ห น ้ า | 47 (สำเนา) คำสงั่ กองทัพบก (คำชแ้ี จง) ท่ี 320/23630 เรอ่ื ง วธิ ีการซอ่ มบำรงุ ยุทโธปกรณส์ ายสรรพาวธุ ------------------------------------- 1. ความมุง่ หมาย เพ่ือเป็นการขยายความในคำสั่งกองทัพบกที่ 306/25616 เร่ือง หลักการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ สายสรรพาวุธ ลง 30 พ.ย.97 และเพ่ือให้หน่วยท่ีได้รับยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ ตามโครงการปอ้ งกันร่วมฯ สามารถปฏิบัติการซ่อมบำรุงและนำยุทโธปกรณ์ส่งซ่อมยังกองสรรพาวุธท่ีให้การสนับสนุนได้โดยถูกต้องและ รวดเรว็ จงึ ไดอ้ อกคำส่งั ชี้แจงฉบับน้ีไว้ให้หน่วยตา่ ง ๆ ถือเปน็ หลกั ปฏบิ ตั ติ ่อไป 2. คำจำกดั ความ 2.1 ชงักใช้ราชการ ได้แก่ลกั ษณะอย่างหนึ่งอยา่ งใดใน 3 ประการ ทีเ่ กิดข้นึ แกย่ ทุ โธปกรณ์ คอื 2.1.1 ไม่ทำงานตามหนา้ ที่ 2.1.2 ไมป่ ลอดภัยในการใช้งาน 2.1.3 ถ้าใชต้ ่อไปจะเสยี หายมากขนึ้ 2.2 ชำรดุ ตามสภาพ ได้แก่ลักษณะการชำรุดที่เป็นไปตามธรรมชาติของยุทโธปกรณ์นั้น ๆ เช่น สึกหรอเพราะใช้มานาน หรอื เสือ่ มคณุ ภาพตามระยะเวลาเป็นต้น 2.3 ชำรุดผิดปกตหิ รือสญู หาย ได้แก่การชำรุดท่ีไม่เป็นไปตามสภาพ แต่เน่ืองจากเหตุอ่ืน เช่น อุบัติเหตุ ประมาท เลินเล่อ หรือ สูญหาย 2.4 หน่วยใช้ ได้แก่หน่วยทหารทใ่ี ชย้ ุทโธปกรณส์ ายสรรพาวุธ 3. ลกั ษณะแห่งการชำรุดของยุทโธปกรณ์ ในการทย่ี ทุ โธปกรณ์ชะงักใชร้ าชการนัน้ ยอ่ มเน่ืองมาจากลกั ษณะแหง่ การชำรดุ 2 ประการ คือ 3.1 ชำรุดตามสภาพ 3.2 ชำรดุ ผิดปกติ หรอื สญู หาย 4. การปฏิบัตเิ ม่อื ยทุ โธปกรณ์ชำรดุ หรอื ชะงกั ใชร้ าชการ เมื่อยุทโธปกรณ์ชำรุดหรือชะงักใช้ราชการ ให้ผู้รับผิดชอบรายงานตามลำดับ ชั้น หรือผู้มีอำนาจส่ัง การในการซ่อมบำรุงประจำหน่วยภายใน 24 ชั่วโมง และห้ามมิให้ใช้ยทุ โธปกรณ์ท่ีอยใู่ นสภาพงดใช้การนัน้ อีก ต่อไป จนกว่าจะได้ทำการซ่อมบำรุงให้กลับมาอยู่ในสภาพใช้การได้เรียบร้อย ผู้มีอำนาจส่ังการในการซ่อม บำรุงประจำหนว่ ย ไดแ้ ก่ ก. ผบ.กรม หรอื ฝอ.4 ข. ผบ.พัน. หรือ ฝอ.4 ค. ผบ.ร้อยอสิ สระ ( ข้อ ก. ข. ค. แก้ตามคำส่งั ทบ. (คำชี้แจง) ท่ี 19/7017 สง่ั ณ 5 ม.ิ ย. 05 )
ห น ้ า | 48 5. การปฏิบัติการซ่อมบำรุงของหน่วยใช้ เมื่อได้รับรายงานว่ายุทโธปกรณ์ชะงักใช้ราชการ ให้ผู้มีอำนาจสั่งการในการซ่อมบำรุงประจำหน่วย ปฏิบตั ิ ดังนี้ 5.1 เม่ือชำรุดตามสภาพ สั่งการให้เจ้าหน้าที่ซ่อมบำรุงประจำหน่วยจัดการซ่อมทันที โดยใช้เคร่ืองอะไหล่ประจำหน่วยซึ่ง ได้เบิกข้ันต้นมาจาก คส.สพ.ทบ. ถ้าการชำรุดน้ันต้องการเครื่องอะไหล่ ซึ่งยังอยู่ในประเภทการซ่อมบำรุง ประจำหน่วย ( ขั้นที่ 1 - 2 ) แต่หน่วยน้ันไม่ได้รับอนุมัติให้เบิกประจำหน่วยได้ ก็ให้ทำการเบิกไปยัง สรรพาวธุ ที่ให้การสนับสนนุ ทนั ที เพ่อื นำมาทำการซ่อมต่อไป 5.2 เม่อื ชำรดุ ผดิ ปกติหรอื สูญหาย สั่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนสาเหตุแห่งการชำรุดหรือสูญหาย เพ่ือเก็บรายงานการสอบสวน ไว้เป็นหลักฐานในการ เบิกทดแทน หรอื การนำส่งซ่อมภายหลงั และสั่งการเก่ยี วกับการซอ่ มบำรุงดงั เช่นในข้อ ก.ต่อไป 5.3 ถา้ การชำรดุ ของยุทโธปกรณ์อยูใ่ นประเภทการซอ่ มบำรงุ ในสนาม ( ข้นั 3 - 4 ) ให้เจ้าหน้าที่นำยุทโธปกรณ์นั้นส่งซ่อมยังกองสรรพาวุธ ท้ังนี้ห้ามมิให้หน่วยใช้ทำการซ่อมบำรุง เกินข้ันเป็นอันขาด ในการท่ีจะพิจารณาว่า การชำรุดของยานยนต์อยู่ในการซ่อมบำรุงข้ันใด และเป็นหน้าท่ี ของหน่วยใดนน้ั ให้ปฏิบัตติ ามคำส่ังชี้แจงกองทัพบกท่ี 183/14352 เรือ่ ง การแบ่งขั้นการซ่อมบำรงุ ยานยนต์ สายสรรพาวธุ ลง 22 ก.ค.98 โดยเครง่ ครดั 6. หลักฐานการนำยุทโธปกรณส์ ่งซอ่ ม หลักฐานการนำยทุ โธปกรณส์ ง่ ซอ่ ม ไดแ้ ก่ 6.1 ใบสง่ ซ่อม ( สพ.811 ) 6.2 ซองประวตั ิยทุ ธภณั ฑป์ ระจำหนว่ ย ( สพ.478 ) หรือสมุดประวัติ 6.3 รายงานยุทโธปกรณช์ ำรดุ ( ดูขอ้ 4 ) หรอื รายงานการสอบสวนใหร้ ู้ 7. ใบสง่ ซอ่ ม ( สพ.811 ) 7.1 ลกั ษณะ ใบส่งซ่อมนี้เป็นใบส่งซ่อมแบบใหม่ มี 4 แผ่น ใช้ในการส่งซ่อมยุทโธปกรณ์สาย สพ. ทุกอย่าง คือ อาวุธ ยานยนต์ และสรรพาวุธอ่ืน ๆ แผ่นที่ 1 ( สีเหลือง ) แผ่นท่ี 2 ( สีขาว ) และแผ่นท่ี 3 ( สีฟ้า ) มี ข้อความเหมือนกันทุกประการ และแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนส่งซ่อมอยู่มุมบนซ้าย ส่วนเหลือเป็นส่วน สง่ั งาน แผ่นที่ 4 ( สชี มพู ) มลี ักษณะแตกต่างจากแผน่ ท่ี 1 - 2 - 3 คือ ใชเ้ ป็นใบรับและหลักฐานของหน่วยสง่ ซ่อมในการมารับยุทโธปกรณท์ ีซ่ ่อมเสร็จจากกองสรรพาวธุ ท่ีรบั ซ่อม 7.2 การกรอกข้อความ 7.2.1 ลงวัน, เดือน, ปี ท่ีส่งซ่อม นาม และท่ีตัง้ ของหน่วยส่งซ่อม เลขท่ีใบส่งซ่อม และวันท่ี ผู้อนุมัติให้ ส่งซอ่ มลงนาม ชนิดและหมายเลขของยุทโธปกรณ์ รายการชำรุด ผูอ้ นมุ ัติให้สง่ ซ่อม และผู้ส่ง ในชอ่ งว่างซ่งึ อยู่ ในกรอบบนซ้าย ( ดูตัวอย่างในผนวกท้ายคำสงั่ ) 7.2.2 รายการชำรดุ ให้ลงรายการชำรุดท่สี ำคญั ๆ ไว้ 7.2.3 ผู้อนุมัติให้ส่งซ่อม ได้แก่ ผู้บังคับบัญชาในข้อ 4 ท้ังนี้ให้หน่วยได้ส่งลายเซ็นไปให้กองสรรพาวุธท่ี สนับสนุนไว้เป็นหลักฐาน
ห น ้ า | 49 7.2.4 ผู้ส่ง อาจเป็นนายทหาร สพ. นายทหารยานยนต์ หรือนายทหารท่ีได้รับมอบให้เป็นผู้มีสิทธิรับ ของ และลายเซ็นอย่ทู ก่ี องสรรพาวุธแล้ว 7.2.5 ผู้รับ ให้เว้นชอ่ งว่างไว้สำหรับนายทหาร หรือนายสิบควบคุมการซ่อมของกองสรรพาวุธเป็นผู้รับ เซน็ 7.2.6 ในกรณีที่หน่วยใชไ้ ด้เบิกชิน้ ส่วนอะไหล่ที่ใช้ในการซ่อมบำรุง ขั้นที่ 2 สำหรับยุทโธปกรณ์ท่ีจะส่ง ซ่อมไปยงั กองสรรพาวุธแลว้ แต่ยงั ไม่ได้รับ ใหห้ มายเหตุที่ใบเบิก วนั ทีเ่ บิก ช่อื หมายเลข และจำนวนของ ช้ินสว่ นอะไหลน่ ั้นไว้ขา้ งหลังใบสง่ ซอ่ มนั้นดว้ ย 7.2.7 การกรอกข้อความให้ทำทงั้ 4 แผ่น 7.2.8 ในขณะท่ียังไม่มใี บสง่ ซ่อม ( สพ.811 ) ให้หนว่ ยใชใ้ บส่ง ( ย.57 ) แทน 7.3 ใบส่งซ่อมนี้สำหรับการส่งซ่อมยานยนต์ และปืนใหญ่ ให้ทำหน่ึงชุดต่อยานยนต์ 1 คัน หรือปืนใหญ่ 1 กระบอก ส่วนอาวุธเบา และเคร่ืองควบคุมการยิงชนิดเดียวกัน ให้ทำหนึ่งชุด ต่ออาวุธเบา 10 กระบอก หรอื เครือ่ งควบคุมการยิง 10 ชิ้น 8. ซองประวตั ยิ ุทธภณั ฑ์ประจำหนว่ ย ( สพ.478 ) เป็นซองสำหรับเก็บประวัติในการซ่อมบำรุงยานยนต์ และยุทธภัณฑ์อื่น ๆ เช่น เคร่ืองทำไฟฟ้า เคร่ืองประจุแบตเตอรี่ ฯลฯ ในขณะท่ียังไม่มีซองยุทธภัณฑ์ประจำหน่วย ให้หน่วยใช้สมุดประวัติรถยนต์ ทหารบก ( ย.46 ) เก็บหลักฐาน และให้ส่งสมุดประวัตริ ถยนตน์ ้ีมาพรอ้ มกบั รถท่สี ง่ ซ่อมเสมอ 9. สมุดประวัติปืน เป็นสมุดสำหรับบันทึกรายละเอียดเก่ียวกับตัวปืน พร้อมท้ังสถิติในการใช้ และการซ่อมบำรุงด้วย อาวุธในโครงการป้องกนั ร่วม ที่มีสมุดประวตั ิไดแ้ ก่ปนื ใหญท่ ุกขนาด เครอื่ งยงิ ลูกระเบิดขนาด 4.2 นวิ้ และปนื ใหญ่ไร้แรงสะทอ้ นถอยหลงั 10. รายงานยุทโธปกรณช์ ำรดุ และรายงานการสอบสวน ในกรณีท่ีนำยุทโธปกรณ์ซึ่งชำรุดตามสภาพส่งซ่อม หน่วยใชจ้ ะต้องแนบรายงานยุทโธปกรณ์ชำรุดไป ดว้ ย แต่ถ้าเป็นการชำรุดผิดปกติหรือสูญหาย ใชร้ ายงานการสอบสวนของคณะกรรมการแทนทั้งนี้ ผู้มีอำนาจ ส่งั การในการซอ่ มบำรงุ ประจำหนว่ ย จะตอ้ งลงความเห็นในท้ายรายการน้นั ด้วยเสมอ 11. การสง่ ยานยนต์ซ่อม ในการสง่ ยานยนตซ์ ่อมให้หนว่ ยใช้ และกองสรรพาวุธทีร่ ับซอ่ ม ปฏบิ ัตดิ ังน้ี 11.1 หน่วยใช้ต้องนำหลักฐานในการส่งซ่อมตามข้อ 6 ไปพร้อมกับยานยนต์ที่ส่งซ่อมเสมอ กอง สรรพาวธุ จงึ จะพจิ ารณา และรับทำการซอ่ มให้ 11.2 หน่วยใช้จะต้องทำความสะอาดยานยนต์ให้เรียบร้อย ภายในยานยนต์ต้องไม่มีอาวุธ กระสุน วตั ถรุ ะเบดิ และเคร่อื งมือเครือ่ งใชป้ ระจำรถติดมาด้วย 11.3 ให้หน่วยใช้จดหมายเลข ยาง แบตเตอร่ี และสิ่งอื่น ๆ ที่จำเป็นไว้หลังใบส่งซ่อมเพ่ือป้องกัน การสบั เปลย่ี น และการเข้าใจผดิ ภายหลงั ได้ 11.4 หน่วยใช้ต้องทำการซ่อมบำรุงข้ันท่ี 1 - 2 เสียให้เรียบร้อย ก่อนนำยานยนต์ส่งซ่อมยังกอง สรรพาวุธ ถ้าปรากฏวา่ หน่วยใช้นำยานยนต์มาซ่อม โดยยังมีการชำรุดในการซ่อมบำรุงขั้นท่ี 1 - 2 ไม่เกิน 3 รายการ ให้กองสรรพาวุธจัดท่ีและเครื่องมือท่ีจำเป็นให้เจ้าหน้าท่ีของหน่วยใช้ ไปทำการซ่อมเองได้ โดยไม่ ต้องนำยานยนต์กลับไปซ่อมที่หน่วย การปฏิบัติเช่นนี้ เฉพาะเมื่อเป็นการชำรุดเล็กน้อยเท่านั้น และหน่วยใช้ พยายามหลีกเลย่ี งมิใหม้ ขี ึ้นได้
ห น ้ า | 50 11.5 ในกรณีที่มีการชำรุดในการซ่อมบำรุงข้ันที่ 1 - 2 หลายรายการซึ่งหน่วยใช้ไม่สามารถแก้ไขได้ เพราะขาดช้ินส่วนอะไหล่ ให้กองสรรพาวุธปฏิบตั ิดังนี้ 11.5.1 ตรวจสอบหมวดส่งกำลัง ถ้าปรากฏว่าหน่วยใช้ไม่ได้เบิกช้ินส่วนอะไหล่ไป หรือไม่ ปรากฏวา่ หน่วยใช้ ได้เคยมีหลักฐานเบิกไวเ้ ลย ให้หน่วยใชน้ ำรถกลับไปทำการซ่อม หรอื ใบเบกิ ช้นิ ส่วนอะไหล่ ไปทำการซ่อมเสียให้เรยี บร้อยกอ่ น จงึ นำส่งซ่อมยังกองสรรพาวุธได้ 11.5.2 ถา้ หน่วยใช้ได้เคยเบิกมายังกองสรรพาวธุ แล้วตามหลกั ฐานของใบเบิก ซ่ึงหมายเหตุไว้ หลังใบสง่ ซ่อมแตย่ ังไมไ่ ดร้ บั ไป ให้กองสรรพาวุธรบั ยานยนตน์ ้ันไว้ซ่อมได้ 11.6 หน่วยใช้ต้องมนี ้ำมันเชื้อเพลงิ ติดยานยนต์มาดว้ ย เพอื่ ให้กองสรรพาวธุ ใช้ในการเดินเครื่อง และ ทดลองวิง่ ในเมื่อทำการซอ่ มแลว้ เสรจ็ ตามจำนวนดงั นี้ รถยนต์บรรทกุ ขนาด 1/4 ตนั 20 ลิตร รถยนตบ์ รรทกุ ขนาด 3/4 ตัน และ รยบ.2 1/2 ตัน 30 ลติ ร รถฉุดลากและรถกู้ขนาด 5 ตนั 40 ลติ ร รถกู้ขนาด 6 ตนั 50 ลิตร รถก่ึงสายพาน 60 ลติ ร รถถัง เอ็ม 24 200 ลติ ร รถสายพานลำเลยี งพลหุ้มเกราะ เอ็ม 113 260 ลติ ร รถถงั เอ็ม 41 260 ลติ ร 11.7 ในกรณีท่ีช่างตรวจยานยนต์ ตรวจพบข้อบกพร่อง เพราะหน่วยใช้ไม่ปฏิบัติการซ่อมบำรุงข้ันท่ี 1 - 2 ให้รายงานให้นายทหารยานยนต์ควบคุมการซ่อมทราบ เพ่ือทำหนังสือแจ้งให้ ผบ.หน่วยใช้ทราบ ขอ้ บกพรอ่ งต่าง ๆ ที่กองสรรพาวุธไมส่ ามารถรบั ยานยนต์นนั้ ไว้ซอ่ มได้ แล้วมอบให้แก่ผ้สู ่งซ่อมไปพร้อมกับใบ ส่งซอ่ ม 11.8 เม่ือชา่ งตรวจยานยนต์ของสรรพาวุธได้ทำการตรวจ และยอมรับไวท้ ำการซ่อมได้ ให้มอบใบส่ง ซ่อมท้ัง 4 แผ่น พร้อมด้วยแบบฟอร์มการตรวจสภาพทางเทคนิค ( สพ.461 หรือ 462 ) ให้แก่ผู้ส่งซ่อมของ หนว่ ยใช้รับไป ให้แก่เจ้าหนา้ ทหี่ มู่ควบคุมการซอ่ ม เพ่อื ออกเลขงานใหน้ ายทหาร หรือนายสบิ ควบคมุ การซอ่ ม จะมอบใบส่งซ่อมแผ่นท่ี 4 ( สีชมพู ) ให้แก่ผู้ส่งซ่อมรับไว้เป็นหลักฐานในการนำมารับยานยนต์เม่ือซ่อมเสร็จ แล้ว และในการสอบสวนเรือ่ งยานยนตท์ ส่ี ง่ ซ่อม ให้หนว่ ยใชอ้ า้ งเลขงานที่กองสรรพาวุธให้ไปนี้ดว้ ยเสมอ 11.9 ให้ ผบ.กองสรรพาวธุ เปน็ ผพู้ ิจารณาและใหค้ วามเห็นวา่ รายงานยุทโธปกรณช์ ำรดุ หรอื รายงาน การสอบสวนของคณะกรรมการทหี่ น่วยใช้สง่ มาน้นั มเี หตุผลสมควรหรือไม่เพียงใด ถา้ ปรากฏว่าเปน็ การชำรุด ผิดปกติหรือสูญหาย ให้รายงานไปตามสายบังคับบัญชาจนถึงผู้มีอำนาจส่ังการจำหน่าย เพ่ือดำเนินการให้ ผู้กระทำผิดชดใช้เงินหรือลงทัณฑ์ตามแต่กรณี การดำเนินการซ่อมนั้นให้อยู่ในดุลย์พินิจของ ผบ .กอง สรรพาวธุ วา่ จะปฏิบัติไปทันที หรือรอจนกวา่ จะไดร้ ับอนุมัติจากผู้มีอำนาจส่ังการจำหน่ายเสียก่อน ท้ังนี้ย่อม ขน้ึ แก่สถานการณ์ และความเร่งดว่ น และจะตอ้ งไม่เสียผลแกท่ างราชการ 11.10 เมื่อได้รับแจ้งจากกองสรรพาวุธ ว่าได้ซ่อมยานยนต์เสร็จ ให้หน่วยใช้ส่งเจ้าหน้าท่ีไปทำการ ตรวจรับทันที กองสรรพาวุธจะยึดใบส่งซ่อมแผ่นท่ี 4 ( สีชมพู ) ไว้ และส่งคืนใบส่งซ่อมแผ่นที่1 ( สีเหลือง ) พร้อมด้วยแบบฟอร์มการตรวจสภาพทางเทคนิค ( สพ.461 หรือ 462 ) ให้แก่ผู้รับเพื่อเก็บไว้เป็นสถิติในการ ซอ่ มบำรุงยานยนตน์ ้นั ๆ ในซองประวัติยทุ ธภัณฑป์ ระจำหนว่ ยต่อไป 12. การส่งอาวธุ
ห น ้ า | 51 ให้ปฏิบัตเิ ช่นเดียวกับการส่งซ่อมยานยนต์ โดยใช้สมุดประวัติปนื เป็นหลักฐานในการส่งซ่อมแทนซอง ประวัติยุทธภัณฑ์ประจำหน่วย เนื่องจากปืนใหญ่เป็นอาวธุ ท่ีมีน้ำหนักมาก ลำบากต่อการลำเลียงและอาจเกิด การชำรุดเสียหายในระหว่างเดินทางได้ ดังนั้นจึงให้หน่วยใช้แจ้งรายการชำรุดโดยละเอียด ให้กองสรรพาวุธ ทราบก่อนนำส่งซ่อม ในการปฏบิ ัตกิ ารซ่อมน้ันได้ ผบ.กองสรรพาวุธ เป็นผู้พจิ ารณาว่าจะส่งเจ้าหน้าที่ไปซ่อม ให้ที่หนว่ ยใช้ หรอื จะให้หน่วยใช้นำสง่ ซอ่ มยังกองสรรพาวธุ ระเบยี บกองทพั บก ว่าด้วย ชน้ิ สว่ นซอ่ มตามอัตราพิกัดและชิน้ ส่วนซอ่ มทสี่ ะสม พ.ศ.2512 ------------------------------------ โดยท่ีเห็นเป็นการสมควร ท่ีจะกำหนดความรับผิดชอบ และระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการกำหนด รายการ และจำนวนช้ินส่วนซ่อม การจัดทำ การแจกจ่าย และการแก้ไขเปล่ียนแปลงบัญชีช้ินส่วนซ่อมตาม อัตราพิกัด และบัญชีช้ินส่วนซ่อมท่ีสะสม จึงได้กำหนดระเบียบนี้ขึ้น เพื่อถือเป็นหลักในการดำเนินการ เกยี่ วกบั ชน้ิ ส่วนซ่อมต่อไป ข้อ 1. ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบยี บกองทพั บก ว่าด้วย ชิ้นส่วนซ่อมตามอตั ราพกิ ดั และช้นิ ส่วนซอ่ มที่ สะสม พ.ศ.2512 ” ข้อ 2. ให้ยกเลกิ 2.1 ระเบียบกองทัพบกวา่ ด้วยชน้ิ ส่วนซ่อมตามอัตราพกิ ดั และชน้ิ ส่วนซอ่ มท่สี ะสมพ.ศ.2511 2.2 บรรดาระเบียบ คำส่ัง คำแนะนำ คำช้ีแจง ฯลฯ ท่ีขดั แยง้ กับระเบยี บน้ี ข้อ 3. ขอบเขต 3.1 ระเบียบนี้ใช้เป็นหลักฐานสำหรับชิ้นส่วนซ่อมของส่ิงอุปกรณ์ทั้งในโครงการและนอก โครงการ 3.2 ระเบียบนี้ใชก้ ับหน่วยใช้ หน่วยสนับสนุน และคลัง ซ่ึงอยู่ในสายการส่งกำลัง และซ่อม บำรุงของกองทัพบก ข้อ 4. คำจำกัดความ 4.1 ช้ินส่วนซ่อม หมายถึง องค์ประกอบ ส่วนประกอบและชิ้นส่วนท่ีใช้ในการซ่อมบำรุงส่ิง อปุ กรณ์ ตามท่ีกำหนดในค่มู อื ส่งกำลัง และ/หรือคูม่ อื เทคนิคที่มบี ญั ชีชน้ิ สว่ นซ่อม 4.2 บัญชีชิ้นส่วนซ่อมตามอัตราพิกัด ( บชอพ.) คือ เอกสารแสดงรายการ และจำนวน ชิ้นส่วนซ่อมซ่ึงอนุมัติให้หน่วยใช้สะสมไว้ เพ่ือสนับสนุนขีดความสามารถในการซ่อมบำรุงประจำหน่วย ( ข้ัน 1–2) 4.3 ชนิ้ สว่ นซ่อมตามอตั ราพกิ ัด ( ชอพ.) คือ ชิน้ สว่ นซ่อมสำหรับการซ่อมบำรุงประจำหน่วย ซ่งึ อนมุ ตั ใิ ห้หนว่ ยใช้สะสมไว้ไดต้ ามบญั ชชี นิ้ สว่ นซอ่ มตามอัตราพกิ ัด 4.4 ชิน้ ส่วนซ่อมตามอัตราพกิ ดั รวม คือ ช้ินส่วนซ่อมท่ีใช้ในการซ่อมบำรุงยุทธภัณฑ์ได้ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป 4.5 บัญชีช้ินส่วนซ่อมท่ีสะสม ( บชสส.) คือ เอกสารแสดงรายการช้ินส่วนซ่อมซึ่งต้องการ ให้หน่วยสนับสนุนโดยตรง และหน่วยสนับสนุนท่ัวไป สะสมไวเ้ พื่อสนับสนุนหน่วยใช้ และหน่วยสนับสนุนใน สายงานส่งกำลงั บำรุง 4.6 หนว่ ยใช้ หมายถงึ หน่วยซ่ึงได้รบั ประโยชนจ์ ากการใชส้ ง่ิ อปุ กรณน์ ั้นโดยตรง 4.7 หน่วยสนบั สนุนโดยตรง หมายถึง หนว่ ยของสายงานฝา่ ยยทุ ธบริการ ซึ่งมี
ห น ้ า | 52 ภารกิจสนับสนุนในดา้ นการส่งกำลัง และ/หรือการซอ่ มบำรงุ ตอ่ 4.7.1 หนว่ ยในอตั ราการจดั ของหนว่ ยระดับกองพล 4.7.2 หน่วยอื่น ๆ ภายในพน้ื ทซ่ี งึ่ ไดร้ ับมอบหมายใหส้ นบั สนุน 4.8 หน่วยสนับสนุนทั่วไป หมายถึง หน่วยของสายงานฝ่ายยุทธบริการ ซ่ึงมีภารกิจ สนบั สนนุ ดา้ นการสง่ กำลัง และ/หรือการซ่อมบำรงุ ต่อ 4.8.1 หนว่ ยสนบั สนุนโดยตรง 4.8.2 หน่วยอนื่ ๆ ภายในพน้ื ทซ่ี งึ่ ไดร้ ับมอบหมายให้สนับสนุน 4.9 คลัง หมายถึง หน่วยท่ีมีความรับผิดชอบในการปฏิบัติภารกิจ อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ หลายอย่างในเรื่อง ความต้องการ การควบคุม การจัดหา การตรวจ การแยกประเภท การแจกจ่าย การซ่อม บำรุง และจำหน่ายสิ่งอปุ กรณ์ 4.10 คลังแจกจ่าย หมายถึง คลังสายงาน คลังท่ัวไป คลังกองบัญชาการช่วยรบ และคลัง ส่วนภูมิภาค ซึ่งดำเนินการสะสมและแจกจ่ายสิ่งอุปกรณ์ โดยปกติจะแบ่งเป็นหน่วยบัญชีคุม และคลังเก็บ รักษา 4.11 คลังสายงาน หมายถึง คลังซ่ึงกรมฝ่ายยุทธบริการ และกรมฝ่ายกิจการพิเศษได้จัดต้ัง ขนึ้ เพ่ือดำเนนิ การสะสม และแจกจ่ายสิง่ อุปกรณ์ 4.12 คลังทั่วไป หมายถึง คลังของหน่วยบัญชาการ ซึ่งใช้สำหรับดำเนินการเกี่ยวกับสิ่ง อปุ กรณ์ และยุทธภัณฑ์ ในความรับผิดชอบของกรมฝ่ายยุทธบรกิ ารต่าง ๆ อย่างนอ้ ย 2 กรมฝ่ายยุทธบรกิ าร 4.13 คลังกองบัญชาการช่วยรบ หมายถึง คลังซ่ึงกองบัญชาการช่วยรบได้จัดต้ังขึ้นเพ่ือ ดำเนนิ การสะสม และแจกจา่ ยสง่ิ อปุ กรณ์ 4.14 คลังส่วนภูมิภาค หมายถึง คลังซึ่งมณฑลทหารบก หรือจังหวัดทหารบกได้จัดต้ังขึ้น เพอื่ ดำเนินการสะสม และแจกจา่ ยส่งิ อปุ กรณใ์ ห้แก่หนว่ ยใช้ภายในเขตพื้นท่ที รี่ บั ผดิ ชอบ 4.15 คลังเก็บรักษา หมายถึง คลังซ่ึงดำเนินการเกบ็ รักษาสิ่งอุปกรณ์ท่ีไดร้ ับอนุมัตใิ ห้สะสม ไว้เพ่อื การแจกจ่ายดำเนนิ ไปดว้ ยดี ข้อ 5. ความรบั ผิดชอบ 5.1 กบทบ. 5.1.1 กำหนดนโยบายและหลักการในการจัดทำบัญชีช้ินส่วนซ่อมตามอัตราพิกัด และบญั ชีช้นิ ส่วนซ่อมท่สี ะสม 5.1.2 จัดทำ แก้ไข ปรับปรุง แบบธรรมเนียมเกี่ยวกับชิ้นส่วนซ่อมตามอัตราพิกัด และชิ้นส่วนซ่อมท่ีสะสม เพ่ือให้ ทบ.สามารถควบคุมการปฏบิ ัติของหน่วยท่ีเก่ียวข้องได้ และให้สอดคล้องกับ นโยบาย หรือหลกั การที่อาจเปล่ียนแปลงไป 5.1.3 กำกับดูแลหน่วยต่าง ๆ ท่ีมีหน้าท่ีรับผิดชอบซึ่งระบุไว้ในระเบียบน้ี เพื่อให้ การปฏบิ ัตงิ านไปตามม่งุ หมายท่กี ำหนดไว้ 5.2 กรมฝา่ ยยทุ ธบรกิ าร 5.2.1 จดั หาช้ินสว่ นซอ่ ม 5.2.2 ควบคุม กำกับดูแล คลังกรมฝ่ายยุทธบริการ หน่วยสนับสนุนท่ัวไป หน่วย สนับสนุนโดยตรงในสายงานของตน เพ่ือให้ปฏิบัติตามนโยบาย และหลักการเก่ียวกับการสะสม และการส่ง กำลงั ชิ้นส่วนซอ่ ม
ห น ้ า | 53 5.2.3 อำนวยการ จัดทำ และแจกจ่าย บญั ชีชน้ิ ส่วนซอ่ มตามอัตราพิกัด และบัญชี ชิน้ ส่วนซอ่ มที่สะสม 5.3 คลงั 5.3.1 จัดทำบัญชีช้ินส่วนซ่อมตามอัตราพิกัดข้ันต้นของหน่วยใช้ เฉพาะรายการ ยุทธภัณฑ์ซ่งึ อยู่ในความรับผดิ ชอบของตน แลว้ แจกจา่ ยให้คลัง หนว่ ยสนบั สนนุ และหน่วยใช้ทีเ่ กีย่ วข้อง 5.3.2 สะสมชนิ้ ส่วนซอ่ มเฉพาะรายการทอี่ ยูใ่ นความรับผิดชอบไวใ้ นปริมาณ ทเ่ี พียงพอสำหรับสนับสนนุ หนว่ ยซงึ่ ตนมภี ารกจิ ต้องให้การสนบั สนุนหนว่ ยใช้โดยตรง 5.3.3 อนุมัติการเปลี่ยนแปลงบัญชีช้ินส่วนซ่อมตามอัตราพิกัด ตามเกณฑ์ความ ต้องการของหน่วยใช้ ในกรณที ท่ี ำหน้าทีส่ นบั สนุนหนว่ ยใช้โดยตรง 5.4 หนว่ ยสนบั สนุนโดยตรง 5.4.1 อนมุ ตั กิ ารเปลีย่ นแปลง บชอพ. ตามเกณฑค์ วามต้องการของหน่วยใช้ 5.4.2 ทำ บชสส.ของตนและแก้ไขใหต้ รงกบั เกณฑค์ วามตอ้ งการในปัจจุบนั 5.4.3 สะสมชิ้นสว่ นซอ่ มตาม บชสส. 5.4.4 เสนอ บชสส. และการแก้ไขใหห้ น่วย หรือคลงั ท่สี นบั สนนุ ทราบ 5.5 หน่วยสนับสนนุ ท่วั ไป 5.5.1 ทำ บชสส.ของตนและแก้ไขให้ตรงกับเกณฑค์ วามต้องการในปจั จุบนั 5.5.2 สะสมชิ้นสว่ นซ่อมตาม บชสส. 5.5.3 เสนอ บชสส. และการแกไ้ ขใหห้ น่วย หรือคลงั ที่สนบั สนุนทราบ 5.6 หน่วยใช้ 5.6.1 สะสมช้ินส่วนซ่อมตาม บชอพ. 5.6.2 จดั หา และเกบ็ รักษา บชอพ. ไว้ให้พร้อมท่จี ะใช้ และรบั ตรวจได้เสมอ 5.6.3 จดั ทำ บชอพ.รวมของหน่วย ( ตามผนวก ก ) 5.6.4 บนั ทกึ ขอ้ มลู สง่ กำลังชนิ้ ส่วนซอ่ มลงในแผนเกบ็ ของ และสำรวจยอด ทบ.400 – 068 ( ตามผนวก ข ) ทกุ คร้งั ท่มี กี ารเบิก รบั และจ่าย 5.6.5 สอบทานความต้องการช้ินส่วนซ่อมจากแผนเก็บของ และสำรวจยอดถ้ามี การเปลี่ยนแปลงไปจาก บชอพ. ก็แจ้งไปยังหน่วยสนับสนุนโดยตรงเพ่ือขออนุมัตเิ ปล่ียนแปลงแก้ไขให้ตรงกับ ความตอ้ งการท่คี ำนวณได้ ขอ้ 6. การปฏบิ ัตเิ กีย่ วกบั ชอพ. 6.1 การจัดทำ บชอพ.ขน้ั ตน้ และการแจกจ่าย 6.1.1 คลงั ใช้แบบพมิ พ์ ทบ.400 - 065 บญั ชีช้นิ ส่วนซอ่ มตามอัตราพกิ ัด ( ผนวก ก ) 6.1.2 ชอพ.ข้ันต้นสำหรับ 15 วันส่งกำลัง ใช้รายการ และจำนวนชิ้นส่วนซ่อม ตามท่ีระบุไว้ในคู่มือส่งกำลัง หรือคู่มือเทคนิค สำหรับจำนวนน้ัน ถ้าคู่มือดังกล่าวข้างต้นแสดงความส้ินเปลือง ตอ่ ยทุ ธภณั ฑ์ 100 ช้นิ ไว้ ก็คำนวณโดยใช้สตู ร จำนวนเกณฑส์ งู ในชอ่ งจำนวนยทุ ธภณั ฑใ์ บแ1บ0บ0ทบ.400-066 X ความส้ินเปลือง = ระดับสะสมท่อี นุมตั ิ ผลลัพธ์ท่ีได้ใช้จำนวนเต็ม ทศนิยมต้ังแต่ .5 ข้ึนไป ปัดเศษเป็น 1 ต่ำกว่านั้นปัดเศษเป็น 0 เช่น จำนวนความสนิ้ เปลืองในคมู่ อื สง่ กำลงั และคมู่ อื เทคนิค = 5 มยี ทุ ธภณั ฑ์อยู่ 44 ช้ิน
ห น ้ า | 54 ระดับสะสมทีอ่ นมุ ตั ิ = 50 X 5 = 2.5 ( ป1ดั 0เศ0ษ .5 เปน็ 1 ) = 3 6.1.3 รายการท่ีมีความสำคัญต่อการรบ ใช้ตามคู่มือส่งกำลัง และ/หรือ คู่มือ เทคนิค และใหท้ ำเคร่อื งหมายดอกจันทร์ไวใ้ นชอ่ งรายการท่ีสำคญั ตอ่ การรบของ บชอพ. ดว้ ย 6.1.4 คลังสายงาน แจกจ่าย บชอพ.ขั้นตน้ ซึ่งจัดทำข้ึนตามข้อ 5.3.1 ให้แก่หน่วย ใช้ หนว่ ยสนับสนนุ และคลังสายงานอื่นท่ีเกีย่ วขอ้ ง 6.2 การปฏบิ ัตขิ องหนว่ ยใช้เม่ือไดร้ บั บชอพ.ขั้นต้น 6.2.1 ตรวจสอบรายการและจำนวนชน้ิ ส่วนซ่อมที่มี คงคลังรวมค้างรับกบั บชอพ. ขั้นต้นที่ได้รับ แล้วเบิก ส่งคืน หรือแจ้งยกเลิกค้างรับ เพื่อให้มีรายการและจำนวนคงคลังรวมค้างรับ ของ ช้ินสว่ นซ่อมตรงกบั บชอพ.น้ัน ท้ังน้ตี อ้ งดำเนินการให้เสร็จส้นิ ภายใน 30 วนั นับจากวนั ทไี่ ด้รบั บชอพ.ข้นั ต้น 6.2.2 ทำ บชอพ.รวมด้วยแบบพิมพ์ ทบ.400-066 โดยใช้ บชอพ.ขัน้ ตน้ เป็น มลู ฐาน และแยกสำหรับแต่ละสายยุทธบรกิ าร แลว้ เสนอหน่วยหรือคลงั ท่สี นบั สนุนโดยตรงไวเ้ ป็นหลกั ฐาน 6.2.3 ใช้ ชอพ.ทำการซ่อมบำรุงประจำหน่วย แล้วเบิกทดแทนให้เต็มระดับอยู่ เสมอ 6.2.4 เก็บเอกสารต่าง ๆ เกี่ยวกับช้ินส่วนซ่อม และ บชอพ. ไว้เป็นหลักฐานใน สำนกั งานของหนว่ ย และให้พรอ้ มท่จี ะรบั ตรวจได้ 6.3 การทำบัญชีคุม ทุกหน่วยที่มีหน้าท่ีรับผิดชอบในการซ่อมบำรุงประจำหน่วย บันทึก สถานภาพและข้อมูลการส่งกำลังของชิ้นส่วนซ่อมทุกรายการที่ได้รับอนุมัติให้ใช้ในการซ่อมบำรุง ลงในแผน เกบ็ ของและสำรวจยอด ( ทบ.400-068 ) ดังน้ี 6.3.1 สำหรับ ชอพ. คงบันทึกตามวิธีเขียนใน ผนวก ข และหมายเหตุคำว่า “ชอพ.” ด้วยสีแดงไว้มุมบนซ้าย 6.3.2 สำหรับชิ้นส่วนซ่อมท่ีไม่ใช่ ชอพ. แต่ได้รับอนุมัติให้ใช้ในการซ่อมบำรุง ประจำหน่วยได้ โดยบันทกึ ตามวิธีเขียนใน ผนวก ข ยกเว้นช่องทีเ่ ก็บและช่องระดบั สะสมท่ีอนุมตั ิ 6.4 การสอบทานความต้องการ เพื่อปรับปรุง บชอพ. ให้มีรายการ และจำนวนของ ชอพ. ได้สมดุลกับความต้องการในการซ่อมบำรุงประจำหน่วย ให้หน่วยท่ีรับผิดชอบการซ่อมบำรุงประจำหน่วย ปฏิบตั ดิ งั นี้ 6.4.1 ชอพ.ให้สอบทานแผนเก็บของและสำรวจยอดทุกรอบเดือน เพ่ือทราบ ความถ่ีและจำนวนของความต้องการทดแทนในห้วง 6 เดือนที่แล้วมา และขีดเส้นแดงในแผนเก็บของและ สำรวจยอดใตบ้ ันทึกสุดทา้ ยของรอบเดือนทางดา้ นขวามือ 6.4.2 ช้ินส่วนซ่อมที่ไม่ปรากฏใน บชอพ. แต่คู่มือส่งกำลังหรือคู่มือเทคนิคอนุมัติ ให้เบิกไปใช้ในการซ่อมบำรุงประจำหน่วยได้ เช่น รายการที่มีเคร่ืองหมายแสดงไว้ว่า “ตามความต้องการ” หรือรายการท่ีกำหนดระดับสะสมไว้ แต่ผลของการคำนวณโดยถือจำนวนยุทธภัณฑ์เป็นหลัก ได้ผลลัพธ์ต่ำ กว่า 0.5 น้ัน ถ้าปรากฏว่ามีความถ่ีของความต้องการทดแทนตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไปในห้วง 6 เดือนท่ีแล้วมา เม่ือใด ใหส้ อบทานความต้องการตามข้อ 6.4.1 ได้ 6.5 การเพิ่ม และการตดั รายการใน บชอพ. 6.5.1 การเพิ่มรายการช้ินส่วนซ่อมท่ีไม่ปรากฏใน บชอพ. แต่คู่มือส่งกำลังหรือ คู่มือเทคนิคอนุมัติไปใช้ในการซ่อมบำรุงประจำหน่วยได้ ถ้ารายการใดมีความถ่ีของความต้องการทดแทน ตั้งแต่ 3 คร้ังข้ึนไปในห้วง 6 เดือนที่แล้วมา ให้คำนวณระดับสะสมที่อนุมัติ โดยนำจำนวนรวมท่ีต้องการของ ความต้องการทดแทนในห้วง 6 เดอื นทแี่ ลว้ มา ไปค้นหาระดับสะสมที่อนุมัติจาก
ห น ้ า | 55 ตาราง ผนวก ค วิธีหา ดูตัวอย่างท้ายผนวก ค และเสนอขอเพิ่มรายการน้ันต่อหน่วยสนับสนุนโดยตรง เมื่อ ไดร้ บั อนุมตั แิ ลว้ ใหเ้ พ่ิมรายการน้นั ลงใน บชอพ. และทำการเบกิ ใหเ้ ต็มระดับสะสมทอี่ นมุ ตั ิ 6.5.2 การตัดรายการ ชอพ.รายการใด เมื่อมีการบันทึกความต้องการทดแทนใน แผนเก็บของและสำรวจยอด ตง้ั แต่ 12 เดือนข้ึนไป และมีความถ่ีของความต้องการทดแทนตำ่ กวา่ 3 ครั้งใน ห้วง 6 เดือนท่ีแล้วมา ใหข้ อตดั รายการนัน้ ตอ่ หน่วยสนบั สนนุ โดยตรง เมื่อไดร้ บั อนุมัติแล้ว ให้ตดั รายการน้ัน ออกจาก บชอพ.ได้ ชอพ. รายการทีม่ ีความสำคัญตอ่ การรบ แม้ว่าจะมีความถี่ของความต้องการทดแทนไม่ถึง 3 ครั้งในห้วง 6 เดือนทแ่ี ลว้ มา ไม่ตอ้ งตัดรายการน้นั ออก คงสะสมไว้ได้จำนวน 1 หนว่ ยนับ เมอื่ ตัดรายการ ชอพ. ออกจาก บชอพ.แล้ว ให้ส่งคนื และ/หรอื ยกเลิกคา้ งรับตอ่ หน่วยสนบั สนนุ โดยตรงด้วย 6.6 การเพมิ่ และการลดระดับสะสมทอี่ นุมัตใิ น บชอพ. 6.6.1 การเพิ่มระดับสะสมที่อนุมัติ ชอพ. รายการใดที่มีความถี่ของความต้องการ ทดแทนตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไปในห้วง 6 เดอื นท่ีแล้วมา ให้คำนวณระดบั สะสมท่ีอนมุ ัติตามวธิ ีในข้อ 6.5.1 ถ้าได้ ผลลัพธ์สูงกว่าใน บชอพ. ให้ขอเพ่ิมระดับสะสมนั้นต่อหน่วยสนับสนุนโดยตรง เมื่อได้รับอนุมัติแล้วจึงเพิ่ม ระดับสะสมใน บชอพ.ได้ และเบิกให้เต็มระดับสะสมท่ีอนุมัติเว้น ชอพ.ค่าควรซ่อม ซ่ึงกำหนดให้ทำการ แลกเปลย่ี นโดยตรง หรอื ชอพ.ท่คี ลงั สายงานรับผิดชอบการสง่ กำลงั กำหนดไวว้ ่าไม่ใหเ้ พม่ิ ระดับสะสมเกินกว่า ท่อี นุมตั ไิ ว้ใน บชอพ.ข้ันตน้ 6.6.2 การลดระดับสะสมที่อนุมัติ ชอพ. รายการใดถ้ามีความถี่ของความต้องการ ทดแทนต้ังแต่ 3 คร้ังข้ึนไปในห้วง 6 เดือนที่แล้วมา ให้คำนวณระดับสะสมที่อนุมัติเช่นเดียวกับ ข้อ 6.5.1 ถ้าต่ำกว่าท่ีกำหนดไว้ใน บชอพ.ให้ขอลดระดับสะสมต่อหน่วยสนับสนุนโดยตรง เม่ือได้รับอนุมัติแล้วจึงลด ระดับสะสมในรายการน้ันใน บชอพ.ได้ การลดระดบั สะสมที่อนุมัติของ บชอพ.ลงต่ำกวา่ ที่กำหนดใน บชอพ. ขั้นต้น ให้กระทำได้เม่ือมีข้อมูลความต้องการทดแทนในแผนเก็บของและสำรวจยอดต้ังแต่ 12 เดือนข้ึนไป และส่งคืน และ/หรือยกเลิกคา้ งรับตอ่ หนว่ ยสนบั สนุนโดยตรง 6.7 ข้อยกเว้น 6.7.1 ชอพ. รายการใดเป็น สป. ล้าสมัย หรือหน่วยใช้ไม่มียุทธภัณฑ์ที่ใช้ ชอพ. รายการน้ันสำหรับการซ่อมบำรุงประจำหน่วยอีกแล้ว ให้หน่วยใช้ส่งคืนทันที และตัด ชอพ.รายการน้ันออก จาก บชอพ.ได้โดยอัตโนมตั ิ 6.7.2 ชอพ.รายการใดมีความต้องการทดแทนไม่ถึง 3 ครั้งในห้วง 6 เดือนท่ีแล้ว มา เนื่องจากยุทธภัณฑ์ไม่ไดใ้ ชง้ าน เชน่ งดใช้การ ฯลฯ หรือ ชอพ.นั้นมีความตอ้ งการเฉพาะฤดูกาล ให้สะสม ไวไ้ ดเ้ ทา่ กับจำนวนคงคลงั ที่มอี ยู่ แตไ่ มเ่ กนิ ระดับสะสมที่อนมุ ตั คิ ร้งั สดุ ท้าย 6.7.3 เม่ือได้รับแจ้งการเปลี่ยนแปลงหมายเลขส่ิงอุปกรณ์ และ/หรือรายการจาก หน่วยสนับสนุนโดยตรง ให้หน่วยใช้แก้ไข บชอพ. กับแผนเก็บของและสำรวจยอดได้โดยอัตโนมัติ เพื่อใช้ สำหรับเบิกคราวต่อไปด้วย 6.8 วธิ ปี รับปรุง บชอพ.ตามขอ้ 6.5 และ 6.6 6.8.1 หน่วยใช้ ใช้แบบพิมพ์ ทบ.400-066 ตามผนวก ก เขียนเฉพาะรายการท่ี ต้องการปรับปรุง บชอพ. เสนอหน่วยสนับสนุนโดยตรง จำนวน 2 ชดุ ภายใน 15 วัน นับต้ังแต่วันท่ีทำการ สอบทานความตอ้ งการ 6.8.2 หน่วยสนับสนุนโดยตรง ตรวจสอบหมายเลขส่ิงอุปกรณ์ รายการข้ันการ ซ่อม และความตอ้ งการที่ขอปรบั ปรงุ บชอพ. เมื่อเหน็ วา่ ถกู ตอ้ งแลว้ ใหห้ ัวหนา้ หนว่ ยสนบั สนนุ โดยตรง หรือผู้
ห น ้ า | 56 ที่ได้รับมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร ลงนามอนุมัติ แล้วส่งคืนให้หน่วยที่เสนอมา จำนวน 1 ชุดภายใน 30 วัน นบั แตว่ ันทีไ่ ด้รับ 6.8.3 เมื่อไดร้ ับหลักฐานที่อนุมตั แิ ล้ว ใหแ้ ก้ไข บชอพ.ไดต้ ามอนมุ ตั ิ 6.9 การปฏบิ ตั เิ พ่มิ เติมจากการปรบั ปรุง บชอพ. 6.9.1 การเพิ่มรายการ และการเพ่มิ ระดบั สะสมท่ีอนุมตั ิ 6.9.1.1 เพิ่มระดับสะสมท่ีอนุมัตใิ นแผนเก็บของและสำรวจยอด 6.9.1.2 ตรวจสอบจำนวนคงคลัง ค้างรับ และค้างจ่ายเปรียบเทียบกับ ระดับสะสมทีอ่ นมุ ตั ิ ถ้าจำเปน็ ให้เบกิ ทดแทนจากหนว่ ยสนบั สนุน เพอ่ื ให้เต็มระดบั ระดบั สะสมทอี่ นมุ ตั ิ 6.9.2 การตัดรายการ และการลดระดบั สะสมที่อนมุ ตั ิ 6.9.2.1 ลดระดับสะสมทอี่ นมุ ตั ใิ นแผนเก็บของและสำรวจยอด 6.9.2.2 ตรวจสอบจำนวนคงคลัง ค้างรับ และค้างจ่ายเปรียบเทียบกับ ระดับสะสมท่ีอนุมัติ ถ้าจำเป็นให้ส่งคืน และ/หรือยกเลิกค้างรับต่อหน่วยสนบั สนุนโดยตรง เพ่ือมิให้เกนิ ระดับ สะสมทอ่ี นุมตั ิ ขอ้ 7. การปฏิบัตเิ กย่ี วกับชิ้นสว่ นซ่อมทส่ี ะสม ( ชสส.) 7.1 หลกั เกณฑใ์ นการสะสม ชนิ้ ส่วนซอ่ มรายการใดที่เขา้ หลักเกณฑใ์ นการสะสมต่อไปน้ีใหจ้ ัดไวเ้ ปน็ พวก ชสส. และต้องทำ บชสส. ได้แก่ 7.1.1 ชิ้นส่วนซ่อมที่มีความถ่ีของความตอ้ งการประจำตั้งแต่ 3 คร้ังข้ึนไป ในห้วง ควบคมุ 12 เดอื น ( 360 วัน ) 7.1.2 ชิ้นส่วนซ่อมที่มีความถี่ของความต้องการประจำต่ำกว่า 3 ครั้งในห้วง ควบคมุ 12 เดอื น ( 360 วัน ) แตเ่ ป็นรายการทจี่ ำเป็นตอ่ ภารกจิ รวมทง้ั รายการตอ่ ไปนี้ คือ 7.1.2.1 ชอพ.ของหน่วยซึ่งตนมีภารกิจให้การสนับสนุน 7.1.2.2 ชสส.ของหนว่ ยซงึ่ ตนมีภารกจิ ใหก้ ารสนบั สนนุ 7.1.2.3 ชิ้นส่วนซ่อม ที่อนุมัติให้สะสมไว้ได้ โดยจำนวนตามคู่มือส่งกำลัง หรือคมู่ อื เทคนคิ ทม่ี บี ัญชีชิ้นสว่ นซ่อม เพอ่ื ประกนั ได้วา่ ยุทธภณั ฑ์ในความสนับสนุนสามารถนำไปใชง้ านได้โดย ตอ่ เนอื่ ง 7.1.2.4 องค์ประกอบของยุทธภัณฑ์ ท่ีกรมฝ่ายยุทธบริการอนุมัติให้ หน่วยสนับสนุนในการส่งกำลังสะสมไว้ เพ่ือจ่ายทดแทนองค์ประกอบท่ีชำรุดซ่อมของยุทธภัณฑ์ เมื่อหน่วย สนบั สนนุ การซ่อมบำรุงไมส่ ามารถซอ่ มยทุ ธภัณฑท์ ช่ี ำรดุ ใหแ้ ลว้ เสรจ็ ทนั ความตอ้ งการ 7.1.2.5 ช้ินส่วนซ่อมควบคู่ ที่จัดให้โดยอัตโนมัติที่หน่วยจ่ายส่งให้เพ่ือ สนบั สนนุ ยทุ ธภณั ฑร์ ายการใหม่ 7.1.2.6 ช้ินส่วนซอ่ มตามบัญชีแลกเปล่ยี นโดยตรง ซึ่งกรมฝา่ ยยุทธบริการ อนมุ ัตใิ หส้ ะสม 7.1.2.7 ช้ินส่วนตามบัญชีสะสม ของโรงงานซ่อมบำรุงของหน่วย สนบั สนนุ 7.2 การจดั ทำบญั ชีชน้ิ สว่ นซ่อมทีส่ ะสม ( บชสส.)
ห น ้ า | 57 7.2.1 หน่วยสนับสนุนโดยตรง และหน่วยสนับสนุนท่ัวไป จัดทำ บชสส.โดยใช้ แบบพิมพ์ ทบ.400-069 บัญชชี ้ินส่วนซ่อมท่ีสะสม ( ผนวก ง ) และเสนอให้หน่วย หรือคลังที่สนับสนุนทราบ เพอื่ เป็นหลักฐาน 7.2.2 เม่ือมีการปรับปรุง บชสส. ให้จัดทำใหม่ทุก ๆ ปี และเสนอให้หน่วย หรือ คลังท่สี นับสนนุ ทราบภายใน ม.ค. ของทุกปี 7.3 การสอบทานความต้องการเพ่ือปรับปรุง บชสส. ให้มีรายการ ชสส.ไดส้ มดลุ ย์กับความ ตอ้ งการในการสง่ กำลัง และ/หรอื การซ่อมบำรุง ใหป้ ฏิบตั ิดงั นี้ 7.3.1 ชสส. ที่สะสมโดยอาศัยหลักเกณฑ์ตามข้อ 7.1.1 ให้สอบทานบัตรบัญชีคุม ทบ.400-003 ในช่องในความต้องการประจำทุกรอบเดือน เพื่อให้ทราบความถี่ของความต้องการประจำใน หว้ งควบคุม และขีดเส้นแดงใตบ้ ันทกึ สดุ ทา้ ยของรอบเดอื นท่ีสอบทานนั้นทุกคร้ัง 7.3.2 ชสส.ที่สะสมโดยอาศัยหลักเกณฑ์ตามข้อ 7.1.2 และชิ้นส่วนซ่อมท่ียังไม่ เข้าเกณฑ์ในการสะสมตามข้อ 7.1.1 ให้สอบทานทุกคร้ังที่บันทึกความต้องการประจำลงในบัตรบัญชีคุม ทบ.400-003 เม่อื มคี วามต้องการประจำถึง 3 คร้ังในหว้ งควบคมุ เมือ่ ใด ใหค้ ำนวณและกำหนดเกณฑเ์ บกิ ดว้ ย 7.4 การเพิม่ และตดั รายการใน บชสส. 7.4.1 การเพ่ิมรายการชิ้นส่วนซ่อมที่ไม่ปรากฏใน บชสส. แต่คู่มือส่งกำลัง หรือ คู่มือเทคนิคท่ีมีบัญชีช้ินส่วนซ่อมอนุมัติให้เบิกไปสะสมไว้ เพื่อภารกิจในการสนับสนุนได้ ถ้ารายการใดเข้า หลักเกณฑ์สะสมตามข้อ 7.1 อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้เพิ่มรายการนั้นใน บชสส. ได้ และให้ใช้แบบพิมพ์ ทบ.400-069 บัญชีช้ินส่วนซอ่ มท่ีสะสม ( ผนวก ง ) เสนอใหห้ นว่ ย หรอื คลงั ที่สนับสนุนทราบเฉพาะรายการที่ เพิ่มภายใน 1 เดอื น 7.4.2 การตดั รายการ รายการต่อไปน้ีต้องตัดออกจาก บชสส. 7.4.2.1 ชสส.ท่ีสะสมตามหลักเกณฑ์ในข้อ 7.1.1 ถ้าปรากฏว่าในห้วง ควบคมุ ใดไมม่ คี วามตอ้ งการเลย และไม่เข้าหลักเกณฑต์ ามข้อ 7.1.2 ด้วย 7.4.2.2 ชสส. ที่สะสมตามหลักเกณฑ์ในข้อ 7.1.2.1 ถ้าหากหน่วยใช้ไม่มี ความต้องการอีกต่อไป 7.4.2.3 ชสส. ทสี่ ะสมตามหลักเกณฑใ์ นข้อ 7.1.2.2 ถ้าหากหน่วยซ่ึงตนมี ภารกิจใหก้ ารสนับสนุนไมม่ คี วามตอ้ งการอีกต่อไป 7.4.2.4 ชสส. ที่สะสมตามหลักเกณฑ์ในข้อ 7.1.2.3 ถ้าหากคู่มือส่งกำลัง หรือคู่มือเทคนิค มกี ารแก้ไขโดยตัดรายการนน้ั ออก 7.4.2.5 ชสส. ท่ีสะสมตามหลักเกณฑ์ในข้อ 7.1.2.4 ถ้ากรมฝ่ายยุทธ บรกิ ารท่ีอนุมัตใิ หส้ ะสมแจ้งการแกไ้ ขโดยยกเลกิ การอนุมตั ิ 7.4.2.6 ชสส. ที่สะสมตามหลกั เกณฑใ์ นขอ้ 7.1.2.5 เมือ่ สะสมไว้ครบตาม เวลาของหว้ งควบคุมแล้ว และไมเ่ ขา้ หลกั เกณฑอ์ ยา่ งใดตามข้อ 7.1 7.4.2.7 ชสส. ที่สะสมตามหลักเกณฑ์ในข้อ 7.1.2.6 ถ้ากรมฝ่ายยุทธ บรกิ ารทอ่ี นุมัติใหส้ ะสมแจ้งการแกไ้ ขโดยยกเลกิ อนมุ ัติ 7.4.2.8 ชสส. ท่ีสะสมตามหลักเกณฑ์ในข้อ 7.1.2.7 ถ้าโรงงานซ่อมบำรุง ของหน่วยสนบั สนนุ ไมต่ ้องการอกี ต่อไป
ห น ้ า | 58 การตัดรายการใน บชสส. ให้ใช้แบบพิมพ์ ทบ.400-069 บัญชีช้ินส่วนซ่อมท่ีสะสม ( ผนวก ง ) เสนอใหห้ นว่ ยหรือคลงั ที่สนบั สนนุ ทราบเฉพาะรายการทีต่ ัดออกภายใน 1 เดอื น ข้อ 8. ให้กรมฝ่ายยุทธบริการ และกรมฝ่ายกิจการพิเศษ ท่ีรับผิดชอบในสิ่งอุปกรณ์ ออกระเบียบ ปลกี ยอ่ ยได้ตามความจำเปน็ โดยไมข่ ัดกับระเบียบน้ี ข้อ 9. ให้กรมส่งกำลงั บำรุงทหารบก รักษาการให้เปน็ ตามระเบียบน้ี ข้อ 10. ใหใ้ ช้ระเบียบน้ี ตงั้ แต่บัดน้เี ปน็ ต้นไป หมายเหตุ แบบพิมพ์ “แผนเก็บของและสำรวจยอด ทบ.400-068” ให้ เปลยี่ นช่อื เปน็ “บตั รบญั ชีคุมช้นิ สว่ นซ่อม และสง่ิ อุปกรณ์ใช้สน้ิ เปลือง ทบ.400-068” เพือ่ ให้เป็นไปตามระเบียบ ทบ.ว่าดว้ ยการสง่ กำลัง สป.2 และ 4 พ.ศ.2534 คดั สำเนาจาก ประมวลระเบยี บ คำส่งั อนุมตั หิ ลักการ ฯลฯ กองทัพบก สายงานสรรพาวธุ พ.ศ.2480 ถึง 2519 ฉบับรา่ ง รวบรวมโดยกองวทิ ยาการ กรมสรรพาวธุ ทหารบก
ห น ้ า | 59 (สำเนา) ระเบยี บกองทพั บก วา่ ด้วย การสง่ กำลังสง่ิ อุปกรณ์ ประเภท 2 และ 4 พ.ศ. 2534 ------------------------------- โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบกองทัพบกว่าด้วยการส่งกำลังส่ิงอุปกรณ์ ประเภท 2 และ 4 พ.ศ. 2532 ใหเ้ หมาะสมยง่ิ ขึน้ จงึ วางระเบยี บไวด้ งั นี้ ข้อ 1 ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกองทัพบก ว่าด้วยการส่งกำลังส่ิงอุปกรณ์ ประเภท 2 และ 4 พ.ศ. 2534” ข้อ 2 ให้ใชร้ ะเบียบน้ี ต้งั แตบ่ ดั นเ้ี ป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบกองทัพบก ว่าด้วยการส่งกำลังส่ิงอุปกรณ์ ประเภท 2 และ 4 พ.ศ. 2524 บรรดาระเบียบ คำสั่ง และคำชี้แจงอ่ืนใด ที่นำมากำหนดไว้ในระเบียบน้ี หรือท่ีขัดแย้งกับระเบียบน้ี ให้ใช้ ระเบียบนี้แทน ข้อ 4 ให้เจา้ กรมส่งกำลังบำรงุ ทหารบกรักษาการใหเ้ ป็นไปตามระเบียบนี้ ตอนที่ 1 คำจำกัดความ ขอ้ 5 คำจำกัดความท่ใี ช้ในระเบียบนี้ 5.1 การส่งกำลัง หมายถึง การปฏิบัติการในเรื่อง ความต้องการการจัดหา การแจกจ่าย และการ จำหนา่ ยสิง่ อุปกรณ์ รวมทง้ั การควบคุมการปฏบิ ัติตามขนั้ ตอนดังกลา่ ว 5.2 ความต้องการ หมายถึง การกำหนดหรือการเสนอหรือคำขอในเรื่องสิ่งอุปกรณ์ตามจำนวน และในเวลาทบ่ี ่งไว้ หรือตามเวลาทีก่ ำหนดไว้ 5.3 การควบคมุ หมายถึง การควบคุมทางบัญชี และการควบคมุ ทางการส่งกำลงั 5.4 การควบคุมทางบัญชี หมายถึง วิธีการในการควบคุมส่ิงอุปกรณ์ท่ีเก่ียวกับ การควบคุมการ แจกจ่าย การจ่ายเพิ่มเติม การรวบรวมบันทึกรายงาน การจัดทำข้อมูลถาวรต่าง ๆ การสำรวจ การรายงาน สถานภาพส่ิงอุปกรณ์ การกำหนดนโยบายเก่ียวกับระดับส่ิงอุปกรณ์เพื่อการประหยัดโดยต่อเน่ืองทุกข้ันตอน ในสายการส่งกำลัง และสายการบังคับบัญชา นับตั้งแต่สิ่งอุปกรณ์ได้เร่ิงเข้าสู่ระบบการส่งกำลังจนกระทั่ง หน่วยใชไ้ ดใ้ ชห้ มดสิน้ ไป และไดร้ บั อนุมัติใหจ้ ำหน่ายออกจากบัญชคี ุมของกองทัพบกแล้ว 5.5 การควบคุมทางการส่งกำลัง หมายถึง วิธีการท่ีเก่ียวกับระบบการรายงาน การคำนวณ การ รวบรวมข้อมูล และการประเมินค่า เพ่ือให้สิ่งอุปกรณ์ตามความตอ้ งการทั้งส้ินได้ส่วนสัมพนั ธก์ ับทรัพย์สินที่มี อยู่ อนั เปน็ แนวทางในการประมาณการดา้ นงบประมาณ การจดั หา การแจกจา่ ย และการจำหนา่ ยส่ิงอุปกรณ์ 5.6 การจดั หา หมายถึง กรรมวธิ เี พอ่ื ใหไ้ ดม้ าซึง่ สิง่ อุปกรณ์ 5.7 การแจกจา่ ย หมายถงึ การรบั การจ่าย การเก็บรกั ษา และการขนสิง่ อุปกรณ์ 5.8 การจำหน่าย หมายถึง การตัดยอดสิ่งอุปกรณ์ออกจากความรับผิดชอบของกองทัพบก เนื่องจากสูญไป สิ้นเปลืองไป (ส่ิงอุปกรณ์ส้ินเปลือง) ชำรุดเสียหายจนไม่สามารถซ่อมคืนสภาพไดอ้ ย่างคุ้มค่า เส่ือมสภาพจนใช้การไมไ่ ด้ หรือสูญหาย ตาย เกินความตอ้ งการ หรือเปน็ ของล้าสมยั ไม่ใชร้ าชการตอ่ ไป
ห น ้ า | 60 5.9 สิ่งอุปกรณ์ หมายถึง ส่งิ ของทจ่ี ำเปน็ ท้ังมวล สำหรบั หนว่ ยทหาร รวมท้งั ท่ีมไี ว้เพ่ือการดำรงอยู่ และการปฏิบัติของหน่วยทหารด้วย เช่น อาหาร เคร่ืองแต่งกาย เชื้อเพลิง สัตว์ ยานพาหนะ อาวุธ กระสุน วตั ถรุ ะเบดิ เครื่องจักรกล ตลอดจนเครื่องมอื เครอื่ งใชต้ า่ ง ๆ เปน็ ต้น 5.10 สิ่งอุปกรณ์ประเภท 2 หมายถึง ส่ิงอุปกรณ์ซ่ึงอนุมัติให้หน่วยมีไว้ในครอบครอง โดยระบุ เป็นอตั ราของหนว่ ย หรอื บุคคล เชน่ เครื่องแต่งกาย อาวุธ เคร่ืองมอื และช้ินส่วนซ่อม เป็นต้น 5.11 ส่ิงอุปกรณ์ประเภท 4 หมายถึง สิ่งอุปกรณ์ซึ่งมิได้ระบุไวใ้ นอัตราของหน่วย หรือมิไดจ้ ัดเป็น สิ่งอุปกรณ์ตามประเภทอ่ืน ๆ แต่อาจอนุมัติให้หน่วยมีไว้ในครอบครองตามความจำเป็น เช่น วัสดุในการ กอ่ สร้าง และเครื่องปรบั อากาศ เป็นต้น 5.12 ส่ิงอุปกรณ์สำเร็จรูป หมายถึง ส่ิงอุปกรณ์ที่เกิดจากการรวมเข้าด้วยกันของผลิตภัณฑ์ สำเร็จรูป องค์ประกอบ ส่วนประกอบ ช้ินส่วน และ/หรือ วัสดุซ่ึงพร้อมจะใช้ได้ตามความมุ่งหมาย เช่น เรือ รถถัง เครอ่ื งบิน และโรงงานจกั รกลเคลือ่ นที่ เป็นต้น 5.13 สิ่งอุปกรณ์สำคัญ หมายถึง ส่ิงอุปกรณ์ที่มีความจำเป็นต่อ การฝึก การรบ ราคาแพง ยาก ตอ่ การจดั หา หรอื การผลิต มคี วามต้องการไมแ่ นน่ อน อาจจะขาดหรอื เกนิ อยู่เสมอในระบบการสง่ กำลัง และ/ หรือ เป็นรายการท่ีอาจเกิดวิกฤตในวัสดขุ ั้นมูลฐาน โดยกรมฝ่ายยุทธบริการเสนอบัญชีให้กองทัพบกประกาศ เป็นส่ิงอุปกรณ์สำคัญ เช่น รถถัง ชุดเรดาห์ เครื่องแต่งกายพิเศษ โทรศัพท์สนาม และหน้ากากป้องกันไอพิษ เป็นตน้ 5.14 ส่ิงอุปกรณ์หลัก หมายถึง สิ่งอุปกรณ์ที่ใช้เวลาในการจัดหานาน และราคาแพง แต่มิได้ระบุ ไว้เป็นอุปกรณ์สำคัญ โดยกรมฝ่ายยุทธบริการที่รับผิดชอบทำบัญชี และประกาศเป็นส่ิงอุปกรณ์หลักได้เอง เช่น เคร่อื งมอื กอ่ สร้าง และเครอ่ื งส่ือสารประจำที่ เปน็ ตน้ 5.15 สิ่งอุปกรณ์รอง หมายถึง สิ่งอุปกรณ์สำเร็จรูปทุกรายการซึ่งมิได้ระบุไวเ้ ป็นสิ่งอุปกรณ์สำคัญ และส่ิงอุปกรณ์หลัก โดยทั่วไปแล้วสิ่งอุปกรณ์เหล่านี้ จะเวลาในการจัดหาส้ัน ราคาถูก และงา่ ยต่อการจัดหา เชน่ เครอ่ื งแตง่ กาย เคร่ืองสนาม ส่งิ อปุ กรณท์ วั่ ไป เครือ่ งใชป้ ระจำบา้ นพัก และน้ำมัน เปน็ ตน้ 5.16 สิ่งอุปกรณ์ถาวร หมายถึง ส่ิงอุปกรณ์ถาวรกำหนดอายุ และส่ิงอุปกรณ์ถาวรไม่กำหนดอายุ ของสง่ิ อปุ กรณท์ งั้ มวล ซึ่งจำเปน็ สำหรับการปฏิบตั ิของหน่วยทางทหาร 5.17 สิง่ อุปกรณ์ถาวรกำหนดอายุ หมายถงึ ส่งิ อปุ กรณ์สำเรจ็ รูปซงึ่ มสี ภาพ และลักษณะมัน่ คงต่อ การใช้งาน แตย่ ่อมเสื่อมสภาพเสื่อมราคาไปตามวาระ และระยะเวลาแหง่ การใชง้ าน 5.18 ส่ิงอุปกรณ์ถาวรไม่กำหนดอายุ หมายถึง ส่ิงอุปกรณ์สำเร็จรูปซ่ึงมีสภาพ และลักษณะม่ันคง ตอ่ การใช้งาน หากมีการเกบ็ รกั ษา และการปรนนบิ ตั บิ ำรงุ เปน็ อยา่ งดีแลว้ ย่อมจะมอี ายุยนื นาน 5.19 ส่ิงอุปกรณ์ใช้สิ้นเปลือง หมายถึง ส่ิงอุปกรณ์ท่ีใช้แล้วย่อมหมดสิ้นไป ไม่คงรูป ไม่คงสภาพ และ/หรอื ไมม่ ีคุณคา่ ของการใชง้ านเหมอื นเดิม 5.20 ส่ิงอุปกรณ์สำรองเพ่ือการซ่อมบำรุง หมายถึง ส่ิงอุปกรณ์สำเร็จรูป หรือองค์ประกอบเพ่ือ สะสมไว้ ณ ที่ตง้ั การส่งกำลัง หรือซ่อมบำรุง เพ่อื จ่ายทดแทนส่ิงอุปกรณ์ชำรดุ ซ่อมได้ ซ่ึงไม่สามารถซ่อมบำรุง โดยหน่วยสนับสนุนได้ทันตามกำหนด 5.21 สง่ิ อุปกรณ์ใช้การได้ หมายถงึ สิง่ อุปกรณ์ที่มคี ณุ ภาพใชง้ านได้ตามความมงุ่ หมายเดิม 5.22 ส่ิงอุปกรณ์ใช้การไม่ได้ หมายถึง สิ่งอุปกรณ์ที่ล้าสมัย หรือสึกหรอชำรุด ไม่สามารถนำไปใช้ ได้ตามความมุ่งหมายเดิม จำเป็นต้องซ่อมปรับสภาพ หรือดัดแปลงก่อนที่จะนำเข้าเก็บรักษาเพื่อแจกจ่าย หรือเพ่ือใช้งานต่อไป
ห น ้ า | 61 5.23 ส่ิงอุปกรณ์ซ่อมคุ้มค่า หมายถึง ส่ิงอุปกรณ์ท่ีชำรุด และต้องการซ่อม ซึ่งพิจารณาแล้วว่าเป็น การเหมาะสม และประหยัดในการซอ่ มบำรงุ 5.24 ส่ิงอุปกรณ์งดใช้การ หมายถึงส่ิงอุปกรณ์สำเร็จรูปซ่ึงอยู่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ดงั ต่อไปนี้ 5.24.1 ไมท่ ำงานตามหนา้ ท่ี 5.24.2 ไมป่ ลอดภยั ในการใชง้ าน 5.24.3 ถา้ ใช้ตอ่ ไปจะเสยี หายมากข้ึน 5.25 ยุทธภัณฑ์ หมายถึง ส่ิงอุปกรณ์ทั้งมวลอันจำเป็นเพ่ือปฏิบัติการ เพื่อดำรง และสนับสนุน การปฏิบัติการรบของหน่วยทหาร (รวมถึง เรือรบ รถถัง อาวุธอัตตาจร อากาศยาน ฯลฯ และอะไหล่ที่ เก่ียวข้อง ชิ้นส่วนอะไหล่ หรือ ช้ินส่วนซ่อม และอุปกรณ์สนับสนุนแต่ไม่รวมถึงอสังหาริมทรัพย์ สถานท่ีตั้ง และสาธารณูปโภค) 5.26 ยทุ โธปกรณ์ หมายถงึ สงิ่ อปุ กรณ์ท้ังมวลทตี่ อ้ งการจดั ให้บุคคล หรือหน่วยทหาร ไดแ้ ก่ อาวุธ ยานพาหนะ เครอ่ื งแตง่ กาย เครอื่ งมอื ฯลฯ 5.27 วสั ดุ หมายถึง ชน้ิ ส่วน หรือส่ิงของตา่ ง ๆ ซ่งึ ได้จัดทำขึ้น หรอื ประกอบขน้ึ 5.28 ช้ินส่วนซ่อม หมายถึง องค์ประกอบ ส่วนประกอบ และช้ินส่วนท่ีใช้ในการซ่อมบำรุงส่ิง อุปกรณ์ตามที่กำหนดไวใ้ นคู่มือการส่งกำลัง และ/หรือคู่มือทางเทคนิคที่มีบัญชีช้ินส่วนซ่อม เช่น ลำกล้องปืน ใหญ่ และคาบเู รเตอร์ เป็นต้น 5.29 องค์ประกอบ หมายถึง ส่ิงอุปกรณ์ที่เกิดจากการรวมเข้าด้วยกันของช้ินส่วนประกอบ และ ช้ินส่วนต่าง ๆ ซึ่งสามารถปฏิบัติงานได้ในตัวเอง แต่อาจต้องอาศัยการควบคุมจากภายนอก หรืออาศัยการ ขับเคลอื่ นจากแหล่งอื่นประกอบดว้ ย เชน่ เครอื่ งยนต์ และเครอื่ งกำเนิดไฟฟา้ เป็นต้น 5.30 ส่วนประกอบ หมายถงึ สิ่งอุปกรณ์ซ่ึงประกอบด้วยชนิ้ ส่วนต่าง ๆ ท่เี ชอ่ื มตอ่ สัมพันธ์กนั ต้ังแต่ สองช้ินขึน้ ไป และสามารถถอดแยกออกจากกนั ได้ เช่น เคร่ืองเปล่ยี นความเร็ว และคาบเู รเตอร์ เปน็ ตน้ 5.31 ชิ้นส่วน หมายถึง ส่ิงอุปกรณ์ที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ หรือเป็นส่ิงอุปกรณ์ท่ีได้ ออกแบบไวใ้ หถ้ อดแยกออกจากกนั ไมไ่ ด้ เชน่ หลอดวทิ ยุ ยางนอกรถยนต์ และลำกล้องปนื เปน็ ตน้ 5.32 คลัง หมายถึง หน่วยที่มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติภารกิจในเรื่อง ความต้องการ การ ควบคุม การจดั หา การแยกประเภท การแจกจา่ ย การซอ่ มบำรงุ และการจำหน่ายส่ิงอปุ กรณ์ 5.33 คลังสายงาน หมายถึง คลังซ่ึงกรมฝ่ายยุทธบริการ หรือกรมฝ่ายกิจการพิเศษ ได้จัดตั้งข้ึน เพอ่ื ปฏบิ ตั ภิ ารกิจของคลงั สายงานเดียวกัน 5.34 คลังทวั่ ไป หมายถงึ คลังทจ่ี ดั ตงั้ ขน้ึ เพือ่ ปฏิบตั ภิ ารกิจของคลงั ตั้งแต่สองสายงานขึน้ ไป 5.35 คลังกองบญั ชาการช่วยรบ หมายถงึ คลังทัว่ ไปซ่ึงกองบญั ชาการช่วยรบไดจ้ ัดตง้ั ข้ึน 5.36 คลังสว่ นภมู ภิ าค หมายถงึ คลงั ทวั่ ไปซ่ึงมณฑลทหารบก หรอื จังหวัดทหารบก ไดจ้ ัดตง้ั ขน้ึ 5.37 หน่วยสนับสนุนทางการส่งกำลัง หมายถึง หน่วยสนับสนุนโดยตรง หน่วยสนับสนุนท่ัวไป และคลัง 5.38 หน่วยสนับสนุนทั่วไป หมายถึง หน่วยซ่ึงมีภารกิจสนับสนุนด้านการส่งกำลัง และ/หรือ การ ซอ่ มบำรุงตอ่ หนว่ ยสนบั สนนุ โดยตรง 5.39 หน่วยสนับสนุนโดยตรง หมายถึง หน่วยซึ่งมีภารกิจสนับสนุนดา้ นการส่งกำลัง และ/หรือ การ ซอ่ มบำรงุ โดยตรงใหก้ ับหน่วยใช้
ห น ้ า | 62 5.40 หน่วยใช้ หมายถึง หน่วยที่ได้รับส่ิงอุปกรณ์ตาม อจย., อสอ. หรืออนุมัติอ่ืนใด ซึ่งได้รับ ประโยชนจ์ ากใชส้ ่งิ อปุ กรณ์นั้น ๆ 5.41 หน่วยเบิก หมายถึง หน่วยใช้ตั้งแต่ระดับกองพัน หรือเทียบเท่า หรือกองร้อยอิสระข้ึนไป หรอื หนว่ ยอสิ ระที่ ทบ.อนมุ ัติ หรอื หนว่ ยสนับสนนุ ทางการส่งกำลังทุกระดับที่เบกิ ส่ิงอุปกรณไ์ ปยังหน่วยจ่าย 5.42 หน่วยจ่าย หมายถึง หน่วยสนับสนุนทางการส่งกำลังซ่ึงทำหน้าที่จ่ายส่ิงอุปกรณ์ให้แก่หน่วย เบิก 5.43 หนว่ ยบญั ชีคุม หมายถงึ หนว่ ยซ่งึ ดำเนนิ การควบคมุ ทางบัญชีต่อส่งิ อุปกรณ์ 5.44 วันส่งกำลัง หมายถึง ปริมาณสิ่งอุปกรณ์ท่ีประมาณว่าจะใช้สิ้นเปลืองไปหน่ึงวัน ตาม สภาวการณ์ตา่ ง ๆ 5.45 ระดับส่งกำลัง หมายถึง ปริมาณสิ่งอุปกรณ์ ณ ที่ตั้งการส่งกำลังต่าง ๆ ท่ีได้รับอนุมัติให้ สะสมไว้เพื่อสนับสนุนการส่งกำลังให้สมบูรณ์ และต่อเน่ือง โดยปกติจะต้องกำหนดเป็นจำนวนวันส่งกำลัง หรืออาจจะกำหนดเป็นจำนวนสง่ิ อุปกรณ์กไ็ ด้ 5.46 ระดบั ปฏิบตั กิ าร หมายถึง ปริมาณส่งิ อปุ กรณ์ทีต่ อ้ งการใหม้ ีไวเ้ พื่อสนบั สนนุ การปฏบิ ัตกิ ารใน ระยะเวลาเบกิ หรอื รับสิ่งอปุ กรณ์ท่สี ่งมาเพิ่มเตมิ 5.47 ระดบั ปลอดภยั หมายถงึ ปริมาณสง่ิ อุปกรณท์ ีเ่ พม่ิ เตมิ จากระดับปฏิบตั ิการใหม้ คี งคลงั ไว้ เพ่อื สามารถปฏิบัติการได้อย่างต่อเนื่องในเม่ือมีเหตุขัดข้องในการส่งเพิ่มเติมตามปกติ หรือเมื่อความต้องการไม่ เป็นไปตามความที่คาดคะเนไว้ 5.48 ระดับเก็บกัน หมายถึง ปริมาณส่ิงอุปกรณ์ท่ีหน่วยสนับสนุนทางการส่งกำลังได้รับอนุมัติให้ เก็บกันไวไ้ ด้เกินกว่าเกณฑ์เบิก 5.49 เกณฑ์สะสม หมายถึง ปริมาณสูงสุดของส่ิงอุปกรณ์ที่มีคงคลังเพ่ือสนับสนุนการปฏบิ ัตกิ ารได้ อย่างตอ่ เนือ่ ง ซ่งึ ประกอบดว้ ยระดบั ปฏบิ ตั กิ าร และระดบั ปลอดภัย 5.50 เกณฑ์เบิก หมายถึง ปริมาณสูงสุดของส่ิงอุปกรณ์คงคลังรวมกับค้างรับ ซึ่งจำเป็นสำหรับ สนับสนุนการปฏิบตั ิการในระยะนั้น และเพียงพอสำหรบั ความต้องการท่ีคาดว่าจะมใี นอนาคต หรอื คือผลรวม ของเกณฑ์สะสมกับเวลาในการเบกิ และจัดส่ง 5.51 เกณฑ์ความต้องการ หมายถึง ปริมาณสูงสุดของสิ่งอุปกรณ์คงคลังรวมกับท่สี ั่งช้ือ ซ่ึงจำเป็น สำหรบั สนบั สนนุ การปฏิบัตกิ ารในระยะน้นั และเพียงพอสำหรบั ความต้องการท่ีคาดว่าจะมใี นอนาคต หรือคือ ผลรวมของสิ่งอุปกรณ์ ตามระดับปลอดภัย วงรอบการจัดหา เวลาล่วงหน้าในการจัดหา และเวลาท่ีเสียไปใน การรายงานสถานภาพ 5.52 เวลาในการเบกิ และจัดส่ง หมายถงึ เวลานบั ตั้งแตห่ น่วยเบกิ ทำการเบิกสิ่งอุปกรณ์ จนถึงวนั ท่ี ได้รับส่ิงอุปกรณ์ 5.53 เวลาล่วงหน้าในการจัดหา หมายถึง เวลานับตั้งแต่ริเริ่มทำการจัดหา จนถึงวันที่ได้รับส่ิง อปุ กรณ์งวดแรก เขา้ สรู่ ะบบการสง่ กำลัง 5.54 วงรอบการสอบทาน หมายถงึ หว้ งเวลาทีก่ ำหนดให้ทำการสอบทาน 5.55 วงรอบการเบิก หมายถงึ ห้วงเวลาทกี่ ำหนดใหท้ ำการเบกิ 5.56 วงรอบการจดั หา หมายถงึ หว้ งเวลาทก่ี ำหนดให้ทำการจัดหา 5.57 จุดเพ่ิมเติม หมายถึง ปริมาณส่ิงอุปกรณ์ที่ต้องการทำการเบิกเพิ่มเติม ซ่ึงเท่ากับผลรวมของ ระดบั ปลอดภยั กบั เวลาในการเบกิ และจัดสง่ ทัง้ นี้เพือ่ เกบ็ รกั ษาไวซ้ ่ึงเกณฑ์สะสม
ห น ้ า | 63 5.58 ปัจจยั ทดแทน หมายถึง ตัวเลขแสดงความส้ินเปลืองของส่ิงอุปกรณ์ถาวร เป็นร้อยละ หรือพัน ละตอ่ เดอื น 5.59 อัตราส้ินเปลือง หมายถึง ตัวเลขแสดงความสิ้นเปลืองของส่ิงอุปกรณ์ใช้ส้ินเปลือง โดย กำหนดเปน็ มาตราอย่างใดอย่างหนึง่ ตามความเหมาะสม 5.60 คงคลัง หมายถึง ประมาณส่ิงอุปกรณ์ที่มีอยู่ในครอบครองของหน่วย ตามบัญชีคุมใน ขณะน้นั 5.61 คา้ งรับ หมายถึง ปรมิ าณส่ิงอุปกรณ์ท่ีคาดหมายว่าจะไดร้ บั จากการจดั ชือ้ การเบกิ และจาก แหลง่ อ่นื ๆ เช่น การโอน และการซอ่ มบำรุง เป็นต้น 5.62 ค้างจ่าย หมายถึง ปริมาณส่ิงอุปกรณ์ ซึ่งหน่วยจ่ายไม่สามารถจ่ายให้หน่วยเบิกได้ครบใน ขณะทขี่ องเบิกมา และบนั ทึกเปน็ หลกั ฐานไว้เพ่ือปลดเปลอื้ งคา้ งจา่ ยใหเ้ มื่อมสี ่ิงอุปกรณ์ 5.63 การเบิก หมายถึง วธิ ีดำเนินการเสนอคำขอไปยังหน่วยสนับสนุนทางการส่งกำลัง เพื่อขอรับ สงิ่ อปุ กรณต์ ามจำนวนที่ต้องการ 5.64 การยืม หมายถึง วิธีดำเนินการขอรับการสนับสนุนส่ิงอุปกรณ์เป็นการชั่วคราว (เว้นช้ินส่วน ซ่อม) สำหรับเพิ่มพูลการปฏิบัติภารกิจ หรือสำหรับการทรงชีพของหน่วยใช้ ซึ่งหน่วยไม่ได้รับอนุมัติให้มีสิ่ง อปุ กรณ์ดงั กล่าวไว้ในครอบครอง หรืออนุมตั ใิ หม้ ไี ว้แล้วแตไ่ มเ่ พียงพอ 5.65 การตดิ ตามใบเบกิ หมายถงึ การสอบถามเพื่อขอทราบผลการปฏบิ ตั ิต่อใบเบิกทีไ่ ดเ้ สนอไปยัง หนว่ ยสนับสนุนทางการส่งกำลัง 5.66 การยกเลิกใบเบิก หมายถึง การแจ้งระงับการจ่ายส่ิงอุปกรณ์ตามใบเบิกท่ีหน่วยเบิกเสนอมา อาจจะเปน็ ทัง้ หมด หรอื บางส่วนของการเบิกกไ็ ด้ 5.67 การรบั หมายถึง การดำเนินกรรมวิธีเพื่อครอบครองส่งิ อุปกรณ์ท่ีไดม้ าจากการจดั หา 5.68 การจ่าย หมายถึง การดำเนินการตอบสนองความตอ้ งการตามทหี่ นว่ ยเบกิ ได้ส่งคำขอมา 5.69 การปลดเปลื้องค้างจ่าย หมายถึง การจ่ายสิ่งอุปกรณ์ท่ีค้างจ่ายให้กับหน่วยเบิกโดยอัตโนมัติ ตามใบเบกิ ท่ีคา้ งจา่ ย 5.70 การเก็บรักษา หมายถึง การเตรียมพ้ืนท่ี การนำส่ิงอุปกรณ์เข้า-ออก การเก็บ หรือการวาง การระวงั รักษาสิง่ อุปกรณใ์ นทเี่ กบ็ รวมท้งั การปรนนบิ ตั บิ ำรงุ และการซ่อมบำรุงขณะเก็บ และกอ่ นจ่ายดว้ ย 5.71 การสำรวจ หมายถงึ การสำรวจส่ิงอุปกรณ์ และสำรวจท่ีเก็บ 5.72 การสำรวจส่ิงอุปกรณ์ หมายถึง การนับจำนวน และการตรวจสภาพสิ่งอุปกรณ์ในที่เก็บให้ตรง กับหลักฐานในบัญชีคุม 5.73 การสำรวจท่ีเก็บ หมายถึง การตรวจสอบที่เก็บสิ่งอุปกรณ์ให้ตรงกับบัตรบัญชีคุมส่ิงอุปกรณ์ หรอื บัตรแสดงที่เกบ็ ของ 5.74 การขนส่ง หมายถึง การเคล่อื นย้ายสงิ่ อุปกรณร์ ะหว่างหน่วยสง่ กับหนว่ ยรบั 5.75 การส่งคนื หมายถึง การส่งสงิ่ อุปกรณก์ ลับคืนหนว่ ยจ่าย หรอื สนับสนนุ ทางการส่งกำลัง มิได้ หมายถึงการสง่ ซอ่ ม หรือสง่ สิ่งอปุ กรณ์ท่ซี ่อมเสรจ็ แลว้ กลับคืนหน่วยสง่ ซอ่ ม 5.76 การโอน หมายถึง การโอนความรับผิดชอบในส่ิงอุปกรณ์ระหว่างสายยุทธบริการ หรือการ โอนสิทธคิ รอบครองสง่ิ อปุ กรณร์ ะหวา่ งหน่วย 5.77 สายการบังคับบัญชา หมายถึง ความเก่ียวพันในการบังคับบัญชาของหน่วยเหนือที่มีต่อ หน่วยรอง ตามลำดบั เชน่ กองทพั บก - กองทัพภาค - กองพล - กรม - กองพัน - กองร้อย เป็นต้น
ห น ้ า | 64 5.78 สายการส่งกำลัง หมายถึง ความเกี่ยวพันในการส่งกำลังของหน่วยเหนือที่มีต่อหน่วยรอง ตามลำดับ เช่น กองทัพบก - กรมฝ่ายยุทธบริการ หรือกรมฝ่ายกิจการพิเศษ - หน่วยสนับสนุนท่ัวไป - หน่วย สนบั สนุนโดยตรง – หน่วยใช้ ตอนที่ 2 ความต้องการ ขอ้ 6 ลักษณะความตอ้ งการ 6.1 ความต้องการประจำ 6.1.1 ความต้องการประจำ คือ ความต้องการเพื่อทดแทนสิ่งอุปกรณ์ท่ีใช้หมด ไป หรือใช้สิ้นเปลือง และเพ่ือเพมิ่ เติมระดับการส่งกำลงั อนั สบื เนื่องมาจากการปฏบิ ัติงาน 6.1.2 ความต้องการประจำ ใช้เป็นข้อมูลสำหรับคำนวณความต้องการทั้งเพื่อการ จัดหา และการเบกิ 6.2 ความตอ้ งการครัง้ คราว 6.2.1 ความต้องการคร้ังคราว คือ ความต้องการที่เกิดขึ้นคร้ังเดียวในห้วงเวลา 12 เดือน สำหรับความมุ่งหมายอย่างเดียวกัน และหมายรวมถึงความต้องการข้ันตน้ เพื่อสนองความต้องการ ตามอัตรา ความต้องการเพื่อรักษาระดับการส่งกำลังท่ีเพ่ิมข้ึน และความต้องการตามโครงการพิเศษต่าง ๆ เช่น ความตอ้ งการเพอ่ื การซอ่ มบำรุงสง่ิ อุปกรณ์สำเร็จรปู เปน็ ตน้ 6.2.2 ความต้องการครั้งคราว ใช้เป็นข้อมูลสำหรับคำนวณความตอ้ งการเพอ่ื การ จดั หาเทา่ นนั้ ข้อ 7 ประเภทความตอ้ งการ 7.1 ความต้องการข้ันต้น ได้แก่ ความต้องส่ิงอุปกรณ์ที่ทหาร หรือหน่วยต้องการมีไว้เพ่ือการ ปฏิบัติภารกิจของตน ซึ่งสิ่งอุปกรณ์น้ัน ๆ ยังไม่เคยได้รับมาก่อน และเป็นความต้องการส่ิงอุปกรณ์ในกรณี ดังตอ่ ไปน้ี 7.1.1 การรบั ทหารเขา้ ประการใหม่ 7.1.2 การจดั ตัง้ หนว่ ยใหม่ 7.1.3 การกำหนดมาตรฐานส่งิ อุปกรณใ์ หม่ 7.1.4 การเพิ่มจำนวน และรายการเนอื่ งมาจากการแกอ้ ตั รา 7.1.5 รายการทไ่ี ด้รับอนุมัติใหจ้ ่ายครง้ั แรก แก่หน่วยที่ยงั ไม่ไดร้ ับอนมุ ัติอตั รา 7.1.6 รายการทไ่ี ด้รบั อนุมัตใิ ห้จ่ายคร้งั แรก ซง่ึ เกนิ จำนวนจากอัตรา 7.1.7 การอนุมัติจ่ายสิ่งอุปกรณ์ใหม่ เพื่อทดแทนสิ่งอุปกรณ์เดิมท่ียังใช้ราชการได้ ซ่งึ ได้รบั คนื จากหน่วยทหาร 7.1.8 การจ่ายครง้ั แรกใหก้ บั หนว่ ยนอกกองทพั บก ตามคำสั่งกองทพั บก 7.2 ความต้องการทดแทน ไดแ้ ก่ ความตอ้ งการเพอ่ื ทดแทนสิ่งอุปกรณ์ที่หน่วยใชเ้ คยไดร้ ับมาแล้ว และเป็นความต้องการสิง่ อุปกรณใ์ นกรณดี ังต่อไปน้ี 7.2.1 เพ่ือทดแทนสิ่งอุปกรณ์ท่ีหมดเปลืองไป หรือชำรุดเน่ืองจากการใช้ และ รวมทงั้ ทดแทนชนิ้ ส่วนซอ่ มท่ชี ำรุดด้วย 7.2.2 เพื่อทดแทนสิ่งอุปกรณ์ท่ีถูกละท้ิง ทำลาย ข้าศึกทำให้เสียหาย โจรกรรม หรือ เสียหายโดยเหตอุ น่ื ๆ
ห น ้ า | 65 7.2.3 เพื่อทดแทนส่ิงอุปกรณ์ที่อยู่ในระหว่างการซ่อมบำรุง โดยใช้สิ่งอุปกรณ์สำรองเพ่ือ การซอ่ มบำรุง 7.3 ความต้องการเพ่ือรักษาระดับส่งกำลัง ได้แก่ ความต้องการสิ่งอุปกรณ์ที่ นอกเหนือไปจากความต้องการตามปกติ เพื่อสนับสนุนโครงการ หรือการปฏิบัติการพิเศษตามแผน และ วัตถุประสงค์ของกองทัพบก เช่น สิ่งอุปกรณ์ประเภท 4 โครงการจัดต้ังหน่วยใหม่ และโครงการระดมสรรพ กำลัง เปน็ ต้น ข้อ 8 การคำนวณความตอ้ งการ 8.1 ความตอ้ งการขนั้ ต้น = อตั ราอนุมัติ X จำนวนหน่วยทหาร ตามอัตรานั้น 8.2 ความต้องการทดแทน = ความตอ้ งการขั้นต้น X ปัจจัยทดแทน/อตั ราส้ินเปลือง X จำนวนเดอื น/วัน จะตอ้ งการทดแทน 8.3 ความต้องการเพื่อรักษาระดับส่งกำลัง = ความต้องการขั้นต้น X ปัจจัยทดแทน/ อตั ราส้นิ เปลอื ง X จำนวนเดือน/วนั ในสายทางเดนิ ส่งกำลงั 8.3.1 สายทางเดินส่งกำลงั ได้แก่ ระยะเวลาเป็นวันสง่ กำลังนบั ตัง้ แตร่ เิ ร่ิมจัดหา สง่ิ อุปกรณจ์ นถึงหน่วยใชไ้ ด้รบั สิ่งอปุ กรณน์ นั้ 8.3.2 ระดับคลังสายงาน สายทางเดินส่งกำลังประกอบด้วยระดับปลอดภัย + วงรอบการจดั หา + เวลาล่วงหนา้ ในการจดั หา 8.3.3 ระดับคลังกองบัญชาการช่วยรบ และคลังส่วนภูมิภาค หรือหน่วย สนับสนุนโดยตรง สายทางเดินส่งกำลังประกอบด้วย ระดับปลอดภัย + ระดับปฏิบัติการ/วงรอบการเบกิ + เวลาในการเบกิ และจัดส่ง 8.4 ความต้องการตามโครงการ การคิดคำนวณขึ้นอยู่กับโครงการ หรือการปฏิบัติการ พิเศษ ตามแผน และวัตถปุ ระสงค์ของกองทพั บก 8.5 ความต้องการรวม = ความต้องการขั้นต้น + ความต้องการเพ่ือรักษาระดับส่งกำลัง/ ความต้องการทดแทน + ความตอ้ งการตามโครงการ 8.6 ความต้องการสุทธิ = ความตอ้ งการรวม + ค้างจา่ ย - คงคลัง - คา้ งรบั ขอ้ 9 การเสนอความตอ้ งการ 9.1 สิ่งอปุ กรณ์ตามอัตรา ตามระดับสง่ กำลงั หรอื ตามโครงการทไ่ี ดร้ ับอนมุ ตั แิ ลว้ กรมฝ่าย ยุทธบริการ หรือกรมฝ่ายกิจการพิเศษท่ีรับผิดชอบ เป็นผู้รวบรวมความต้องการส่ิงอุปกรณ์เสนอไปยังกรมส่ง กำลังบำรงุ ทหารบก ตามทีก่ องทัพบกกำหนด 9.2 ส่งิ อปุ กรณ์ทนี่ อกเหนอื ทกี่ ลา่ วมาแลว้ ในขอ้ 9.1 9.2.1 หน่วยใช้ เสนอความต้องการไปตามสายงานส่งกำลังจนถึงกรมฝ่ายยุทบริ การ หรอื กรมฝา่ ยกจิ การพิเศษทร่ี บั ผิดชอบ 9.2.2 กรมฝ่ายยุทบริการ หรือกรมฝ่ายกิจการพิเศษ รวมรวมความต้องการแล้ว เสนอไปยงั กรมส่งกำลงั บำรุงทหารบก ตามท่ีกองทพั บกกำหนด
ห น ้ า | 66 ตอนท่ี 3 การจดั หา ข้อ 10 ทางท่ีได้มาซึ่งส่ิงอุปกรณ์ โดยทั่วไปหน่วย หรือคลังซ่ึงมีการสะสมสิ่งอปุ กรณ์ และ/หรือ มี ไว้เพอ่ื การปฏบิ ตั ิการยอ่ มจะไดร้ ับสงิ่ อุปกรณจ์ ากลักษณะใดลักษณะหน่งึ ดังต่อไปน้ี 10.1 การจัดช้ือ และการจ้าง หน่วยหรือเจ้าหน้าท่ีซึ่งมีหน้าท่ีในการจัดช้ือ และจ้าง จะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2521 (และที่แก้ไขเพิ่มเติม) และระเบียบหรือคำสง่ั อ่นื ใดทเี่ กย่ี วขอ้ ง 10.2 การรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศ ให้ปฏิบัติตามวิธีการซึ่งได้ตกลงระหว่าง กองทัพบกกับองค์การหรอื ตัวแทนของประเทศนนั้ ๆ 10.3 การซ่อมบำรุงสิ่งอุปกรณ์ท่ีหน่วยใช้ส่งซ่อม หากหน่วยซ่อมบำรุงสนับสนุนโดยตรง หรือหน่วยสนับสนุนทั่วไปพิจารณาเกินขั้นการซ่อมบำรุง ก็ให้นำส่งซ่อมต่อไปยังหน่วยซ่อมบำรุงระดับคลัง เม่ือหน่วยซ่อมบำรุงระดับคลังทำการซ่อมเสร็จแล้ว ให้ส่งส่ิงอุปกรณ์นั้นเข้าคลังเพ่ือดำเนินการตามระบบส่ง กำลังต่อไป และให้หน่วยซ่อมบำรุงสนับสนุนโดยตรง หรือสนับสนุนท่ัวไป แจ้งให้หน่วยใช้ทราบทันที่ได้ส่งส่ิง อปุ กรณ์ไปยังหน่วยซอ่ มบำรงุ ระดบั คลัง ท้ังนีเ้ พ่อื ให้หนว่ ยใชเ้ บกิ รับสง่ิ อปุ กรณท์ ดแทนตอ่ ไป 10.4 การเก็บซ่อมส่ิงอุปกรณ์ชำรุด ถูกทำลาย เสื่อมสภาพ หรอื ถูกทอดท้ิง ไม่วา่ จะเป็น ของใหม่หรือของใช้แล้วก็ตาม หากหน่วยซ่อมบำรุงของสายยุทธบริการพิจารณาเห็นว่าเกินข้ันการซ่อมบำรุง ไม่สามารถซ่อมได้คุ้มค่า ให้หน่วยซ่อมน้ันรายงานขออนุมัติถอดแยกช้ินส่วนซ่อมท่ีสามารถใช้ราชการได้จาก เจ้ากรมฝ่ายยุทธบริการ หรือฝ่ายกิจการพิเศษที่รับผิดชอบ เพ่ือดำเนินการบำรุงรักษา และนำเข้าระบบส่ง กำลังตอ่ ไป 10.5 การบริจาค ส่ิงอุปกรณ์ท่ีได้มาโดยมีผู้บริจาคให้แก่ส่วนราชการเป็นส่ิงอุปกรณ์ที่ จะตอ้ งดำเนินการตามระบบส่งกำลงั 10.6 การยืม หน่วยท่ีมีความจำเป็นในการยืมส่ิงอุปกรณ์ให้ปฏิบัติตามที่กำหนดไวใ้ นตอน ท่ี 4 การเบิก การยืม การโอน และการสง่ คนื 10.7 การโอน 10.7.1 การโอนความรับผิดชอบในส่ิงอุปกรณ์ระหว่างสายยุทธบริการ ให้ปฏิบัติ ตามระเบียบปฏิบตั ิในการโอนสิ่งอุปกรณ์จากสายยุทธบริการหน่ึงไปให้อีกสายหนึ่ง พ.ศ.2501 และคำสั่ง ทบ. ที่ 90/2508 ลง 30 ส.ค. 08 เรื่อง กำหนดวธิ ดี ำเนินการโอนส่ิงอปุ กรณ์ครบชดุ ของสายยุทธบริการเพิม่ เติม จากระเบยี บปฏบิ ตั ิในการโอนสง่ิ อปุ กรณจ์ ากสายยุทธบริการหนึ่งไปให้อกี สายหนึง่ พ.ศ.2501 10.7.2 การโอนสิทธิครอบครองสิ่งอุปกรณ์ระหว่างหน่วยให้ปฏิบัติตามระเบียบน้ี ตอนท่ี 4 การเบกิ การยมื การโอน และการส่งคืน 10.8 การเบิก หน่วยในสายการส่งกำลังซ่ึงต่ำกว่าระดับคลังสายงานให้ถือการเบิกเป็นวิธี หลักในการได้มาซ่ึงสิ่งอุปกรณ์ ส่วนรายละเอียดให้ปฏิบัติตามระเบียบนี้ ตอนที่ 4 การเบิก การยืม การโอน และการส่งคนื 10.9 การผลติ หากกรมฝ่ายยุทธบรกิ าร หรอื กรมฝ่ายกิจการพเิ ศษใดมีการผลติ ส่ิงอปุ กรณ์ เพ่ือใช้ราชการ ให้เจ้ากรมฝ่ายยุทธบริการ หรือเจ้ากรมฝ่ายกิจการพิเศษนั้นรับผิดชอบในการปฏิบัติให้เป็นไป ตามข้อกำหนด และความมุ่งหมายของราชการต่อไป 10.10 การเกณฑ์ และการยดึ ใหป้ ฏบิ ตั ิตามพระราชบญั ญัตกิ ฏอัยการศกึ พ.ศ.2457 และ พระราชบัญญตั กิ ารเกณฑ์ชว่ ยราชการ พ.ศ.2530
ห น ้ า | 67 10.11 การแลกเปล่ียน ให้ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการแลกเปลี่ยน ยานพาหนะ และครภุ ัณฑข์ องส่วนราชการ พ.ศ.2518 ขอ้ 11 งานของการจดั หา ในการดำเนนิ กรรมวิธีเพื่อให้ไดซ้ ่ึงส่งิ อปุ กรณ์มงี านทเี่ ก่ียวข้องดงั นี้ 11.1 การกำหนดแบบสิง่ อุปกรณ์ 11.2 การกำหนดคุณลกั ษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ 11.3 การกำหนดมาตรฐานสง่ิ อปุ กรณ์ 11.4 การกำหนดราคากลาง 11.5 การกำหนดแบบสัญญา 11.6 การทำสญั ญา 11.7 เง่อื นไขท่เี กยี่ วขอ้ งกับการสงวนสิทธิต่าง ๆ 11.8 การปฏิบัติตามสญั ญา 11.9 การแกไ้ ขสญั ญา 11.10 การตรวจรบั สง่ิ อุปกรณ์ 11.11 ข้อปฏิบัตเิ ก่ียวกบั การเงนิ 11.12 ขอ้ กำหนดอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วกับการจดั หา ข้อ 12 ประเภทการจัดหา แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ประเภทรวมการ และประเภทแยก การ 12.1 ประเภทรวมการ ไดแ้ ก่ การจดั หาในลักษณะดังต่อไปนี้ 12.1.1 หน่วยจัดหา ได้แก่ กรมฝ่ายยุทธบริการ และกรมฝ่ายกิจการพิเศษ ซึ่ง จัดหาเปน็ ส่วนรวมในระดบั กองทพั บก 12.1.2 ความมุ่งหมาย จัดหาเพ่ือสะสมและแจกจ่ายให้แก่คลังกองบัญชาการช่วย รบ และคลังสว่ นภูมิภาค หรอื บางกรณีอาจจะแจกจ่ายโดยตรงให้กบั หนว่ ยใชก้ ไ็ ด้ 12.1.3 ลักษณะส่ิงอุปกรณ์ที่จัดหา เป็นสิ่งอุปกรณ์สำเร็จรูปที่ความต้องการมี ปรมิ าณมาก มคี วามถ่ีในการความต้องการสูง เปน็ ยทุ โธปกรณท์ างทหาร หรอื ยทุ โธปกรณท์ างเทคนคิ 12.1.4 งบประมาณที่ใช้ในการจัดหา ใช้เงินงบส่งกำลังบำรุง หรือเงินงบอ่ืน ๆ ทกี่ องทพั บกอนุมตั ิ 12.1.5 ราคาสิ่งอุปกรณส์ ว่ นมากราคาแพง หรือวงเงนิ ในการจัดหามาก 12.2 ประเภทแยกการ ได้แก่ การจดั หาในลักษณะดังตอ่ ไปน้ี 12.2.1 หน่วยจัดหา ได้แก่ กองบัญชาการช่วยรบ และส่วนภูมิภาค หรือหน่วย ใชท้ ีไ่ ด้รบั อนุมตั ิใหจ้ ัดหาได้ 12.2.2 ความมุ่งหมาย จัดหาสนับสนุนหน่วยใช้ เพื่อเป็นการแก้ปญั หาเฉพาะหน้า หรือหนว่ ยใช้จดั หาเพอ่ื ใช้เอง 12.2.3 ลักษณะส่ิงอุปกรณ์ที่จัดหา เป็นสิ่งอุปกรณ์เบ็ดเตล็ดที่มีขายในท้องตลาด โดยท่วั ไป ปริมาณความตอ้ งการไม่มาก และความถใี่ นความต้องการไม่สูง 12.2.4 งบประมาณในการจัดหา ใช้เงินงบบริหาร และเงินงบเคร่ืองช่วยฝึก หรือ อาจจะเป็นเงนิ งบอื่น ๆ ทีก่ องทัพบกอนมุ ตั ิเป็นกรณีพเิ ศษ 12.2.5 ราคาส่งิ อปุ กรณ์ สว่ นมากราคาไมแ่ พง หรอื เปน็ วงเงนิ ทจ่ี ดั หาไมม่ าก 12.2.6 รายละเอยี ดในการปฏบิ ัติ ใหถ้ อื ปฏิบัตติ ามคำส่ังกองทัพบกดงั ตอ่ ไปน้ี
ห น ้ า | 68 12.2.6.1 คำส่ังกองทัพบก ที่ 96/2524 ลง 20 ก.พ. 24 เร่ืองการ จัดหา และซ่อมบำรงุ รายยอ่ ยโดยใชเ้ งินบรหิ ารทวั่ ไปของหนว่ ย 12.2.6.2คำส่ังกองทัพบก ท่ี 476/2524 ลง 23 ก.ย. 24 เร่ืองการ จัดหาและซ่อมบำรงุ รายย่อยโดยใช้เงินงบเคร่อื งชว่ ยฝึก 12.2.6.3 คำส่ังหรืออนุมัติของกองทัพบก เร่ืองอื่นใดที่กำหนด หรือ อนมุ ัติ โดยเฉพาะเกีย่ วกบั การจัดหาประเภทแยกการของการบญั ชาการช่วยรบส่วนภมู ิภาค หรือหนว่ ยใช้ ข้อ 13 ความรบั ผิดชอบในการจดั หา 13.1 กรมฝ่ายยุทธบริการ หรือกรมฝ่ายกิจการพิเศษ รับผิดชอบจัดหาส่ิงอุปกรณ์เป็น ส่วนรวม ประเภทรวมการตามท่ีกำหนดไว้ในข้อ 12.1 โดยเจ้าหน้าท่ีของกรมฝ่ายยุทธบริการ หรือกรมฝ่าย กจิ การพเิ ศษ ดงั น้ี 13.1.1 รวบรวมความตอ้ งการเสนอไปยังกรมส่งกำลังบำรุงทหารบก ตามท่ีกำหนด ไวใ้ นข้อ 9 13.1.2 เสนองบประมาณไปยังสำนักงานปลัดบัญชีกองทัพบก ตามระยะเวลาที่ กองทพั บกกำหนด เพื่อพจิ ารณาจดั สรรงบประมาณตอ่ ไป 13.1.3 ทำแผนจัดหาโดยถือมูลฐานจากงบประมาณท่ีได้รับแต่ละปี เสนอ กรมส่ง กำลงั บำรงุ ทหารบก ตามระยะเวลาทก่ี ำหนดเพ่ือขอรับอนุมตั จิ ากกองทพั บก 13.1.4 ดำเนนิ การจดั หาเพือ่ สะสม และแจกจา่ ยตามงบประมาณทีไ่ ด้รบั 13.2 กองบัญชาการช่วยรบ และส่วนภูมิภาค รับผิดชอบการจัดหาสิ่งอุปกรณ์ประเภท แยกการตามท่กี ำหนดในข้อ 12.2 โดยเจา้ หนา้ ที่กองบญั ชาการชว่ ยรบ หรอื สว่ นภูมภิ าค ข้อ 14 รายละเอียดในการปฏิบัติอ่ืนใดท่ีมิได้กำหนดไว้ในระเบียบน้ีให้ถือปฏิบัติตามระเบียบ และ คำสัง่ ท่เี กีย่ วข้องกบั การจดั หา ซง่ึ กำหนดไวโ้ ดยเฉพาะสำหรบั เรอ่ื งนนั้ ตอนท่ี 4 การเบิก การยมื การโอน และการสง่ คืน ข้อ 15 การเบิก ได้แก่ วิธีดำเนินการเสนอคำขอไปยังหน่วยสนับสนุน เพ่ือขอรับสิ่งอุปกรณ์ตาม จำนวนที่ตอ้ งการ ข้อ 16 ประเภทการเบิก แบง่ ออกเป็น 4 ประเภท คอื 16.1 การเบิกขั้นต้น ได้แก่ การเบิกส่ิงอุปกรณ์ตามความต้องการขั้นต้นที่ระบุไว้ในข้อ 7.1 16.2 การเบิกทดแทน ได้แก่ การเบิกสิ่งอุปกรณ์ตามความต้องการทดแทนท่ีระบุไว้ในข้อ 72 16.3 การเบิกเพ่ิมเติมเพ่ือรักษาระดับส่งกำลัง ได้แก่ การเบิกส่ิงอุปกรณ์ตามความ ต้องการ เพอื่ รกั ษาระดับสง่ กำลัง ทรี่ ะบไุ ว้ในขอ้ 7.3 16.4 การเบิกพเิ ศษ ไดแ้ ก่ การเบิกเรง่ ด่วน การเบิกนอกอตั รา การเบิกก่อนกำหนด 16.4.1 การเบิกเร่งด่วน ได้แก่ การเบิกสิ่งอุปกรณ์ท่ีหน่วยใช้มีความจำเป็นที่ตอ้ ง ใช้โดยเรง่ ด่วน หรอื ในยามฉกุ เฉิน หรอื เพ่ือการซอ่ มบำรุงส่งิ อปุ กรณง์ ดใช้การ 16.4.2 การเบกิ นอกอัตรา ไดแ้ ก่ การเบกิ สง่ิ อุปกรณ์ ประเภท 4
ห น ้ า | 69 16.4.3 การเบิกก่อนกำหนด ได้แก่ การเบิกส่ิงอุปกรณ์ที่หน่วยมีความจำเป็นต้อง ใชก้ ่อนวงรอบการเบิก ซ่ึงหนว่ ยสนบั สนุนไดก้ ำหนดข้ึน ข้อ 17 หน่วยเบกิ 17.1 ผู้บังคับหน่วยเบิก ต้องรับผิดชอบในการขอเบิกส่ิงอุปกรณ์ เพื่อให้หน่วยสามารถ ปฏบิ ตั ภิ ารกิจตามท่ไี ดร้ ับมอบหมายอยา่ งมีประสิทธิภาพ 17.2 ผู้บังคับหน่วยเบิก จะต้องส่งรายมือช่ือผู้มีสิทธิเบิก และผู้รับสิ่งอุปกรณ์ ตาม ระเบียบกองทัพบก ว่าดว้ ยการสง่ รายมือชอื่ ผู้มีสิทธเิ บิก และผู้รับส่งิ อุปกรณ์ พ.ศ.2510 ขอ้ 18 วิธีดำเนินการเบกิ 18.1 การเบิกขนั้ ต้น 18.1.1 หนว่ ยใช้ เม่ือความตอ้ งการขัน้ ต้น ทำใบเบิกเสนอหน่วยสนับสนุนโดยตรง หรือคลงั ส่วนภมู ภิ าค หรือคลังกองบัญชาการช่วยรบ หรือคลังสายงานแลว้ แต่กรณี ยกเว้นสิ่งอุปกรณ์ประเภท 2 และ 4 สายอากาศยานใหเ้ สนอใบเบิกผา่ น พัน.ขส.ซบร.บ.ทบ. สำหรับสง่ิ อปุ กรณ์ตาม อจย. และ อสอ. ให้ ดำเนินการเบิกเม่ือได้รับเอกสารการแจกจา่ ยสงิ่ อปุ กรณ์แลว้ 18.1.2 หน่วยสนับสนุนโดยตรง หรือคลังส่วนภูมิภาค หรือคลังกองบัญชาการ ชว่ ยรบ 18.1.2.1 เม่ือได้รับใบเบิกจากหน่วยใช้แล้ว ให้ดำเนินกรรมวิธีเพ่ือการ แจกจ่าย ถา้ ไม่สามารถสนับสนุนได้ ใหด้ ำเนินการเบิกตามสายการส่งกำลงั ตอ่ ไป 18.1.2.2 ในกรณีที่มีการจัดตั้งหน่วยใหม่ และมิได้มีการสะสมสิ่งอุปกรณ์ ไว้ เม่ือหน่วยสนับสนุนโดยตรง หรือคลงั ส่วนภมู ิภาค หรอื คลังกองบัญชาการช่วยรบ ไดท้ ราบการจัดต้ังหน่วย โดยแน่นอนแล้ว ให้ทำใบเบิกเสนอตามสายการสง่ กำลัง เพอ่ื ให้มีการสะสมสิ่งอปุ กรณพ์ รอ้ มจ่ายหนว่ ยได้ทันที เวน้ ส่ิงอปุ กรณ์ตาม อจย. และ อสอ. ใหด้ ำเนนิ การเมือ่ ไดร้ บั เอกสารการแจกจา่ ยสงิ่ อุปกรณแ์ ล้ว 18.1.2.3 คลังสายงาน เม่ือได้รับใบเบิกจากหน่วยรับการสนับสนุน ให้ ดำเนินกรรมวิธีเพ่ือการแจกจ่าย ถ้าไม่มีสิ่งอุปกรณ์สนับสนุนให้ดำเนินการเสนอความต้องการเพ่ือจัดหา ตอ่ ไป 18.2 การเบิกทดแทน เมื่อมีความต้องการทดแทน ให้ดำเนินการเบิกตามสายการ ส่ง กำลัง 18.3 การเบกิ เพ่ิมเติมเพือ่ รกั ษาระดับสง่ กำลงั 18.3.1 หนว่ ยใช้ ไมม่ กี ารเบกิ 18.3.2 หน่วยสนับสนุนโดยตรง คลังส่วนภูมิภาค หรือคลังกองบัญชาการช่วย รบ เมอื่ สิ่งอุปกรณท์ ่ีสะสมไวเ้ พื่อสนบั สนุนหนว่ ยลดระดับลงถงึ จดุ เพมิ่ เตมิ หรือถึงวงรอบการเบิก ให้ทำการ เบกิ ตามสายการสง่ กำลงั ต่อไป 18.3.3 คลังสายงาน เมอื่ ส่งิ อปุ กรณท์ ีส่ ะสมไวเ้ พื่อสนับสนนุ ให้แกห่ นว่ ยรับการ สนบั สนุนลดระดบั ลงถึงจดุ เพมิ่ เติม หรือถงึ วงรอบการจัดหาให้ดำเนินการเสนอความตอ้ งการเพื่อจดั หาต่อไป 18.4 การเบกิ พิเศษ 18.4.1 การเบิกเรง่ ด่วน 18.4.1.1 หน่วยใช้เม่ือมีความต้องการเร่งด่วน ให้ผู้บังคับบญั ชาหน่วยใช้ที่ มสี ิทธเิ บกิ ติดต่อขอรับสิ่งอุปกรณจ์ ากหน่วยใหก้ ารสนับสนุนโดยเครื่องสื่อสารทเ่ี หมาะสม เมื่อได้รบั ส่ิงอุปกรณ์ แล้ว จะตอ้ งทำใบเบกิ สง่ หนว่ ยจา่ ยภายใน 3 วัน โดยอา้ งหลกั ฐานในการเบิกเรง่ ดว่ น
ห น ้ า | 70 18.4.1.2 หน่วยสนับสนุนโดยตรง หรือคลังส่วนภูมิภาค หรือคลัง กองบัญชาการช่วยรบ ถ้ามีส่ิงอุปกรณ์สนับสนุน ให้ผู้มีอำนาจสั่งจ่ายตามท่ีกำหนดไว้ในข้อ 36.6 อนุมัติจ่าย ตามหลักฐานในการเบิกเร่งด่วน ถ้าไม่มีส่ิงอุปกรณ์สนับสนุนให้ติดต่อขอรับการสนับสนุนด้วยเคร่ืองส่ือสารที่ เหมาะสม เมื่อไดร้ ับสิ่งอุปกรณแ์ ล้ว จะต้องทำใบเบกิ ส่งหนว่ ยจ่ายภายใน 3 วนั 18.4.1.3 คลังสายงาน ถ้ามีส่ิงอุปกรณ์สนับสนุนให้ผู้มีอำนาจในการสั่ง จ่ายตามท่ีกำหนดไว้ในข้อ 36.6 อนุมัตจิ ่ายตามหลักฐานในการเบิกเรง่ ด่วน ถ้าไม่มีสิ่งอุปกรณ์สนับสนุน หาก พิจารณาเหน็ วา่ สามารถจัดหาสนับสนุนได้ทนั ที ก็ใหด้ ำเนนิ การต่อไป 18.4.2 การเบิกนอกอัตรา เมือ่ ได้รับอนุมัติความต้องการตามที่เสนอไปในข้อ 9.2 แลว้ ให้ดำเนินการเบิกได้ 18.4.3 การเบิกก่อนกำหนด เม่ือมีความจำเป็นต้องใชส้ ิ่งอุปกรณ์ก่อนวงรอบการ เบิก ซึง่ หนว่ ยสนับสนุนได้กำหนดข้ึน ใหด้ ำเนินการเบิกได้ 18.5 วิธีทำใบเบิก 18.5.1 ใบเบิกหลายรายการ ไดแ้ ก่ แบบพิมพ์ ทบ.400-006 และ ทบ.400-007 ใช้เบกิ ส่ิงอปุ กรณ์ในใบเบกิ ชดุ เดยี วกันไดห้ ลายรายการ ดำเนนิ การดังนี้ 18.5.1.1 ทำใบเบิกโดยแยกประเภทส่ิงอุปกรณ์ และสายงายท่ีรับผิดชอบ 1 ชดุ 4 ฉบบั (ชมพู ฟ้า เขยี ว ขาว ตามลำดับ) 18.5.1.2 ใบเบิกฉบบั ที่ 1, 2 และ 3 เสนอไปยงั หน่วยจ่าย 18.5.1.3 ใบเบกิ ฉบับที่ 4 เกบ็ ไวใ้ นแฟม้ รอเรอื่ ง 18.5.1.4 ถ้าหน่วยเบิกไปรับของเองจากหน่วยจ่าย ให้นำใบเบิกฉบับท่ี 4 ไปตรวจสอบกับจำนวน และประเภทกับส่ิงอุปกรณ์ที่ได้จ่ายจริง ตามใบเบิกฉบับท่ี 1 และ 2 ลงนามรับส่ิง อุปกรณใ์ นใบเบกิ ฉบบั ท่ี 1, 2 และ 4 แลว้ นำใบเบกิ ฉบบั ที่ 2 และ 4 กลังพร้อมส่งิ อุปกรณ์ 18.5.1.5 ถ้าหน่วยเบิกได้รับสิ่งอุปกรณ์จากสำนักงานขนส่งปลายทาง ให้ ตรวจสอบใบเบกิ ฉบับที่ 4 กับจำนวน และประเภทส่ิงอุปกรณ์ที่จ่ายจริงตามใบเบิกฉบับที่ 1 และ 2 ลงนาม รบั สง่ิ อปุ กรณใ์ นใบเบกิ ฉบับที่ 1, 2 และ 4 แล้วส่งใบเบกิ ฉบับท่ี 1 คืนหนว่ ยจา่ ย 18.5.1.6 เก็บใบเบิกฉบับที่ 2 ในแฟม้ เสร็จเรื่อง แนบใบเบิกฉบับที่ 4 ไป กับรายงานการรับส่ิงอุปกรณ์ให้ผู้บังคับบัญชาหน่วยเบิกทราบ เพ่ือรายงานหน่วยตามสายการบังคับบัญชา เหนือขน้ึ ไปอีก 1 ขั้น 18.5.2 ใบเบิกรายการเดียว ได้แก่ แบบพิมพ์ ทบ.400-007-1 ใช้เบิกส่ิงอุปกรณ์ ในใบเบกิ ชดุ เดยี วกันเพียงรายการเดียว ดำเนนิ การดงั นี้ 18.5.2.1 ใบเบิก 1 ชุด มี 5 ฉบับ ( ชมพู ฟ้า เขียว ขาว ขาว ตามลำดับ ) 18.5.2.2 ใบเบิกฉบบั ท่ี 1,2,3 และ 4 เสนอไปยังหนว่ ยจ่าย 18.5.2.3 ใบเบิกฉบับท่ี 5 เก็บไวใ้ นแฟม้ รอเรอ่ื ง 18.5.2.4 ถ้าหน่วยเบกิ ไปรับของเองจากหน่วยจ่าย ให้นำใบเบิกฉบับท่ี 5 ไปตรวจสอบกับจำนวน และประเภทกับส่ิงอุปกรณ์ท่ีได้จ่ายจริง ตามใบเบิกฉบบั ท่ี 1, 2 และ 4 ลงนามรับส่ิง อปุ กรณใ์ นใบเบิกฉบับที่ 1, 2, 4 และ 5 แลว้ นำใบเบิกฉบบั ที่ 2 และ 4 กลบั พรอ้ มสิ่งอุปกรณ์
ห น ้ า | 71 18.5.2.5 ถ้าหน่วยเบิกได้รับส่ิงอุปกรณ์จากสำนักงานขนส่งปลายทาง ให้ ตรวจสอบใบเบิกฉบับที่ 5 กับจำนวน และประเภทสิ่งอุปกรณ์ที่จ่ายจริงตามใบเบิกฉบับที่ 1 และ 2 ลงนาม รับส่ิงอปุ กรณ์ในใบเบกิ ฉบบั ที่ 1, 2 และ 5 แล้วส่งใบเบกิ ฉบับที่ 1 คนื หน่วยจ่าย 18.5.2.6 เก็บใบเบิกฉบับท่ี 2 ในแฟ้มเสร็จเร่ือง แนบใบเบิกฉบับที่ 5 ไป กับรายงานการรับส่ิงอุปกรณ์ให้ผู้บังคับบัญชาหน่วยเบิกทราบ เพื่อรายงานหน่วยตามสายการบังคับบัญชา เหนือขนึ้ ไปอีก 1 ขัน้ 18.6 จำนวนเบิก 18.6.1 การเบิกข้ันตน้ จำนวนเบิก = จำนวนตามอัตรา - คงคลงั - คา้ งรับ 18.6.2 การเบกิ ทดแทน จำนวน = จำนวนส่งิ อุปกรณ์ท่ีชำรุด สญู หาย ฯลฯ ซ่ึงได้ดำเนินการตามระเบียบ กองทัพบกวา่ ด้วยการจำหนา่ ยสงิ่ อุปกรณ์ พ.ศ.2524 แล้ว 18.6.3 การเบกิ เพมิ่ เติมเพอื่ รกั ษาระดับสง่ กำลงั จำนวนเบิก = เกณฑ์เบกิ (RO) - คงคลงั (OH) - ค้างรับ (DI) + คา้ งจา่ ย (DO) 18.6.4 การเบกิ พเิ ศษ จำนวนเบิก = จำนวนสิ่งอุปกรณ์ตามความจำเป็นท่ีระต้องปฏิบัติภารกิจ หรือ จำนวนท่ีได้รับอนุมตั ิ 18.7 ข้อกำหนดในการใช้แบบพิมพ์ 18.7.1 ให้ใช้แบบพิมพ์ ทบ.400-007-1 ในการเบิกสิ่งอุปกรณ์ทุกประเภท และทุก กรณี เว้นส่ิงอปุ กรณ์ทีก่ ำหนดในขอ้ 18.7.2 18.7.2 ให้ใช้แบบพิมพ์ ทบ.400-006 ในกรณีที่หน่วยเบิกต้องไปรับของเอง หรือแบบพิมพ์ ทบ.400-007 ในกรณีท่ีหน่วยเบิกต้องการให้หน่วยจ่ายส่งส่ิงอุปกรณ์ผ่านสำนักงานขนส่งใน การเบิก สิ่งอุปกรณด์ งั ต่อไปน้ี 18.7.2.1 เคร่ืองแตง่ กาย 18.7.2.2 เคร่ืองนอน 18.7.2.3 เคร่อื งสนาม 18.7.2.4 เครือ่ งเขียน 18.7.2.5 แบตเตอร่แี หง้ 18.7.2.6 สิ่งอปุ กรณ์สิน้ เปลืองสายทหารชา่ ง 18.7.2.7 สงิ่ อปุ กรณ์สนิ้ เปลอื งสายแพทย์ 18.7.2.8 ส่ิงอปุ กรณส์ ้ินเปลอื งสายการสตั ว์ 18.7.2.9 ส่ิงอุปกรณ์ประเภท 4 จำพวกสารเคมีชนิดต่าง ๆ ก๊าช น้ำกรด และน้ำ กลน่ั สายวิทยาศาสตร์ 18.7.2.10 สิ่งอุปกรณ์ประเภท 4 จำพวกวัสดุก่อสร้าง และอุปกรณ์ที่เก่ียวกับ สาธารณูปโภคสายยทุ ธโยธา 18.7.2.11 วัสดุทำความสะอาด และปรนนิบตั ิบำรุงสายสรรพาวธุ และเป้า 18.7.2.12 แบบพิมพ์
ห น ้ า | 72 ข้อ 19 การติดตามใบเบิก ได้แก่ การสอบถามเพื่อขอทราบผลการปฏิบัติต่อใบเบิกท่ีได้เสนอไป ยงั หนว่ ยสนบั สนุน 19.1 หน่วยเบิก เม่ือเสนอใบเบิกไปยังหน่วยสนับสนุนเกิน 45 วัน แล้วยังไม่ได้รับสิ่ง อปุ กรณ์ ให้ติดตามใบเบกิ โดยใช้แบบพมิ พ์ ทบ.400-071 19.2 หน่วยสนับสนุน เมื่อได้รับใบติดตามใบเบิกแล้ว ให้ทำการตรวจสอบใบเบิก และ บันทกึ ผลการปฏบิ ตั ใิ นใบติดตามใบเบกิ แล้วสง่ คืนหน่วยเบกิ โดยเรว็ ข้อ 20 การยกเลิกการเบิก ได้แก่ การแจ้งระงับการจ่ายสิ่งอุปกรณ์ตามใบเบิกที่หน่วยเบิกเสนอ มา อาจจะเป็นทั้งหมดหรอื บางส่วนของการเบิกก็ได้ 20.1 เหตุผลในการยกเลิก การยกเลิกอาจริเริ่มจากหน่วยเบิก หรือหน่วยจ่ายก็ได้ เมื่อมี เหตุผลตามรหัสการยกเลิกอย่างใดอย่างหน่ึงหรอื หลายอย่าง ดงั ต่อไปน้ี รหัส ความหมาย 01 รายการน้ยี กเลิกแล้ว ไม่สะสมอีก 02 ขาดแคลนไมส่ ามารถจา่ ยใหไ้ ดใ้ นระยะรอบนี้ 03 ไม่สะสมเพราะความตอ้ งการหา่ งมาก ให้แจ้งเหตผุ ลที่ตอ้ ง การโดยละเอียดใหม่ 04 ใหเ้ บกิ จากหนว่ ยสนบั สนุนโดยตรง 05 ให้เบิกจากคลังสว่ นภมู ิภาคหรอื คลงั กองบัญชาการชว่ ยรบ 06 ให้เบิกจากคลงั สายงาน 07 ให้เบกิ จากคลงั สายงานท่ีรบั ผิดชอบ 08 ไมจ่ ่ายทั้งชดุ ใหเ้ บิกเฉพาะชิ้นสว่ นซอ่ มตามคู่มือสง่ กำลัง 09 ไมจ่ ่ายเฉพาะชน้ิ สว่ นซอ่ ม ให้เบิกท้ังชุดตามคู่มือส่งกำลัง 10 ปฏิบัตติ ามระเบยี บไมถ่ ูกตอ้ ง ให้แก้ไขใหมต่ ามที่แจ้งให้ทราบ 11 จำนวนท่ีเบกิ ไม่คมุ้ คา่ ขนสง่ ให้จัดหาในท้องถนิ่ 12 งดเบกิ เพราะหมดความต้องการ 13 จำนวนท่ีเบิกเกนิ กวา่ อตั ราทีอ่ นมุ ตั ิ 14 มสี ง่ิ อปุ กรณ์ชนิดนี้เกนิ ระดบั สะสมท่หี นว่ ยเบกิ 15 เป็นสิ่งอปุ กรณ์ประเภท 4 ใหข้ ออนุมตั ิหลักการกอ่ น 16 เบกิ ซ้ำ 17 ตรวจสอบหมายเลขสิง่ อปุ กรณไ์ ม่พบ ขอให้เบกิ ใหม่ โดย อ้างช่ือสิ่งอปุ กรณส์ ำคัญ สิ่งอปุ กรณห์ ลัก สิ่งอุปกรณร์ อง แบบ ชอ่ื คู่มอื และหน้า 20.2 วิธดี ำเนนิ การยกเลิก มี 2 วิธี คือ 20.2.1 บันทึกยกเลิกในใบเบิก ใช้เมื่อต้องการยกเลิกการเบิกสิ่งอุปกรณ์ทุก รายการในใบเบิก ให้ดำเนินการ ดังน้ี 20.2.1.1 บันทึก “ยกเลิกรหัส.... วัน เดือน ปี” ดว้ ยอักษรสีแดง ด้านบนของใบ เบกิ แลว้ ลงชื่อผ้ตู รวจสอบกำกับไว้ 20.2.1.2 ในกรณีท่ีหน่วยจ่ายขอยกเลิก ให้เก็บใบเบกิ ฉบับที่ 1 ไว้ ส่งใบเบกิ ฉบับท่ี 2 คนื หน่วยเบกิ ส่วนท่เี หลอื ให้ทำลาย
ห น ้ า | 73 20.2.1.3 ในกรณีท่ีหน่วยเบิกขอยกเลิก ให้ส่งใบเบิกฉบับที่เก็บรอเรื่องไว้ไปยัง หน่วยจ่าย 20.2.2 ยกเลิกด้วยใบแจ้งการยกเลิกใช้เมื่อต้องการยกเลิกการเบิกให้ดำเนินการ ดังน้ี 20.2.2.1ทำใบแจง้ การยกเลิกด้วยแบบพมิ พ์ ทบ.400-008 จำนวน 2 ฉบบั 20.2.2.2 ส่งใบแจ้งการยกเลิกไปยังหน่วยเบิก หรือหน่วยจ่ายแล้วแต่กรณี จำนวน 1 ฉบบั แลว้ เก็บไว้ 1 ฉบบั ข้อ 21 การยืมสิ่งอุปกรณ์ ได้แก่ วธิ ดี ำเนินการขอรบั การสนับสนุนส่ิงอุปกรณ์เปน็ การชว่ั คราว ( เวน้ ช้นิ ส่วนซ่อม ) สำหรบั การเพิ่มพนู การปฏิบัตภิ ารกิจ หรือสำหรบั การทรงชพี ของหนว่ ยใช้ ซ่ึงหนว่ ยไม่ได้รบั อนุมัติให้มสี ิ่งอปุ กรณ์ดงั กลา่ วไวใ้ นครอบครอง หรอื อนุมัติใหม้ ีไว้แลว้ แต่ไม่เพยี งพอ ขอ้ 22 วิธปี ฏิบัติในการยืมสิง่ อปุ กรณ์ 22.1 หนว่ ยใช้ 22.1.1 ทำรายงานขอยืมส่ิงอุปกรณ์เป็นลายลักษณ์อักษร เสนอตามสายการส่ง กำลัง ในรายการให้แจ้งเหตุผล และรายละเอียดในการใช้ส่ิงอุปกรณ์ให้ชัดเจนพอที่จะเป็นข้อมูลในการ พจิ ารณาตกลงใจของผู้มีอำนาจอนุมัตสิ ่ังใหย้ มื ได้ ท้งั น้ีให้กำหนดวันส่งคืนในรายงานนนั้ ด้วย 22.1.2 ทำใบเบิกตามข้อ 18.5 แนบไปพรอ้ มกบั รายงาน 22.1.3 เมื่อครบกำหนดเวลาท่ีได้รับอนุมัติให้ยืมตามบ่งไว้ในใบเบิก ต้องนำส่งคืน ภายใน 7 วนั 22.1.4 ถ้าส่ิงอุปกรณ์ยืม เกิดการชำรุด สูญหาย ให้ปฏิบัติตามระเบียบกองทัพบก ว่าด้วยการจำหน่ายสง่ิ อุปกรณ์ พ.ศ.2524 22.1.5 เม่ือมีการโยกย้าย หรือสับเปล่ียนตำแหน่งผู้เบิกยืม ให้แจ้งยกเลิกใบเบิก เดิม พร้อมกับทำใบเบิกเสนอไปใหม่ 22.2 หนว่ ยสนบั สนนุ ทางการสง่ กำลัง 22.2.1 หากส่ิงอุปกรณ์ใดไม่มีให้ยืม ให้ยกเลิกรายการนั้น และแจ้งให้หน่วยยืม ทราบ 22.2.2 ถ้ามีส่ิงอุปกรณ์สนับสนุนได้ ให้บันทึกเหตุผลในรายงาน และแนบใบเบิก เสนอจนถึงผ้มู อี ำนาจอนุมัติสั่งให้ยืม 22.2.3 ผูอ้ ำนาจอนุมัติสงั่ ใหย้ มื 22.2.3.1 สง่ิ อุปกรณ์สำคญั ได้แก่ ผู้บัญชาการทหารบก 22.2.3.2 สิ่งอุปกรณ์อ่ืน ๆ ได้แก่ เจ้ากรมฝ่ายยุทธบริการ หรือเจ้ากรม ฝา่ ยกจิ การพิเศษ หรอื แม่ทพั แลว้ แตก่ รณี ข้อ 23 การโอน ได้แก่ การโอนความรับผิดชอบในส่ิงอุปกรณ์ระหว่างสายยุทธบริการ หรือการ โอนสทิ ธคิ รอบครองส่งิ อุปกรณร์ ะหว่างหนว่ ย ข้อ 24 การโอนความรับผิดชอบในสิ่งอุปกรณ์ระหว่างสายยุทธบริการ ได้แก่ การโอนความ รับผิดชอบส่ิงอุปกรณ์จากสายยุทธบริการหนึ่งไปยังสายยุทธบริการหน่ึง ตามระเบียบ หรือคำส่ังกองทัพบก กำหนด ข้อ 25 การโอนสิทธิครอบครองส่ิงอุปกรณ์ระหว่างหน่วย ได้แก่ การเปลี่ยนกรรมสิทธิในการ ครอบครองสงิ่ อุปกรณจ์ าหนว่ ยหน่งึ ไปยงั อีกหนว่ ยหนงึ่ เพอื่ ความม่งุ หมายดงั ต่อไปน้ี
ห น ้ า | 74 25.1 ใหห้ นว่ ยมสี ่ิงอปุ กรณค์ รบตามอัตรา หรอื ระดับสะสม 25.2 ใชส้ ง่ิ อปุ กรณ์ที่มอี ยใู่ หเ้ กิดประโยชนม์ ากท่สี ุด 25.3 ประหยดั เวลา และคา่ ขนส่ง 25.4 ใหก้ ารสง่ กำลงั เป็นไปอย่างต่อเนื่อง ข้อ 26 การดำเนินการโอนความรับผิดชอบในส่งิ อุปกรณ์ระหว่างสายยุทธบริการ ให้ปฏิบัติตาม ระเบยี บ และคำสงั่ กองทพั บก ดงั ตอ่ ไปน้ี 26.1 ระเบียบปฏบิ ัติการโอนสงิ่ อุปกรณ์จากสายยุทธบรกิ ารหนึง่ ไปใหอ้ ีกสายหน่ึง พ.ศ.2501 26.2 คำส่ังกองทพั บก ที่ 290/2508 ลง 30 ส.ค. 08 เร่อื ง กำหนดวธิ ีดำเนนิ การโอนส่ิง อปุ กรณ์ครบชดุ ของสายยทุ ธบริการ เพ่ิมเตมิ จากระเบยี บปฏบิ ัติในการโอนสิง่ อปุ กรณ์จากสายยทุ ธบรกิ ารหน่ึง ไปให้อีกสายหนงึ่ พ.ศ.2501 ขอ้ 27 การดำเนินการโอนสิทธคิ รอบครองส่ิงอปุ กรณ์ระหว่างหนว่ ย เมื่อได้รบั อนุมัติโอนจากผมู้ ี อำนาจในการสั่งโอนตามขอ้ 28 ใหป้ ฏิบัตดิ ังนี้ 27.1 หนว่ ยโอน 27.1.1 ทำการปรนนบิ ตั ิบำรุงสงิ่ อุปกรณ์ก่อนโอน 27.1.2 ตรวจสอบใหม้ ีสงิ่ อปุ กรณ์ครบชุด และสามารถใช้การได้ 27.1.3 ผูกป้ายประจำสงิ่ อปุ กรณ์ โดยใชแ้ บบพมิ พ์ ทบ.400-010 27.1.4 ทำใบโอนสิ่งอุปกรณ์ โดยใช้แบบพิมพ์ ทบ.400-074 จำนวน 1 ชุด (5 ฉบบั ) 27.1.5 ส่งสิ่งอุปกรณ์พร้อมใบโอนไปยังหน่วยรับโอน จำนวน 4 ฉบับ เก็บไว้ใน แฟม้ รอเรอื่ งจำนวน 1 ฉบับ 27.1.6 เก็บใบโอนที่ได้รับคืนจากหน่วยรับโอน และสำเนาใบโอน รายงานหน่วย สนบั สนุนหนว่ ยโอน จำนวน 1 ฉบบั 27.1.7 ตัดยอดสิ่งอุปกรณจ์ ากบัญชคี ุม 27.2 หนว่ ยรบั โอน 27.2.1 ลงทะเบยี นใบโอน 27.2.2 ตรวจรับสิ่งอปุ กรณต์ ามใบโอน 27.2.3 ลงนามรับสิ่งอุปกรณ์ในใบโอน ท้ัง 4 ฉบับ เก็บไว้ 1 ฉบับ และส่งให้กรม ฝ่ายยทุ ธบริการทร่ี ับผิดชอบ 1 ฉบบั ข้อ 28 ผู้มอี ำนาจสง่ั ใหโ้ อน 28.1 ส่ิงอุปกรณ์เกินอัตรา หรือระดับสะสม ส่ิงอุปกรณ์รอง และชิ้นส่วนซ่อมเว้นอาวุธ ไดแ้ ก่ เจา้ กรมฝา่ ยยทุ ธบรกิ าร 28.2 กรณอี นื่ ๆ นอกเหนอื จากท่กี ลา่ วมาแล้ว ไดแ้ ก่ ผู้บัญชาการทหารบก ข้อ 29 การส่งคืน ได้แก่ การส่งสิ่งอุปกรณ์กลับคืนหน่วยจ่าย หรือหน่วยสนับสนุนทางการส่ง กำลงั มิได้หมายถงึ การส่งซอ่ ม หรือสง่ สงิ่ อปุ กรณ์ทีซ่ ่อมเสรจ็ แลว้ กลบั คืนหน่วยสง่ ซอ่ ม ขอ้ 30 มลู เหตกุ ารส่งคนื 30.1 เกินอัตรา หรอื ระดับสะสมทไี่ ด้รับอนมุ ัติ 30.2 ล้าสมัย เปล่ียนแบบ หรอื เลิกใช้ 30.3 เมอ่ื ครบกำหนดเวลาท่ใี ห้ยมื
ห น ้ า | 75 30.4 เม่ือได้รับอนมุ ัตใิ หจ้ ำหนา่ ย 30.5 กรณีอ่ืน ๆ ข้อ 31 ประเภทส่งิ อปุ กรณท์ ่สี ง่ คืน 31.1 สิ่งอปุ กรณใ์ ชก้ ารได้ ได้แกส่ ่ิงอุปกรณท์ ่ีมีคณุ ภาพใชง้ านไดต้ ามความมุ่งหมายเดิม 31.2 ส่ิงอุปกรณ์ใช้การไม่ได้ ได้แก่ สิ่งอุปกรณ์ท่ีสึกหรอ ชำรุดไม่สามารถนำไปใช้งาน ตามความมุ่งหมายเดิม จำเป็นต้องซ่อม ปรับสภาพ ก่อนนำเข้าเก็บรักษาเพ่ือแจกจ่าย หรือในกรณีท่ีหน่วย ซ่อมบำรุงพิจารณาแล้วเห็นว่าซ่อมไม่คุ้มค่า ซ่ึงจะต้องดำเนินการขอจำหน่ายต่อไป หรือซากส่ิงอุปกรณ์ ตาม ระเบียบกองทัพบกว่าด้วย การจำหน่ายส่ิงอุปกรณ์ หรือสัตว์พาหนะท่ีปลดจำหน่ายออกจากทะเบียน ตาม ระเบยี บกองทพั บกว่าดว้ ย กจิ การสตั ว์พาหนะ ขอ้ 32 การดำเนินการสง่ คืน 32.1 สิง่ อุปกรณ์ใช้การได้ 32.1.1 หนว่ ยส่งคนื เมื่อมมี ลู เหตทุ จ่ี ะตอ้ งสง่ คืน ตามข้อ 30 ใหป้ ฏิบัตดิ ังนี้ 32.1.1.1 ทำการปรนนบิ ตั ิบำรุงส่ิงอปุ กรณก์ อ่ นสง่ คนื 32.1.1.2 ตรวจสอบใหม้ ีสง่ิ อุปกรณค์ รบชุด 32.1.1.3 ผกู ป้ายประจำสิง่ อุปกรณ์ โดยใช้แบบพมิ พ์ ทบ.400-010 32.1.1.4 ทำใบส่งคืนโดยใช้แบบพิมพ์ ทบ.400-013 หรือ ทบ.400-014 หรอื ทบ.400-007-1 แล้วแตก่ รณี จำนวน 1 ชดุ ทางเดนิ ของใบส่งคืนตามเอกสารทแ่ี นบทา้ ยระเบยี บ 32.1.1.5 ส่งสิ่งอุปกรณ์พร้อมใบส่งคืนไปยังหน่วยรับคืน ภายใน 7 วัน เวน้ จะไดร้ ับคำส่งั เปน็ อยา่ งอื่น 32.1.1.6 ตัดยอดส่ิงอุปกรณ์ออกจากบัญชีคุม เมื่อได้รับใบส่งคืนจาก หน่วยรับคนื 32.1.2 หนว่ ยรบั คืน ปฏิบัติดังนี้ 32.1.2.1 ลงทะเบียนใบสง่ คนื 32.1.2.2 ตรวจรับสิง่ อปุ กรณต์ ามใบสง่ คืน 32.1.2.3 ลงนามรับสิ่งอุปกรณ์ในใบส่งคืน และส่งใบส่งคืน คืนหน่วย สง่ คืน จำนวน 1 ฉบบั 32.1.2.4 บันทึกการรบั ส่ิงอุปกรณ์ในบตั รบัญชีคุม 32.2 ส่ิงอุปกรณใ์ ช้การไมไ่ ด้ 32.2.1 สิ่งอุปกรณ์ชำรุดไม่สามารถนำไปใช้ได้ตามความมุ่งหมายเดิมจำเป็นต้อง ซ่อม ปรบั สภาพ ก่อนนำเข้าเกบ็ รกั ษาเพือ่ แจกจ่าย เมื่อได้รับคำส่งั ให้สง่ คนื ใหป้ ฏิบัตดิ งั น้ี 32.2.1.1 หน่วยสง่ คนื ใหป้ ฏบิ ัติเช่นเดยี วกบั ขอ้ 32.1.1 32.2.1.2 หน่วยรบั คืน ใหป้ ฏบิ ัตเิ ช่นเดียวกบั ข้อ 32.1.2 32.2.2 สิ่งอุปกรณ์ชำรุด ในกรณีที่หน่วยซ่อมบำรุงพิจารณาแล้วเห็นว่าซ่อมไม่ คมุ้ ค่า และดำเนินการจำหนา่ ยตามระเบยี บแล้ว ใหป้ ฏบิ ัติดังตอ่ ไปนี้ 32.2.2.1 หน่วยส่งคืน ทำใบส่งคืนโดยใช้แบบพิมพ์ ทบ.400-013 หรือ ทบ.400-014 หรือ ทบ.400-007-1 แล้วแต่กรณี จำนวน 1 ชุด ส่วนสิ่งอุปกรณ์น้ันไม่ต้องนำส่งคืน เพราะอยู่ กบั หนว่ ยซอ่ มซงึ่ เป็นหนว่ ยเดียวกันกบั หนว่ ยรบั คืนอยู่แลว้ 23.2.2.2 หนว่ ยรบั คืน ให้ปฏบิ ตั ิเช่นเดยี วกบั กบั ข้อ 32.1.2
ห น ้ า | 76 32.2.3 ซากสิ่งอุปกรณ์ ตามระเบียบกองทัพบก ว่าด้วยการจำหน่ายส่ิง อุปกรณ์ พ.ศ.2524 ใหป้ ฏิบัติดงั น้ี 32.2.3.1 หน่วยสง่ คนื ให้ปฏิบัติเชน่ เดยี วกับขอ้ 32.1.1 32.2.3.2 หน่วยรบั คืน ให้ปฏิบตั ิเชน่ เดียวกบั ขอ้ 32.1.2 ขอ้ 33 ผมู้ อี ำนาจสงั่ ให้สง่ คืนส่งิ อปุ กรณ์ 33.1 สง่ิ อุปกรณเ์ กินระดบั สะสม ได้แก่ ผู้บงั คบั หน่วยเก็บรักษา 33.2 สิ่งอุปกรณท์ ค่ี รบกำหนดยมื แล้วยงั ไมส่ ่งคนื ไดแ้ ก่ ผมู้ ีอำนาจอนุมัติสัง่ ใหย้ ืม 33.3 สิ่งอุปกรณ์หรือซากสิ่งอุปกรณ์ที่ไดร้ ับอนุมัติให้จำหน่าย ไดแ้ ก่ ผมู้ ีอำนาจส่ังให้ตัด ยอดสิง่ อุปกรณ์ออกจากบัญชีคมุ 33.4 ส่ิงอุปกรณ์เกินอัตรา ล้าสมัย เปลี่ยนแบบ หรือ เลิกใช้ ได้แก่ เจ้ากรมฝ่ายยุทธ บริการ หรือเจ้าฝ่ายกิจการพเิ ศษ 33.5 เหตอุ ่นื ๆ นอกเหนือจากท่ีกล่าวมาแลว้ ไดแ้ ก่ ผบู้ ญั ชาการทหารบก ตอนที่ 5 การแจกจ่าย ข้อ 34 การรบั ส่ิงอปุ กรณ์ ไดแ้ ก่ การดำเนนิ กรรมวธิ เี พื่อเขา้ ครอบครองสิ่งอปุ กรณท์ ่ีได้มา 34.1 การเตรียมรับส่ิงอปุ กรณ์ 34.1.1 ตรวจสอบเอกสารการรับสงิ่ อปุ กรณ์ 34.1.2 เตรียมสถานที่ และสง่ิ อำนวยความสะดวกในการรบั สงิ่ อุปกรณ์ 34.2 การรบั ส่งิ อปุ กรณจ์ ากการเบิก 34.2.1 หน่วยเบิกไปรบั สง่ิ อปุ กรณ์เอง 34.2.1.1 ผู้รับสิ่งอุปกรณ์ดำเนินการตามข้อ 18.5.1.4 หรือ 18.5.2.4 แลว้ แตก่ รณี 34.2.1.2 สำหรับสิ่งอุปกรณ์ที่ไม่ประสงคจ์ ะเปิดหีบห่อ ให้ผู้รับสง่ิ อุปกรณ์ ตามจำนวนทีร่ ะบไุ ว้ และให้ผ้จู า่ ยบนั ทกึ ในใบเบิกไว้ดว้ ย “ไมเ่ ปิดหบี หอ่ ” 34.2.1.3 การจำหน่ายสิ่งอุปกรณ์ออกจากหน่วยจ่าย ให้ผู้รับปฏิบัติตาม ระเบยี บ และคำแนะนำของหน่วยจา่ ย 34.2.1.4 เม่ือผู้รับนำส่ิงอุปกรณ์ไปถึงหน่วยเบิก ให้ผู้บังคับหน่วยเบิกต้ัง กรรมการตรวจรบั ส่ิงอปุ กรณ์ จำนวน 3 นาย ประกอบด้วยนายทหารสัญญาบัตรอย่างน้อย 2 นาย โดยเฉพาะ ควรจะตง้ั เจ้าหนา้ ทใ่ี นสายงานท่รี บั ผดิ ชอบต่อสิ่งอุปกรณ์นน้ั เขา้ รว่ มด้วย 34.2.1.5 ให้คณะกรรมการรายงานผลการตรวจรับให้ผู้บังคับหน่วยเบิก ทราบ ถ้าปรากฏวา่ ส่ิงอุปกรณ์คลาดเคล่ือนไปจากใบเบิก หรือมีการชำรุดเสียหาย ให้คณะกรรมการสอบสวน สาเหตุแล้วแนบสำเนาการสอบสวนไปพรอ้ มกับรายงานดว้ ย 34.2.1.6 ถ้ามีส่ิงอุปกรณ์ชำรุด หรือสูญหาย ให้ปฏิบัติตามระเบียบ กองทพั บก ว่าด้วยการจำหนา่ ยสิ่งอปุ กรณ์ พ.ศ.2524 ลง 30 ก.ย. 24 34.2.1.7 ให้คณะกรรมการตรวจรบั มอบสิ่งอุปกรณใ์ ห้แกเ่ จ้าหนา้ ทีค่ ลงั เจา้ หนา้ ท่ีเก็บรักษา 34.2.1.8 เจ้าหนา้ ท่ีบัญชีคมุ บันทกึ การรบั สงิ่ อุปกรณใ์ นบตั รบญั ชคี ุม
ห น ้ า | 77 34.2.2 หนว่ ยเบกิ รับส่งิ อปุ กรณจ์ ากสำนักงานขนสง่ ปลายทาง 34.2.2.1 เมื่อหน่วยได้รับสิ่งอุปกรณ์จากสำนักงานขนส่งปลายทาง ให้ ปฏิบัติตามระเบียบกองทัพบก ว่าด้วยการส่งและรับส่ิงอุปกรณ์ พ.ศ.2500 และคำสั่งกองทัพบก (คำสั่งช้ีแจง) ที่ 57/13166 ลง 11 ต.ค.2504 เร่ือง ชแ้ี จงการปฏบิ ัตกิ ารส่งและรบั สง่ิ อปุ กรณ์ของ ทบ. (ครั้งท่ี 3) 34.2.2.2เจ้าหนา้ ท่บี ญั ชคี มุ บันทึกการรบั ส่ิงอุปกรณ์ในบตั รบญั ชีคมุ หลงั จากคณะกรรมการตรวจรบั ได้ตรวจรบั เรียบรอ้ ยแลว้ 34.3 การรบั สิ่งอปุ กรณจ์ ากกรณีอ่นื ใหถ้ อื ปฏิบตั ดิ งั นี้ 34.3.1 ตรวจรับสง่ิ อปุ กรณ์ 34.3.2 ขน้ึ บญั ชคี มุ ส่งิ อปุ กรณ์ 34.3.3 รายละเอียดการดำเนินการให้ถือปฏิบัติตามระเบียบหรือคำส่ังต่าง ๆ ที่ เกีย่ วข้องกับทีม่ าของส่ิงอุปกรณน์ ัน้ ๆ ข้อ 35 การเก็บรักษา ได้แก่ การเตรียมพ้ืนท่ี การนำสิ่งอุปกรณ์เข้า-ออก การเก็บ หรือการวาง การระวังรกั ษาสิ่งอุปกรณใ์ นทีเ่ กบ็ รวมทั้งการปรนนิบัตบิ ำรงุ และการซอ่ มบำรงุ ขณะเกบ็ และก่อนจ่ายดว้ ย 35.1 ความรบั ผดิ ชอบในการเกบ็ รักษา 35.1.1 เจ้ากรมฝ่ายยุทธบริการ และ/หรือ เจ้ากรมฝ่ายกิจการพิเศษ ผู้บัญชาการ ช่วยรบ ผู้บัญชาการมณฑลทหารบก ผู้บังคับการจังหวัดทหารบก ผู้บังคับหน่วยสนับสนุนโดยตรง ผู้บังคับ หนว่ ยใช้ จะตอ้ งวางระเบียบ และจดั งานเกบ็ รกั ษาสิ่งอุปกรณ์ในที่เกบ็ ใหป้ ลอดภยั และอยใู่ นสภาพทีใ่ ชก้ ารได้ 35.1.2 เจ้าหน้าที่เก็บรักษา จะต้องเก็บรักษาสิ่งอุปกรณ์ให้เป็นไปตามระเบียบที่ ผูบ้ ังคับบัญชา ในขอ้ 35.1.1 กำหนด 35.2 ปัจจัยในการเก็บรักษา เพื่อให้การเก็บรักษาไดผ้ ลดี ผู้บังคับหน่วยเก็บรักษาจะต้อง คำนึงปัจจยั ดงั ตอ่ ไปนี้ 35.2.1 พนื้ ทเ่ี กบ็ รกั ษา 35.2.2 กำลังคน 35.2.3 เคร่ืองมอื ยกขน 35.3 การเตรยี มท่เี ก็บรักษา 35.3.1 ท่ีเก็บ เตรียมทำที่เก็บในพื้นที่คลังปิด หรือคลังกลางแจ้ง แบ่งเป็นคลัง หรือพ้ืนที่ แถว ตอน และช่อง โดยใช้ตัวอักษรผสมกับตัวเลข ตัวอย่างเช่น 1-ก-2-4 หมายความว่า คลังพื้นท่ี 1 แถว ก ตอนที่ 2 ช่องท่ี 4 35.3.2 ให้เขียนผังแสดงที่เก็บตามที่จัดระบบไว้ในข้อ 35.3.1 เพ่ือสะดวกในการ วางแผนนำส่ิงอปุ กรณ์เข้าทีเ่ ก็บ 35.4 การนำส่ิงอุปกรณเ์ ข้าทเ่ี กบ็ เจา้ หนา้ ทเ่ี กบ็ รกั ษาดำเนนิ การดังนี้ 35.4.1 บันทึกบัตรแสดงท่ีเก็บโดยใช้แบบพิมพ์ ทบ.400-009 สำหรับหน่วย สนับสนนุ และแบบพมิ พ์ ทบ.400-068 สำหรับหน่วยใช้ 35.4.2 ทำการบำรุงรกั ษาสิ่งอุปกรณ์ก่อนนำเข้าเก็บ 35.4.3 ผกู ปา้ ยประจำสิง่ อปุ กรณโ์ ดยใช้แบบพิมพท์ บ.400-010 โดยอนโุ ลม 35.4.4 นำส่ิงอุปกรณ์เขา้ เกบ็ ในท่ที ีก่ ำหนดให้ 35.5 การเก็บรักษา หรือการวางสิ่งอปุ กรณ์
ห น ้ า | 78 35.5.1 กำหนดทางเดินในพ้ืนที่เก็บรักษาเพื่อความสะดวกในการใช้แรงงาน หรือ เครอ่ื งทุ่นแรง ดงั ตอ่ ไปน้ี 35.5.1.1 ทางเดนิ หลัก อาจมีทางเดียวตรงกึ่งกลางตามความยาวของพ้ืนท่ี เก็บรกั ษา หรอื มีทง้ั สองขา้ งของพืน้ ท่เี ก็บรักษาก็ได้ ควรให้มีความกวา้ งพอท่ีรถยก 2 คันสวนทางกันได้ 35.5.1.2 ทางเดินขวาง ตั้งฉากกับทางเดินหลักควรกำหนดให้ตรงกับ ประตู 35.5.1.3 ทางเดนิ ระหว่างทีเ่ กบ็ ของควรให้รถเขน็ หรือรถยกปฏิบตั งิ านได้ 35.5.1.4 ทางเดินฉุกเฉนิ จัดสำรองไว้สำหรับใชใ้ นกรณฉี กุ เฉิน 35.5.2 เก็บสงิ่ อปุ กรณใ์ หเ้ ตม็ ท่ีวา่ งทงั้ ทางดงิ่ และทางระดบั 35.5.3 เกบ็ สง่ิ อุปกรณใ์ ห้พ้นจากอันตราย 35.5.4 เก็บสิ่งอุปกรณ์ในท่ีเก็บรักษาให้ตรงกับลักษณะและคุณสมบัติของส่ิง อุปกรณ์ 35.6 การระวังรักษา เจ้าหน้าท่ีเก็บรักษาจะต้องระวังรักษาสิ่งอุปกรณ์ให้ปลอดภัย และ อย่ใู นสภาพใช้การได้ ดงั ตอ่ ไปนี้ 35.6.1 ภยั ธรรมชาติ 35.6.1.1 เก็บสิ่งอุปกรณ์ในคลังเก็บรักษาซึ่งสามารถระบายอากาศหรือ ป้องกันความชื้นได้ 35.6.1.2 ตรวจ ปอ้ งกัน และทำลายจำพวกสัตว์ และแมลงตา่ ง ๆ ในกรณพี ้ืนทคี่ ลังไม่เพียงพอ ให้แยกเกบ็ สงิ่ อปุ กรณท์ ม่ี คี วามคงทนต่อสภาพดินฟา้ อากาศไว้ในคลงั เปิด 35.6.1.4 ใช้ไม้รอง หรือทาสี หรือทาน้ำมันสำหรับส่ิงอุปกรณ์ท่ีเก็บไว้ใน คลงั เปดิ 35.6.2 อคั คภี ยั 35.6.2.1 กำหนดเขตและกวดขนั ไมใ่ หน้ ำเช้ือเพลงิ เขา้ บริเวณทีเ่ ก็บรักษา 35.6.2.2 รักษาความสะอาด และขจัดเชือ้ เพลิงบริเวณทเ่ี ก็บรักษา 35.6.2.3 ดูแลรักษาเคร่อื งมอื ดบั เพลงิ ให้อยใู่ นสภาพพรอ้ มท่ีใช้การได้ 35.6.2.4 จดั เจา้ หนา้ ท่ดี ับเพลงิ และหมนั่ ฝกึ ซ้อมอย่เู สมอ 35.6.2.5 กำหนดข้อปฏิบัติเก่ียวกับการใช้เครื่องมือ และแรงงาน เพ่ือลด ความเสียหายเม่อื เกิดอัคคีภัย 35.6.2.6 จัดทำป้ายเตือน เช่น ป้าย “ห้ามสูบบุหร่ี” หรือ “ไวไฟ” เป็น ต้น 35.6.2.7 หม่ันตรวจตราสภาพการอื่น ๆ อันอาจก่อให้เกิดอัคคีภัย เช่น สายไฟฟ้า เปน็ ตน้ ส่วนรายละเอียดในการปฏิบัตอิ ื่น ๆ ใหถ้ ือปฏิบัติตามระเบียบกองทพั บก วา่ ด้วยการปอ้ งกัน อคั คภี ยั พ.ศ.2503 และท่ีแกไ้ ขเพิ่มเตมิ 35.6.3 การทจุ ริต 35.6.3.1 ส่ิงอุปกรณ์ที่มีค่าสูง ขนย้าย และขายงา่ ย ต้องเก็บรักษาไว้ในท่ี ปลอดภัย และมอบความรับผดิ ชอบให้เฉพาะบุคคล 35.6.3.2 คลังทกุ คลังจะตอ้ งปดิ ประตูใส่กญุ แจ และตีตราใหเ้ รียบรอ้ ยเมื่อ เลกิ งาน
ห น ้ า | 79 35.6.3.3 ระมดั ระวงั มิใหบ้ ุคคลลกั ลอบนำส่ิงอุปกรณอ์ อกจากคลัง 35.6.4 วนิ าศกรรม 35.6.4.1 จัดเจ้าหน้าท่ีรักษาการณ์ หรือเวรยาม พร้อมอาวุธเพ่ือตรวจ รอบๆ บริเวณที่เก็บรักษาตามความจำเป็น ถ้าหากบริเวณกว้างขวางอาจจัดให้มียานพาหนะ และเคร่ืองมือ สอื่ สารด้วยก็ได้ 35.6.4.2 กวดขันบุคคล และยานพาหนะที่จะผา่ นขา้ -ออก 35.6.4.3 จัดให้มีเครื่องกีดขวางหรือเครื่องเตือนภัยในบริเวณท่ีเก็บรักษา ตามความเห็นสมควรรายละเอียดในการปฏิบัติอื่น ๆ ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบ ว่าด้วยการรักษาความ ปลอดภยั แห่งชาติ พ.ศ.2517 35.6.5 อบุ ตั เิ หตุ 35.6.5.1 อบรมชีแ้ จงการใช้เคร่ืองมือยกขน วธิ ีการขนย้าย และวธิ ีการจัด วางสงิ่ อปุ กรณ์ 35.6.5.2 หม่ันตรวจ และปรนนบิ ตั ิบำรุงเครือ่ งยกขนอยเู่ สมอ 35.6.5.3 ทำความสะอาดในที่เกบ็ รักษา 35.6.6 การชำรดุ หรอื เส่อื มสภาพ ส่ิงอุปกรณ์ซ่อมอยู่ในที่เก็บจะต้องได้รับการดูแลรักษาให้อยู่ในสภาพใช้การได้ หรือมิให้เสื่อมสภาพ ก่อนนำไปใช้โดยจะต้องปฏิบัติตามระเบียบ หรือคำสั่งที่ทางราชการกำหนด หรือตามคำแนะนำของผู้ผลิต หรือทำหนา้ ท่ที างเทคนิค 35.7 การนำสิง่ อุปกรณอ์ อกจากทีเ่ กบ็ 35.7.1 การนำสงิ่ อปุ กรณอ์ อกจากทเี่ ก็บ ต้องมหี ลักฐานการนำออก 35.7.2 การย้ายท่เี กบ็ สง่ิ อปุ กรณ์ ต้องบนั ทึกการยา้ ยไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน 35.7.3 สง่ิ อปุ กรณ์ใดทนี่ ำเขา้ เก็บก่อน ให้นำออกจากจ่ายกอ่ น ข้อ 36 การจ่ายส่ิงอุปกรณ์ ได้แก่ การดำเนินการตอบสนองความต้องการท่ีหน่วยเบิกได้ส่งคำขอ มา 36.1 ข้อพิจารณาในการจ่ายสิ่งอุปกรณ์ หลักเกณฑ์ที่จะต้องพิจารณาว่าควรจ่ายรายการ ใด จำนวนเทา่ ใดนั้น ใหค้ ำนึงถงึ ปจั จยั ดังตอ่ ไปนี้ 36.1.1 ความตอ้ งการของหน่วยรบั การสนบั สนนุ 36.1.2 สถานการณ์ทางยุทธวธิ ี 36.1.3 ระดบั สง่ กำลัง หรอื อตั ราของหนว่ ยรบั การสนับสนนุ 36.1.4 สิง่ อำนวยความสะดวกในการขนสง่ 36.1.5 สถานท่ีเกบ็ รกั ษาของหน่วยรับการสนบั สนุน 36.1.6 ปริมาณสิ่งอปุ กรณค์ งคลังของหน่วยจา่ ย 36.1.7 ขดี ความสามารถในการซ่อมบำรุงของหน่วยรบั การสนบั สนุน 36.2 การเตรียมการจ่ายส่งิ อปุ กรณ์ 36.2.1 จดั ทำแผนการแจกจ่าย หรือเอกสารการแจกจา่ ยสงิ่ อปุ กรณ์แลว้ แต่กรณี 36.2.2 ดำเนนิ การปรนนบิ ัติบำรุงสงิ่ อปุ กรณก์ อ่ นจา่ ย ถา้ จำเปน็ 36.2.3 จัดสถานทีเ่ ตรียมจา่ ยโดยแบง่ ส่วนดังต่อไปนี้ 36.2.3.1 สว่ นจา่ ย และคัดแยก
ห น ้ า | 80 36.2.3.2 สว่ นบรรจุหบี ห่อ และจดั สง่ 36.3 วธิ ีดำเนินการจ่ายส่งิ อปุ กรณ์ 36.3.1 สว่ นบัญชคี ุม 36.3.1.1 รับใบเบิก และลงทะเบียนเอกสารโดยใช้แบบพิมพ์ ทบ . 400-002 36.3.1.2 ตรวจสอบใบเบิกในเร่ืองดังตอ่ ไปนี้ 36.3.1.2.1 ลายมอื ชอื่ ผู้มสี ิทธิเบกิ 36.3.1.2.2 ความเรียบร้อยและความถูกต้องของใบเบกิ เช่น การ อ้างหลักฐานท่ีใชใ้ นการเบิก รายการและจำนวนทขี่ อมา เปน็ ตน้ 36.3.1.2.3 ความผูกพันระหว่างหน่วยเบิกกับหน่วยจ่าย เช่น คา้ งรบั และคา้ งจ่าย เปน็ ตน้ 36.3.1.2.4 ห้วงเวลากำหนดให้ทำการเบกิ 36.3.1.3 การดำเนนิ การทางบัญชี 36.3.1.3.1 จำนวนที่ขอเบิกมาอาจเพิ่ม หรือลดได้ ทั้งนี้เพ่ือ ความเหมาะสมกบั มาตรฐานการบรรจหุ ีบหอ่ 36.3.1.3.2 พิจารณาจ่ายตามลำดับทะเบียนหน่วยจ่าย เว้นแต่ จะได้รับอนุมัติจากผู้มอี ำนาจอนมุ ตั ิสั่งจ่ายใหด้ ำเนนิ การเปน็ อย่างอน่ื 36.3.1.3.3 ถ้าไม่มีส่ิงอุปกรณ์จ่ายให้บันทึกการจ่ายโดยผู้ ตรวจสอบลงนามในใบเบกิ สง่ ใบเบกิ ฉบับที่ 2 คืนหน่วยเบกิ สว่ นทเี่ หลือเก็บไว้ในแฟม้ รอเร่ือง 36.3.1.3.4 ถ้าไม่มีสิ่งอุปกรณ์จ่ายให้บันทึกการจ่าย ผู้ตรวจสอบ ลงนามแล้วเสนอผู้มีอำนาจส่ังจ่ายลงนามอนุมัติ เก็บใบเบิกฉบับที่ 3 ไว้ในแฟ้มรอเร่ือง ส่วนใบเบิกท่ีเหลือส่ง ส่วนเกบ็ รักษาดำเนนิ การต่อไป เมอื่ ไดร้ ับใบเบิกฉบับท่ี 1 คนื แล้วให้สำเนาชอื่ ผรู้ ับผจู้ ่ายลนามในใบเบิกฉบบั ท่ี 3 แลว้ สง่ ให้สว่ นเกบ็ รกั ษาไว้เปน็ หลักฐาน 36.3.2 ส่วนเก็บรกั ษา 36.3.2.1 ลงนามผูจ้ ่ายในใบเบกิ 36.3.2.2 จัดเตรยี ม และคัดแยกส่ิงอุปกรณใ์ ห้ครบถ้วนตามใบเบิก 36.3.2.3 เขยี นปา้ ยประจำสง่ิ อุปกรณ์ โดยใชแ้ บบพิมพ์ ทบ.400-010 36.3.2.4 ในกรณีท่ีหน่วยเบิกมารับส่ิงอุปกรณ์เอง ให้ตรวจสอบรายมือชื่อผู้มีสิทธิ รบั ส่งิ อปุ กรณ์ใหถ้ ูกตอ้ ง 36.3.2.5 มอบส่ิงอปุ กรณ์ให้ผู้รับไปพร้อมกับใบเบิกฉบับท่ี 2 และส่งใบเบิกฉบับท่ี 3 คนื สว่ นบญั ชีคมุ 36.3.2.6 ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในการบรรทุกสงิ่ อุปกรณ์ 36.3.2.7 ในกรณีที่ผ้รู ับไมส่ ามารถรับสิ่งอุปกรณ์ตามใบเบิกได้ครบในครั้งเดียว ให้ผู้ จ่ายและผู้รับทำบนั ทึกไวด้ า้ นหลงั ใบเบิก แล้วลงนามรับรองไว้ 36.3.2.8 ในกรณีที่หน่วยจ่ายส่งส่ิงอุปกรณ์ ให้หน่วยเบิกผ่านสำนักงานขนส่ง ให้ ปฏบิ ัติตามระเบียบกองทัพบก วา่ ด้วยการส่งและรบั สิ่งอปุ กรณ์ พ.ศ.2500 และระเบียบกองทัพบกว่าด้วยการ ทำหีบหอ่ และทำเครื่องหมายเพ่อื การขนสง่ สิ่งอปุ กรณ์ พ.ศ.2499
ห น ้ า | 81 36.4 การจ่ายส่ิงอุปกรณ์โดยอัตโนมัติ ได้แก่ การจ่ายส่ิงอุปกรณ์ให้หน่วยรับการ สนบั สนนุ โดยหนว่ ยท่รี บั การสนับสนนุ น้นั ไมต่ อ้ งทำใบเบกิ 36.4.1 ข้อพจิ ารณาในการจ่ายอตั โนมัติ 36.4.1.1 หน่วยจ่ายทำใบเบิก 1 ชุด โดยใช้แบบพิมพ์ ทบ.400-007 หรือ ทบ.400-007-1 แล้วแต่กรณี 36.4.1.2 ลงทะเบียนเอกสารแล้วบันทึกคำว่า “อัตโนมัติ” ไวด้ ้านบนของ ใบเบกิ ด้วยอกั ษรสแี ดง 36.4.1.3 บันทกึ การจ่าย 36.4.1.4 ผูต้ รวจสอบลงนามแลว้ เสนอผู้มีอำนาจส่งั จ่าย ลงนาม อนุมตั ิ 36.4.1.5 เก็บใบเบิกฉบับท่ี 3 ไว้ในแฟ้มรอเรื่อง ส่วนท่ีเหลือส่งไปให้ หน่วยรบั การสนบั สนุน พร้อมกับส่ิงอุปกรณ์ 36.4.1.6 หน่วยรับการสนับสนุน ลงที่ใบเบิก ลงนามผู้เบิก และผู้รับสิ่ง อปุ กรณ์ในใบเบิก ฉบับที่ 1, 2, 4, หรือ 5 แล้วแต่กรณี ส่งใบเบิกฉบับที่ 1 คนื หน่วยจ่ายภายใน 7 วนั นบั จาก วันทไ่ี ดร้ บั ส่งิ อปุ กรณ์ ส่วนใบเบิกท่เี หลอื ให้ดำเนนิ การเหมือนกบั การเบิกตามปกติ 36.4.1.7 หากหน่วยรับการสนับสนุนส่งใบเบิกฉบับท่ี 1 คืนหน่วยจ่ายช้า เกินกว่ากำหนด ให้หน่วยจ่ายแจ้งผู้บังคับบัญชาช้ันเหนือของหน่วยรับการสนับสนุนนั้นทราบ เพื่อพิจารณา สอบสวนสาเหตุแหง่ ความล่าชา้ ตอ่ ไป 36.5 การปลดเปลื้องค้างจ่าย 36.5.1 การปลดเปล้ืองค้างจา่ ย ไดแ้ ก่ การจ่ายสิ่งอุปกรณ์ท่ีค้างจ่ายใหก้ ับหนว่ ย โดยอตั โนมตั ิ 36.5.2 วธิ ีดำเนินการปลดเปลือ้ งคา้ งจ่าย 36.5.2.1 หน่วยจ่ายทำใบเบิก 1 ชุด ใช้แบบพิมพ์ ทบ.400-007 หรือ ทบ.400-007-1 แลว้ แตก่ รณี โดยใช้ทใี่ บเบกิ เดมิ 36.5.2.2 บันทึกทะเบียนเอกสารในใบเบิก โดยใช้เลขทะเบียนเดิม แล้ว เพ่ิมจำนวนคร้ังท่ีปลดเปล้ืองท้ายทะเบียนน้ัน กับบันทึกคำว่า “ปลดเปลื้องค้างจ่าย” ไว้ด้านบนของใบเบิก ดว้ ยอักษรสแี ดง 36.5.2.3 บนั ทกึ การจา่ ย 36.5.2.4 ผู้ตรวจสอบลงนามแล้วเสนอผู้มอี ำนาจสง่ั จ่าย ลงนาม 36.5.2.5 เก็บใบเบิกฉบับท่ี 3 ไว้ในแฟ้มรอเรื่อง ส่วนที่เหลือส่งไปให้ หน่วยรับการสนบั สนุน พรอ้ มกบั สง่ิ อุปกรณ์ 36.5.2.6 หน่วยรับการสนับสนุนลงนามผู้เบิก และผู้รับส่ิงอุปกรณ์ในใบ เบิกฉบับท่ี 1, 2, 4 หรือ 5 แล้วแต่กรณี ส่งใบเบิกฉบับที่ 1 คืนหน่วยจ่ายภายใน 7 วัน นับจากวันที่ได้รับส่ิง อปุ กรณ์ ส่วนใบเบกิ ท่ีเหลือให้ดำเนนิ การเชน่ เดยี วกบั การเบิกตามปกติ
ห น ้ า | 82 36.5.2.7 หากหน่วยรับการสนับสนุนส่งใบเบิกฉบับที่ 1 คืนหน่วยจ่าย ล่าช้าเกินกว่ากำหนด ให้หน่วยจ่ายแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือของหน่วยรับการสนับสนุนนั้นทราบ เพื่อ พิจารณาสอบสวนสาเหตุแห่งความลา่ ช้าต่อไป 36.6 อำนาจสง่ั จา่ ยในใบเบิก 36.6.1 การเบกิ 36.6.1.1 สิ่งอุปกรณ์สำคัญ และสิ่งอุปกรณ์หลัก เมื่อผู้บัญชาการ ทหารบก อนุมัติหลักการแจกจ่ายแล้ว ผู้อำนวยการกอง หรือหัวหน้ากอง ตามที่เจ้ากรมฝ่ายยุทธบริการ และ/หรือเจ้ากรมฝ่ายกิจการพิเศษกำหนด ผู้บัญชาการกองบัญชาการช่วยรบ ผู้บัญชาการมณฑลทหารบก หรอื ผูบ้ งั คับการจังหวดั ทหารบก เป็นผ้สู ่ังจ่าย 36.6.1.2 ส่ิงอุปกรณ์รอง และช้ินส่วนซ่อม ผู้อำนวยการกอง หรือ หรือ หัวหน้ากอง ตามท่ีเจ้ากรมฝ่ายยุทธบริการ และ/หรือ เจ้ากรมฝ่ายกิจการพิเศษ กำหนด ผู้บัญชาการ กองบัญชาการช่วยรบ ผู้บญั ชาการมณฑลทหารบก หรือผู้บังคับการจังหวัดทหารบก หรือผู้ที่ไดร้ ับมอบหมาย เป็นผสู้ ่ังจา่ ย 36.6.2 การยืม 36.6.2.1 ส่งิ อปุ กรณ์สำคัญ เม่ือผู้บญั ชาการทหารบก อนมุ ตั ิหลักการยืม แล้ว ผู้อำนวยการกอง หรือหัวหน้ากอง ตามท่ีเจ้ากรมฝ่ายยุทธบริการ และ/หรือ เจ้ากรมฝ่ายกิจการพิเศษ กำหนด ผู้บัญชาการกองบัญชาการชว่ ยรบ ผู้บัญชาการมณฑลทหารบก หรือผบู้ ังคับการจังหวัดทหารบก เป็น ผูส้ ง่ั จา่ ย 36.6.2.2 ส่ิงอุปกรณ์อ่ืน ๆ เมื่อได้รับหลักการจากผู้มีอำนาจให้ยืมแล้ว ผอู้ ำนวยการกอง หรือหัวหน้ากอง ตามท่ีเจา้ กรมฝ่ายยทุ ธบริการ และ/หรอื เจ้ากรมฝา่ ยกิจการพเิ ศษ กำหนด ผู้บัญชาการกองบัญชาการช่วยรบ ผู้บญั ชาการมณฑลทหารบก หรือผ้บู ังคับการจงั หวัดทหารบก เป็นผสู้ ่งั จา่ ย ตอนท่ี 6 การจำหน่าย ข้อ 37 การจำหน่าย หมายถึง การตัดยอดส่ิงอุปกรณ์ออกจากความรับผิดชอบของกองทัพบก เนื่องจากสูญไป ส้ินเปลืองไป (สิ่งอุปกรณ์ส้ินเปลือง) ชำรุดเสียหายจนไม่สามารถคืนสภาพไดอ้ ย่างคุ้มค่า เส่อื มสภาพจนใชก้ ารไมไ่ ด้ หรอื สญู หาย ตาย เกินความต้องการ เปน็ ของลา้ สมยั ไมใ่ ชร้ าชการต่อไป ข้อ 38 การดำเนินการ ให้ปฏิบัติตามระเบียบกองทัพบก ว่าด้วยการจำหน่ายสิ่งอุปกรณ์ พ.ศ.2524 ลง 30 ก.ย. 24 ตอนที่ 7 การควบคมุ ข้อ 39 ประเภทการควบคุม แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ การควบคุมทางการคลัง และการ ควบคุมทางบญั ชี 39.1 การควบคุมทางการส่งกำลัง หน่วยในสายการส่งกำลังต่ำกว่า ต้องอยู่ในความ ควบคุมของหน่วยระดับเหนือกว่าในสายการส่งกำลังเดียวกัน โดยถือว่ามูลฐานภารกิจ และความ รบั ผิดชอบในการควบคุม ดังตอ่ ไปน้ี 39.1.1 มูลฐานการควบคมุ ทางการส่งกำลัง มดี งั น้ี 39.1.1.1 นโยบายการส่งกำลังของหนว่ ยเหนือ 39.1.1.2 หลกั ฐานการควบคุมส่ิงอปุ กรณ์
ห น ้ า | 83 39.1.1.3 การพยากรณ์ความต้องการสิ่งอุปกรณ์ในอนาคตตามห้วง ระยะเวลาทีก่ ำหนด 39.1.1.4 ปัจจัยท้ังมวลที่อาจเป็นอปุ สรรค และขัดต่อสถานภาพทางการ ส่งกำลงั 39.1.2 ภารกจิ การควบคมุ ทางการสง่ กำลัง มดี ังน้ี 39.1.2.1 สำรวจการทำบญั ชีรายการสิ่งอปุ กรณ์ 39.1.2.2 คำนวณความต้องการ 39.1.2.3 อำนวยการจัดหา 39.1.2.4 จัดงานการแจกจ่าย 39.1.2.5 อำนวยการซอ่ มสร้าง 39.1.2.6 อำนวยการจำหน่าย 39.1.3 ความรับผดิ ชอบในการควบคุมทางการส่งกำลงั 39.1.3.1 กองทัพบกกำหนดระดบั สง่ กำลัง 39.1.3.2 หนว่ ยสนบั สนุนทางการส่งกำลัง 39.1.3.2.1 คำนวณปริมาณสิ่งอปุ กรณ์ ตามวันส่งกำลงั ทก่ี องทัพบกกำหนด 39.1.3.2.2 รักษาระดับส่งกำลงั 39.1.3.2.3 รวบรวมข้อมูลที่มีผลกระทบกระเทือนต่อสถานภาพทางการส่งกำลัง แล้วเสนอขออนมุ ตั ิเปลยี่ นแปลงระดับส่งกำลัง 39.2 การควบคุมทางบัญชี ผู้บังคับหน่วยสนับสนุนทางการส่งกำลัง และหน่วยใช้จะตอ้ ง รับผิดชอบดำเนินการควบคุมทางบัญชีต่อส่ิงอุปกรณ์ ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยเหมาะสม เพ่ือให้ทราบ สถานภาพส่ิงอปุ กรณไ์ ดต้ ลอดเวลา โดยถอื มลู ฐาน ภารกจิ และความรบั ผดิ ชอบในการควบคุม ดงั ต่อไปนี้ 39.2.1 มูลฐานการควบคมุ ทางบญั ชี มีดงั นี้ 39.2.1.1 บัตรบัญชีคุมสิ่งอุปกรณ์ และข้อมูลต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับบัตร บัญชีคมุ รวมท้งั ประวตั สิ ่ิงอปุ กรณ์ 39.2.1.2 สถานภาพสงิ่ อุปกรณ์ 39.2.1.3 ประสบการณใ์ นการรับ-จา่ ย ส่งิ อุปกรณ์ 39.2.2 ภารกจิ ในการควบคมุ ทางบญั ชี มดี งั นี้ 39.2.2.1 บันทึก รายงาน และจัดทำข้อมูลท่ีเกี่ยวกับจำนวนสภาพ และ สถานภาพของส่ิงอุปกรณ์ 39.2.2.2 จัดทำแผนการแจกจา่ ยหรอื เอกสารการแจกจา่ ยสิง่ อุปกรณ์ แล้วแต่กรณี 39.2.2.3 พจิ ารณาจำนวนสิง่ อปุ กรณ์ใหห้ นว่ ยสนับสนนุ ตามความจำเป็นให้น้อยทส่ี ุด 39.2.3 ความรับผิดชอบในการควบคมุ ทางบญั ชี 39.2.3.1 หน่วยสนับสนนุ ทางการส่งกำลัง 39.2.3.1.1 ดำเนินการรวบรวมหลักฐาน จัดทำสถิติ และข้อมูล สำหรบั สิ่งอุปกรณ์แต่ละรายการ 39.2.3.1.2 จัดทำบญั ชีคุมสิ่งอุปกรณ์ โดยใช้แบบพิมพ์ ทบ.400- 003 และแบบพิมพ์ ทบ.400-003-2
ห น ้ า | 84 39.2.3.1.3 จัดทำบัญชีคุมอุปกรณ์ถาวรท่ีอยู่ในความครอบครอง ของหนว่ ยใช้ โดยใชแ้ บบพมิ พ์ ทบ.400-003-3 และ ทบ.400-002-4 39.2.3.2 หนว่ ยใช้ 39.2.3.2.1 ดำเนินการรวบรวมหลักฐาน จัดทำสถิติ และข้อมูล สำหรับสิ่งอุปกรณ์แต่ละรายการ 39.2.3.2.2 จัดทำบัญชีคุมส่ิงอุปกรณ์ถาวร โดยใช้แบบพิมพ์ ทบ.400-005 สำหรับบญั ชีคุมชนิ้ สว่ นซอ่ ม และสิ่งอุปกรณใ์ ช้สิ้นเปลืองน้ันใหใ้ ช้แบบพมิ พ์ ทบ.400-068 ข้อ 40 ความรับผิดชอบ ผู้บังคับบัญชาทุกระดับชั้น ต้องรับผิดชอบในการควบคุมสิ่งอุปกรณ์ให้ เปน็ ไปโดยเรยี บรอ้ ยเหมาะสม ถูกตอ้ งตามความมงุ่ หมายของทางราชการ ตอนที่ 8 การสำรวจ ข้อ 41 การสำรวจ ได้แก่ การสำรวจสิ่งอุปกรณ์ และการสำรวจทเ่ี กบ็ 41.1 การสำรวจสิ่งอุปกรณ์ ไดแ้ ก่ การนับจำนวน และตรวจสภาพส่ิงอุปกรณ์ในท่ีเกบ็ ให้ ตรงกับหลักฐานบญั ชีคุม 41.2 การสำรวจท่ีเก็บ ได้แก่ การตรวจสอบท่ีเก็บสิ่งอุปกรณ์ให้ตรงกับบัตรบัญชีคุมสิ่ง อปุ กรณ์ หรือบัตรแสดงท่ีเก็บ ขอ้ 42 ประเภทการสำรวจสงิ่ อุปกรณ์ 42.1 การสำรวจเบ็ดเสร็จ ไดแ้ ก่ การสำรวจส่ิงอุปกรณ์ในครอบครองทั้งหมด โดยปิดการ เบิกจ่ายท้ังส้ิน เว้นกรณีเร่งด่วน การสำรวจประเภทน้ีกระทำเมื่อมีเคร่ืองมือสำรวจสมบูรณ์ ซึ่งจะทำให้การ สำรวจนัน้ เสรจ็ สนิ้ โดยเร็ว 42.2 การสำรวจหมุนเวียน ได้แก่ การสำรวจส่ิงอุปกรณ์ท่ีได้แบ่งออกเป็นจำพวก หรือ ชนิด หรือรายการเพื่อทำการสำรวจหมุนเวียนกันไปตามห้วงระยะเวลาที่กำหนด โดยปิดการเบิกจ่ายเฉพาะ รายการทส่ี ำรวจนน้ั เว้นกรณีเร่งดว่ น 42.3 การสำรวจพิเศษ ได้แก่ การสำรวจสิ่งอุปกรณ์เป็นครั้งคราวตามความจำเป็น โดย ปดิ การเบิกจ่ายเฉพาะรายการที่สำรวจน้ัน เว้นกรณีเร่งด่วน การสำรวจประเภทนี้จะสำรวจส่ิงอุปกรณ์จำพวก ใด ชนดิ ใด หรอื รายการใดนั้น ขนึ้ อยู่กบั กรณีดงั ตอ่ ไปน้ี 42.3.1 เมอื่ อันตรายเกิดข้ึนกับสงิ่ อปุ กรณ์ 42.3.2 เมือ่ หน่วยบัญชคี มุ ตอ้ งการทราบจำนวน 42.3.3 เมือ่ ยอดคงคลังในบัตรบัญชีคมุ เป็นศูนย์ 42.3.4 เมือ่ มกี ารยบั ยั้งการจา่ ย 42.3.5 เมอ่ื พบส่งิ อุปกรณต์ กหล่น 42.3.6 เมื่อมกี ารรับสง่ หน้าที่ 42.3.7 เมอ่ื สิง่ อปุ กรณใ์ นทีเ่ กบ็ เป็นศูนย์ ขอ้ 43 การดำเนินการสำรวจสง่ิ อปุ กรณ์ 43.1 การสำรวจเบ็ดเสรจ็ 43.1.1 ประกาศระงับการเบิก-จ่าย ให้หน่วยรับการสนับสนุน และหน่วยท่ี เกย่ี วข้องทราบล่วงหน้า
ห น ้ า | 85 43.1.2 ให้ทำการจา่ ยสง่ิ อปุ กรณ์ใหเ้ สร็จสน้ิ ก่อนวันเรม่ิ สำรวจ 43.1.3 วิธปี ฏบิ ตั ิในการสำรวจ 43.1.3.1 เจ้าหนา้ ทบ่ี ญั ชคี มุ กรอกหมายเลข ชอื่ และทเ่ี ก็บสง่ิ อุปกรณ์ โดยใช้แบบพิมพ์ ทบ.400-011 และบันทึกคำว่า “ สำรวจ วัน เดือน ปี ” ที่ทำการสำรวจ ลงในบัตร บัญชีคุม ขดี เส้นใตด้ ว้ ยหมกึ สีแดง เสร็จแล้วส่งแบบพิมพ์ ทบ.400-011 ให้คณะกรรมการหรือชดุ สำรวจ 43.1.3.2 คณะกรรมการ หรือชุดสำรวจ ทำการสำรวจส่ิงอุปกรณ์ ตาม แบบพมิ พ์ ทบ.400-011 เสรจ็ แล้วสง่ แบบพมิ พด์ งั กลา่ วคืนเจ้าหนา้ ทีบ่ ัญชีคุม 43.1.3.3 เจ้าหน้าที่บัญชีคุม บันทึกผลการรายงานลงในใบรายงานผล การเปรยี บเทยี บการตรวจสอบยอดสง่ิ อปุ กรณ์ โดยใชแ้ บบพิมพ์ ทบ.400-012 43.1.3.4 เจ้าหน้าท่ีบัญชีคุมเสนอใบรายงานผลเปรียบเทียบการ ตรวจสอบยอดสง่ิ อุปกรณต์ ่อผู้มีอำนาจสัง่ ปรับยอดในบัตรบัญชคี มุ ตามขอ้ 48 43.1.3.5 เจ้าหน้าที่ บัญชีคุม ทำการปรับยอดในบัตรบัญชีคุมเม่ือได้รับ อนมุ ัติ 43.2 การสำรวจหมุนเวียน 43.2.1 เจ้าหน้าที่บัญชีคุมทำตารางการสำรวจเพื่อให้มีการสำรวจอย่างต่อเนื่องใน รอบปี 43.2.2 ให้ทำการจ่ายสิ่งอปุ กรณ์เฉพาะรายการท่ีทำการสำรวจ ใหเ้ สร็จสิ้นก่อนวัน เร่มิ สำรวจ 43.2.3 ระงบั การเบิกจ่าย เฉพาะรายการท่ีทำการสำรวจ โดยไม่ต้องแจ้งให้หน่วย รบั การสนับสนุนทราบ 43.2.4 วิธีการปฏิบัติในการสำรวจ ดำเนินการเช่นเดียวกับการสำรวจเบ็ดเสร็จ ตามที่กล่าวในข้อ 43.1.3 43.3 การสำรวจพเิ ศษ 43.3.1 เมื่อมีเหตุที่จะต้องทำการสำรวจพิเศษอันเน่ืองมาจากกรณีใดกรณีหนึ่ง ตามท่ีกล่าวมา ในข้อ 42.3 ให้ผู้รับผิดชอบโดยตรงรายงานขออนุมัติทำการสำรวจตอ่ ผูม้ ีอำนาจสงั่ สำรวจ 43.3.2 ให้ทำการจ่ายสิ่งอุปกรณ์เฉพาะรายการท่ีทำการสำรวจให้เสร็จส้ินก่อนวัน เร่มิ สำรวจ 43.3.3 ระงับการเบิกจ่าย เฉพาะรายการท่ีทำการสำรวจ โดยไมต่ ้องแจ้งให้หน่วย รบั การสนับสนุนทราบ 43.3.4 วิธีปฏิบัติในการสำรวจ ดำเนินการเช่นเดียวกับการสำรวจเบ็ดเสร็จตามที่กล่าวมาใน ขอ้ 43.1.3 ข้อ 44 ผู้มีอำนาจในการสัง่ สำรวจส่งิ อุปกรณ์ 44.1 คลังกรมฝ่ายยุทธบริการ หรือฝ่ายกิจการพิเศษ ได้แก่ เจ้ากรมฝ่ายยุทธบริการ หรือฝา่ ยกจิ การพเิ ศษ 44.2 คลังกองบัญชาการชว่ ยรบ ได้แก่ ผูบ้ ัญชาการช่วยรบ 44.3 คลังมณฑลทหารบก ได้แก่ ผู้บญั ชาการมณฑลทหารบก 44.4 คลงั จังหวัดทหารบก หน่วยสนบั สนนุ โดยตรง หรอื หน่วยใช้ ได้แก่ ผู้บงั คบั บญั ชาช้ันผบู้ ญั ชาการกองพล หรือเทียบเท่า ขอ้ 45 การตัง้ กรรมการ หรือชุดสำรวจส่งิ อุปกรณ์
ห น ้ า | 86 ให้ผู้มีอำนาจในการสั่งสำรวจสิ่งอุปกรณ์ตามข้อ 44 ต้ังกรรมการ หรือชุดสำรวจส่ิงอุปกรณ์ อย่างน้อย 3 นาย (ประธานกรรมการ หรือหัวหน้าชุดต้องเป็นนายทหารสัญญาบัตร) เพื่อทำการสำรวจส่ิง อุปกรณ์ตามทีก่ ล่าวแลว้ ในข้อ 43 ข้อ 46 วิธีสำรวจสิ่งอุปกรณ์ ให้คณะกรรมการ หรือชุดสำรวจส่ิงอุปกรณ์ ใช้แบบพิมพ์ ทบ.400- 011 ซ่งึ มีอยู่ 3 สว่ น ดำเนินการสำรวจตามลำดับดงั ตอ่ ไปนี้ 46.1 คนท่ี 1 สำรวจส่ิงอุปกรณ์ แลว้ บันทึกผลลงในใบสำรวจสง่ิ อปุ กรณส์ ว่ นที่ 1 46.2 คนท่ี 2 สำรวจสิ่งอุปกรณ์รายการเดียวกับคนท่ี 1 แล้วบันทึกผลลงในใบสำรวจ ส่วนท่ี2 46.3 คนท่ี 3 (ประธานกรรมการ หรือหัวหน้าชุด) ตรวจสอบผลการสำรวจของคนที่ 1 และ 2 ถ้าตรงกันให้บันทึกผลในใบสำรวจส่ิงอุปกรณ์ส่วนที่ 3 ถ้าผลการสำรวจของคนที่ 1 และ 2 ไม่ตรงกัน ให้คนท่ี 3 ทำการสำรวจใหม่ ผลการสำรวจของคนที่ 3 ตรงกับคนใดคนหน่ึง ให้เอาผลนั้นบันทึกลงในใบ สำรวจส่ิงอุปกรณ์ส่วนที่ 3 ถ้าผลการสำรวจของคนที่ 3 ไม่ตรงกับใครเลย ให้ทำการสำรวจใหม่พร้อมกันทั้ง 3 คน ขอ้ 47 การรายงานการสำรวจสง่ิ อุปกรณ์ 47.1 เมื่อเจ้าหน้าที่บัญชีคุมได้รับใบสำรวจส่ิงอุปกรณ์จากคณะกรรมการ หรือชุด สำรวจแล้ว ทำการเปรยี บเทียบการตรวจสอบยอดสง่ิ อปุ กรณ์ โดยใชแ้ บบพมิ พ์ ทบ.400-012 47.2 ถ้าผลตรวจนับสิ่งอุปกรณ์คลาดเคล่ือนจากยอดในบัตรบัญชคี ุมก่อนเสนอรายงาน ให้ ปฏบิ ัตดิ งั นี้ 47.2.1 ตรวจสอบเอกสารการรับสง่ิ อปุ กรณแ์ ละหลักฐานการนำสง่ิ อุปกรณเ์ ข้าทีเ่ ก็บ 47.2.2 ตรวจสอบเอกสารการจา่ ยส่งิ อปุ กรณแ์ ละหลักฐานการนำส่งิ อปุ กรณอ์ อกจาก ทเ่ี กบ็ 47.2.3 สำรวจทีเ่ ก็บสิง่ อปุ กรณ์ 47.3 เสนอรายงานผลการเปรียบเทียบการตรวจส่ิงอุปกรณ์ต่อผู้มีอำนาจในการส่ังสำรวจ และบนั ทกึ จำนวนสิง่ อุปกรณต์ ามทไ่ี ดร้ ับอนมุ ัตใิ หป้ รบั ยอดแล้วด้วยหมกึ สแี ดงในบัตรบญั ชีคมุ ขอ้ 48 การปรับยอดในบตั รบญั ชคี ุม 48.1 ถ้าจำนวนส่ิงอุปกรณ์ขาดจากยอดในบัตรบัญชีคุม ให้ปฏิบัติตามระเบียบกองทัพบก ว่าด้วยการจำหน่ายส่งิ อุปกรณ์ พ.ศ.2524 ลง 30 ก.ย.24 48.2 ถ้าจำนวนส่ิงอุปกรณ์เกนิ กว่ายอดในบญั ชีคุม ใหผ้ ู้มีอำนาจในการสั่งสำรวจสิ่งอปุ กรณ์ สง่ั แก้ไขในบัตรบัญชคี มุ ได้ แล้วแจง้ ให้สายยทุ ธบริการที่รบั ผิดชอบในสง่ิ อปุ กรณน์ ้ันทราบดว้ ย ข้อ 49 การสำรวจที่เก็บส่งิ อุปกรณ์ 49.1 ความมุง่ หมายในการสำรวจทีเ่ กบ็ ทีส่ ่ิงอุปกรณ์ 49.1.1 เพอื่ ใหส้ งิ่ อปุ กรณ์อย่ใู นทีเ่ กบ็ ตรงกบั บัตรแสดงทเี่ กบ็ 49.1.2 เพ่ือใหส้ ่งิ อุปกรณ์ชนดิ เดียวกนั เก็บในท่แี หง่ เดยี วกัน 49.1.3 เพ่อื ให้สิง่ อุปกรณใ์ นท่เี กบ็ ตรงกับลักษณะ และคุณสมบัติ 49.1.4 เพื่อให้ทราบที่เก็บท่วี า่ ง 49.2 การดำเนินการสำรวจทเ่ี ก็บ
ห น ้ า | 87 49.2.1 ผู้บังคับหน่วยเก็บรักษาทำตารางการสำรวจท่ีเก็บส่ิงอุปกรณ์ เพ่ือให้มีการ สำรวจอยา่ งต่อเนอ่ื งในรอบปี 49.2.2 เจ้าหน้าท่ีบัตรแสดงท่ีเก็บบันทึกรายละเอียดส่ิงอุปกรณ์ในที่เก็บเดิมลงใบ สำรวจทเี่ ก็บ โดยใชแ้ บบพมิ พ์ ทบ.400-011-1 ตามตารางการสำรวจท่เี ก็บส่งิ อปุ กรณ์ทก่ี ำหนดไว้ 49.2.3 ผู้สำรวจทำการสำรวจที่เก็บ ถ้ามีการเปล่ียนแปลงแก้ไขให้บันทึกในใบ สำรวจท่ีเกบ็ 49.2.4 ผู้บงั คับหน่วยเกบ็ รกั ษาสงั่ การแกไ้ ข 49.2.5 เจา้ หน้าทบ่ี ตั รแสดงที่เกบ็ แก้บัตรแสดงทีเ่ ก็บแลว้ สง่ ใหเ้ จ้าหนา้ ท่ีบตั รบญั ชี คมุ ทราบด้วย ตอนท่ี 9 การรายงานสถานภาพ ข้อ 50 ความม่งุ หมาย เพื่อให้ผบู้ ังคับบัญชา และหนว่ ยส่งกำลังบำรุงช้ันเหนือทราบสถานภาพ สิ่ง อปุ กรณ์ของหน่วยใช้ และหน่วยสนับสนนุ ทางการส่งกำลงั ตามหว้ งระยะเวลา ข้อ 51 หน่วยรายงาน 51.1 หน่วยใช้ ได้แก่ หน่วยระดับกองพัน หรือเทียบเท่า หรือหน่วยอิสระท่ีกองทัพบก อนุมัติขน้ึ ไป 51.2 หน่วยสนับสนุนทางการส่งกำลัง ได้แก่ หน่วยสนับสนุนโดยตรง หน่วยสนับสนุน ท่ัวไป และคลัง ข้อ 52 ห้วงระยะเวลาการรายงาน 52.1 หน่วยใช้ รายงานรอบ 3 เดือน ปิดรายงานสิ้น มีนาคม มิถุนายน กันยายน และ ธนั วาคม 52.2 หน่วยสนับสนนุ ทางการสง่ กำลงั รายงานในรอบ 6 เดอื น ปดิ รายงานในสนิ้ มนี าคม และ กนั ยายน ข้อ 53 สิ่งอปุ กรณท์ ตี่ อ้ งรายงาน 53.1 หน่วยใช้ รายงานสถานภาพส่ิงอุปกรณ์ตาม อจย. ทุกรายการ ส่วนสิ่งอุปกรณ์ตาม อสอ. นนั้ ใหร้ ายงานเฉพาะรายการท่กี องทพั บกกำหนด 53.2 หน่วยสนับสนุนทางการส่งกำลัง ให้รายงานสถานภาพสิ่งอุปกรณ์ที่สะสมเฉพาะ รายการท่ีกองทัพบกกำหนด ขอ้ 54 การดำเนนิ การรายงาน 54.1 รายงานของหน่วยใช้ 54.1.1 หน่วยใช้ ทำรายงานในรอบ 3 เดือน โดยใช้แบบพิมพ์ ทบ.400-016 จำนวน 3 ชุด แยกส่ิงอุปกรณ์ตามความรับผิดชอบของสายยุทธบริการ หน่วยรายงานเก็บไว้ 1 ชุด ส่ง รายงานตามสายการบังคับบัญชา 2 ชุด สำหรับส้ิน มีนาคม ให้รายงานสถานภาพส่ิงอุปกรณ์ทุกรายการ ตามที่กำหนดในข้อ 53.1 ส่วนส้ิน มิถุนายน กันยายน และ ธันวาคม ให้รายงานเฉพาะรายการท่ี เปลีย่ นแปลง ถ้าไม่มกี ารเปลี่ยนแปลงใหย้ นื ยนั ให้ทราบ 54.1.2 หน่วยบังคับบัญชาชั้นเหนือของหน่วยรายงาน รับทราบสถานภาพสิ่ง อปุ กรณ์ แล้วส่งรายงานจำนวน 2 ชดุ ไปตามสายการบังคับบญั ชาจนถงึ นขต.ทบ. และ นขต.ทบ. ส่งรายงาน ให้กรมฝา่ ยยทุ ธบริการทรี่ บั ผิดชอบสง่ิ อุปกรณ์ จำนวน 2 ชุด ภายใน 30 วัน นบั จากวนั ปดิ รายงาน
ห น ้ า | 88 54.1.3 กรมฝ่ายยุทธบริการ ตรวจสอบสถานภาพสิ่งอุปกรณ์แล้วส่งรายงานให้ กองทพั บก จำนวน 1 ชดุ เก็บไว้ 1 ชดุ ข้อ 55 ประเภทเอกสาร เอกสารต่าง ๆ ท่ีใชใ้ นการรายงานสถานภาพส่ิงอุปกรณ์ให้ถือเป็นเอกสาร “ลบั ” ตอนที่ 10 ข้อกำหนดอนื่ ๆ ข้อ 56 แบบพิมพ์ทใ่ี ชใ้ นระเบียบนี้ การเบกิ การยืม การโอน และการสง่ คืน 56.1 ทบ.400-006 ใบเบกิ 56.2 ทบ.400-007 ใบเบิก และใบสง่ สิง่ อุปกรณ์ 56.3 ทบ.400-007-1 ใบเบิก หรือใบส่งคนื สิง่ อุปกรณ์ 56.4 ทบ.400-008 ใบแจง้ การยกเลกิ 56.5 ทบ.400-013 ใบส่งคนื 56.6 ทบ.400-014 ใบสง่ คืน และส่งสิ่งอุปกรณ์ 56.7 ทบ.400-071 ใบตดิ ตามใบเบกิ 56.8 ทบ.400-073 เอกสารการแจกจ่ายส่งิ อปุ กรณ์ 56.9 ทบ.400-074 ใบโอนสงิ่ อุปกรณ์ การเกบ็ รกั ษา 56.10 ทบ.400-009 บตั รแสดงทเี่ ก็บ 56.11 ทบ.400-010 บัตรประจำสง่ิ อุปกรณ์ การควบคมุ 56.12 ทบ.400-002 ทะเบียนหลกั ฐานการสง่ กำลงั 56.13 ทบ.400-003 บตั รบัญชีคมุ 56.14 ทบ.400-003-2 บัตรบญั ชีคุมส่งิ อุปกรณ์ใช้การไมไ่ ด้ 56.15 ทบ.400-003-3 บตั รบัญชีคมุ ส่งิ อุปกรณถ์ าวรคุมเป็นรายการ 56.16 ทบ.400-003-4 บตั รบญั ชีคุมสิ่งอุปกรณถ์ าวรคุมเป็นหน่วย 56.17 ทบ.400-005 บญั ชสี ง่ิ อปุ กรณข์ องหน่วย 56.18 ทบ.400-068 บตั รบัญชีคุมชิ้นสว่ นซอ่ ม และสง่ิ อปุ กรณใ์ ช้ส้นิ เปลือง การสำรวจ 56.19 ทบ.400-011 ใบสำรวจสง่ิ อุปกรณ์ 56.20 ทบ.400-011-1 ใบสำรวจที่เก็บ 56.21 ทบ.400-012 ใบรายงานผลการเปรยี บเทยี บการตรวจสอบยอดสิง่ อปุ กรณ์ การรายงานสถานภาพ 56.22 ทบ.400-016 ใบรายงานสถานภาพสิง่ อุปกรณข์ องหน่วยใช้ 56.23 ทบ.400-017 ใบรายงานสถานภาพส่ิงอุปกรณข์ องหนว่ ยสนับสนนุ ข้อ 57 สิ่งอปุ กรณท์ ี่อยูใ่ นความรบั ผิดชอบหลายสายงาน 57.1 องค์ประกอบ สว่ นประกอบ ชิ้นสว่ น ฯลฯ
ห น ้ า | 89 57.1.1 ให้สายยุทธบริการซึ่งรับผิดชอบต่อส่ิงอุปกรณ์สำเร็จรูปชนิดใด รวบรวม องค์ประกอบ ส่วนประกอบ ชิ้นส่วน ฯลฯ ของสิ่งอุปกรณ์สำเร็จรูปนั้นแจกจ่ายขั้นต้นให้กับหน่วยรับการ สนับสนุน 57.1.2 ส่วนการแจกจ่ายทดแทน องค์ประกอบ ส่วนประกอบ ชิ้นส่วน ฯลฯ ให้ สายยุทธบริการทรี่ บั ผิดชอบเป็นผู้ดำเนนิ การ 57.2 สิ่งอปุ กรณท์ ี่จัดเป็นชุด 57.2.1 ให้สายยุทธบริการที่รับผิดชอบต่อสิ่งอุปกรณ์ท่ีจัดเป็นชุดรวบรวม สว่ นประกอบของชุดแจกจา่ ยขน้ั ตน้ ให้แก่หนว่ ยท่รี ับการสนับสนนุ 57.2.2 ส่วนการแจกจา่ ยทดแทนสว่ นประกอบชุด ให้สายยทุ ธบริการท่รี ับผิดชอบ เปน็ ผดู้ ำเนินการ ข้อ 58 อำนาจในการวางระเบียบปลีกย่อย ให้กรมฝ่ายยุทธบริการ และกรมฝ่ายกิจการพิเศษ ออกระเบียบปลกี ย่อยได้โดยไม่ขัด หรือแย้งกับระเบียบนี้
ห น ้ า | 90 แผนกวิชายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรียนทหารม้า ศูนยก์ ารทหารมา้ คา่ ยอดิศร สระบรุ ี ---------- เอกสารนำ วชิ า การระมดั ระวงั ความปลอดภยั และเครอ่ื งดบั เพลงิ 1. ขอ้ แนะนำในการศึกษา วิชานี้ใช้เวลาสอน 2 ช่ัวโมง ทำการสอนแบบเชิงประชุม และสาธิต เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความสามารถเก่ียวกับการระมัดระวังความปลอดภัยเม่ือปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับยานยนต์ และการ ปฏิบัติงานในโรงซ่อม วิธีป้องกันอันตรายต่าง ๆ ท่ีอาจเกิดขึ้นได้ การใช้เคร่ืองดับเพลิง และการดับเพลิงที่ ถูกวิธี ตลอดจนวิธีการตรวจสภาพเครื่องดับเพลิง เพ่ือใช้เป็นหลักปฏิบัติในการระมัดระวังความปลอดภัย และเป็นแนวทางในการกำหนดวิธปี ฏิบตั ิ และมาตรการในการระมดั ระวังความปลอดภัยของหน่วย ตอ่ ไป 2. หวั ขอ้ สำคัญในการศกึ ษา เพื่อใหน้ ักเรยี นมีความรู้ในเร่อื งเหล่าน้ี คือ 2.1 อนั ตรายเกย่ี วกับเพลิง 2.2 อันตรายซึ่งเกดิ จากการกระทบกระแทก 2.3 อันตรายซ่งึ เกิดจากยานพาหนะ 2.4 อันตรายเกีย่ วกบั เครื่องมือ 2.5 อันตรายจากสารเคมี 2.6 สาเหตุของอุบตั ิเหตุ ในโรงซ่อม และวิธีป้องกัน 2.7 เครอื่ งดบั เพลงิ 2.8 หลกั ทว่ั ไปในการดบั เพลงิ 2.9 ชนดิ ของเคร่ืองดบั เพลิง 2.10 หลักการใชเ้ ครือ่ งดับเพลงิ 2.11 การตรวจสภาพเคร่ืองดับเพลงิ 3. งานมอบ ให้นักเรียนอ่านเอกสารเพ่ิมเติม เร่ืองการระมัดระวังความปลอดภัย และเครื่องดับเพลิง ก่อน เข้าหอ้ งเรยี น 4. คำแนะนำพเิ ศษ ไมม่ ี 5. เอกสารแจกจา่ ยพรอ้ มเอกสารนำ เอกสารเพิ่มเตมิ ***********
ห น ้ า | 91 แผนกวิชายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรยี นทหารมา้ ศูนย์การทหารมา้ คา่ ยอดศิ ร สระบุรี ---------- เอกสารเพ่ิมเตมิ วิชา การระมดั ระวงั ความปลอดภัย และเครอื่ งดบั เพลิง ตอนท่ี 1 การระมดั ระวงั ความปลอดภยั 1. กล่าวทวั่ ไป 1.1 คำแนะนำเหล่าน้ีแจกจ่ายให้เพื่อเป็นหลักปฏิบัติในการระมัดระวังความปลอดภัย และเป็นแนวทาง กำหนดวิธีปฏิบตั ิ เพ่ือความปลอดภัยในโรงซ่อมเม่ือทำการซ่อมบำรุงยานพาหนะ และอย่าเข้าใจว่าคำแนะนำ นี้เป็นส่ิงถาวร โดยท่านจะต้องแก้ไข เปลี่ยนแปลงหรือทบทวนให้ตรงกันกับข้อบังคับของกองทัพบกหรือ เอกสารของทางราชการซ่งึ กำหนดไว้ รวมทง้ั รปจ.ของหน่วยด้วย 1.2 ผู้มีหน้าท่จี ะตอ้ งปฏบิ ัตงิ านเก่ยี วกบั การซอ่ มบำรุงจะตอ้ งศกึ ษาวิธีการปฏิบัติ และตอ้ งปฏบิ ตั ิตามอย่าง เคร่งครัด ต้องย้ำให้ผู้ปฏิบตั ิเข้าใจว่าจะต้องทำการฝึกให้เปน็ นิสัยตลอดในชีวิตรับราชการ ฉะนั้นในหลักสูตรน้ี เราจะนำข้อระมัดระวังความปลอดภยั และวธิ ีปฏบิ ัตทิ ม่ี ปี ระสิทธิภาพมาใช้ ในขณะนักเรียนปฏิบัตงิ านซ่อม บำรงุ ครู และนักเรยี นจะต้องต่ืนตัวอยู่เป็นนิจเกี่ยวกบั ข้อระมัดระวงั อันตรายในขณะฝึกงาน และจะต้องแกไ้ ข ข้อผดิ พลาดท่เี กดิ ขึ้นโดยทนั ที 1.3 การซ่อมหรือการบริการยานพาหนะท่ีรีบด่วนจะไม่เกิดผลงานท่ีดี ถ้าการทำงานขาดความระมัดระวัง ปกตอิ ุบตั ิเหตซุ ึ่งเกิดขึ้นส่วนมากจากสาเหตุเล็ก ๆ น้อย ๆ เราต้องหลีกเลี่ยงโดยสนใจต่อสิ่งเล็กๆ น้อยๆ อย่า เพกิ เฉยละเลยเสยี สง่ิ ซ่งึ จะกลา่ วต่อไปนีเ้ ปน็ อันตรายท่ัว ๆ ไปซึ่งต้องหลีกเล่ยี งอย่าใหเ้ กิดขึ้น 2. อนั ตรายเกย่ี วกับเพลิง 2.1 ของเหลวที่หก น้ำมันเคร่ือง ไขข้น น้ำมันเชื้อเพลิง และน้ำมันทำความสะอาดซ่ึงติดไฟได้ง่าย ที่ หกหรือหยดอยู่บนพน้ื โรง หรือบนยานพาหนะจะตอ้ งทำความสะอาดทนั ทีอยา่ ปล่อยท้ิงไว้เป็นอนั ขาด 2.2 การสูบบุหร่ีภายในโรงรถ และรอบ ๆ ยานพาหนะ ถ้าอนุญาตให้มีการสูบบุหร่ีได้ในบริเวณ รอบ ยานพาหนะ หรือในโรงซ่อม ย่อมทำให้เกิดอันตรายจากไฟได้ การสูบบุหรี่ อย่าสูบใกล้โรงซ่อม หรือ ยานพาหนะอย่างน้อย 15 ฟุต ถ้าอนุญาตให้สูบภายในโรงซ่อมได้ต้องกำหนดพื้นท่ีเฉพาะ และจัดหาท่ีทิ้งก้น บุหร่ไี ว้ใหผ้ สู้ บู ทิ้งตามที่ ทีไ่ ดก้ ำหนดไว้ 2.3 การกระโดดของประกายไฟฟ้า ไอระเหยของน้ำมันเช้ือเพลิง และน้ำมันเครื่องจะติดไฟได้ ง่าย เนื่องจากประกายไฟจากการกระโดดของไฟฟา้ ท่ีลัดวงจร การป้องกันมิให้เกิดอันตรายจากไฟฟา้ น้ัน กอ่ นจะเรมิ่ ทำงานเกย่ี วกับระบบไฟฟ้าของยานพาหนะใหป้ ลดขัว้ แบตเตอรที่ ตี่ ่อลงดินออกเสียก่อน 2.4 ของเหลวซึ่งไวไฟ ไฟซึ่งลุกไหม้ที่ภาชนะใส่ของเหลวไวไฟภายในอาคารดับได้ยากมาก ฉะน้ัน ภาชนะท่ีใส่น้ำมันเคร่ือง สี น้ำ ยาเคมี และน้ำมันล้างเคร่ือง เม่ือใช้งานเสร็จแล้วให้เก็บที่โรงเก็บน้ำมัน โดย บรรจุไวใ้ นภาชนะทที่ ำด้วยโลหะมฝี าปิดมิดชดิ เพ่อื ปอ้ งกนั อันตรายซง่ึ เกดิ จากเพลงิ ไหม้ 2.5 การเผาไหม้ซ่ึงเกิดเองโดยธรรมชาติ ผ้าข้ีริ้วเปียกน้ำมัน หรือเปื้อนน้ำมัน หรือขยะซึ่งชุ่ม นำ้ มนั จะเปน็ เหตุให้เกดิ เพลงิ ไหม้เองโดยธรรมชาติได้จากการย่อยสลายตวั จากเช้อื ราตา่ ง ๆ ท่ีนำมาทงิ้
ห น ้ า | 92 สุมกองรวมเข้าไว้ด้วยกัน ฉะน้ันภาชนะท่ีใช้ใส่ขยะเปื้อนน้ำมันควรจะกันไฟได้ มีฝาปิดมิดชิด และเก็บไว้ ภายนอกอาคาร 2.6 น้ำมนั ทำความสะอาด ไม่ควรใชน้ ้ำมันเชือ้ เพลงิ ในการทำความสะอาด เนือ่ งจากนำ้ มันตดิ ไฟ ง่าย แอลกอฮอล์ ทินเนอร์ น้ำมันอาซโิ ตน และน้ำมนั ผสมสบี างชนดิ เป็นวัสดุไวไฟเชน่ เดยี วกัน แตบ่ างคร้ัง จำเป็น จะต้องใช้ล้างส่ิงของในรายการพิเศษบางรายการ เม่ือเราใช้สารเคมีเหล่านี้ทำความสะอาดให้ใช้ในท่ี โล่งแจ้ง เม่ือเกิดเพลิงไหม้สามารถจะดับได้ทันทีโดยไม่ไปติดกับสิ่งอืน่ ๆ การเก็บน้ำมัน และสารเคมีเหล่าน้ี ให้เก็บแยกต่างหากกับเสื้อผ้าเพ่ือป้องกันไฟไหม้ น้ำมันพิเศษซึ่งมีการลุกไหม้ต่ำ เช่น น้ำมันล้างเคร่ือง ( โซลเว้นท์ ) ท่ี ใช้ทำการล้างส่วนประกอบ องค์ประกอบเครื่องยนต์ เมื่อเกิดการติดไฟเราสามารถดับได้ง่าย ผ้าข้ีริ้วชุบน้ำมันเครื่อง เมื่อใช้แล้วให้เผาท้ิง ให้หลีกเลี่ยงการใช้น้ำมันทำความสะอาดทา ยานพาหนะเพ่ือ รกั ษายานพาหนะ เพราะไมป่ ลอดภยั ดังกลา่ วมาแล้วข้างตน้ 2.7 ถังน้ำมันเช้ือเพลิง ไฟซ่ึงเกิดจากการลุกไหม้ที่ถังน้ำมันเช้ือเพลิง ปกติจะเกิดข้ึนเน่ืองจาก ไฟฟ้าสถิต ข้อระมัดระวังในการป้องกันไฟฟ้าสถิตนี้ ให้แตะพวยเติมน้ำมันกับปากถังน้ำมัน ก่อนที่จะเล่ือน พวยเติมน้ำมันเขา้ ไปในคอถงั น้ำมัน และแตะไว้ตลอดเวลาระหว่างขณะเตมิ น้ำมนั จะตอ้ งจดั หาเครอื่ งดับเพลิง พร้อมเจา้ หนา้ ทไี่ ว้ใกล้ ๆ และอยา่ ตดิ เคร่อื งยนต์ไว้ระหวา่ งเตมิ น้ำมัน 2.8 ป๊ัมน้ำมนั เช้ือเพลงิ ไฟฟา้ ยานพาหนะซ่ึงมีป๊มั น้ำมันเชื้อเพลิงไฟฟา้ เปน็ อนั ตรายอย่างยิ่งในการ จะทำให้เกดิ การลุกไหม้ข้ึนได้ เม่อื ปิดสวติ ช์จุดระเบดิ ทิ้งไว้ในขณะดบั เคร่ืองยนต์ เพื่อป้องกันอันตรายดงั กล่าว มาแล้วน้ี เจ้าหน้าท่ีผู้เก่ียวข้องควรระมัดระวังอย่าเปิดสวิตช์จุดระเบิดทิ้งไว้เป็นอันขาด เม่ือเคร่ืองยนต์ไม่ ทำงาน 3. อนั ตรายซงึ่ เกิดจากการกระทบกระแทก กลา่ วโดยท่ัวไป การบาดเจ็บซ่งึ เกิดจากการลม้ และการกระแทกของวัสดุ สว่ นใหญเ่ กดิ จากการกระทำ ของบุคคล ถ้ารอบ ๆโรงซ่อมจัดระเบียบไวด้ ีพอย่อมมีความปลอดภัย และโอกาสที่จะทำให้เกิดการบาดเจ็บ ข้ึนจะน้อยลง ต่อไปจะกล่าวถึงสภาพอันตรายซึ่งเป็นสาเหตุทำให้บุคคลได้รับบาดเจ็บระหว่างการล้ม การ กระทบกระแทก 3.1 น้ำมันท่ีหก และหยด น้ำมันเครื่อง ไขข้น น้ำมันเชื้อเพลิง หรือน้ำ หรือการทำความ สะอาดด้วยของเหลวตา่ ง ๆ จะสาเหตใุ ห้มีการลน่ื ท่ีพ้ืน เป็นแหง่ ๆ จะตอ้ งเช็ดของเหลวท่ีหกโดยทันที 3.2 การคลาน และการลุกข้ึน การคลานออกจากใต้พ้ืนรถ และลุกยืนขึ้น หรือบางคร้ังอาจต้อง กลิ้งออกมาน้ันอาจ จะเป็นสาเหตุให้ล้มลง ในขณะยืนข้ึนได้ ฉะน้ันผู้คลานออกจากใต้ท้องรถควรจะหยุดพัก เม่อื สิน้ สดุ การคลาน หรือใช้การพยงุ ตวั ลุกข้ึนโดยใช้ผนงั ช่วย 3.3 การเปิดประตูยานพาหนะทิ้งไว้ อันตรายจะเกิดข้ึนได้เสมอเม่ือมีผู้ใดผู้หนึ่งคลานออกจากใต้ ท้องรถ แล้วผงกศีรษะขึ้น ศีรษะจะชนขอบประตูรถส่วนที่เป็นมุมแหลม เพ่ือป้องกันมิให้เกิดอุบัติเหตุ ดังกล่าวมาแล้ว จะตอ้ งปดิ ประตรู ถไวเ้ สมอเมอื่ ลงจากรถ 3.4 การลืมองค์ประกอบและเครื่องมือ องค์ประกอบของพาหนะ และเครื่องมือที่วางท้ิงไว้หรือ ลืมไว้บนยานพาหนะ อาจจะหล่นเข้าไปในส่วนเคล่ือนไหว และอาจจะทำให้องค์ประกอบ หรือช้ินส่วนของ เคร่ืองยนต์แตกหักเสียหายได้ 4. อันตรายซ่ึงเกดิ จากยานพาหนะ 4.1 การปฏิบัติของพลประจำรถ อย่าหมุนเคร่ืองยนต์เม่ือเครื่องเปล่ียนความเร็วไม่อยู่ใน ตำแหน่งว่าง และเม่ือมีผู้หนึ่งผู้ใดอยู่ใตย้ านพาหนะ ตอ้ งจัดให้มีผู้ตรวจ และร้องวา่ \"เรียบร้อย\" เป็นสัญญาณ เตือนก่อนท่จี ะติดเคร่ืองยนต์
ห น ้ า | 93 4.2 การขบั ยานพาหนะ อยา่ อนุญาตให้นักเรยี นขบั รถ 4.3 ไม่สนใจการทำงานของเคร่ืองยนต์ อย่าออกจากรถเมื่อเคร่ืองยนต์ติดอยู่ ในโรงซ่อม ต้องมี คนควบคุมบังคับอย่ตู ลอดเวลาในหอ้ งพลขับ เมอ่ื เครือ่ งยนต์ติด 4.4 เม่ือจะนำรถเขา้ -ออกในโรงซอ่ ม จะต้องใหส้ ัญญาณแก่พลขบั แตผ่ ูเ้ ดยี ว เพ่ือหลีกเลยี่ งความ ย่งุ ยากสบั สน บุคคลอื่น ๆ ตอ้ งอยู่ในความสงบ และไมส่ ่งเสียง 4.5 การน่ังโดยสารรถ ระหว่างการว่ิงลองเครื่อง นักเรียนจะต้องน่ังประจำท่ีใกล้ตอนหน้ารถ ซ่ึง สามารถคอยสังเกตดูแผงหน้าปัด และศึกษาการตรวจสอบของครู ได้อย่างปลอดภัย และเห็นการปฏิบัติได้ สมบรู ณ์ 4.5 ก๊าซคาร์บอนโมน๊อกไซด์ ก๊าซไอเสียทำให้เกิดอันตรายถึงตายได้ โรงซ่อมที่ปิดมิดชิดควร จัดหาข้อต่อท่อไอเสียเสรมิ ต่อจากทอ่ ไอเสยี ของรถออกไปภายนอกโรงซอ่ ม และควรจะต่อท่อไอเสียก่อนเสมอ ก่อนติดเครือ่ งยนต์ ถา้ ไม่มีทอ่ ดงั กล่าวแลว้ ให้เปดิ ประตหู น้าต่างให้หมดเพื่อใหอ้ ากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก 4.6 ยานพาหนะล้ม จะต้องจัดหาแม่แรงท่ีเหมาะสมกับการยกยานพาหนะเพื่อป้องกันมิให้ ยานพาหนะล้ม จึงจะดำเนินงานซ่อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และปลอดภยั ก่อนยกจะตอ้ งหาเคร่ืองหนุนล้อ ไว้ มใิ ห้ยานพาหนะเคลื่อนท่ีแลว้ จึงขนึ้ แม่แรงได้ 4.7 แหวน นาฬิกา และเคร่ืองประดับร่างกาย ถ้าแหวน หรือนาฬิกาซ่ึงเป็นโลหะเกิดลัดวงจร ขึ้นกับระบบไฟฟ้าของรถ จะทำให้เกิดการชำรุดเสียหาย และการบาดเจ็บข้ึนได้อย่างร้ายแรง เพื่อป้องกัน อุบัติเหตุที่อาจเกิดข้ึนให้ถอดแหวน นาฬิกาข้อมือ สายสร้อย และเครื่องประดับออกก่อนท่ีจะทำงานกับ ยานพาหนะ 5. อนั ตรายเกยี่ วกับเครือ่ งมือ 5.1 ใช้เครื่องมือไม่ถูกต้อง อย่าใช้กุญแจงัด ขัด หรือดันถ้าใช้กุญแจโดยการดันออกจากตัว อันตรายจะเกดิ ขึน้ ได้เมอื่ ปากกุญแจเกดิ การเลอ่ื น หรือหลุดออกจากชน้ิ งาน 5.2 การยืนไม่ม่ันคง การยืนควรยืนให้ทะมัดทะแมง และมั่นคง ก่อนที่จะพยายามใช้เครื่องมือใด ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในการใชเ้ ครอื่ งมือทีต่ ้องการใช้แรงมาก ๆ 5.3 การใช้เคร่ืองมือไม่ถูกต้องกับงาน เช่นใช้ กุญแจเลื่อน คีม กุญแจจับของกลมยึดจับ สิ่งของ (ยกเว้นการใช้กับของกลม) จะต้องพิจารณาในเร่ืองการชำรุดของเคร่ืองมือ ควรหลีกเลี่ยงการใช้ เครอ่ื งมอื เหล่านี้ ถา้ มเี ครื่องมอื อื่น ๆ ทเ่ี หมาะสมกว่า 5.4 สกัด เหล็กส่ง ค้อน มีอุบัติเหตุเกิดขึ้นเสมอ ๆ ในการตีเหล็กส่ง หรือสกัดโดยเกิดการตีล่ืน ถูกมือของผู้ตี หรือเกิดเศษโลหะหลุดออกจากส่วนบนของเหล็กส่ง และสกัด เม่ือจะทำการตีด้วยค้อนควร ตรวจดูความมั่นคงท่ีปลายเหล็กส่ง หรือสกัดจะต้องตรวจสภาพส่วนบน และตบแตง่ เครื่องมือให้เรียบร้อย กอ่ นใช้ เพื่อหลกี เล่ียงอุบตั เิ หตจุ ากเศษวัตถทุ ่หี ลุดออกจากช้ินงาน 5.5 แว่นกนั สะเก็ด ใหส้ วมแวน่ กนั สะเกด็ เสมอเมือ่ ใชล้ ้อหินเจียระไน เมื่อ ทำการเจาะด้วยสว่าน ทำการสกัดโลหะ โดยปกติจะต้องจัดให้มี แว่นกันสะเก็ดไว้ประจำกับหินเจียระไนทุก โรงซ่อม 5.6 ท่อลม มีบุคคลจำนวนมากท่ีได้รับอันตรายหรือบาดเจ็บเม่ือใช้กับท่อลมเสมอ ๆ ฉะน้ันบุคคล ทุกนาย จะตอ้ งไมห่ ยอกลอ้ เลน่ ดว้ ยทอ่ ลม และระมดั ระวงั อนั ตราย ซง่ึ จะเกิดขึ้นจากทอ่ ลม 5.7 ท่อน้ำ อย่าเปดิ นำ้ เมือ่ ไม่มีผู้ใดจับสายสูบน้ำ และอย่าฉีดนำ้ ร้อนใส่บคุ คลใกลเ้ คียง
ห น ้ า | 94 5.8 เครื่องมือหล่อลื่นด้วยกำลังดันของลม เช่นเคร่ืองอัดไขข้นด้วยลม สามารถจะดันไขข้น ออกมาได้ไกลถึง 50 ฟุต เมื่อกดกระเด่ืองใช้งาน ไขข้นซึ่งออกจากปลายท่อสามารถทำให้ผิวหนังแตกได้ ฉะน้ัน เม่ือจะกดกระเดอ่ื ง ควรจะใส่ปลายหัวอดั เข้าไปในหัวอัดไขขน้ ให้สนทิ กอ่ นทจ่ี ะกดกระเดอ่ื งใชง้ าน 5.9 สายยาง อย่าวางหรือจุ่มสายยางลงในน้ำ เมื่อจะต่อสายยางเข้ากับท่อที่มีความดัน ถ้า เห็นว่าจะมีผู้ใดถูกสะบัดหรือฟาดด้วยสายยางน้ัน และอย่าคว้าหรือจับออก แต่ให้พยายามถอดสายยางออก จากท่ใี ส่ และดึงออกจากมือถือ ด้วยมือ 6. อนั ตรายจากสารเคมี 6.1 น้ำกรดแบตเตอรี่ ให้หลีกเล่ียงสาเหตุต่างๆ ท่ีจะทำให้เกิดประกายไฟโดยรอบแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ที่กำลังประจุไฟอยู่ จะปล่อยก๊าซไฮโดรเจน และอ๊อกซิเจนออกมา ซ่ึงสามารถจะทำให้ระเบิดอย่าง รา้ ยแรงได้ ถ้ามผี ู้ใดถกู น้ำกรดเขา้ ตาให้เปิดตาข้ึนด้วยนวิ้ มอื แล้วใช้นำ้ เปน็ จำนวนมาก ๆ ลา้ งตาและใหร้ นิ น้ำ ลงบนทุกส่วนของรา่ งกาย ที่ถกู น้ำกรดหกรด หากสามารถใชเ้ บกกิ้งโซดา ผสมกับน้ำจะชว่ ยให้กรดเป็นกลาง ได้เร็วขึ้น ท่ีกล่าวมาแล้วนี้เป็นเพียงการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น และควรนำคนเจ็บไปพบแพทย์ให้เร็วท่ีสุด เทา่ ที่จะทำได้ 6.2 น้ำมันห้ามล้อ เม่ือน้ำมันห้ามล้อเข้าตาคงใช้วิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับที่กล่าวมาแล้วในเรื่อง ของน้ำกรด และให้ลา้ งผวิ หนังทเ่ี ป้อื นน้ำมนั หา้ มลอ้ ดว้ ยสบู่ และนำ้ จนสะอาด 6.3 น้ำมันเชื้อเพลิง ถ้าเข้าตาให้ล้างตาด้วยน้ำสะอาด และล้างผิวหนังท่ีเปื้อนน้ำมันดว้ ยสบู่และ นำ้ 6.4 น้ำมนั ล้างเครื่อง (โซลเว้นท์) ให้ปฏิบัตเิ ชน่ เดยี วกบั น้ำมันเช้ือเพลงิ 6.5 แอลกอฮอล์ ให้ปฏบิ ตั เิ ช่นเดยี วกบั นำ้ มันเช้ือเพลิง 6.6 น้ำมันอาซิโทน ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับน้ำกรดแบตเตอรี่ และหลีกเลี่ยงอย่าให้น้ำมัน อาซิโทนถกู ผิวหนงั 6.7 นำ้ มันหลอ่ ล่นื ใหป้ ฏบิ ัตเิ ชน่ เดียวกบั น้ำมนั เช้ือเพลิง ตอนที่ 2 สาเหตขุ องอบุ ตั เิ หตุ และวธิ ปี อ้ งกนั มใิ ห้เกดิ อบุ ัตเิ หตภุ ายในโรงซอ่ ม 1. ความปลอดภัยในโรงซ่อม จะต้องมีความเข้าใจ และเพิ่มความระมัดระวังเมื่อปฏิบัติงาน ภายในโรง ซ่อม พลประจำรถและเจ้าหน้าท่ีในโรงซ่อมต้องตื่นตัวคอยสังเกตการทำงานของเจ้าหน้าท่ีอื่น ๆ และแจ้งให้ เพือ่ นซ่ึงปฏิบัตงิ านอยู่ด้วยทราบ และให้สนใจต่อการกระทำกิจกรรมตา่ ง ๆ ท่ีกำลังดำเนินอยู่ในโรงซ่อม จะ เป็นการป้องกัน และลดอุบตั ิเหตุลงได้ 2. การระมดั ระวังความปลอดภยั ในโรงซอ่ ม 2.1 การยกรถให้ลอยพ้นพื้น 2.2 ระเบยี บขอ้ บังคบั เก่ียวกับเพลงิ 2.3 การยก และการติดต้ังเครื่องยนต์ และองค์ประกอบหลัก เคร่ืองมือยก เครื่องผูกมัด ตอ้ งรบั นำ้ หนักได้อย่างมัน่ คง 2.4 ความสะอาดภายในโรงซ่อม 3. อธบิ าย 3.1 การใช้เครื่องยนต์ และยานยนต์อย่างผดิ วธิ ี 3.2 อุปนสิ ยั แต่ละบุคคล
ห น ้ า | 95 3.3 การล้อเล่นกันภายในโรงซ่อม 4. ความบกพร่องส่วนบุคคลทเ่ี กิดขึ้นภายในโรงซ่อม 4.1 ความชำนาญไม่เพยี งพอ 4.2 ไมม่ มี งุ่ ความสนใจต่องานที่กำลงั กระทำอยู่ 4.3 ทำงานตอ่ เน่อื งกันนาน จนเหนอื่ ยลา้ 4.4 เชอื่ ใจตนเองมากจนเกินควร 4.5 ประมาทเลินเลอ่ 4.6 ใช้กำลังมากเกนิ ควร 5. สรุป อุบัติเหตุท้ังปวงนั้นมิได้เกิดขึ้นเอง แต่มีผู้ทำให้เกิดขึ้น ซึ่งอาจเป็นผู้หนึ่งผู้ใดก็ได้ แม้แต่ตัวท่านเอง การระมัดระวงั รกั ษาความปลอดภยั เป็นหน้าท่ีของทุกคนต้องรบั ทีต่ ้องผิดชอบร่วมกนั รวมท้ังการปฏิบัติตาม รปจ.ของหนว่ ยทไ่ี ดก้ ำหนดไว้ ตอนที่ 3 เครอื่ งดบั เพลงิ 1. กล่าวท่ัวไป เพลิงที่เกิดลุกไหม้ข้ึนในรถเป็นอันตรายอย่างย่ิง และน่ากลัวท่ีสุด สำหรับหน่วยยานยนต์ ดังน้ันหากเกิดเพลิงไหม้ขึ้นจะต้องรีบดับเสียก่อนที่จะลุกลามใหญ่โต โดยใช้เคร่ืองดับเพลิงประจำรถ และ เจ้าหน้าที่ผู้เก่ียวข้อง ควรจะมีความเข้าใจอย่างถ่องแท้เกี่ยวกับประเภทต่าง ๆ ของเพลิง ชนิดของเครื่อง ดบั เพลิง และวิธีการดบั เพลิงที่กำลังลกุ ไหม้ จะตอ้ งทราบวธิ ีการใชเ้ ครือ่ งดับเพลิง และอปุ กรณ์ปอ้ งกันเพลิง โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ การระงับความตืน่ ตระหนกตกใจอนั เปน็ สาเหตุใหน้ ำความรู้ไปใช้ในการดับเพลงิ ไมไ่ ด้ 2. หลักทัว่ ไปในการดับเพลิง เมอ่ื เร่ิมเกิดเพลงิ ไหม้ลกุ ไหมข้ ้ึน 2.1 คุมสติ 2.2 แบง่ ประเภทของเพลิง 2.3 เลือกเครอื่ งดบั เพลิงทีถ่ ูกต้อง 2.4 เขา้ ไปให้ใกลเ้ พลงิ ทสี่ ุด 2.5 เปิดเครอื่ งดบั เพลงิ 2.6 ฉีดไปท่ตี ้นเพลงิ 3. การแบง่ ประเภทของเพลงิ 3.1 เพลิงประเภท \"ก\" (CLASS \"A\") เพลิงประเภทนี้เกิดจากวัสดุที่ติดไฟ เช่น ผ้า กระดาษ ไม้ ฯลฯ 3.2 เพลิงประเภท \" ข \" (CLASS \" B \") เพลิงประเภทนเ้ี กดิ จากสารไวไฟ เช่น น้ำมนั แก๊สโซลนี และ นำ้ มันเชอ้ื เพลิง หรือน้ำมันหล่อล่ืน ฯลฯ 3.3 เพลิงประเภท \" ค \" (CLASS \" C \") เพลิงประเภทนี้เกิดจากกระแสไฟฟ้า 3.4 เพลิงประเภท \"ง\" (CLASS \"D\") เพลิงประเภทน้ีเกิดจากโลหะที่ติดไฟ เช่น โลหะแมกนีเซียม ฯลฯ 4. ชนิดของเครือ่ งดบั เพลงิ 4.1 ชนิดป๊ัมน้ำ (WATER TYPE) เคร่ืองดับเพลิงชนิดน้ีใช้น้ำเป็นตัวดับเพลิง อย่าใช้เคร่ือง ดบั เพลงิ ชนิดใชน้ ำ้ ในการดบั เพลิงท่ีเกิดจากกระแสไฟฟา้ หรอื น้ำมนั เชื้อเพลิง
ห น ้ า | 96 4.2 ชนิดโซดา และกรด (SODA - ACID) เครื่องดับเพลิงชนิดนี้ใช้น้ำเป็นตัวดับเพลิง ภายใน เครื่องดับเพลิงตอนบนจะมีขวดโซดาไบคาร์บอเนต (NaHCO3) และกรดกำมะถัน (H2SO4 ) ซ่ึงแยกกันอยู่ เม่อื คว่ำเครื่องดบั เพลิงลงจะทำใหโ้ ซดา และนำ้ กรดผสมทำปฏิกริ ิยากัน เกดิ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดข์ นึ้ ขับดัน ให้น้ำพุ่งออกจากเคร่ืองดับเพลิง อย่าใช้เครื่องดับเพลิงชนิดโซดา และกรด ดับเพลิงที่เกิดจากกระแสไฟฟ้า หรือน้ำมันเชอื้ เพลงิ 4.3 ชนิดฟองเหลว (FOAM) เครื่องดับเพลิงชนิดน้ีใช้สารเคมีซึ่งเป็นฟองเหลวซ่ึงประกอบด้วย น้ำยาโซเดียมไบคาร์บอเนต (NaHCO3) กับน้ำยาแมกนีเซียมซัลเฟต (MgSO4 ) โดยปกติน้ำยาท้ังสองชนิดนี้ จะบรรจุยู่ในภาชนะแยกกันอยู่ เมื่อควำ่ เคร่ืองดับเพลิงลง จะทำให้น้ำยาสองชนิดผสมกัน ทำปฏิกิริยาเกิด แก๊ส และฟองเหลวขบั ดันออกจากเครื่องดบั เพลิง เคร่ืองดับเพลิงชนิดน้ีมีขนาด และรูปร่างเหมือน กับเครื่อง ดบั เพลงิ ชนิดโซดา และกรด 4.4 ชนิด โบรไมไตรฟลูออโรมีเธน (CF3C) เครื่องดับเพลิงชนิดน้ีใช้สารโบรไมไตรฟลูออโรมีเธน ซ่ึงรู้จักทั่วไปในช่ือของฟรีออน 1301 หรือ เฮลอน 1211 ในรูปของแก๊สเหลวเป็นตัวดับเพลิง และใช้ดับเพลิง ประเภท ข และ ค ที่ให้ความปลอดภัยและมีประสิทธภิ าพดเี ปน็ พเิ ศษ แต่ควรหลีกเลี่ยงการหายใจ เอา ไอระเหยของแก๊สดับเพลิงชนิดนี้เข้าไป เน่ืองจากแก๊สน้ีเป็นพิษ รถซึ่งใช้เคร่ืองดับเพลิงชนิดน้ีคือรถตระกูล รถถังเบา 21 (สกอร์เปี้ยน) ทุกแบบ รถถงั 30 (T96-2) และ รถสายพานกู้ซอ่ ม T 653 รวมทั้งเคร่ืองดบั เพลิง ชนดิ มอื ถอื ขนาด 2 3/4 ปอนด์ ทใ่ี ชอ้ ยกู่ ับรถตา่ ง ๆ 4.5 ชนิด ผงเคมีแห้ง (DRY CHEMICAL) เครื่องดบั เพลิงชนิดน้ใี ช้สารเคมีบางชนิดเชน่ โซเดยี มไบ คารบ์ อเนต หรือโปแตสเซ่ียมไบคาร์บอเนต เปน็ ตัวดบั เพลิง โดยใช้แก๊สไนโตรเจน เป็นตวั ขับดันผงเคมีออก จากเครือ่ งดบั เพลิง รถซึ่งใช้เครือ่ งดบั เพลิงชนิดน้คี ือรถเกราะ วี-150 ทุกแบบ และรถถงั เบา 32 \"สตงิ เรย\"์ 4.6 ชนิด คาร์บอนเทตระคลอไรด์ (CCL3) ปัจจบุ ันเลกิ ใช้ เครือ่ งดับเพลิงชนิดน้ใี ช้สารคารบ์ อนเท ตระคลอไรด์ ซ่ึงเป็นของเหลวระเหยเร็วเป็นตัวดับเพลิง ปกตินิยมบรรจุสารดับเพลิงน้ีไว้ในขวดแก้ว และใช้ ดับเพลิงด้วยการขว้างเข้าไปในเพลิงให้ขวดแตก เม่ือสารดับเพลิงได้รับความร้อนก็จะระเหยอย่างรวดเร็ว ครอบคลมุ เพลิงไว้ ปอ้ งกันมิให้ออกซิเจนในอากาศเขา้ ไปทำปฏิกิรยิ ากบั เชื้อเพลิง เม่ือขาดออกซิเจนเพลิงกจ็ ะ ดับ 4.7 ชนิด คาร์บอนไดอ๊อกไซด์ (CO2) เคร่ืองดับเพลิงชนิดน้ีใช้แก๊สคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ ซึ่งมี คุณสมบัติไม่ช่วยให้ติดไฟ และหนักกว่าอากาศเป็นตัวดับเพลิง โดยปกติจะบรรจุแก๊สคาร์บอนได อ๊อกไซดท์ ่ถี กู อัดตัวจนเป็นแกส๊ เหลวไวใ้ นเคร่ืองดบั เพลงิ ซึง่ เปน็ ท่อโลหะรูปทรงกระบอก เคร่ืองดับ-เพลิงชนิด คาร์บอนไดอ๊อกไซด์ ท่ีใชก้ ับยานยนต์ทหาร มอี ยู่ 2 ขนาด คือ - เครือ่ งดบั เพลิงประจำท่ี บรรจนุ ำ้ ยาดับเพลงิ 10 ปอนด์ - เครือ่ งดับเพลงิ เคลือ่ นย้ายได้ บรรจุนำ้ ยาดบั เพลงิ 5 ปอนด์ หมายเหตุ ก่อนใช้เคร่ืองดับเพลิง ซึ่งเกิดลุกไหม้ขึ้นในห้องเครื่องยนต์ จะต้องดับเครื่องยนต์เสียก่อน และ ตอ้ งปดิ สวติ ซแ์ บตเตอร่ีประจำรถ ด้วย
Search