางคราวมีเลือดปน โลหติ จาง เดนิ ขาลาก ในท่ีสุดจะตายเพราะหมดแรง ๔. ชนดิ ไม่แสดงอาการ สตั วม์ อี าการเหมือนปกตมิ ไี ข้เป็นครั้งคราว แต่ไม่มีอาการปุวย โลหิตจางอย่างช้า แต่มี เชอ้ื อยูใ่ นร่างกาย และสามารถตดิ ต่อได้ การตดิ โรค ๑. โดยแมลงดูดเลอื ด เช่น เหลือบ ซงึ่ มีมากตามคอกสตั วแ์ ละยุงบางชนิด ๒. ใช้อปุ กรณร์ ว่ มกนั เชน่ บังเหียน ๓. กาจัดแมลงดดู เลอื ด และยงุ ๔. ใช้เข็มฉีดยาท่ีสะอาด เครือ่ งผ่าตัดตอ้ งตม้ ฆา่ เชือ้ ใหส้ ะอาดก่อนผา่ --------------------------------------

๓๑ วชิ าการขี่มา้ บทท่ี ๑ ประวตั ิการขี่มา้ ตานานการการขีม่ า้ มนุษย์ได้นาม้ามาใชเ้ ป็นพาหนะขบั ขีน่ ับตัง้ แตส่ มัยโบราณ โดยเรม่ิ จากการนาม้าปาุ มาใชข้ ใ่ี นสมยั น้นั ไม่ สามารถหาหลกั ฐานไดช้ ดั เจน หลกั ฐานทีพ่ อจะนามาพจิ ารณานั้นได้จากรปู เขยี น,รูปสลักหินโบราญ ซงึ่ กระจ่ายอยู่ ตามพิพิธภัณฑท์ ส่ี าคญั ๆ ของโลก ประมาณพนั ปีก่อน คศ.ได้บรรยายความงดงามและสง่างามของเทพเจา้ และผู้ หาญกลา้ ตา่ ง ๆ บนศึกเทียมม้า รวมทั้งชาวอียิปและกรีก ได้ใช้มา้ สาหรับขยั ข่เี ป็นพาหนะ ศิลปะการบังคบั มา้ ได้แพรห่ ลายเข้าไปในทวปี ยุโรปในราวปี ๕๐๐ ปกี ่อน คศ. โดยมตี าราเขียนไว้วา่ ผู้ข่ี ม้าคุมสติไว้ได้ นบั ว่าเป็นปัจจยั ท่ีดแี ละนสิ ยั อันเลิศ ความโมโหหนุ หนั จะทาใหเ้ ปน็ ผ้ปู ราศจากเหตผุ ล และนาให้ทา ในสิง่ ซ่ึงตอ้ งเสยี ใจภายหลงั ในเมอื่ มา้ แสดงความหวาดกลัวต่อส่ิงใดส่งิ หนึ่งและขัดขืนไม่เขา้ ใกล้ ผู้ขต่ี ้องทาให้ม้า เหน็ ว่า ไม่มีอะไรท่นี ่ากลัวเลย โดยให้ผู้ขี่เดินเข้าไปยังส่งิ ท่ีทาใหม้ ้าตนื่ กลัวและจบั ต้อง แลว้ จงึ จูงม้าเขา้ ไปยังสงิ่ นั้น อยา่ งสงบ ผู้ข่ีซึ่งบังคบั ม้าโดยอาศัยแซ้เทา่ นั้นจะต้องให้ม้าตื่นยืนข้นึ เพราะม้าจะนกึ วา่ ความเจบ็ ปวดที่ตน ไดร้ บั นนั้ เนอื่ งมาจากส่งิ ทต่ี นกลัวนน่ั เอง โรงเรียนขี่มา้ ท่ีดีมีซื่อเสียงทีส่ ุดในสมยั นัน้ ได้แก่ โรงเรียนขี่มา้ เนเปลิ ชาวอติ าเล่ยี นเปน็ ผูจ้ ดั ตั้งข้ึน และเปน็ ท่ีรูจ้ กั ทั่วไปตลอดทวีปยุโรปซงึ่ บรรดาประเทศทั่วไปไดใ้ ช้เปน็ รากฐานแห่งศลิ ปะบงั คบั ม้าและดัดแปรงแก้ไข ให้เหมาะสมครบถ้วนมาจนครบเทา่ ทุกวันนี้

บทท่ี ๒ การข่มี า้ เบอื้ งตน้ ๓๒ ๑. สรีระร่างกายของมา้ โคนหาง หางม้า หูม้า แผงคอ ตะโหงก ผมม้า ปลายหาง สนั จมกู หลงั สะวาบ ข้อน่องแหลม รูจมูก กามม้า หน้าอก ขาท่อนบน หน้าแข้ง กีบม้า ท้อง ข้อศอก ไรกีบ ร่างกายของม้าแบง่ ออกตามสัตวแพทย์ เป็นสว่ นใหญ่ ๆ ได้ ๓ ส่วนคือ ๑. สว่ นศีรษะและคอ ๒.ส่วนลาตัว ๓.ส่วนทา้ ยและขาทัง้ ส่ขี ้าง รา่ งกายของม้าแบ่งทางวิชาการข่ีม้าแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คอื ๑. ส่วนหน้ามือและหลังมือ ๒. สว่ นหลังมือ สว่ นหน้ามอื เรม่ิ ตงั้ แตห่ ัวถงึ ตะโหงก ส่วนหลังมือ เร่มิ ต้งั แตต่ ะโหงก ถึงทา้ ยม้า

๓๓ ๒. อนั ตรายจากม้า มีดว้ ยกนั ๕ อยา่ ง ๒.๑ การกดั เน่ืองจากม้าจะใชฟ้ นั ในการกัดเพอ่ื ปูองกนั ตัวเอง หรือเพือ่ ต่อสูก้ ับคู่ต่อส้เู พ่ือเอาตวั ลอด อนึง่ การทจ่ี ะไปหาม้าทีย่ ังไม่ไดผ้ ่านการฝกึ มา้ นัน้ ย่อมอนั ตรายและเส่ียงต่ออวัยวะหรือสว่ นทีส่ าคัญอาจจะทาให้ ถงึ กบั พกิ ารไดส้ าหรับมา้ ทหารทีเ่ ร่มิ ทาการฝกึ มา้ ใหม่ในข้นั ตอนแรก

๓๔ ๒.๒ การโขก การสบั คือ เม่ือมา้ ได้รับการฝกึ แล้วมคี วามรู้แล้ว จาเป็นจะต้องตอกเกือกม้าเพ่ือรักษากบี ม้าเพ่ือไม่ให้มา้ เกิดกีบมา้ ฉีด ในการเสี่ยงเร่ิมตัง้ แตก่ ารเขา้ หาม้าเหมือนม้ามีอาวุธเพิ่มขึน้ มา คือเกือกม้าซึง่ เป็นเกือก ที่สร้างขึ้นมาจากเหลก็ ล้วน ๆ ซ่ึงคร/ู อาจารย์ อาจมีอันตรายโดย การโขกหรอื การสับ ม้าจะใชข้ าข้างใดข้างหนง่ึ โขกสับลงพนื้ ถ้าขาดการระมัดระวงั อตั ราเสีย่ งทาให้เท้า หรือเขา่ อาจทาใหแ้ ตกหรือหักได้ซงึ่ จะทาให้เกิดความเส่ียง อยู่ตลอดเวลา ๒.๓ การส่มุ ของม้า คอื เมื่อม้าตกใจกลัวหรือปอู งกันตนเองแล้วม้าก็จะยกขาขนึ้ สองขาความสงู อยู่ ระหว่าง ๑๕๐ – ๑๗๐ ซม. อนั ตรายจะอยูร่ ะหว่างไหล่ , ศรษี ะ ทาให้เกิดแผลไดเ้ นื่องมา้ นั้น ไดม้ ีการตอกเกือก ซง่ึ เปน็ เกือกเหล็กอตั ราเสยี่ งก็ทาเกดิ การบาดเจบ็ ไม่มากก็น้อย อยู่กับจงั หวะ ครู/อาจารย์ มีการระวงั ปูองกนั ทัน หรือไม่ทัน เปน็ ชว่ งเวลาไมค่ าดคดิ มาก่อน

๓๕ ๒.๔ การดีดของมา้ คือ ม้าใชข้ าหลังข้างใดขา้ งหน่งึ ดีดออกมาเป็นรูปครงึ่ วงกลม เพื่อปอู งกนั อันตราย ของตนเองในเรื่องแมลงกัดทอ้ งหรอื อะไรต่างที่ทาใหม้ า้ เขาราคาญกจ็ ะใช้ขาใดก็ได้ดีดออกมาเพ่ือให้โดน หรอื ใชใ้ น การต่อสูแ้ ละปูองกนั อันตราย อัตราเสีย่ งของ คร/ู อาจารย์ เวลาเข้าไปหาม้าแล้ว เมอ่ื ม้าดีดมาแลว้ แนน่ นอนจะต้อง โดนส่วนชว่ งเอวลงมาถึงขาแน่นอันตรายเกดิ ขึ้นหรือได้รับบาดเจ็บถึงกบั พกิ ารเลย ๒.๕ มา้ เตะ๊ คือ มา้ จะใช้สองขาหลังออกจากด้านหลังเป็นอนั ตรายม้าสาหรับม้าเต๊ะ อาจจะมกี าร สญู เสยี ถึงชวี ติ กไ็ ด้ถา้ โดนจุดที่สาคัญ เชน่ ศรีษะ , ไหล่ ,คอ ,อันถะ

๓๖ วธิ ีเข้าหามา้ กอ่ นอื่นให้เรยี กชื่อม้าเพ่ือให้มา้ ร้ตู วั แล้วเดินเข้าหาทางด้านหนา้ เฉียงกบั ตัวม้าประมาณ ๔๕ องศา เมอ่ื ถึงตวั ม้าใช้มือสมั ผัสเบาๆตบคอเพื่อแสดงให้ม้ารบั รูไ้ ม่ตื่นตกใจ ๓. การปฏบิ ตั บิ ารุงม้า ก่อนและหลงั ใช้งาน ก่อนท่ีจะทาการขี่ม้าจะต้องมีการปฏบิ ตั ิบารงุ ม้าก่อนที่จะใช้งานเพ่ือใหต้ ัวม้าสะอาดปราศจากฝุนผง,รงั แค และ ดูความพร้อมของม้า เครอ่ื งมือ ปบ.ม้าประกอบดว้ ย กราด , แปรง ,หวี ,ไมแ้ คะกีบ,นา้ มันทากบี และผา้ การปฏิบัตบิ ารงุ มา้ ก่อนใช้งาน ให้หันหนา้ มา้ สวนทิศทางลม เพื่อเวลาทาความสะอาดเศษสง่ิ สกปรกจะถูกปัดไป ตามลม เศษผงจะไมถ่ ูกหนา้ ผ้ปู ฏิบัตแิ ละหน้าม้า โดยเรม่ิ จากหนา้ มา้ ,คอและลาตัวผ้ปู ฏิบตั ิถ้าทาดา้ นซา้ ยใหถ้ ือ กราดดว้ ยมอื ขวาและถือแปรงดว้ ยมือซา้ ย กราดใชถ้ ูย้อนไป มาหลายๆครั้ง แล้วใชแ้ ปรงปัดซา้ ตามขนจะทาให้ส่ิงสกปรกหลดุ ออกไดง้ ่ายทาทาจนทัว่ ตัวและขาทั้ง ๔ ข้าง เสร็จแลว้ ทาความ สะอาดกบี โดยการแคะส่งิ สกปรก,มลู สตั วอ์ อกทาดว้ ยน้ามนั ทากีบ เสร็จแลว้ จึงเริม่ ผกู เครื่องม้า การปฏบิ ตั ิบารุงม้า หลังใช้งาน หลงั จากทาการฝึกม้าหรือเลกิ ขี่ม้าและปลดเครื่องมา้ แล้วให้ใชฟ้ างหญ้า แหง้ ถูทีล่ าตัวมา้ และส่วนทม่ี ีเหงื่อโดยถูย้อนไปย้อนมาจนเหง่ือแหง้ การใชห้ ญา้ แหง้ ถูตัวมา้ จะเป็นการนวดตัวมา้ ไป ในตัวด้วยซ่งึ จะทาให้เลือดม้าบรเิ วณน้ันกระจายตวั นามา้ จงู เลย้ี งประมาณ ๒๐ นาทีให้มา้ หายเหนอื่ ย แล้วจงึ นา ม้าไปล้างตัวหรืออาบน้าลา้ งกีบ เมื่อตวั มา้ แห้งสนิทให้ใชน้ า้ มันบารุงกบี ทากีบแล้วจงึ นาม้าเขา้ คอก

๓๗ ๔. เครอ่ื งม้า เครอ่ื งมา้ ประกอบด้วย ๑. บงั เหียน ( ขลมุ ข่ี ) ๕. เหล็กโกลน ๙. นวมอาน ๒. อาน และผ้าปูหลัง ๖. แผงอานใหญ่ ๑๐.สายรดั ทึบ บงั เหยี น ประกอบด้วย ๗. สายร้ังสายรัดทบึ ๘. แผงอานน้อย ๑. สายรดั กระหม่อม ๒. สายรดั หน้าผาก ๓. สายรดั ด้งั และสายรดั คาง ๔. สายรัง้ เหล็กบังเหียน ๕. สายรัดคอ ๖. สายขบั อาน ประกอบด้วย ๑. แท่นอาน ๒. หวั อาน ๓. ท้ายอาน ๔. สายโกลน

๓๘ ๕. การผูกปลดเครอ่ื งมา้ ก่อนท่จี ะทาการผกู เคร่อื งมา้ ต้องทาการปฏิบตั ิมา้ ก่อนใช้งานให้เรียบรอ้ ยเสียก่อน วิธกี ารผกู บังเหียน ๑. มือซา้ ยจับบงั เหยี นท่ีสายรัดกระหม่อมมือขวานาสายบังเหียนคล้องคอมา้ เพื่อปูองกนั ไมใ่ หม้ ้า หนไี ปไหน ๒. ปลดขลมุ จูงออก (ถ้ายงั ใส่ขลมุ จงู อยู่)มือขวาจับผมหนา้ มา้ ยกหัวแม่มือขึน้ มอื ซ้ายนาสายรัด กระหม่อมเกย่ี วกับหัวแม่มอื ขวามือซ้ายจบั เหลก็ บังเหยี นเข้าปากมา้ ลกั ษณะแบมือ ๓. เม่อื เหลก็ บังเหียนเขา้ ปากม้าเรยี บร้อยแลว้ ให้จัดขลุมให้เขา้ ทีโ่ ดยให้ หมู ้าทัง ๒ ข้างเข้าอยู่ใน ระหว่างสายรดั กระหมอ่ มกบั สายรัดหน้าผาก ใส่สายรัดคอสายรัดคางให้เรียบร้อย การตรวจ ๑. สายรัดคอต้องหย่อนประมาณ ๑ กาปั้นมือ ๒. สายรัดคางรัดแน่น โดยสามารถใหน้ ว้ิ มือสอดเข้าไปได้ ๓. เหล็กบังเหียนห่างจากสายรดั ด้งั ๓ นิ้วมอื ๔. มมุ ปากมา้ จะย่น ๑,๒ รอยถือว่าพอดี แต่ ถ้ายน่ ๓ รอยถือวา่ ตึงเกนิ ไป

๓๙ วธิ ผี ูกอาน ๑. นาผา้ ปูหลงั เช็ดถตู วั มา้ ประมาณ ๒ – ๓ ครัง้ นาผา้ ปลู งบนหลังม้าโดยให้ส่วนเวา้ อยู่บริเวณ กึ่งกลางตะโหงก ชายผา้ ปูหลงั ตกข้างตัวมา้ เทา่ ๆกนั ท้ัง ๒ ขา้ ง ๒. ใช้มือซ้ายจับหวั อานมือขวาจบั ทา้ ยอาน ยกอานวางลงบนหลงั มา้ โดยใหห้ วั อานอย่บู ริเวณ กง่ึ กลางตะโหงก แผงอานใหญ่ห่างจากขอบผ้าปหู ลงั ประมาณ ๒ น้วิ มือ ๓. นาสายรัดทึบรัดให้เรียบรอ้ ยโดยแบง่ สายรัดทึบเสน้ ที่ ๑ ออกเปน็ ๓ สว่ นรดั สายรัดทึบเสน้ ท่ี ๒ ทับเส้นท่ี ๑ โดยทบั เสน้ ที่ ๑ สองส่วนรดั ใหแ้ นน่ พอดี การตรวจ ๑. สายรดั ทบึ ต้องห่างจากรักแร้มา้ ประมาณ ๑ ฝุามือ ๒. ใช้มอื สอดเข้าระหวา่ งท้องมา้ กับสายรัดทบึ โดยสอดจากด้านท้ายม้า ถา้ สอดได้พอดตี ้องไมต่ ึง หรอื หลวมเกินไป การปลดเครอื่ งมา้ (บังเหียนและอาน) ให้กระทายอ้ นกลับกนั

๔๐ ๖. การขน้ึ ม้า – ลงมา้ มี ๓ วิธี ๑. การขน้ึ มา้ – ลงมา้ โดยใชโ้ กลน ๒. การขึน้ ม้า – ลงมา้ โดยไม่ใช้โกลน (กระโดดขน้ึ มา้ ) ๓. การสง่ ขนึ้ ม้า ผขู้ ม่ี ้ายืนประจาขา้ งม้าทางด้านซ้ายบริเวณขากรรมไกม้า มือขาจบั สายบังเหยี นทงั้ ๒ เส้นใต้คางม้าห่างจากคางมา้ ประมาณ ๑ ฝาุ มือ กามือและใช้น้ิวช้สี อดเขา้ ระหวา่ งกลางของสายบงั เหยี นท้งั ๒ เสน้ อยูใ่ นลกั ษณะทา่ ตรง การขน้ึ มา้ โดยใชโ้ กลน มี ๓ ขัน้ ตอน ใชค้ าบอกคาส่ังว่า “ขึ้น.....ม้า” เป็นคาบอกแบ่ง ขน้ั ตอนท่ี ๑ ทาขวาหนั มือซ้ายจับสายบงั เหยี นแทนมือขวาตบเท้าข้าไปบรเิ วณไหลม่ า้ มือขวา รวบสายบงั เหียนดงึ ใหต้ งึ พอดีกบั ปากม้าแลว้ จบั ไว้ทหี่ วั อาน มือขวาจับทีเ่ หล็กโกลนบดิ เข้าหาตวั ขน้ั ตอนท่ี ๒ นาเทา้ ซา้ ยสวมเขา้ กับเหลก็ โกลนละมือขวาจับท่ีทา้ อาน เท้าขวายันพื้นสปริงตวั ข้ึน ไป สน้ เทา้ ท้ัง ๒ ข้าชิดติดกัน น้าหนกั ตัวตกทแี่ ขนทงั ๒ ขา้ ง ลาตัวเฉยี งกับตวั ม้าประมาณ ๔๕ องศา ตา มองตรงไปข้างหนา้ ขัน้ ตอนท่ี ๓ เลอื่ นมอื ขวาไปจับทหี่ ัวอานและเตะเทา้ ขวาผ่านท้ายม้า ด้วยอาการขาตรงึ น่ังลงบน แท่นอานอยา่ งเบาๆ สวมโกลน มอื ท้งั ๒ ข้างแยกจบั บังเหยี นทง้ั ๒ เสน้ การลงจากม้าโดยใชโ้ กลน มี ๓ ขน้ั ตอน ใช้คาบอกคาสง่ั ว่า “ลงจาก........ม้า”เปน็ คาบอกแบ่ง ขน้ั ตอนที่ ๑ มือขวาส่งสายบงั เหยี นให้มอื ซา้ ยๆมือทง้ั สองขา้ งจบั ท่หี วั อาน เท้าขวาถอดโกลน ข้นั ตอนที่ ๒ ก้มตัวไปข้างหน้าเลก็ นอ้ ยพรอ้ มกับเตะเทา้ ขวาผา่ นทา้ ยม้าด้วยอาการตรึงนาเท้าขวา ชิดเท้าซ้ายมือขวารบี จับที่ท้าอาน ลาตวั เฉยี งกบั ตัวมา้ ประมาณ ๔๕ องศา ตามองตรงไปข้างหน้า ( เหมอื นกบั การขน้ึ ม้าข้นั ตอนที่ ๒ ) ขั้นตอนท่ี ๓ บดิ ลาตัวไปทางทา้ ยม้าพรอ้ มกบั หย่อนตวั ลงเท้าขวาอยู่ขา้ งลาตวั มา้ เทา้ ซ้ายถอด จากเหลก็ โกลนกา้ วไปอย่บู รเิ วณขากรรไกม้า มอื ซ้ายจับรวบสายบังเหียนใตค้ างมา้ นามือขวาจบั รวบสายบังเหียน แทนมือซ้าย นาเทา้ ขวาชดิ เท้าซา้ ย ทาซา้ ยหัน

๔๑ การขึ้นม้าโดยไมใ่ ชโ้ กลน มี ๓ ข้ันตอน ใช้คาบอกคาสง่ั ว่า “ขน้ึ มา้ ” เป็นคาบอกรวด ขัน้ ตอนท่ี ๑ ทาขวาหนั มอื ซ้ายจบั สายบงั เหยี นแทนมือขวา ตบท้าขวาไปบริเวณกลางลาตัวมา้ มอื ซ้ายจับรวบสายบังเหียนให้สายบังเหยี นตงึ พอดีกบั ปากม้าลา้ จบั ไว้ที่หัวอาน มือขวาจับทที่ ้าอาน ขน้ั ตอนท่ี ๒ สปริงตวั ขนึ้ ไปเท้าท้งั สองขา้ งชิดติดกันนา้ หนกั ตัวตกท่ีแขนทั้ง ๒ ขา้ ง ลาตวั เฉียงกบั ตัวม้าประมาณ ๔๕ องศา ตามองตรงไปข้าง (เหมอื นกบั การขึ้นมา้ ขนั้ ตอนท่ี ๒ แตไ่ มส่ วมโกลน ขัน้ ตอนที่ ๓ เลือ่ นมอื ขวาไปจับที่หัวอานพร้อมกบั เตะเทา้ ขวาผ่านท้ายมา้ ด้วยอาการขาตรงึ น่งั ลง บนแท่นอานอยา่ งเบาๆสวมโกลนทง้ั ๒ ข้าง มือทง้ั ๒ ข้างแยกจับบังเหียนทง้ั ๒ เส้น การลงจากม้าโดยไมใ่ ช้โกลน มี ๓ ขนั้ ตอนใชค้ าบอกคาสัง่ ว่า “ลงมา้ ” เปน็ คาบอกรวด ขนั้ ตอนที่ ๑ มือขวาส่งสายบังเหยี นให้มือซ้ายๆมือท้ังสองข้างจบั ทหี่ ัวอาน เท้าท้ัง ๒ ข้างถอด โกลน ขั้นตอนที่ ๒ สปริงตวั โดยให้เทา้ ขวาผา่ นท้ายม้า นาสะโพกขวาตดิ ไวท้ ี่หัวอานเท้าท้งั สองขา้ งชดิ ติดกันนา้ หนักตัวตกทีแ่ ขนทง้ั สองขา้ ง ลาตัวเฉียงกบั มา้ ประมาณ 45 องศา ตามองตรงไปข้าหน้า ขนั้ ตอนที่ ๓ หย่อนตัวลงบรเิ วณไหลม่ ้า ก้าวเท้าซ้ายไปอยูบ่ รเิ วณขากรรไกม้า มือซ้ายจับรวบ สายบังเหียนใต้คางม้า นามือขวาจับสายบงั เหียนแทนมือซ้ายนาเท้าขวาชดิ เทา้ ซา้ ยทาซ้ายหนั การส่งขึ้นมา้ เป็นการกระทาให้กบั นายทหารผู้ใหญ่ หรือ เดก็ ๆท่ีไมส่ ามารถข้ึนม้าได้ มี ๓ ขน้ั ตอน คือ ขน้ั ตอนท่ี ๑ ผขู้ ่ีมา้ จะยืนอย่บู ริเวณกลางลาตัวมา้ มือซ้ายรวบจับสายบังเหียนไวท้ หี่ ัวอานมอื ขวา จบั ทา้ ยอาน ยกขาซ้ายข้ึนโดยใหข้ าท่อนลา่ งขนานกบั พน้ื ปลายเท้าจกิ ลงดิน ขน้ั ตอนท่ี ๒ ผ้สู ง่ ขึ้นมา้ มือซ้ายรองจบั ท่ีหวั เขา่ ซา้ ยของผขู้ ่ี มือขวาจับที่ข้อเทา้ ซา้ ยโดยลกั ษณะ อ้อมดา้ นใน ขัน้ ตอนท่ี ๓ ท้งั ผู้ขแ่ี ละผสู้ ง่ นับ ๑,๒,๓ พรอ้ มกนั เมื่อสิ้นสุดคาว่า ๓ ผขู้ ่ีสปรงิ ตวั ผ้สู ง่ ยกดนั ขาผู้ขี่ ขน้ึ พร้อมกัน ผู้ขี่เตะเท้าขวาผ่านท้ายมา้ น่งั ลงอย่างเบาๆสวมโกลนทง้ั ๒ ขา้ ง

๔๒ เรอ่ื ง หลักการในโรงฝึก ๑.สว่ นตา่ งๆ ในโรงฝกึ เพอ่ื ความสะดวกแก่การเรียนและการฝึก จึงได้กาหนดเส้นภายในโรงฝึกข้นึ ดงั นี้ ๑. ฝาโรงฝึก ๒.เสน้ ใน ๓. เส้นนอก ๔.เสน้ ก่ึงกลางโรงฝึก ๑. ผ่าโรงฝกึ ๓. เส้นใน ๒. เส้นนอก ๔. เสน้ กึ่งกลางโรงฝึก - เส้นนอก ห่างจากฝาโรงฝกึ ประมาณ ๑ เมตร - เสน้ ใน หา่ งจากเสน้ นอกประมาณ ๓ เมตร เสน้ สมมุติ เหล่านแี้ ม้จะเป็นการฝึกในสนามนอกโรงฝึกก็ใหใ้ ช้โดยอนโุ ลม ๒. ลาดับงานในโรงฝึก การเดนิ เมอ่ื มคี าบอกวา่ “ หน้า…..เดิน “ ให้ใชน้ อ่ งท้งั สองข้างอัดที่หลังสายรดั ทึบพร้อมกนั โดยใชก้ าลงั เท่ากนั จะเบาหรือแรงแลว้ แต่ความตอ้ งการของผขู้ ี่ หรือความรสู้ กึ ของม้า พร้อมกบั หย่อนสาย บงั เหียนและใสเอวไปข้างหน้าเพ่ือใหน้ ้าหนักตวั ของผู้ขี่พ่งุ ไปขา้ งหนา้ ซึ่งเปน็ ผลใหม้ า้ เสยี การทรงตัว คอื นา้ หนกั ถ่วงไปขา้ งหนา้ ม้ากจ็ ะออกเดนิ ตามความประสงค์ของผู้ขี่ ในขณะทมี่ ้า เดินอยู่ผ้ขู กี่ ็พยายามจดั ท่านัง่ ม้า และฝึก การใสเอวใหเ้ ขา้ กบั จงั หวะในการเคลื่อนท่ขี องมา้ โดยทาเอวอ่อน ๆ (ครปู ฏบิ ตั กิ ารใสเอวใหน้ กั เรียนดู) การเดนิ ทางขวาหรือทางซา้ ย ในโรงฝกึ ถา้ รา่ งกายซีกขวาของม้าหรอื ของผู้ข่หี นั เขา้ หาด้านในของโรงฝกึ เราเรียกวา่ “ เดนิ ทางขวา “ เมอ่ื มีคาบอกว่า “ ทางขวาหนา้ …เดิน “ ใหบ้ งั คับม้าเดนิ ออกจากแถวตรงไปยังฝาโรงฝึกตรงหนา้ เม่ือถงึ เส้นนอกให้เลย้ี วไปทางขาวแล้วเดนิ ไปตามเส้นนอกถา้ ต้องการเดิน ทางซา้ ยก็ใหก้ ระทาตรงขา้ ม การใช้ระยะต่อ ระยะต่อนับวา่ เปน็ สิง่ สาคัญมาก เพราะถา้ นกั เรียนจัดระยะต่อไมไ่ ด้ตามที่ผูฝ้ กึ กาหนดให้ แลว้ จะทาให้การฝึกเร่ืองอืน่ ๆ ไม่ได้ผล ดงั น้นั ในขั้นตน้ ให้ใชเ้ พียงฝเี ท้าเดิน โดยผู้ฝกึ ส่ังให้นักเรยี นบงั คับม้าเดนิ บน เส้นนอก และใหร้ ักษาระยะต่ออย่างเคร่งครดั ตามท่ผี ู้ฝึกกาหนดให้สาหรับม้าเทศให้ถือระยะต่อ ๘ กา้ ว มา้ ไทย ๖ ก้าวนักเรยี นจะต้องรักษาระยะตอ่ ให้ประมาณนี้อย่างกวดขันถ้าระยะต่อชิดไปใหด้ ึงบังเหียนไวเ้ พอ่ื ม้าลดฝเี ท้าลงจน ไดร้ ะยะต่อทกี่ าหนด ถ้าระยะต่อหา่ งให้อัดนอ่ งบังคบั ม้าให้เรว็ ข้นึ จนไดร้ ะยะต่อทก่ี าหนด การเปิดแถว การเปิดแถวมี ๒ วิธี ๑. การเปดิ แถวพร้อมกัน คาบอก “ ระยะตอ่ . . . . ก้าว ทางขวาหรอื ซ้าย หนา้ . . . เดิน วธิ ี ปฏิบัติ นกั เรียนบงั คับมา้ ให้ออกเดนิ จากแถวบนเสน้ กง่ึ กลางโรงฝึกตรงไปยงั เสน้ นอกตรงหนา้ พรอ้ มกนั เม่ือถึง เสน้ นอกแลว้ ให้เลย้ี วไปทางขวาหรอื ทางซา้ ยตามคาบอก เมอ่ื ทุกคนอยู่บนเสน้ นอกแล้ว ใหร้ ีบจัดระยะต่อให้ได้ ตามทผ่ี ู้ฝกึ กาหนด

๔๓ ๒. การเปดิ แถวทล่ี ะมา้ คาบอก “จากซา้ ยหรอื จากขวา ระยะตอ่ ...กา้ ว ทางขวาหรือซา้ ยหน้า...เดนิ วิธปี ฏิบตั ิ เมอื่ สิ้นสุดคาส่งั ให้นักเรยี นทอี่ ยูห่ วั แถวดา้ นซา้ ยหรอื ดา้ นขวาบังคับม้าให้ออกเดินจากแถวบนเสน้ กึ่งกลาง โรงฝกึ ตรงไปยังเสน้ นอกตรงหน้าท่ีละ ๑ ม้า เม่ือถงึ เสน้ นอกแล้วให้เลีย้ วไปทางขวาหรือทางซ้ายตามคาบอก มา้ ตัว ตอ่ ไปเมอ่ื ม้าตวั อรกออกเดนิ แล้วประมาณ ๓ – ๔ กา้ ว กบ็ งั คับมา้ ให้ออกเดนิ จากแถวบนเส้นกง่ึ กลางโรงฝกึ ตรงหนา้ ไปยงั เส้นนอก เมื่อถึงเสน้ นอกแล้วใหเ้ ลี้ยวไปทางขวาหรอื ทางซา้ ยตามคาบอก เมือ่ ทกุ คนอยู่บนเสน้ นอกแล้วใหร้ ีบ จดั ระยะต่อให้ไดต้ ามที่ผฝู้ กึ กาหนด การหยุด คาบอก “ แถว . . . .เดิน “ วิธปี ฏบิ ตั ิ จับสายบงั เหียนดว้ ยน้ิวมือให้แนน่ ดึงสายบังเหยี นมาข้างหลังจากข้างลา่ งข้ึนขา้ งบนด้วยแขนท่อน ลา่ ง ใชข้ ้อศอกเป็นดุมติดกบั ลาตวั การดึงน้นั ใชแ้ รงดงึ ที่สายบังเหยี นให้เทา่ กนั ทง้ั สองมือ และดงึ จากเบาไปหา หนักจนกระทั่งมา้ หยดุ ถ้าม้าไมห่ ยดุ ก็อาจใช้นา้ หนักตวั ชว่ ยโดยเอนตัวไปขา้ งหลัง การทาวง การทาวง คือ การบงั คับม้าใหเ้ คลื่อนท่เี ปน็ วงกลมสัมผสั กับเส้นท่ีกาลังเคล่ือนอยู่ ๑ รอบ ถ้าผูฝ้ กึ มไิ ด้กาหนดเสน้ ผา่ นศูนย์กลางของวงกลมให้ ใหถ้ อื ว่าเส้นผา่ นศูนย์กลางของวงกลมยาวไปถงึ เสน้ ก่งึ กลาง โดยธรรมดาแล้วผู้ฝกึ จะกาหนดเส้นผา่ นศูนย์กลางตามประเภทของมา้ คือถ้าเป็นมา้ เทศใชเ้ สน้ ผ่าศนู ย์กลาง ๘ ก้าว ม้าไทยใช้เส้นผา่ ศนู ยก์ ลาง ๖ ก้าว คาบอก “ ทาวง . . . . ทา “ หรือ “ เส้นผา่ ศนู ย์กลาง . . . .กา้ ว ทาวง . . .ทา “ ถ้ามา้ เคลื่อนท่ีทางขวาใชบ้ ังเหยี นขวาเปดิ บงั เหียนซา้ ยทาบคอนอ่ งขวาอัดบรเิ วณสายรัดทึบ นอ่ งซ้ายหลังสายรดั ทึบ นา้ หนกั ตัวเอยี งมาทางขวาเล็กนอ้ ย เมอ่ื เล้ยี วทาวงกลมครบ ๑ รอบแล้วคงเคล่ือนทตี่ ่อไปในทศิ ทางเดิม ( ถ้า เดินทางซ้ายก็ปฏิบัติตรงกนั ข้าม ) หมายเหตุ การทาวงน้ีถ้าผู้ฝกึ สง่ั ฝีเทา้ อะไร ผู้ปฏบิ ัติตอ้ งบงั คบั มา้ ให้ทาวงดว้ ยเทา้ นน้ั ห้ามมิให้เปลีย่ นฝเี ทา้ ในขณะทาวงเป็นอนั ขาด - ระยะต่อเป็นสิ่งสาคัญทส่ี ุดในการทาวง เพราะถา้ ทุกคนจัดระยะต่อไม่ไดจ้ ะทาให้มา้ ชนกัน - ความพรอ้ มเพรียงกนั ในขณะทาวง จะมคี วามเป็นระเบยี บและสวยงาม - ท่านัง่ ม้า ผู้ฝกึ ควรจะได้กวดขนั อย่ตู ลอดเวลา เพราะเปน็ พื้นฐานของการขี่มา้ การกลบั หลังเลย้ี ว การกลบั หลังเลี้ยว คือ การบังคับม้าใหท้ าวงได้ ๒ ใน ๓ สว่ นของวงกลม เหลือ อีก ๑ สว่ น ให้เคลอื่ นที่เฉยี งเข้าหาเส้นนอก โดยทามมุ กบั เส้นนอกประมาณ ๔๕ องศา แต่ไปในทางตรงกันขา้ มกบั เมื่อก่อนเลยี้ ว การกลับหลงั เล้ียวมี ๒ อย่าง คอื ๑. ขวากลับหลงั เลย้ี ว ๒. ซ้ายกลบั หลงั เล้ยี ว คาบอก “ขวากลับหลัง . . .เลย้ี ว “( จะคาสงั่ เมื่อมา้ ของนักเรยี นเคล่ือนที่ทางขวา) วธิ ปี ฏบิ ตั ิ นักเรยี นบังคับมา้ ใหท้ าวงไปทางขวา ประมาณ ๒ ใน ๓ สว่ นของวงกลมเหลือ ๑ สว่ น ให้บงั คบั มา้ เดนิ เฉียงออกไปหาเส้นนอก โดยให้ทามุมกับเสน้ นอกประมาณ ๔๕ องศา มา้ จะเปล่ียน ทศิ ทางเคลื่อนท่ี ตามรปู

๔๔ คาบอก “ ซา้ ยกลบั หลัง . . . .เล้ียว “ ( การปฏบิ ตั ิเหมือนกบั ขวากลบั หลังเล้ียวแต่ปฏบิ ตั ใิ น ลกั ษณะตรงกันข้าม) หมายเหตุ สาหรบั การฝกึ ข่ีม้าขัน้ ต้นนั้นการกลับหลงั เลย้ี วใช้ไดก้ ับฝเี ท้าเดิน และวิ่งเรยี บ เทา่ น้นั การว่งิ เรยี บธรรมดา คาบอก “ ว่ิงเรยี บ . . .ว่งิ “ วิธปี ฏิบตั ิ อดั น่องทั้งสองขา้ งให้แรงขนึ้ กว่าเม่ือขณะใชฝ้ เี ท้าเดิน ม้ากจ็ ะออกวิ่งเรียบ ฝึกให้ นักเรยี นสวมโกลนเสยี กอ่ น เพื่อใหน้ ักเรียนคุ้นเคยกับจงั หวะในการเคล่ือนที่ของมา้ การฝึกขี่มา้ ในฝีเท้านี้นักเรียนจะตอ้ งปลอ่ ยให้กน้ กระแทกไปกับการม้าตามจงั หวะวง่ิ ของม้า พร้อมกับใสเอวให้ไป กับจังหวะของม้าเอนตัวไปขา้ งหลังเลก็ น้อยเพื่อดันใหก้ ันไปข้างหนา้ ซง่ึ จะทาให้การกระแทกอานเบาลง มือทถี่ ือ บงั เหียนต้องระวงั อยา่ ให้เขย่าปากมา้ การฝึกในฝีเท้าวงิ่ เรยี บครง้ั แรก ควรจะใชฝ้ เี ทา้ สลบั กบั ฝเี ทา้ เดิน เพอ่ื ผ่อนคลายความเหนด็ เหน่ือย ของนักเรียนและมา้ ด้วย โดยใหว้ ่ิงเรียบประมาณ ๒ – ๓ นาที แลว้ ให้เดิน ๒ – ๓ นาที เสรจ็ แล้วสง่ั ใหว้ ่งิ เรียบอีกสลับกนั ไป เม่ือเห็นว่านักเรยี นมีการทรงตวั ดแี ล้วกค็ อ่ ยๆเพ่ิมเวลาในการวิ่ง เรียบ ให้มากขนึ้ ทีละ เลก็ ทลี ะน้อย และต่อไปก็เริ่มปฏบิ ัติการทาวง และการกลับหลังเลยี้ วในฝเี ทา้ ว่ิงเรยี บเพ่ิมขึน้ หมายเหตุ เมือ่ จะให้เปล่ยี นเท้าจากวิง่ เรียบมาเป็นเดนิ ผ้ฝู ึกจะใชค้ าบอกวา่ “ แถว . . . เดิน “ และถ้าจะให้เปล่ยี นเท้าเดินเป็นหยดุ ผ้ฝู ึกจะใช้คาบอกว่า “ แถว . . . หยุด “ การว่ิงเรียบธรรมดาไมส่ วมโกลน เมือ่ จะให้มา้ วิง่ เรียบธรรมดาไม่สวมโคลน ผฝู้ ึกจะส่ังวา่ “ ตลบโกลน “ นักเรยี นเอาโกลนท้ังสองขา้ งตลบข้ึนพลาดตะโหงกมา้ ข้างหน้าหัวอาน เสร็จแล้วจัดท่านงั่ มา้ โดยไม่ สวมโกลน ต่อไปผู้ฝกึ กจ็ ะใช้คาบอกวา่ “ วิ่งเรียบ . . . ว่งิ “ นักเรียนก็บงั คับมา้ ออกวิ่ง สาหรับการฝึกวิง่ เรยี บธรรมดาโดยไม่สวมโกลนน้ี ในการฝึกคร้ังแรกผฝู้ ึกควรจะส่ังใหน้ ักเรยี น ปฏิบัตกิ ารว่งิ เรียบเป็นชว่ งระยะเวลาสั้น ๆ ประมาณครงั้ ละ ๒ – ๓ นาที หรือ ๕ นาที สลบั กันกบั การใชฝ้ ีเท้า เดิน ต่อไปพอนักเรียนรู้จักการทรงตัวดีขนึ้ ก็คอ่ ย ๆ เพ่ิมระยะเวลาในการว่ิงเรยี บตามลาดับและให้นักเรยี น ปฏบิ ัตกิ ารบงั คบั ม้า ทาวง หรือการกลบั หลังเลีย้ วประกอบไปดว้ ย เมอ่ื ผู้ฝึกจะใหน้ กั เรียนสวมโกลน ผฝู้ กึ กส็ ่งั ว่า “ เอาโกลนลง “ นักเรยี นก็เอาดกลนลงแลว้ สวมโกลน การว่งิ เรยี กตวั ประโยชนข์ องการข่ีม้าว่ิงรอบยกตวั - ผ่อนการกระแทกตวั ของผขู้ ี่ม้าบนหลังม้าใหเ้ บาลง - เป็นการถนอมปากและหลังม้า - ผ่อนคลายความเหน็ดเหนอื่ ยให้แก่มา้ และคน - มา้ ยดื แข้งขาได้เต็มท่ี การยกตวั บนขาหน้าขวา ในขณะมา้ วิ่งเรียบธรรมดา ( เคลอ่ื นที่ทางซ้าย ) ผฝู้ กึ จะส่ังว่า “ เร็วขน้ึ “ นกั เรยี นบังคบั มา้ ใหว้ ิง่ เรียบยาว ( คอื ใหม้ า้ วิ่งเรียบก้าวขายาวขน้ึ ) ต่อไปผู้ฝึกจะใช้คาส่ังวา่ “ ยกตัว บนขาขวาทา “ วิธปี ฏิบตั ิ - ยกตัวเม่ือขาหน้าขวาของมา้ ยกจากพื้น โดยผ้ขู ยี่ ืนขน้ึ ดว้ ยการใชเ้ ทา้ ยนั ดกลน และใหน้ อ่ งหนบี ม้าเพือ่ ทรงตัวยกกน้ ข้ึนจากอาน และก้มตัวไปขา้ งหน้า - นงั่ ลงบนอานเบา ๆ เมือ่ ขาหน้าขวาของม้าจรดพ้นื

๔๕ การยกตัวบนขาหน้าซ้าย วิธีปฏิบตั ิ ตรงขา้ มกับยกตวั บนขาหนา้ ขวา เมือ่ ผ้ฝู กึ จะให้นกั เรียนเลิกปฏิบตั ิการข่ีม้ายกตวั ผฝู้ กึ จะส่ังว่า “ ชา้ ลง “ นักเรียนบงั คับม้าให้ม้าวงิ่ เรยี บชา้ ลง ( ว่งิ เรยี บธรรมดา ) ไม่ยกตวั ข้อสงั เกต วธิ ีสงั เกตวา่ ยกตวั ถูกขาม้าหรอื ไม่ ให้ผมู้ องดูที่ไหลม่ า้ ถา้ ยกตัวบนขาขวาให้มอง ท่ี ไหลข่ วาของมา้ คือ ถ้าไหล่ขวาของมา้ โผลไ่ ปขา้ งหน้ากใ็ ห้ยืนข้ึน และเวลาไหลข่ วาลดลงกใ้ ห้น่ังลงบนอานทงั้ น้ีก็ เพราะวา่ เวลาไหล่ขวาของม้าโผล่ไปขา้ งหนา้ นัน้ ขาหน้าขวาของม้าจะยกข้นึ ไปดว้ ย และเวลาไหลข่ วาลดลงขา ขวาของมา้ ก็จะเตะพืน้ พอดสี าหรับการยกตัวบนขาหน้าว้ายกส็ ังเกตตรงกันข้าม ขอ้ ควรระวงั ๑. ถา้ จะว่งิ เรียบยกตัวบนขาหนา้ ขวาต้องใหม้ ้าเคลอื่ นทีท่ างซา้ ย ๒. ถ้าจะวิง่ เรียบยกตัวบนขาหน้าซา้ ยต้องใหม้ ้าเคลื่อนท่ที างขวา ๓. ในการฝึกควรจะได้ฝึกว่ิงเรยี บยกตัวบนขาหน้าขวาและซ้ายสลบั กันดว้ ยเวลา เท่ากนั ทั้ง ๒ ข้างเพราะ - เมอ่ื ยกตัวบนขาขวา ขาหน้าขวาและขาหลงั ขวาขิงม้าได้รบั การพกั ผ่อน ขาหน้าซา้ ยและ ขาหลังซ้ายจะรบั น้าหนกั - เมื่อยกตัวบนขาซา้ ย ขาหน้าซ้ายและขาหน้าหลงั ซ้ายของม้าจะได้รบั การพักผ่อน ขา หนา้ ขวาและขาหลงั ขวารบั นา้ หนกั การเปลีย่ นทางจากมุมเลี้ยว คาส่ัง “ จากมุม เปลีย่ นทางเลย้ี ว “ วธิ ีปฏบิ ัติ กระทาเม่อื นักเรยี นเคลอื่ นท่ีพน้ จากมุมโรงฝึก ระหวา่ งด้านกวา้ งจดกบั ด้าน ยาวไปแลว้ ประมาณ ๖ เมตร จึงบงั คับม้าเล้ยี วไปตามเส้นทแยงมุม ไปยงั เส้นนอกท่ีมุม- ตรงกันขา้ ม ก่อนถึงมุมโรงฝกึ ระหว่างดา้ นยาวจดกบั ด้านกว้าง ประมาณ ๖ เมตร แลว้ เคล่ือนที่ไปทิศทางตรง ข้าม ภาพแสดงการปฏิบตั ิ การวิ่งโขยก การบังคับมา้ ให้ออกวง่ิ โขยก กระทาจากฝีเทา้ วงิ่ เรยี บ,เดิน,หรอื หยุด แตส่ าหรบั นกั เรยี นทีท่ าการฝกึ ใหม่ ๆ ควรจะบังคบั มา้ ออกวิ่งโขยกจากฝเี ท้าวิ่งเรียบเพราะจะทาให้การบังคบั มา้ ออกวง่ิ โขยก ไดง้ ่ายขนึ้ และฝกึ ให้ว่ิงโขยกในขณะที่สวมโกลนอยู่ การว่งิ โขยกขาหน้าขานา เม่อื มา้ กาลังเคล่ือนท่ีอยทู่ างขวา ผู้ฝึกจะส่ังให้ออกวงิ่ โขยกโดยใช้ขาหน้าขวานา คาบอก “ วงิ่ โขยก . . . . ว่งิ “ วิธีปฏบิ ตั ิ บงั เหยี นซา้ ยหลงั ตรง ดงึ ใหห้ นา้ มา้ หันมาทางซา้ ย บงั เหียนอนโุ ลม ( คอื ถือบงั เหยี น พอดีกับปากมา้ ) นอ่ งขวาอัดบรเิ วณสายรกั ทึบ นอ่ งซ้ายอัดแรงบรเิ วณหลังสายรัดทบึ โน้มน้าหนกั ไปทางไหลข่ วา

๔๖ เลก็ น้อย ม้ากจ็ ะออกว่ิงโขยกขาหนา้ ขวานาตามความต้องการ เมอ่ื มา้ ออกวงิ่ โขยกขาหน้าขวานาแลว้ หห้ ยอ่ ย บงั เหยี นซ้ายเพื่อให้ม้ายืดคอตรงธรรมดา การว่งิ โขยกโดยไม่สวมโกลน ข้ันแรกใหน้ ักเรียนตลบดกลนขึน้ เสรจ็ แลว้ มือซ้ายถือบังเหียนมือ ขวาจบั หวั อาน ผู้ฝึกสั่งให้วิ่งโขยกเป็นแถวตามมา้ นา ไม่จัดระยะต่อให้นักเรยี นฝกึ การใสตวั ใหไ้ ปกบั จังหวะม้า โดยทาเอวให้อ่อน ใชม้ ือขวาชว่ ยดึงทห่ี วั อานเพ่ือชว่ ยในการใสเอวและก้นไปข้างหน้า น่องทัง้ สองหนีบท้องม้า เม่อื ผ้ฝู กึ เหน็ วา่ นักเรยี นมีการทรงตวั ดีและรจู้ กั การใสตวั ดีแล้ว ก็ให้ปล่อยมือขวาจากหวั อานมาถือบังเหียนแยกสอง มอื ข้นั ตอ่ ไปเม่ือนกั เรียนมีการทรงตวั ดีแล้ว ใหน้ กั เรยี นทดลองไมใ้ ช้นอ่ งหนีบมา้ โดยการกางหัว เข่าและน่องออกแล้วแกวง่ เท้าสลบั กันโดยพยายามแกว่งเท้าเหว่ยี งไปทางทา้ ยมา้ ให้มาก ๆ เพือ่ เป็นการดนั ก้นของผู้ ขใ่ี หไ้ ปขา้ งหน้าไดเ้ ตม็ ที่ (ในขน้ั นตี้ อนแรกอาจให้นักเรียนจับหวั อานกอ่ นกไ็ ด้ เมอื่ นักเรยี นทรงตวั ได้ดีแลว้ จึง ปลอ่ ยมอื ทห่ี ัวอาน) การฝึกวิง่ โขยกโดยไมใ่ ช้โกลน ควรจะใหว้ ่ิงโขยกทง้ั ทางขวาและทางซ้ายเท่า ๆ กัน เพื่อเปน็ การฝกึ ใหม้ า้ ออกวิ่งโขยกได้ทั้งขาหนา้ ขวาและขาหน้าซ้าย เม่ือนักเรยี นสามารถปฏิบัตติ ามมา้ นาไดแ้ ล้วต่อไปให้ นกั เรียน ปฏบิ ัตทิ ีละคน การวิ่งโขยกเป็นวงกลม คาบอก “ ทาวงกลม . . . . ทา “ วธิ ีปฏิบตั ิ มา้ นาเรมิ่ ทาวงกลม มา้ ตวั ต่อว่ิงตามม้านาโดยจัดระยะต่อแต่ละมา้ ใหเ้ ท่ากนั หมดจาก ม้านาจนถึงม้าตัวสุดทา้ ย เม่ือผู้ฝกึ สง่ั วา่ ตามกวา้ ง ให้มา้ นาบังคบั ม้าออกไปยงั เส้นนอกเคล่อื นที่ไปตาม ทิศทางเคลือ่ นท่ีอยู่เดิม (คอื เลิกปฏบิ ัตกิ ารทาวง) ม้าตวั ตอ่ ๆ ไปเคล่ือนท่ตี มม้านา การทางูเล้ือย คาบอก “ งูเล้อื ย . . . . ทา “ วธิ ปี ฏบิ ัติ บังคับม้าใหเ้ ดินในลักษณะงเู ล้ือยทุกตัวจากเส้นนอกไปยังเส้นในและจากเส้นในหา เส้นนอก เคลอ่ื นทต่ี ดิ ต่อกนั ไปเลือ่ ย ๆ จนกวา่ จะส่ังวา่ “ ตามกวา้ ง “ จงึ เลิกปฏบิ ตั ิ คอื ใหท้ กุ คนบังคับมา้ ออกไปเคลื่อนที่บนเส้นนอกตามเดมิ ภาพแสดงการปฏบิ ตั ิการทางเู ลือ้ ย การหนั ขาหนา้ เป็นหลกั คาบอก “ ขาหน้าเป็นหลัก ขวา . . . . หนั “ วิธีปฏบิ ตั ิ บงั คับม้าให้หันหน้าไปทางขวาชา้ ๆ ทลี ะกา้ ว โดยขาหน้าทงั สองซอยเทา้ อยู่กับท่ีพร้อม กับหนั หน้าม้าไปทางขวา ส่วนขาหลงั ทง้ั สองข้างหมนุ ไปทางซา้ ยจนกระทั่งได้ ๙๐ องศา จึงหยดุ โดยใชบ้ งั เหียน

๔๗ ขาหลังตรง นอ่ งขาอัดบริเวณหลงั สายรัดทบึ เพอ่ื ปดั ใหท้ า้ ยมา้ หมนุ ไปทางซ้าย นา้ หนักตัวของผู้ขี่อย่บู นขาหน้า ขวาของมา้ เพ่ือให้ขาหน้าท้ังสองขา้ งซอยเทา้ อยูก่ ับที่ การทาขาหน้าเป็นหลกั ซา้ ยหัน คาบอก “ ขาหนา้ เปน็ หลกั ซา้ ย . . . หนั “ วิธปี ฏิบัติ ทาตรงกนั ข้ามกบั ขาหน้าเปน็ หลกั ขวาหนั การทาขาหน้าเปน็ หลักขวากลับหลงั หัน ก็ทาเช่นเดยี วกบั ขวา . . หัน แตบ่ งั คับมา้ ใหห้ นั เพ่ิมขนึ้ อีก ๙๐ องศา เป็น ๑๘๐ องศา ภาพแสดงการบังคับม้าขวากลบั หลังหัน -8- ขาหน้าเปน็ หลักซ้ายกลบั หลงั หัน ใหป้ ฏิบตั ติ รงกนั ขา้ มกับขาหน้าเป็นหลักขวากลบั หลงั หัน ข้อควรระวัง ๑.ขวาหันหรือขวากลับหลงั หนั จะปฏบิ ัตเิ ม่อื มา้ เคล่อื นท่ีทางซา้ ยเทา่ น้ันเพ่ือปูองกันมิใหท้ ้ายหมุนไป ชนโรงฝกึ ๒. ซ้ายหนั หรือซา้ ยกลับหลงั หนั จะปฏิบัติตอ่ เมอ่ื มา้ เคล่อื นท่ที างขวาเท่านัน้ ด้วยเหตผุ ลข้อที่ ๑ คาบอกในการฝกึ หนั ในฝีเท้าต่าง ๆ ๑. ในขณะม้ายุดอยกู่ ับที่ หรือในขณะมา้ เดิน เมือ่ ผ้ใู ชค้ าบอกว่า “ ขาหน้าเป็นหลกั ขวาหรือ ซ้ายกลับหลัง . . . หนั “ ต้องบังคับม้าใหห้ ยุดน่งิ เสยี ก่อน แล้วบังคับม้าใหห้ ันไปตามทศิ ทางที่ ผฝู้ กึ ต้องการ เสร็จแล้วให้ม้าหยดุ น่งิ เมื่อผฝู้ ึกต้องการให้ม้าออกเดิน ผฝู้ กึ จะใชค้ าบอกว่า “เดิน . .ตรง ๒. ในขณะท่ใี ช้ฝเี ท้าม้าว่งิ เรยี บ เมอ่ื ผู้ฝึกใชค้ าบอกว่า “ ขาหนา้ เป็นหลักขวาหรือซ้ายกลบั หลงั หนั บังคบั ใหม้ ้าเปล่ียนจากฝีเท้าวิ่งมาเป็นเดนิ และจากเดนิ มาเป็นหยุดตามลาดบั แลว้ ค่อย ๆ บังคบั ม้าใหห้ ัน ไปทิศทางท่ผี ู้ฝึกกาหนดให้แล้วหยุดนง่ิ เม่ือผฝู้ ึกต้องการใหม้ ้าออกวิ่งเรียบ ผฝู้ ึกจะใชค้ าบอกว่า “ วง่ิ . . . ตรง “ บงั คบั ม้าให้ออกวิง่ เรียบทันทจี ากหยุดอยู่กับท่ี โดยไมต่ ้องบังคับให้มา้ เดินเสยี กอ่ นจึงออกว่ิงเรียบ เรอื่ ง เครื่องมือบงั คับม้า เคร่อื งมือบงั คบั ม้าเป็นสิ่งสาคัญอย่างหนงึ่ ในการขี่ม้าที่ผู้ข่มี ้าสามารถทจ่ี ะใหม้ า้ ทาอะไรไดต้ ามความ ประสงคท์ ุกอย่าง ถ้าผูข้ ่ใี ช้เครื่องมือบังคบั ม้าไดถ้ กู ต้องแลว้ มา้ ก็จะทาตาม แต่ถา้ ผ้ขู ่ีใช้เครอื่ งมือไม่ถูกต้องม้ากไ็ ม่ สามารถทาอะไรไดถ้ ูกตอ้ ง

๔๘ ๑ . เครือ่ งมือบังคบั ม้ามี ๒ อยา่ ง ๑.๑ เคร่ืองมอื บังคับม้าหลกั ๑.๒ เครอ่ื งมือบงั คับม้ารอง (พเิ ศษ) ๑.๑.๑ เครือ่ งมือบังคับม้าหลกั มี ๓ อย่าง ก. นอ่ ง ข. บังเหียน ค. นา้ หนักตวั ดว้ ยเครือ่ งมือบังคบั ท้งั ๓ อยา่ งน้ี ถา้ ผขู้ ่ีรู้จักใชใ้ ห้ถูกต้องตามหลกั การ เหมาะสมกับโอกาสความรูส้ กึ ของมา้ แต่ และก้าวแลว้ กส็ ามารถที่จะบังคับใหม้ า้ ปฏบิ ตั ิตามความประสงค์ของผขู้ ่ที ี่ถ่ยทอดมาตามวธิ กี ารบงั คบั ท้งั ๓ นนั้ ได้เสมอ การบงั คับม้าท่ีดีน้นั ต้องเป็นไปอย่างโอนโยนและตามลาดับจากเบาไปหาหนัก แลว้ แต่ละตัวจะมี ประสาทความรู้ หรอื ความเคยชนิ ต่อการบงั คบั ทีห่ นักเบาเพยี งใด นอกจากน้นั ใชเ้ ครื่องมอื แตล่ ะอย่างจะต้องให้ เปน็ อิสระต่อกันอย่างเด็ดขาด ผูข้ จี่ ะตอ้ งใช้เครอ่ื งมือบังคับมา้ อย่างใด แค่ไหน ต้องปล่อยให้เคร่ืองการบังคบั และร่างกายส่วนอ่ืน ๆ เป็นอยอู่ ย่างปกติ ไม่พลอยเคลอื่ นไหวไปดว้ ยแม้แต่น้อย ซึง่ จะทาใหม้ ้าเกิดความสงสยั ลงั เล เพราะม้าต้องมคี วามรสู้ ึกในความเคลื่อนไหวจากปกติของคนขี่อยบู่ นหลงั ตลอดเวลา ฉะน้นั จะสงั เกตได้ว่า คนขีม่ ้าดหี รือการบังคบั มา้ ทีด่ ีจะทาใหผ้ ดู้ ูเหน็ น้อยทีส่ ดุ แต่ม้าจะปฏบิ ตั ิตามอยา่ งดี และแน่นอนทสี่ ุด น่องและวิธีใช้ เมื่อต้องการใชน้ ่องบังคบั ม้าให้กดสน้ เทา้ ให้ต่าลงเพื่อให้กล้ามเน้ือ เกรง็ แข็งเต็มที่แลว้ กดนอ่ งลดขาลง ประโยชนข์ องน่อง - ทาใหเ้ กิดกาลงั ดันไปข้างหนา้ - เปน็ เครือ่ งกากบั ความเรว็ - ใชค้ มุ ทิศทางในการเคลอ่ื นทีท่ างสว่ นหลงั มือ (คลา้ ยหางเสอื ) - ใช้เปน็ เครื่องส่วนท้ายของม้าให้เคลื่อนที่ไปทางข้าง หน้าที่ของนอ่ ง ๑. น่องบงั คับ คือ ใชก้ ดและรดี ทาใหอ้ าการเคล่ือนที่ ไปทางขา้ งหรือปดั ท้ายไปทางข้าง ๒. น่องกัน คือ น่องทท่ี าการต้านทานไม่ยอมใหท้ ้ายม้าปัดไปทางที่เราใช้นอ่ งกันไว้ ๓. น่องอนโุ ลมหรอื ผ่อนตาม คอื น่องท่แี นบไปกบั มา้ เฉย ๆ โดยไมม่ กี ารบังคบั หรือกัน ผลทไี่ ดจ้ ากการใช้น่องท่ีถูกตอ้ ง ๔. บงั คับให้มีกาลังดันให้เคลอื่ นท่ี เช่น ให้ไปข้างหน้าหรอื ไปทางขา้ ง ๕. ทาใหก้ ารเคลอ่ื นท่เี ร็วขนึ้ และกากับความเร็วให้คงที่ ๖. บงั คับมา้ ใหเ้ คล่ือนที่ขนานไปกบั สว่ นหน้าเป็นกรอบของการเคลื่อนโดยไมใ่ หเ้ คลื่อนที่สา่ ยไปส่ายมา ๗. ในเวลาเลย้ี ว บังคบั สว่ นท้ายหรือกนั ไมใ่ ห้สว่ นทา้ ยออกมาทางขา้ ง (เปน็ การดันกระดูก) ๘. บงั คบั ส่วนท้ายเฉพาะขาใหท้ างานไขวก้ นั เชน่ ให้โขยกผดิ ขา คอื ตามธรรมดามา้ จะโขยก ขาเสมอตามธรรมชาตขิ องม้า นอกจากคนขีบ่ ังคบั ให้มันตอ้ งวงิ่ ผิดขา การโขยกผดิ ขามี ๒ อย่างคือ (๑) ออกโขยกผดิ ขา หรอื ขานาผิด (๒) ขาหลังไม่สมั พันธ์กบั ขาหนา้ เช่น ขาหนา้ ขวาควรท่ขี าหลงั ขวาตามแต่ ใหข้ าหลงั ซา้ ยตาม ซึ่งถา้ เป็นไปโดยผู้ขีก่ ่อนและไม่ตั้งใจ ม้าเปน็ ไปเองแลว้ จะเป็นอันตรายแก่ม้า ถ้าเปน็ การข่มี า้ ชนั้ สูงและผขู้ ่บี งั คับใหเ้ ป็นไปแล้ว จะมปี ระโยชน์ในการดัดกระดูกหลังม้า

๔๙ ๖. เปน็ แบบผ่อนกาลังกระแทกของส่วนหลังมอื เม่อื ม้าถูกบงั คับใหห้ ยุดโดยฉับพลัน ถา้ ใชน้ ่องหนบี ใหม้ ้า เก็บขาหลังเขา้ ใตท้ ้องกอ่ นแล้วจึงหยุดโดยใชข้ าท้ังสยี่ ันพื้น ทาเอวไม่ตอ้ งรับการกระแทกเตม็ ท่ี ๗. ทาให้อาการเคล่ือนทห่ี รือจงั หวะการเคล่ือนทนี่ มิ่ นวลข้ึน โดยม้าเกบ็ ขาหลังเขา้ ใต้ตัวและศนู ย์ความ หนกั ของมา้ พอดี ข้อเตือนใจในการใช้นอ่ ง ผขู้ ีโ่ ดยมากมกั จะอาศยั บงั เหียนเล้ียงตัว หรอื อาศยั โกลนเป็นเคร่ืองชว่ ยใหน้ ่ังอยบู่ นหลัง ม้าได้ซึ่งม้าจะถูกกระชากปากหรือน่องตีท่ีข้างหลังตลอดเวลา จึงกลายเป็นม้าท่ีปากแข็งไม่ยอมทาตามการบังคับ เคลอ่ื นทีไ่ ม่เป็นจงั หวะและรับนา้ หนักไม่ถูกท่ี ทาให้ขาและเอวเสยี เรว็ เกินกว่าควร ความจริงบังเหียนเป็นเครื่องมือ ในการบงั คบั ม้ามิใช่เกีย่ วกบั การชว่ ยมใิ ห้คนตกม้าเลย และโกลนก็ใช้สาหรับพักเท้าเท่านั้น คือ เวลาม้าหยุดหรือ เคลื่อนท่ีตามธรรมดากใ็ ชพ้ ักเท้าเพอ่ื มใิ ห้เม่ือยลา้ จนเกินควร เม่ือตอ้ งการบังคับม้ากระโดดเคลื่อนที่แรง หรือเมื่อ มา้ ต่ืนจึงใช้เก็งขาหนบี ตอนนี้โกลนไมม่ ีประโยชน์นกั นกั ข่ีม้าโลดโผนมกั จะไม่สวมโกนเลย ใชข้ าหนีบม้าจริง ๆ นอกจากนั้นถ้าขี่กระโดดผู้อาศัยยันโกลนเข้าไปจนลึก เมื่อพลาดพลั้งลงมาเท้าอาจจะติดโกลนอาจถูกลากไปเป็น อันตรายได้ เพราะฉะนน้ั เวลาหดั ม้าใหม่จึงไมใ่ ชโ้ กลน การขี่ม้าน้ันแท้จริงจะต้องข่ีดว้ ยน่อง และการทรงตวั ทถ่ี ูกตอ้ ง ซง่ึ จะเก็บม้าเข้าหามือวิง่ ทาให้ปากม้า เบาและผ่อนการกระแทกกระเทอื น ทาให้มา้ เคลอื่ นท่ไี ดจ้ ังหวะ คนขีก่ ส็ บายมา้ กค็ งทนและทาให้มา้ กระทา ตามการบงั คบั และมีความรู้ดีขึน้ ผู้ข่ที ่ีน่องไมแ่ นบแกวง่ ไกวและกระแทกท้องม้าอยู่เรอื่ ย ๆ จะทาใหม้ ้าเสยี นิสยั หนักนอ่ งและแสดง อาการคดโกงตา่ ง ๆ เพราะความราคาญและไมร่ จู้ ักทาตามการบังคับอย่างไม่เปน็ เร่อื งเป็นราวน้ันอยา่ งไร ท่ี ถูกแลว้ ม้าจะตอ้ งร้สู กึ สบายใจตอ่ ความร้สู ึกของนอ่ งทดี่ แี ละนิง่ ซึง่ ไมท่ าความราคาญใหต้ ลอดเวลา และคอย รบั ความรู้สึก ปฏบิ ัตติ ามการบังคบั อนั แน่นอนน้นั ทันทีดว้ ยความเคยชิน คาว่าน่องดีและนิง่ คือ สัมผัสกบั ม้าเปน็ กรอบอยกู่ ับท่ีตลอดเวลา ไมว่ า่ จะเคลื่อนท่ีอย่างไรไมห่ ่างหรือ กวดั แกว่งติดไปกับม้าตามอาการเคลื่อนไหวและสีข้างม้าไม่แข็งท่ือ การทรงตัวทถี่ ูกตอ้ ง คอื ศูนย์ความถ่วงของคนข่ีอยกู่ ึง่ กลางฐานเสมอ ซึง่ จะตดิ ไปกับม้าได้ทุก อริ ิยาบทและอาการ บังเหียน วิธีใช้ จับบังเหียนให้แน่นด้วยนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้เท่ากัน ส่วนอีกสามน้ิวท่ีเหลือปล่อยให้ อ่อนเป็นอิสระไปตามจังหวะการยืดและหดของคอม้าทุกอิริยาบท และให้บังเหียนอยู่ปากม้าเท่าๆ กันอยู่ ตลอดเวลา เมื่อต้องการใช้ให้ใช้ตามลาดับตั้งแต่น้ิวท้ังหลายเข้าหันข้อมือลง ดึงด้วยกาลังแขน (โดยใช้ ข้อศอกเป็นดุม ใช้เฉพาะแขนท่อนล่าง คือ ดึงกดลงล่างข้อศอกจะเคลื่อนที่จากแนวหลังได้เล็กน้อย) และก่อนจะ ใช้บังเหียนใด ๆ ก็ตามให้ใช้น้ิวมือดึงมาข้างหลังเท่า ๆ กันเล็กน้อยพอให้ม้ารู้สึกและเตรียมตัวให้บังเหียนเข้าที่จึง คอ่ ยใชบ้ งั เหยี นบังคบั ตามตองการ ประโยชนข์ องนอ่ ง - ทาใหเ้ กิดการต้านทานใหม้ า้ เคล่ือนทชี่ ้าลง หรือหยุดและใชเ้ ปน็ เคร่ืองกากบั ความเรว็ ของมา้ - ทาใหเ้ กิดกาลงั ฉุดไปข้างหลัง - เปน็ เคร่อื งบังคับทางส่วนศรษี ะและคอม้า ซงึ่ เปน็ เครอ่ื งชง่ั นา้ หนักขา้ งส่วนตัวมา้ ใหเ้ คลอ่ื นที่ไปใน ทศิ ทางต่าง ๆ

๕๐ วิธีใชบ้ ังเหยี น ๕ อยา่ ง นอกจากการผ่อนและการเก็บบังเหียนทั้งคู่เท่า ๆ กัน ผ่อนให้ม้าเคล่ือนท่ีไปข้างหน้าและบังคับให้ เคล่ือนท่ีช้าลงหรือหยุดในทิศทางตรงหน้า และการดึงม้าเพื่อให้ม้าเคล่ือนท่ีไปทางหลังแล้ว เราอาจใช้บังเหียน เพ่อื ใหม้ ้าปฏิบตั กิ ารไดต้ ่าง ๆ ได้ ๕ อยา่ ง คือ ๑. บงั เหียนเปดิ ๒. บงั เหยี นหลงั ตรง ๓. บงั เหียนทาบคอ ๔. บังเหยี นตะโหงก ๕. บังเหยี นหลังตะโหงก บงั เหยี นที่ ๑ บังเหยี นเปิด ใช้ศอกเปน็ ดุมเปดิ แขนท่อนลา่ งออกไปทางข้างในระดบั เดยี วกัน ถา้ ใช้กับมา้ ใหม่เปดิ ทัง้ แขนได้เพ่ือให้บงั เหียนออกแรงมากขึน้ แขนตรงขา้ มปล่อยใหเ้ ปน็ อสิ ระไมท่ าอะไรท้ังสิ้นซึง่ จะทาใหม้ า้ สงสัยได้ บงั เหียนท่ี ๒ บงั เหยี นหลังตรง วิธดี งึ ให้ดึงตา่ ลง ใชศ้ อกเปน็ ดมุ ศอกอาจจะเลยไปข้างหลังไดเ้ ล็กน้อย เพ่อื ใหเ้ ลก็ บงั เหยี นกดเหงือกซ่ึงเป็นท่ี ๆ มา้ รสู้ ึกได้ไว เมื่อดึงบงั เหยี นหลังตรงจมูกศรี ษะม้าจะตา่ ลง และบดิ มาทาง นน้ั เตม็ ท่ี คอม้าจะโค้งมาตามบังเหยี น ไหล่ทางนน้ั จะรบั น้าหนกั กดเต็มที่ (มากกว่าบงั เหียนที่ ๑) ม้าจงึ ต้องปัด ท้ายไปรับนา้ หนักด้วย และก้าวขาหน้าทางตรงขา้ มไปรับน้าหนักดว้ ยถ้าเป็นเวลาเคล่ือนทีม่ า้ จะเลีย้ ววงแคบกวา่ บังเหยี นท่ี ๑ ถ้าเปน็ เวลาหยุดจะหมนุ ตวั อยู่กบั ทโี่ ดยเคล่ือนที่ทง้ั ขาหน้าและขาหลงั บังเหียนที่ ๓ บังเหียนทาบคอ ดึงผ่านคอแล้วกดไปข้างหน้าต่า ๆ จมูกจะค่อย ๆ หันทางท่ีดึงศีรษะ ส่วนบนจะเอนไปทางตรงข้ามเพ่ือเฉล่ียน้าหนักของศรีษะคอถูกถึงไปทางบังเหียน ไหล่ตรงข้ามถูกกดลงเล็กน้อย ถ้าทาเวลาม้าเคลอ่ื นทข่ี าหน้าทางบงั เหียนท่ดี งึ จะกางขาเฉียงออกไปทางด้านตรงข้ามเพ่ือรับน้าหนัก ม้าจึงเลี้ยวไป นน้ั ถ้าทาเวลามา้ อยกู่ ับทม่ี า้ ยนื ตะแคงอยเู่ ชน่ น้นั แต่ขาหลงั เตรียมทจ่ี ะเคลื่อนท่ีทันที บังเหียนที่ ๔ บังเหียนหน้าตะโยงกดึงผ่านตะโหงกและเลยผ่านไปทางหลัง จมูกม้าจะหันมาตาม บงั เหียนและเลีย้ วไปทางหลัง ศรีษะม้าจะเอ้ยี วตามไปดว้ ยเช่นกัน คอโค้งไปตามบังเหียน ไหล่ทางตรงข้ามจะถูก น้าหนักถ่วงมากกว่าบังเหียนท่ี ๓ ถ้าม้ากาลังเคลื่อนที่จะเล้ียวไปทางตรงข้าม ถ้าเวลาหยุดอยู่กับที่ม้าจะหมุนตัว ไปทางตรงกนั ขา้ ม บังเหยี นท่ี ๕ บงั เหยี นหลงั ตะโหงก ดึงผ่านหลังตะโหงกและเลยผา่ นไปทางหลังคล้ายกับบังเหียนท่ี ๔ แต่ให้สายบังเหียนผ่านเลยไปทางหลัง จมูกและศรีษะม้าจะแสดงคล้ายกับบังเหียนท่ี ๔ คอโค้งไปตามบังเหียน ไหล่ตรงข้ามจะถูกถ่วงน้าหนักมากท่ีสุด ถ้าทาในเวลาเคลื่อนท่ีม้าจะเล้ียวก้าวไปทางตรงกันข้ามทั้งตัว ถ้าม้าอยู่ กับท่ีน้าหนักท้ังหมดจะเฉลี่ยทางด้านตรงข้ามท้ังหน้ามือและหลังมือ ม้าจะก้าวเท้าเดินไปทางตรงข้ามโดยก้าวขา หลังออกกอ่ น ขอ้ ระลกึ ในการใชบ้ งั เหียน - การใชบ้ งั เหยี นไม่ควรใช้พรอ้ มกันถึง ๒ อย่าง ควรปล่อยข้างท่ีไม่ได้ใชเ้ ปน็ อิสระโดยผอ่ นหรอื ถูกกับ ที่ แลว้ แต่เหมาะหรือควร - ทาความเข้าใจในวิธีการใช้ และลักษณะการทางานของบังเหียนให้แจ่มแจ้งแน่ชัดแล้วพิจารณา นาไปใช้ใหเ้ หมาะกับอาการท่เี ราต้องการใหม้ า้ ปฏบิ ตั ิประกอบกับเคร่ืองมอื การบังคับอ่ืน ๆ คือ น่อง และน้าหนัก