Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง เล่ม ๑

วิชาผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง เล่ม ๑

Published by qacavalry, 2021-10-18 08:44:24

Description: วิชาผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง เล่ม ๑
รหัสวิชา ๐๑๐๒๒๙๐๗๐๑
หลักสูตร ผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง
แผนกวิชาอาวุธ กศ.รร.ม.ศม.

Search

Read the Text Version

- 92 - ๓๖.๓.๒.๘ ในกรณที หี่ นว่ ยจา่ ยส่งสิ่งอุปกรณ์ ใหห้ นว่ ยเบกิ ผ่านสำนักงาน ขนสง่ ให้ปฏบิ ัตติ ามระเบียบกองทัพบกว่าด้วยการส่งและรับส่งิ อปุ กรณ์ พ.ศ.๒๕๐๐ และระเบียบกองทัพบกวา่ ด้วยการทำหีบห่อ และทำเครื่องหมายเพ่ือการขนส่งสงิ่ อปุ กรณ์ พ.ศ.๒๔๙๙ ๓๖.๔ การจา่ ยสิ่งอปุ กรณ์โดยอตั โนมัติ ได้แก่ การจา่ ยสง่ิ อปุ กรณ์ใหห้ นว่ ยรบั การสนับสนุน โดยหนว่ ยทรี่ ับการสนับสนนุ นัน้ ไม่ต้องทำใบเบิก ๓๖.๔.๑ ขอ้ พิจารณาในการจ่ายอตั โนมตั ิ ๓๖.๔.๑.๑ เมือ่ มคี ำส่งั ของผ้มู ีอำนาจสงั่ จา่ ย ๓๖.๔.๑.๒ เมื่อหน่วยจ่ายพิจารณาเหน็ สมควร ๓๖.๔.๒ วิธดี ำเนนิ การจา่ ยอัตโนมตั ิ ๓๖.๔.๒.๑ หนว่ ยจา่ ยทำใบเบิก ๑ ชดุ โดยใช้แบบพมิ พ์ ทบ.๔๐๐-๐๐๗ หรอื ทบ.๔๐๐-๐๐๗-๑ แล้วแต่กรณี ๓๖.๔.๒.๒ ลงทะเบยี นเอกสารแลว้ บันทกึ คำว่า \"อตั โนมตั ิ\" ไวด้ า้ นบนของใบ เบิกด้วยอกั ษรสแี ดง ๓๖.๔.๒.๓ บนั ทึกการจ่าย ๓๖.๔.๒.๔ ผูต้ รวจสอบลงนามแล้วเสนอผู้มอี ำนาจส่งั จา่ ยลงนามอนุมตั ิ ๓๖.๔.๒.๕ เก็บใบเบิกฉบับที่ ๓ ไว้ในแฟม้ รอเร่ือง สว่ นท่ีเหลือส่งไปให้หน่วย รบั การสนบั สนนุ พร้อมกบั สิ่งอปุ กรณ์ ๓๖.๔.๒.๖ หน่วยรับการสนับสนนุ ลงท่ใี บเบิกลงนามผ้เู บิกและผู้รับสง่ิ อปุ กรณ์ในใบเบิก ฉบบั ท่ี ๑,๒,๔ หรอื ๕ แลว้ แต่กรณี สง่ ใบเบกิ ฉบบั ท่ี ๑ คนื หน่วยจา่ ย ภายใน ๗ วัน นับจาก วันท่ไี ด้รบั ส่ิงอุปกรณ์ ส่วนใบเบกิ ท่ีเหลอื ให้ดำเนนิ การเช่นเดยี วกับการเบกิ ตามปกติ ๓๖.๔.๒.๗ หากหน่วยรับการสนับสนุนส่งใบเบิกฉบับที่ ๑ คืนหน่วยจ่ายช้า เกินกว่ากำหนด ให้หน่วยจ่ายแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาช้ันเหนือของหน่วยรับการสนับสนุนนั้นทราบ เพื่อพิจารณา สอบสวนหาสาเหตแุ หง่ ความล่าชา้ ตอ่ ไป ๓๖.๕ การปลดเปลอ้ื งค้างจ่าย ๓๖.๕.๑ การปลดเปลอ้ื งค้างจ่าย ไดแ้ ก่ การจา่ ยสง่ิ อปุ กรณ์ทีค่ ้างจ่ายให้กับหนว่ ยเบิก โดยอัตโนมัติ ๓๖.๕.๒ วธิ ีดำเนินการปลดเปล้อื งคา้ งจา่ ย ๓๖.๕.๒.๑ หนว่ ยจา่ ยทำใบเบิก ๑ ชุด ใช้แบบพิมพ์ ทบ.๔๐๐-๐๐๗ หรอื ทบ.๔๐๐-๐๐๗-๑ แลว้ แตก่ รณี โดยใช้ท่ีใบเบิกเดิม

- 93 - ๓๖.๕.๒.๒ บนั ทึกทะเบียนเอกสารในใบเบิก โดยใชเ้ ลขทะเบียนเดมิ แล้ว เพิ่มจำนวนครง้ั ทปี่ ลดเปล้ืองท้ายทะเบยี นนั้น กบั บันทกึ คำว่า \"ปลดเปล้อื งคา้ งจา่ ย\" ไว้ดา้ นบนของใบเบกิ ดว้ ย อกั ษรสแี ดง ๓๖.๕.๒.๓ บันทกึ การจา่ ย ๓๖.๕.๒.๔ ตรวจสอบลงนามแล้วเสนอผมู้ อี ำนาจสง่ั จ่าย ลงนามอนุมตั ิ ๓๖.๕.๒.๕ เกบ็ ใบเบกิ ฉบบั ท่ี ๓ ไว้ในแฟม้ รอเร่ือง สว่ นที่เหลอื ส่งไปใหห้ นว่ ย รับการสนบั สนนุ พรอ้ มกับสง่ิ อปุ กรณ์ ๓๖.๕.๒.๖ หน่วยรับการสนับสนุนลงนามผู้เบิก และผู้รับส่ิงอุปกรณ์ในใบ เบิกฉบับที่ ๑,๒,๔ หรือ ๕ แล้วแต่กรณี ส่งใบเบิกฉบับที่ ๑ คืนหน่วยจ่าย ภายใน ๗ วัน นับจากวันท่ีได้รับส่ิง อปุ กรณ์ สว่ นใบเบิกทเี่ หลอื ให้ดำเนนิ การเช่นเดยี วกบั การเบิกตามปกติ ๓๖.๕.๒.๗ หากหน่วยรับการสนับสนุนส่งใบเบิกฉบับที่ ๑ คืนหน่วยจ่าย ล่าช้าเกินกว่ากำหนด ให้หน่วยจ่ายแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาช้ันเหนือของหน่วยรับการสนับสนุนน้ันทราบ เพื่อ พิจารณาสอบสวนหาสาเหตุแหง่ ความล่าช้าต่อไป ๓๖.๖ อำนาจสง่ั จา่ ยในใบเบิก ๓๖.๖.๑ การเบิก ๓๖.๖.๑.๑ ส่ิงอุปกรณ์สำคัญและส่ิงอุปกรณ์หลัก เมื่อผู้บัญชาการ ทหารบก อนุมัติหลักการแจกจ่ายแล้ว ผู้อำนวยการกองหรือหัวหน้ากอง ตามที่เจ้ากรมฝ่ายยุทธบริการ และ/ หรือเจ้ากรมฝ่ายกิจการพิเศษ กำหนด ผู้บัญชาการกองบัญชาการช่วยรบ ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกหรือผู้ บังคับการจงั หวัดทหารบก เปน็ ผสู้ ัง่ จ่าย ๓๖.๖.๑.๒ สิ่งอุปกรณ์รองและช้ินส่วนซ่อม ผู้อำนวยการกองหรือ หัวหน้ากองตามท่ีเจ้ากรมฝ่ายยุทธบริการ และ/หรือ เจ้ากรมฝ่ายกิจการพิเศษ กำหนด ผู้บัญชาการ กองบัญชาการช่วยรบ ผู้บัญชาการมณฑลทหารบก ผู้บังคับการจังหวัดทหารบก หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้ สง่ั จา่ ย ๓๖.๖.๒ การยืม ๓๖.๖.๒.๑ ส่ิงอุปกรณ์สำคัญ เมื่อผู้บัญชาการทหารบกอนุมัติ หลักการยืมแล้วผู้อำนวยการกองหรือหัวหน้ากอง ตามท่ีเจ้ากรมฝ่ายยุทธบริการ และ/หรือเจ้ากรมฝ่ายกิจการ พิเศษกำหนด ผู้บัญชาการกองบัญชาการช่วยรบ ผบู้ ัญชาการมณฑลทหารบก หรือผูบ้ ังคบั การจังหวัดทหารบก เปน็ ผู้สงั่ จ่าย ๓๖.๖.๒.๒ สิ่งอุปกรณ์อ่ืน ๆ เมือ่ ไดร้ ับหลักการจากผ้มู ีอำนาจใหย้ ืม แล้วผู้อำนวยการกอง หรือหัวหน้ากอง ตามที่เจ้ากรมฝ่ายยุทธบริการ และ/หรือเจ้ากรมฝ่ายกิจการพิเศษ กำหนด ผู้บัญชาการกองบัญชาการช่วยรบ ผู้บัญชาการมณฑลทหารบก ผู้บังคับการจังหวัดทหารบก หรือผู้ท่ี ได้รบั มอบหมายเปน็ ผสู้ ัง่ จา่ ย

- 94 - ตอนที่ ๖ การจำหน่าย ข้อ ๓๗ การจำหน่าย หมายถึง การตัดยอดส่ิงอุปกรณ์ออกจากความรับผิดชอบของกองทัพบก เนื่องจากสูญไป สิ้นเปลืองไป (ส่ิงอุปกรณ์สิ้นเปลือง) ชำรุดเสียหายจนไม่สามารถซ่อมคืนสภาพได้อย่างคุ้มค่า เส่ือมสภาพจนใช้การไม่ได้ หรือสญู หาย ตาย เกนิ ความต้องการ หรือเป็นของล้าสมยั ไมใ่ ช้ราชการต่อไป ข้อ ๓๘ การดำเนินการ ให้ปฏิบัติตามระเบียบกองทัพบกว่าด้วยการจำหน่ายส่ิงอุปกรณ์ พ.ศ.๒๕๒๔ ลง ๓๐ ก.ย.๒๔ ตอนที่ ๗ การควบคุม ข้อ ๓๙ ประเภทการควบคุม แบ่งเป็นสองประเภท คือ การควบคุมทางการส่งกำลัง และการควบคุม ทางบัญชี ๓๙.๑ การควบคุมทางการส่งกำลัง หน่วยในสายการส่งกำลังระดับต่ำกว่า ต้องอยู่ในความ ควบคุมของหน่วยระดับเหนือกว่าในสายการส่งกำลังเดยี วกัน โดยถือว่ามูลฐาน ภารกิจ และความรบั ผิดชอบใน การควบคุม ดงั ต่อไปนี้ ๓๙.๑.๑ มลู ฐานการควบคุมทางการส่งกำลัง มดี ังนี้ ๓๙.๑.๑.๑ นโยบายการสง่ กำลังของหนว่ ยเหนอื ๓๙.๑.๑.๒ หลกั ฐานการควบคุมส่ิงอปุ กรณ์ ๓๙.๑.๑.๓ การพยากรณค์ วามต้องการสง่ิ อุปกรณ์ในอนาคต ตามหว้ ง ระยะเวลาที่กำหนด ๓๙.๑.๑.๔ ปัจจัยท้ังมวลทอี่ าจเปน็ อปุ สรรค และขดั ต่อสถานภาพทางการ สง่ กำลัง ๓๙.๑.๒ ภารกจิ การควบคมุ ทางการสง่ กำลัง มีดังน้ี ๓๙.๑.๒.๑ สำรวจการทำบัญชีรายการสงิ่ อุปกรณ์ ๓๙.๑.๒.๒ คำนวณความตอ้ งการ ๓๙.๑.๒.๓ อำนวยการจดั หา ๓๙.๑.๒.๔ จดั งานการแจกจา่ ย ๓๙.๑.๒.๕ อำนวยการซอ่ มสร้าง ๓๙.๑.๒.๖ อำนวยการจำหน่าย ๓๙.๑.๓ ความรบั ผิดชอบในการควบคุมทางการสง่ กำลัง ๓๙.๑.๓.๑ กองทพั บกกำหนดระดบั ส่งกำลัง

- 95 - ๓๙.๑.๓.๒ หนว่ ยสนบั สนนุ ทางการสง่ กำลงั ๓๙.๑.๓.๒.๑ คำนวณปรมิ าณส่งิ อปุ กรณ์ตามวันส่งกำลงั ท่ี กองทพั บกกำหนด ๓๙.๑.๓.๒.๒ รักษาระดับสง่ กำลงั ๓๙.๑.๓.๒.๓ รวบรวมข้อมลู ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อ สถานภาพการสง่ กำลงั แล้วเสนอขออนุมตั ิเปล่ียนแปลงระดับส่งกำลัง ๓๙.๒ การควบคุมทางบัญชี ผู้บังคับหน่วยสนับสนุนทางการส่งกำลัง และหน่วยใช้จะต้อง รับผิดชอบดำเนินการควบคุมทางบัญชีต่อส่ิงอุปกรณ์ ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยเหมาะสมเพ่ือให้ทราบ สถานภาพสิ่งอปุ กรณไ์ ด้ตลอดเวลา โดยถือมูลฐาน ภารกจิ และความรบั ผดิ ชอบในการควบคมุ ดงั ต่อไปนี้ ๓๙.๒.๑ มลู ฐานการควบคุมทางบญั ชี มดี ังนี้ ๓๙.๒.๑.๑ บัตรบญั ชีคมุ สิ่งอปุ กรณแ์ ละข้อมูลต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั บัตร บญั ชีคมุ รวมท้ังประวัติสงิ่ อปุ กรณ์ ๓๙.๒.๑.๒ สถานภาพสิง่ อปุ กรณ์ ๓๙.๒.๑.๓ ประสบการณ์ในการรบั -จา่ ยสิ่งอปุ กรณ์ ๓๙.๒.๒ ภารกจิ การควบคุมทางบัญชี มดี งั นี้ ๓๙.๒.๒.๑ บันทกึ รายงาน และจัดทำข้อมูลเกีย่ วกับจำนวนสภาพ และ สถานภาพสิง่ อุปกรณ์ ๓๙.๒.๒.๒ จดั ทำแผนการแจกจา่ ยหรอื เอกสารการแจกจ่ายส่ิงอปุ กรณ์ แลว้ แต่กรณี ๓๙.๒.๒.๓ พิจารณาจำนวนส่งิ อปุ กรณใ์ หห้ น่วยสนบั สนุนตามความจำเปน็ ใหน้ ้อยทีส่ ดุ ๓๙.๒.๓ ความรับผดิ ชอบการควบคุมทางบัญชี ๓๙.๒.๓.๑ หน่วยสนบั สนนุ ทางการส่งกำลัง ๓๙.๒.๓.๑.๑ ดำเนินการรวบรวมหลกั ฐาน จัดทำสถิติและข้อมลู สำหรบั สิง่ อุปกรณ์แต่ละรายการ ๓๙.๒.๓.๑.๒ จัดทำบัญชคี มุ ส่งิ อปุ กรณโ์ ดยใช้แบบพิมพ์ ทบ.๔๐๐- ๐๐๓ และแบบพิมพ์ ทบ.๔๐๐-๐๐๓-๒ ๓๙.๒.๓.๑.๓ จัดทำบญั ชีคุมสง่ิ อุปกรณถ์ าวรท่ีอยูใ่ นความ ครอบครองของหน่วยใช้ โดยใชแ้ บบพมิ พ์ ทบ.๔๐๐-๐๐๓-๓ และ ทบ.๔๐๐-๐๐๓-๔ ๓๙.๒.๓.๒ หนว่ ยใช้

- 96 - ๓๙.๒.๓.๒.๑ ดำเนนิ การรวบรวมหลักฐานจัดทำสถิติ และขอ้ มลู สำหรบั สิง่ อปุ กรณ์แต่ละรายการ ๓๙.๒.๓.๒.๒ จัดทำบญั ชคี มุ ส่ิงอปุ กรณถ์ าวรโดยใช้แบบพมิ พ์ ทบ. ๔๐๐-๐๐๕ สำหรบั บญั ชีคุมชน้ิ ส่วนซอ่ มและสิง่ อุปกรณ์ใชส้ ้ินเปลืองน้ัน ให้ใชแ้ บบพิมพ์ ทบ.๔๐๐-๐๖๘ ข้อ ๔๐ ความรบั ผดิ ชอบ ผู้บังคับบญั ชาทกุ ระดบั ชั้น ต้องรับผดิ ชอบในการควบคุมสิ่งอปุ กรณใ์ หเ้ ป็นไป โดยเรียบร้อยเหมาะสม ถูกต้องตามความมงุ่ หมายของทางราชการ ตอนท่ี ๘ การสำรวจ ข้อ ๔๑ การสำรวจ ไดแ้ ก่ การสำรวจสง่ิ อปุ กรณ์และการสำรวจทเ่ี กบ็ ๔๑.๑ การสำรวจสงิ่ อุปกรณ์ ไดแ้ ก่ การนับจำนวนและการตรวจสภาพสงิ่ อปุ กรณ์ในที่ เกบ็ ให้ตรงกับหลกั ฐานบัญชีคุม ๔๑.๒ การสำรวจท่ีเกบ็ ไดแ้ ก่ การตรวจสอบทีเ่ ก็บส่งิ อุปกรณใ์ ห้ตรงกบั บัตรบัญชคี มุ สิง่ อปุ กรณ์ หรือบตั รแสดงท่ีเกบ็ ข้อ ๔๒ ประเภทการสำรวจสิ่งอุปกรณ์ ๔๒.๑ การสำรวจเบด็ เสร็จ ได้แก่ การสำรวจส่ิงอุปกรณ์ในครอบครองท้ังหมด โดยปดิ การเบิกจ่ายทัง้ สิ้น เว้นกรณเี ร่งด่วน การสำรวจประเภทนี้กระทำเม่ือมเี ครอ่ื งมือสำรวจสมบรู ณ์ ซง่ึ จะทำให้การ สำรวจนน้ั เสร็จสิน้ โดยเรว็ ๔๒.๒ การสำรวจหมุนเวยี น ได้แก่ การสำรวจส่งิ อปุ กรณ์ทไี่ ดแ้ บง่ ออกเป็นจำพวกหรือชนดิ หรอื รายการ เพื่อทำการสำรวจหมุนเวียนกันไปตามหว้ งระยะเวลาทกี่ ำหนดปิดการเบิกจา่ ยเฉพาะรายการท่ี สำรวจนนั้ เว้นกรณเี รง่ ดว่ น ๔๒.๓ การสำรวจพเิ ศษ ไดแ้ ก่ การสำรวจส่ิงอุปกรณเ์ ป็นครั้งคราวตามความจำเปน็ โดย ปดิ การเบกิ จ่ายเฉพาะรายการทส่ี ำรวจนนั้ เวน้ กรณเี ร่งด่วน การสำรวจประเภทนีจ้ ะสำรวจสงิ่ อุปกรณ์จำพวกใด ชนิดใด หรอื รายการใดนน้ั ขึ้นอยกู่ ับกรณีดังต่อไปน้ี ๔๒.๓.๑ เม่ืออันตรายเกดิ ข้นึ กบั สง่ิ อปุ กรณ์ ๔๒.๓.๒ เมอ่ื หน่วยบญั ชคี มุ ต้องการทราบจำนวน ๔๒.๓.๓ เมอื่ ยอดคงคลงั ในบัตรบญั ชคี ุมเปน็ ศูนย์ ๔๒.๓.๔ เมอ่ื มีการยบั ย้ังการจ่าย ๔๒.๓.๕ เมอื่ พบสง่ิ อปุ กรณต์ กหล่น ๔๒.๓.๖ เมื่อมีการรับสง่ หนา้ ที่ ๔๒.๓.๗ เมอ่ื ส่ิงอุปกรณ์ในทเี่ กบ็ เป็นศูนย์

- 97 - ข้อ ๔๓ การดำเนินการสำรวจส่ิงอุปกรณ์ ๔๓.๑ การสำรวจเบด็ เสรจ็ ๔๓.๑.๑ ประกาศระงับการเบิก-จ่าย ให้หนว่ ยรับการสนับสนนุ และหน่วยที่ เกย่ี วข้องทราบล่วงหนา้ ๔๓.๑.๒ ให้ทำการจา่ ยสิง่ อปุ กรณใ์ หเ้ สร็จสน้ิ ก่อนวนั เรม่ิ สำรวจ ๔๓.๑.๓ วิธีปฏิบตั ใิ นการสำรวจ ๔๓.๑.๓.๑ เจ้าหนา้ ทบ่ี ัญชคี มุ กรอกหมายเลข ชือ่ และทเ่ี ก็บสง่ิ อุปกรณ์ โดยใชแ้ บบพิมพ์ ทบ.๔๐๐-๐๑๑ และบันทกึ คำว่า \"สำรวจ วัน เดือน ปี\"ที่ทำการสำรวจ ลงในบัตรบัญชี คุม ขดี เสน้ ใตด้ ว้ ยหมึกสแี ดง เสรจ็ แลว้ ส่งแบบพมิ พ์ ทบ.๔๐๐-๐๑๑ ให้คณะกรรมการหรือชุดสำรวจ ๔๓.๑.๓.๒ คณะกรรมการหรือชดุ สำรวจ ทำการสำรวจส่ิงอุปกรณ์ ตามแบบ พิมพ์ ทบ.๔๐๐-๐๑๑ เสรจ็ แล้วสง่ แบบพมิ พ์ดงั กลา่ วคนื เจ้าหนา้ ท่บี ัญชีคมุ ๔๓.๑.๓.๓ เจา้ หนา้ ที่บญั ชคี มุ บันทึกผลการสำรวจลงในใบรายงานผลการ เปรียบเทียบการตรวจสอบยอดสิ่งอปุ กรณ์ โดยใช้แบบพมิ พ์ ทบ.๔๐๐-๐๑๒ ๔๓.๑.๓.๔ เจ้าหน้าที่บัญชีคุม เสนอใบรายงานผลเปรยี บเทียบการ ตรวจสอบยอดสิ่งอุปกรณ์ต่อผู้มอี ำนาจสัง่ ปรับยอดในบัตรบัญชีคมุ ตามข้อ ๔๘ ๔๓.๑.๓.๕ เจ้าหน้าที่บัญชคี ุม ทำการปรับยอดในบตั รบัญชีคุม เมื่อไดร้ ับ อนมุ ตั ิ ๔๓.๒ การสำรวจหมนุ เวยี น ๔๓.๒.๑ เจ้าหนา้ ที่บญั ชีคุม ทำตารางการสำรวจ เพื่อใหม้ ีการสำรวจอยา่ งตอ่ เน่ืองใน รอบปี ๔๓.๒.๒ ทำการจา่ ยสิ่งอปุ กรณ์เฉพาะรายการทท่ี ำการสำรวจให้เสร็จสนิ้ กอ่ นวันเริม่ สำรวจ ๔๓.๒.๓ ระงับการเบกิ จ่าย เฉพาะรายการท่ีทำการสำรวจโดยไมต่ ้องแจง้ ให้หนว่ ยรบั การสนบั สนุนทราบ ๔๓.๒.๔ วธิ ีปฏิบตั ใิ นการสำรวจ ดำเนินการเชน่ เดยี วกับการสำรวจเบด็ เสรจ็ ตามที่กล่าวในขอ้ ๔๓.๑.๓ ๔๓.๓ การสำรวจพเิ ศษ ๔๓.๓.๑ เมอ่ื มีเหตุที่จะต้องทำการสำรวจพเิ ศษ อนั เน่ืองมาจากกรณีใดกรณีหน่งึ ตามทกี่ ล่าวในข้อ ๔๒.๓ ใหผ้ รู้ บั ผดิ ชอบโดยตรงรายงานขออนุมัติทำการสำรวจต่อผู้มีอำนาจส่ังสำรวจ ๔๓.๓.๒ ใหท้ ำการจ่ายสงิ่ อุปกรณ์เฉพาะรายการที่ทำการสำรวจ ใหเ้ สร็จส้ินก่อนวนั เรมิ่ สำรวจ

- 98 - ๔๓.๓.๓ ระงบั การเบกิ จ่าย เฉพาะรายการท่ีทำการสำรวจ โดยไมต่ ้องแจ้งใหห้ นว่ ย รบั การสนบั สนนุ ทราบ ๔๓.๓.๔ วธิ ปี ฏบิ ตั ใิ นการสำรวจ ดำเนินการเชน่ เดยี วกับการสำรวจเบด็ เสรจ็ ตามท่ี กลา่ วในข้อ ๔๓.๑.๓ ขอ้ ๔๔ ผู้มอี ำนาจในการส่ังสำรวจส่งิ อปุ กรณ์ ๔๔.๑ คลงั กรมฝ่ายยุทธบรกิ าร หรือฝา่ ยกจิ การพเิ ศษ ไดแ้ ก่ เจ้ากรมฝ่ายยทุ ธบรกิ าร หรอื ฝา่ ย กจิ การพิเศษ ๔๔.๒ คลงั กองบัญชาการช่วยรบ ไดแ้ ก่ ผบู้ ญั ชาการกองบญั ชาการช่วยรบ ๔๔.๓ คลงั มณฑลทหารบก ไดแ้ ก่ ผูบ้ ญั ชาการมณฑลทหารบก ๔๔.๔ คลังจังหวัดทหารบก หน่วยสนับสนุนโดยตรง หรือหน่วยใช้ ได้แก่ผู้บังคับบัญชาช้ันผู้ บัญชาการกองพล หรือเทียบเท่าผมู้ ีอำนาจในการสงั่ สำรวจส่ิงอุปกรณ์ตามทกี่ ลา่ วแล้วข้างต้น จะมอบอำนาจให้ ผใู้ ต้บังคับบัญชาเปน็ ผ้สู งั่ สำรวจสง่ิ อุปกรณแ์ ทนก็ได้ ข้อ ๔๕ การตั้งกรรมการหรือชุดสำรวจส่ิงอุปกรณ์ ให้ผู้มีอำนาจในการสั่งสำรวจสิ่งอุปกรณ์ ตามข้อ ๔๔ ตั้งคณะกรรมการหรือชุดสำรวจสิ่งอุปกรณ์ อย่างน้อย ๓ นาย (ประธานกรรมการ หรอื หัวหนา้ ชุดต้องเป็น นายทหารสัญญาบัตร) เพอ่ื ทำการสำรวจสง่ิ อปุ กรณต์ ามทีก่ ล่าวแล้ว ในข้อ ๔๓ ขอ้ ๔๖ วิธสี ำรวจส่ิงอุปกรณ์ ให้คณะกรรมการหรือชุดสำรวจสิ่งอุปกรณ์ ใช้แบบพิมพ์ ทบ.๔๐๐-๐๑๑ ซึ่งมีอยู่ ๓ สว่ น ดำเนินการสำรวจตามลำดับดังต่อไปนี้ ๔๖.๑ คนที่ ๑ สำรวจสิง่ อปุ กรณ์ แล้วบันทกึ ผลลงในใบสำรวจส่ิงอปุ กรณ์สว่ นท่ี ๑ ๔๖.๒ คนท่ี ๒ สำรวจส่งิ อปุ กรณ์รายการเดียวกับคนท่ี ๑ แล้วบันทกึ ผลลงในใบสำรวจส่งิ อุปกรณ์ส่วนท่ี ๒ ๔๖.๓ คนท่ี ๓ (ประธานกรรมการหรือหัวหน้าชุด) ตรวจสอบผลการสำรวจของคนที่ ๑ และ ๒ ถ้าตรงกัน ให้บันทึกผลในใบสำรวจส่ิงอุปกรณ์ส่วนท่ี ๓ ถ้าผลของการสำรวจของคนที่ ๑ และ ๒ ไม่ตรงกัน ให้คนที่ ๓ ทำการสำรวจใหม่ ผลการสำรวจของคนท่ี ๓ ตรงกับคนใดคนหนึ่งให้เอาผลนั้นบันทกึ ลงในใบสำรวจ ส่ิงอุปกรณส์ ่วนท่ี ๓ ถา้ ผลการสำรวจของคนที่ ๓ ไม่ตรงกับคนใดคนหนงึ่ เลย ให้สำรวจใหมพ่ ร้อมกันท้งั สามคน ขอ้ ๔๗ การรายงานการสำรวจสง่ิ อปุ กรณ์ ๔๗.๑ เมอ่ื เจ้าหน้าทบ่ี ญั ชคี มุ ไดร้ บั ใบสำรวจสิง่ อปุ กรณจ์ ากคณะกรรมการหรอื ชุดสำรวจแลว้ ทำการเปรียบเทยี บการตรวจสอบยอดส่ิงอุปกรณ์ โดยใช้แบบพมิ พ์ ทบ.๔๐๐-๐๑๒ ๔๗.๒ ถา้ ผลการตรวจนับสงิ่ อปุ กรณค์ ลาดเคลื่อนจากยอดในบตั รบญั ชีคมุ ก่อนเสนอ รายงาน ใหป้ ฏิบัติดังนี้ ๔๗.๒.๑ ตรวจสอบเอกสารการรับส่งิ อุปกรณ์ และหลักฐานการนำส่งิ อปุ กรณ์ เข้าท่ีเก็บ

- 99 - ๔๗.๒.๒ ตรวจสอบเอกสารการจ่ายสง่ิ อุปกรณ์ และหลักฐานการนำส่งิ อปุ กรณ์ออก จากทเ่ี กบ็ ๔๗.๒.๓ สำรวจทเ่ี กบ็ สงิ่ อปุ กรณ์ ๔๗.๓ เสนอรายงานผลการเปรียบเทียบการตรวจสอบสิ่งอุปกรณ์ต่อผู้มีอำนาจในการสั่ง สำรวจ และบนั ทึกจำนวนสง่ิ อปุ กรณ์ตามที่ไดร้ บั อนุมัติ ให้ปรับยอดแลว้ ดว้ ยหมึกสแี ดงในบัตรบัญชคี ุม ขอ้ ๔๘ การปรับยอดในบตั รบญั ชคี ุม ๔๘.๑ ถ้าจำนวนสง่ิ อุปกรณ์ขาดจากยอดในบัตรบัญชีคุม ใหป้ ฏบิ ัตติ ามระเบียบกองทพั บกว่า ด้วยการจำหน่ายส่งิ อปุ กรณ์ พ.ศ.๒๕๒๔ ลง ๓๐ ก.ย.๒๔ ๔๘.๒ ถ้าจำนวนส่ิงอุปกรณ์เกินกว่ายอดในบัญชีคุม ให้ผู้มีอำนาจในการส่ังสำรวจสิ่งอุปกรณ์ ส่งั แกไ้ ขในบตั รบญั ชคี มุ ได้ แลว้ แจง้ ให้สายยทุ ธบริการท่รี ับผิดชอบในสงิ่ อปุ กรณ์นน้ั ทราบด้วย ข้อ ๔๙ การสำรวจทเ่ี กบ็ สง่ิ อุปกรณ์ ๔๙.๑ ความมุ่งหมายในการสำรวจท่เี ก็บส่ิงอุปกรณ์ ๔๙.๑.๑ เพื่อให้สิง่ อุปกรณ์อยู่ในท่เี กบ็ ตรงกับบัตรแสดงท่เี ก็บ ๔๙.๑.๒ เพื่อให้สิง่ อุปกรณช์ นิดเดยี วกันเกบ็ ในท่ีแหง่ เดียวกัน ๔๙.๑.๓ เพื่อให้สง่ิ อปุ กรณ์อยู่ในทเ่ี ก็บตรงกับลักษณะและคุณสมบัติ ๔๙.๑.๔ เพอ่ื ให้ทราบท่เี ก็บท่ีว่าง ๔๙.๒ การดำเนนิ การสำรวจทเี่ ก็บ ๔๙.๒.๑ ผบู้ ังคับหนว่ ยเก็บรักษาทำตารางการสำรวจที่เก็บสิง่ อปุ กรณ์ เพ่ือใหม้ ีการ สำรวจอยา่ งตอ่ เนื่องในรอบปี ๔๙.๒.๒ เจ้าหน้าทบ่ี ัตรแสดงทีเ่ กบ็ บันทึกรายละเอียดสิ่งอุปกรณใ์ นที่เกบ็ เดิมลงในใบ สำรวจท่ีเก็บ โดยใชแ้ บบพิมพ์ ทบ.๔๐๐-๐๑๑-๑ ตามตารางการสำรวจท่ีเกบ็ สงิ่ อปุ กรณ์ท่ีกำหนดไว้ ๔๙.๒.๓ ผสู้ ำรวจทำการสำรวจท่ีเก็บ ถา้ มีการเปลีย่ นแปลงแกไ้ ข ให้บันทึกในใบ สำรวจทีเ่ กบ็ ๔๙.๒.๔ ผบู้ ังคับหน่วยเกบ็ รักษาสง่ั การแก้ไข ๔๙.๒.๕ เจา้ หน้าทบ่ี ัตรแสดงท่เี กบ็ แก้บตั รแสดงทเี่ กบ็ แลว้ สง่ ใหเ้ จา้ หน้าทบ่ี ตั ร บญั ชีคมุ ทราบดว้ ย ตอนท่ี ๙ การรายงานสถานภาพ ข้อ ๕๐ ความมงุ่ หมาย เพ่ือให้ผู้บงั คับบัญชาและหน่วยส่งกำลงั บำรงุ ช้นั เหนือทราบสถานภาพ สงิ่ อปุ กรณ์ของหนว่ ยใช้ และหนว่ ยสนบั สนุนทางการส่งกำลังตามห้วงระยะเวลา ขอ้ ๕๑ หน่วยรายงาน ๕๑.๑ หน่วยใช้ ได้แกห่ นว่ ยระดับกองพันหรือเทยี บเท่า หรือหนว่ ยอิสระท่ีกองทัพบก

- 100 - อนมุ ตั ิขน้ึ ไป ๕๑.๒ หน่วยสนบั สนุนทางการสง่ กำลัง ไดแ้ ก่หนว่ ยสนบั สนนุ โดยตรงหน่วยสนับสนุนทว่ั ไป และคลงั ขอ้ ๕๒ ห้วงระยะเวลารายงาน ๕๒.๑ หน่วยใช้ รายงานในรอบ ๓ เดอื น ปิดรายงานในส้ิน มนี าคม มิถุนายน กันยายน และ ธนั วาคม ๕๒.๒ หน่วยสนับสนุนทางการสง่ กำลัง รายงานในรอบ ๖ เดอื น ปดิ รายงานในสิ้น มนี าคม และ กนั ยายน ขอ้ ๕๓ ส่ิงอปุ กรณท์ ต่ี ้องรายงาน ๕๓.๑ หนว่ ยใช้ ใหร้ ายงานสถานภาพสง่ิ อุปกรณต์ าม อจย.ทุกรายการสว่ นส่ิงอปุ กรณ์ตาม อสอ.นน้ั ใหร้ ายงานเฉพาะรายการทก่ี องทัพบกกำหนด ๕๓.๒ หนว่ ยสนบั สนุนทางการสง่ กำลัง ให้รายงานสถานภาพสง่ิ อุปกรณท์ ี่สะสมเฉพาะ รายการทกี่ องทัพบกกำหนด ขอ้ ๕๔ การดำเนนิ การรายงาน ๕๔.๑ รายงานของหนว่ ยใช้ ๕๔.๑.๑ หน่วยใชท้ ำรายงานในรอบ ๓ เดือน โดยใช้แบบพิมพ์ ทบ.๔๐๐-๐๑๖ จำนวน ๓ ชุด แยกสิง่ อุปกรณ์ตามความรับผิดชอบของสายยทุ ธบรกิ าร หน่วยรายงานเก็บไว้ ๑ ชดุ สง่ รายงาน ตามสายการบงั คบั บญั ชา ๒ ชุด สำหรบั สนิ้ มนี าคมให้รายงานสถานภาพสง่ิ อุปกรณ์ทุกรายการตามท่ีกำหนดใน ขอ้ ๕๓.๑ สว่ นสิน้ มถิ ุนายน กนั ยายน และ ธันวาคม ใหร้ ายงานเฉพาะรายการทีเ่ ปลย่ี นแปลง ถ้าไม่มีการ เปล่ยี นแปลงใหย้ ืนยันใหท้ ราบ ๕๔.๑.๒ หน่วยบงั คับบญั ชาชั้นเหนือของหน่วยรายงาน รบั ทราบสถานภาพส่ิง อปุ กรณ์แล้วส่งรายงาน จำนวน ๒ ชดุ ไปตามสายการบังคับบัญชาจนถงึ นขต.ทบ. และ นขต.ทบ. ส่งรายงาน ให้กรมฝ่ายยุทธบริการทรี่ ับผิดชอบส่ิงอปุ กรณ์ จำนวน ๒ ชุด ภายใน ๓๐ วนั นับจากวนั ปดิ รายงาน ๕๔.๑.๓ กรมฝา่ ยยทุ ธบรกิ าร ตรวจสอบสถานภาพสง่ิ อุปกรณ์แล้ว ส่งรายงานให้ กองทพั บก จำนวน ๑ ชดุ เก็บไว้ ๑ ชดุ ๕๔.๒ รายงานของหนว่ ยสนับสนุนทางการสง่ กำลงั ๕๔.๒.๑ หน่วยสนับสนุนทางการสง่ กำลงั ทำรายงานในรอบ ๖ เดอื น โดยใช้แบบ พมิ พ์ ทบ.๔๐๐-๐๑๗ จำนวน ๓ ชดุ ส่งรายงานตามสายส่งกำลัง ๒ ชุด ให้รายงานสถานภาพสิง่ อุปกรณท์ ุก รายการ ตามที่กำหนดในข้อ ๕๓.๒ ท้ังสิ้น มีนาคม และกนั ยายน ๕๔.๒.๒ หนว่ ยสนบั สนุนทางการส่งกำลังชั้นเหนือตามลำดับ รบั ทราบสถานภาพสงิ่ อปุ กรณ์ แล้วส่งรายงาน จำนวน ๒ ชุด ใหก้ รมฝ่ายยทุ ธบริการ ภายใน ๓๐ วนั นับจากวนั ปดิ รายงาน

- 101 - ๕๔.๒.๓ กรมฝ่ายยทุ ธบริการ ตรวจสอบสถานภาพสงิ่ อุปกรณ์แลว้ ส่งรายงานให้ กองทัพบก จำนวน ๑ ชดุ เกบ็ ไว้ ๑ ชุด ขอ้ ๕๕ ประเภทเอกสาร เอกสารตา่ ง ๆ ที่ใช้ในการรายงานสถานภาพสิง่ อุปกรณ์ใหถ้ อื เป็น เอกสาร \"ลบั \" ตอนท่ี ๑๐ ข้อกำหนดอนื่ ๆ ข้อ ๕๖ แบบพิมพ์ท่ใี ช้ในระเบียบน้ี การเบกิ การยมื การโอน และการส่งคนื ๕๖.๑ ทบ.๔๐๐-๐๐๖ ใบเบกิ ๕๖.๒ ทบ.๔๐๐-๐๐๗ ใบเบกิ และส่งสง่ิ อปุ กรณ์ ๕๖.๓ ทบ.๔๐๐-๐๐๗-๑ ใบเบกิ หรอื ใบส่งคืนสิง่ อปุ กรณ์ ๕๖.๔ ทบ.๔๐๐-๐๐๘ ใบแจง้ การยกเลกิ ๕๖.๕ ทบ.๔๐๐-๐๑๓ ใบสง่ คืน ๕๖.๖ ทบ.๔๐๐-๐๑๔ ใบส่งคืนและสง่ สงิ่ อปุ กรณ์ ๕๖.๗ ทบ.๔๐๐-๐๗๑ ใบติดตามใบเบิก ๕๖.๘ ทบ.๔๐๐-๐๗๓ เอกสารการแจกจ่ายสิ่งอุปกรณ์ ๕๖.๙ ทบ.๔๐๐-๐๗๔ ใบโอนส่ิงอุปกรณ์ การเกบ็ รักษา ๕๖.๑๐ ทบ.๔๐๐-๐๐๙ บัตรแสดงท่เี กบ็ ของ ๕๖.๑๑ ทบ.๔๐๐-๐๑๐ ป้ายประจำสงิ่ อปุ กรณ์ การควบคมุ ๕๖.๑๒ ทบ.๔๐๐-๐๐๒ ทะเบยี นหลกั ฐานการสง่ กำลัง ๕๖.๑๓ ทบ.๔๐๐-๐๐๓ บตั รบญั ชคี มุ ๕๖.๑๔ ทบ.๔๐๐-๐๐๓-๒ บตั รบญั ชีคมุ สิง่ อปุ กรณ์ใชก้ ารไม่ได้ ๕๖.๑๕ ทบ.๔๐๐-๐๐๓-๓ บตั รบญั ชคี มุ สิ่งอปุ กรณ์ถาวรคุมเป็นรายการ ๕๖.๑๖ ทบ.๔๐๐-๐๐๓-๔ บญั ชคี ุมสง่ิ อปุ กรณ์ถาวรคมุ เป็นหน่วย ๕๖.๑๗ ทบ.๔๐๐-๐๐๕บัญชสี ่ิงอปุ กรณ์ของหน่วย ๕๖.๑๘ ทบ.๔๐๐-๐๖๘ บัตรบญั ชคี มุ ชน้ิ ส่วนซ่อมและสง่ิ อุปกรณใ์ ช้สิ้นเปลอื ง การสำรวจ ๕๖.๑๙ ทบ.๔๐๐-๐๑๑ ใบสำรวจส่ิงอุปกรณ์ ๕๖.๒๐ ทบ.๔๐๐-๐๑๑-๑ ใบสำรวจท่เี กบ็

- 102 - ๕๖.๒๑ ทบ.๔๐๐-๐๑๒ ใบรายงานผลเปรียบเทยี บการตรวจสอบยอดสง่ิ อปุ กรณ์ การรายงานสถานภาพ ๕๖.๒๒ ทบ.๔๐๐-๐๑๖ ใบรายงานสถานภาพสง่ิ อปุ กรณข์ องหนว่ ยใช้ ๕๖.๒๓ ทบ.๔๐๐-๐๑๗ ใบรายงานสถานภาพสิ่งอุปกรณข์ องหน่วยสนับสนนุ ขอ้ ๕๗ ส่ิงอุปกรณ์ท่ีอยูใ่ นความรับผิดชอบหลายสายงาน ๕๗.๑ องค์ประกอบ สว่ นประกอบ ชนิ้ สว่ น ฯลฯ ๕๗.๑.๑ ให้สายยุทธบรกิ ารซึ่งรับผดิ ชอบตอ่ สง่ิ อุปกรณ์สำเร็จรปู ชนดิ ใด รวบรวม องคป์ ระกอบ สว่ นประกอบ ชิ้นสว่ น ฯลฯ ของสิ่งอปุ กรณส์ ำเร็จรูปน้ันแจกจ่ายขั้นต้นให้แก่หนว่ ยรบั การ สนบั สนุน ๕๗.๑.๒ ส่วนการแจกจ่ายทดแทน องคป์ ระกอบ สว่ นประกอบช้ินส่วน ฯลฯ ให้สายยทุ ธบรกิ ารทร่ี บั ผดิ ชอบเป็นผู้ดำเนินการ ๕๗.๒ สง่ิ อุปกรณ์ที่จัดเปน็ ชดุ ๕๗.๒.๑ ใหส้ ายยุทธบรกิ ารท่ีรบั ผดิ ชอบตอ่ สิง่ อุปกรณ์ทีจ่ ดั เป็นชุดรวบรวม ส่วนประกอบของชดุ แจกจา่ ยข้ันตน้ ใหแ้ ก่หน่วยท่รี บั การสนับสนุน ๕๗.๒.๒ ส่วนการแจกจา่ ยทดแทนส่วนประกอบชุด ให้สายยุทธบริการผู้รับผดิ ชอบ เปน็ ผ้ดู ำเนนิ การ ขอ้ ๕๘ อำนาจในการวางระเบียบปลีกยอ่ ย ให้กรมฝ่ายยทุ ธบริการและกรมฝ่ายกจิ การพิเศษ ออกระเบยี บปลีกย่อยไดโ้ ดยไม่ขดั หรือแยง้ กบั ระเบียบน้ี ประกาศ ณ วันท่ี ๓๐ ธันวาคม ๒๕๓๔ (ลงช่ือ) พลเอก สุจนิ ดา คราประยูร ( สุจนิ ดา คราประยูร ) ผู้บัญชาการทหารบก กรมสง่ กำลงั บำรุงทหารบก

- 103 - บทที่ 7 ระเบียบกองทพั บก ว่าดว้ ย ชิน้ สว่ นซ่อมตามอัตราพิกัด และชน้ิ ส่วนซ่อมท่ีสะสม พ.ศ. 2512 --------------------------------- โดยท่เี หน็ เป็นการสมควรท่ีจะกำหนดความรบั ผิดชอบ และระเบยี บปฏิบตั เิ กี่ยวกบั การกำหนดราย การ และจำนวนชิน้ สว่ นซ่อม การจัดทำ การแจกจา่ ย และการแก้ไขเปลี่ยนแปลงบญั ชีชน้ิ ส่วนซ่อมตาม อัตราพิกัด และบัญชชี ้ินส่วนซอ่ มท่ีสะสม จึงได้กำหนดระเบียบนีข้ ึ้นเพื่อถือเป็นหลักในการดำเนนิ การเก่ยี ว แกช่ ิน้ ส่วนซอ่ มต่อไป ขอ้ 1 ระเบียบน้เี รียกว่า “ ระเบียบกองทัพบก ” ว่าด้วยชน้ิ ส่วนซ่อมตามอตั ราพิกัด และช้ินสว่ นซ่อม ที่สะสม พ.ศ.2512 ข้อ 2 ให้ยกเลิก 2.1 ระเบียบกองทัพบก ว่าด้วยชน้ิ ส่วนซ่อมตามอตั ราพิกัด และช้นิ ส่วนซอ่ มท่ตี ้องสะสม พ.ศ.2511 2.2 บรรดาระเบยี บ คำสงั่ คำแนะนำ คำชีแ้ จง ฯลฯ ที่ขดั หรอื แยง้ กับระเบยี บนี้ ขอ้ 3 ขอบเขต 3.1 ระเบียบนใ้ี ชเ้ ป็นหลักปฏิบตั ิสำหรบั ช้นิ ส่วนซ่อมของสิ่งอุปกรณ์ทัง้ ในโครงการ และนอก โครงการ 3.2 ระเบียบนี้ ใชก้ ับหน่วยใช้ หน่วยสนับสนุน และคลงั ซ่ึงอยู่ในสายการส่งกำลังและซ่อมบำรงุ กองทัพบก ขอ้ 4 คำจำกดั ความ 4.1 ช้นิ ส่วนซ่อม หมายถงึ องค์ประกอบ และชิน้ ส่วนท่ีใชใ้ นการซอ่ มบำรงุ สง่ิ อุปกรณ์ตามท่กี ำหนด ไว้ในคู่มือสง่ กำลงั และหรือ คู่มือเทคนคิ ที่มบี ัญชชี ้นิ สว่ นซอ่ ม 4.2 บัญชีชนิ้ ส่วนซอ่ มตามอัตราพกิ ดั (บชอพ.) คือ เอกสารแสดงรายการ และ จำนวนชิ้นส่วนซอ่ ม ซง่ึ อนมุ ตั ิให้หนว่ ยใช้สะสมไว้ เพ่ือสนบั สนนุ ขดี ความสามารถในการซ่อมบำรงุ ประจำหน่วย (ขั้น 1-2) 4.3 ชิ้นสว่ นซ่อมตามอัตราพิกัด (ชอพ.) คือ ช้ินส่วนซอ่ มสำหรับสำหรบั การซ่อมบำรุงประจำ หนว่ ย ซงึ่ อนมุ ัตใิ ห้หน่วยใช้สะสมไวไ้ ด้ตามบญั ชีช้ินสว่ นซ่อมตามอตั ราพกิ ัด 4.4 ช้นิ สว่ นซอ่ มตามอัตราพิกัดร่วม คือชิ้นส่วนซอ่ มทใ่ี ช้ในการซ่อมบำรุงยุทธภัณฑ์ไดต้ งั้ แต่ 2 ชนิด ขน้ึ ไป 4.5 บญั ชีช้ินสว่ นซอ่ มทส่ี ะสม (บชสส.) คือเอกสารแสดงรายการชนิ้ ส่วนซ่อม ซ่งึ ต้องการให้ หนว่ ยสนับสนนุ โดยตรง และหนว่ ยสนบั สนนุ ท่ัวไปสะสมไว้ เพ่ือสนับสนนุ หนว่ ยใช้ และหน่วยสนบั สนนุ ใน สายงานสง่ กำลังบำรุง 4.6 หน่วยใช้ หมายถงึ หน่วยซง่ึ ไดร้ ับประโยชน์จากการใชส้ งิ่ อุปกรณ์นั้นโดยตรง

- 104 - 4.7 หน่วยสนบั สนนุ โดยตรง หมายถงึ หนว่ ยของสายงานฝา่ ยยุทธบริการซง่ึ มีภารกิจสนับสนนุ ใน ด้านการส่งกำลัง และ หรอื การซ่อมบำรงุ ต่อ 4.7.1 หนว่ ยในอัตราการจัดของหน่วยระดับกองพล 4.7.2 หนว่ ยอ่นื ๆ ภายในพื้นที่ซงึ่ ไดร้ ับมอบหมายให้สนบั สนนุ 4.8 หนว่ ยสนบั สนนุ ทวั่ ไป หมายถงึ หนว่ ยของสายงานฝา่ ยยุทธบรกิ าร ซ่งึ มภี ารกิจสนบั สนุนด้าน การส่งกำลงั และการซ่อมบำรุงตอ่ 4.8.1 หนว่ ยสนับสนุนโดยตรง 4.8.2 หน่วยอืน่ ๆ ภายในพ้ืนที่ซึง่ ได้รบั มอบหมายใหส้ นบั สนนุ 4.9 คลัง หมายถงึ หน่วยทม่ี ีความรับผดิ ชอบในการปฏิบตั ภิ ารกิจอย่างใดอย่างหน่ึงหรือหลายอย่าง ในเรือ่ งความต้องการ การควบคมุ การจัดหา การตรวจ การแยกประเภท การแจกจ่าย การซอ่ มบำรุง และการจำหนา่ ยสง่ิ อุปกรณ์ 4.10 คลงั จา่ ย หมายถึง สายงานคลังทั่วไป คลังกองบญั ชาการชว่ ยรบ และคลังส่วนภมู ิภาค ซง่ึ ดำเนนิ การสะสม และแจกจา่ ยสิง่ อุปกรณ์ โดยปกติจะแบง่ เปน็ หนว่ ยบัญชีคมุ และคลังเก็บรักษา 4.11 คลงั สายงาน หมายถงึ คลังซงึ่ กรมฝา่ ยยุทธบริการ และกรมฝ่ายกิจการพิเศษไดจ้ ดั ตั้งข้ึนเพ่ือ เพอ่ื ดำเนนิ การสะสม และแจกจา่ ยส่งิ อปุ กรณ์ 4.12 คลังทวั่ ไป หมายถึง คลังของหน่วยบญั ชาการ ซึ่งใชส้ ำหรับดำเนินการเกยี่ วกบั สง่ิ อุปกรณ์ และยทุ ธภัณฑ์ในความรับผดิ ชอบของกรมฝา่ ยยุทธบริการตา่ งๆ อยา่ งน้อย 2 กรมฝา่ ยยุทธบรกิ าร 4.13 คลงั กองบัญชาการช่วยรบ หมายถงึ คลังซึง่ กองบญั ชาการชว่ ยรบไดจ้ ัดตัง้ ขน้ึ เพื่อดำเนินการ สะสม และแจกจา่ ยสง่ิ อุปกรณ์ 4.14 คลงั สว่ นภูมภิ าค หมายถงึ มณฑลทหารบก หรือจงั หวัดทหารบก ไดจ้ ัดตงั้ ขน้ึ เพื่อดำเนนิ การ สะสม และแจกจา่ ยสง่ิ อปุ กรณใ์ ห้แกห่ นว่ ยใชภ้ ายในเขตพ้ืนทีท่ ่ีรบั ผิดชอบ 4.15 คลังเก็บรักษา หมายถึงคลงั ซึ่งดำเนนิ การเก็บรักษาสิ่งอุปกรณท์ ี่ได้รบั อนุมัตใิ หส้ ะสมไว้ เพื่อ การแจกจา่ ยดำเนนิ ไปด้วยดี 5.1 กบ.ทบ. 5.1.1 กำหนดนโยบายและหลักการ ในการจัดทำบญั ชชี ิ้นส่วนซอ่ มตามอตั ราพิกดั และบัญชีชิน้ ส่วนซอ่ มที่สะสม 5.1.2 จัดทำ แกไ้ ข ปรบั ปรุงแบบธรรมเนยี ม เกย่ี วกบั ช้ินส่วนซอ่ มตามอตั ราพิกดั และบัญชีช้นิ ส่วน ที่สะสมตามความเหมาะสม เพ่ือให้ ทบ.สามารถควบคุมการปฏบิ ัตขิ องหนว่ ยทเ่ี กย่ี วข้องได้ และให้สอด คลอ้ งกับนโยบาย หรอื หลกั การทีอ่ าจเปลย่ี นแปลงไป 5.1.3 กำกับดแู ลหน่วยตา่ ง ๆ ท่ีมีหนา้ ทีร่ ับผิดชอบซ่ึงระบุไวใ้ นระเบยี บนี้ เพ่ือการใหป้ ฏบิ ัตงิ าน เป็นไปตามความมุ่งหมายท่ีกำหนดไว้

- 105 - 5.2 กรมฝา่ ยยุทธบรกิ าร 5.2.1 จัดหาชน้ิ สว่ นซอ่ ม 5.2.2 ควบคุมกำกับดูแลคลงั กรมฝ่ายยุทธบริการ หนว่ ยสนับสนุนทั่วไป และหน่วยสนบั สนุนโดยตรง ในสายงานของตน เพ่ือให้ปฏิบตั ิตามนโยบาย และหลกั การเกยี่ วกับการสะสมและการสง่ กำลงั ชิ้นสว่ นซอ่ ม ท่สี ะสม 5.2.3 อำนวยการจัดทำ และแจกจา่ ยบญั ชีชน้ิ ส่วนซอ่ มตามอตั ราพิกัด และบัญชชี ้นิ สว่ นซอ่ มที่สะสม 5.3 คลัง 5.3.1 จดั ทำบัญชีชน้ิ สว่ นซ่อมตามอัตราพิกดั ข้ันต้นของหน่วยใช้ เฉพาะรายการยุทธภณั ฑ์ ซึ่งอยู่ใน ความรับผดิ ชอบของตน แล้วแจกจ่ายให้แก่คลัง หนว่ ยสนบั สนุน และหน่วยใชท้ เี่ ก่ียวขอ้ ง 5.3.2 สะสมชน้ิ สว่ นซ่อมเฉพาะรายการที่อยู่ในความรบั ผดิ ชอบไว้ในปริมาณที่เพยี งพอสำหรับ สนับสนนุ หน่วยซงึ่ ตนมีภารกิจตอ้ งให้การสนับสนุน และแจกจา่ ยใหแ้ ก่หน่วยเหล่าน้ีตามความต้องการ 5.3.3 อนุมัตกิ ารเปลี่ยนแปลงบัญชชี น้ิ สว่ นซอ่ มตามอัตราพิกัด ตามเกณฑค์ วามต้องการของหนว่ ยใช้ ในกรณที ่ีทำหน้าท่สี นบั สนนุ หนว่ ยใช้โดยตรง 5.4 หนว่ ยสนับสนุนโดยตรง 5.4.1 อนุมตั ิการเปลยี่ นแปลง บชอพ.ตามเกณฑค์ วามต้องการของหนว่ ยใช้ 5.4.2 ทำ บชสส.ของตน และแก้ไขใหต้ รงกับเกณฑค์ วามต้องการในปจั จบุ นั 5.4.3 สะสมชนิ้ สว่ นซ่อมตาม บชสส. 5.4.4 เสนอ บชสส.และการแกไ้ ขให้หน่วย หรือคลังที่สนบั สนนุ ทราบ 5.5 หนว่ ยสนับสนนุ ทั่วไป 5.5.1 ทำ บชสส.ของตน และแก้ไขใหต้ รงกับเกณฑค์ วามต้องการในปจั จุบนั 5.5.2 จดั เกบ็ และเก็บรักษา บชสส. 5.5.3 เสนอ บชสส.และการแก้ไขใหห้ นว่ ย หรอื คลังทส่ี นบั สนุนทราบ 5.6 หนว่ ยใช้ 5.6.1 สะสมชน้ิ ส่วนซอ่ มตาม บชอพ. 5.6.2 จดั เก็บ และเก็บรักษา บชอพ. ไวพ้ ร้อมทีจ่ ะใชแ้ ละรบั ตรวจไดเ้ สมอ 5.6.3 จดั ทำ บชอพ.รวมของหนว่ ย (ตามผนวก ก ) 5.6.4 บนั ทึกขอ้ มูลส่งกำลงั ช้ินส่วนซ่อมลงในแผนเก็บของและสำรวจยอดตาม ทบ.400-068 (ตามผนวก ข ) ทุกครัง้ ที่มีการเบิก รบั และ จ่าย 5.6.5 สอบทานความตอ้ งการชน้ิ สว่ นซ่อมจากแผนเก็บของและสำรวจยอด ถ้ามกี ารเปล่ียนแปลงไป จาก บชอพ.ก็แจ้งไปยังหนว่ ยสนับสนุนโดยตรง เพื่อขออนุมตั เิ ปลย่ี นแปลงแกไ้ ขให้ตรงกับความตอ้ งการที่ คำนวณได้

- 106 - ข้อ 6 การปฏิบตั ิเกีย่ วกบั อชพ. 6.1 การจดั ทำ บชอพ.ขั้นต้น และการแจกจา่ ย 6.1.1 คลงั ใช้แบบพมิ พ์ ทบ.400-066 บญั ชีช้ินสว่ นซ่อมตามอตั ราพกิ ัด (ผนวก ก ) 6.1.2 ชอพ.ข้ันต้นสำหรบั 15 วันส่งกำลงั ใช้รายการ และจำนวนชนิ้ สว่ นซอ่ มตามที่ระบุไว้ในคู่มอื ส่ง กำลัง หรือคูม่ ือเทคนิค สำหรับจำนวนนัน้ ถ้าคูม่ อื ดังกลา่ วข้างตน้ แสดงความสนิ้ เปลืองต่อยทุ ธภณั ฑ์ 100 ชน้ิ ไว้ กใ็ หค้ ำนวณโดยใช้สูตร จำนวนเกณฑส์ งู ในชอ่ งจำนวนยทุ ธภัณฑใ์ นแบบ ทบ.400-066 × ความส้นิ เปลือง = ระดบั สะสมทีอ่ นุมตั ิ 100 ผลลัพธ์ที่ได้ใหใ้ ช้จำนวนเต็ม ทศนยิ มตง้ั แต่ .5 ขึ้นไปปดั เศษเปน็ 1 ต่ำกว่าผลลพั ธ์ปดั เศษเป็น 0 เช่น จำนวนความส้ินเปลืองในคู่มอื สง่ กำลงั หรือคู่มอื ทางเทคนิค = 5 มียทุ ธภัณฑ์อยู่ 50 ชิน้ ระดบั สะสมท่อี นุมัติ = 50  5 /100 = 2.5 ปดั เศษ .5 = 1 ระดับสะสมที่อนมุ ตั ิจงึ = 3 6.1.3 รายการทมี่ ีความสำคัญต่อการรบใช้ตามค่มู อื สง่ กำลงั และคู่มือเทคนิค และให้ทำเครอื่ งหมาย ดอกจนั ทร์ไว้ในช่องรายการท่ีมคี วามสำคัญต่อการรบของ บชอพ.ดว้ ย 6.1.4 คลังสายงานแจกจ่าย บชอพ.ขั้นต้น ซง่ึ จัดทำข้นึ ตามขอ้ 5.3.1 ใหแ้ ก่หน่วยใช้หนว่ ยสนบั สนุน และ คลังสายงานอน่ื ท่ีเกย่ี วข้อง 6.2 การปฏิบัติของหน่วยใช้เมอ่ื ไดร้ ับ บชอพ.ขน้ั ตน้ 6.2.1 ตรวจสอบรายการและจำนวนช้ินสว่ นทม่ี ีคงคลงั รวมคา้ งรับกับ บชอพ.ขนั้ ตน้ ที่ได้รบั แล้วเบกิ เบกิ ส่งคนื หรอื แจง้ ยกเลิกคา้ งรบั เพอ่ื ให้มีรายการและจำนวนคงคลังรวมคา้ งรับของชิ้นสว่ นซ่อม ตรงกบั บชอพ.นนั้ ทัง้ นี้ต้องดำเนินการให้เสรจ็ สิ้นภายใน 30 วัน นบั จากวันทไี่ ดร้ บั บชอพ.ข้นั ต้น 6.2.2 ทำ บชอพ.รวมดว้ ยแบบพมิ พ์ ทบ.400-066 โดยใช้ บชอพ.ขน้ั ต้นเปน็ มลู ฐานและแยกสำหรบั แต่ละสายยุทธบรกิ ารแล้วเสนอให้หน่วยหรือคลงั ทสี่ นบั สนุนโดยตรงไว้เปน็ หลกั ฐาน 6.2.3 ใช้ บชอพ.ทำการซอ่ มบำรุงประจำหน่วยแล้วเบกิ ทดแทนให้เต็มระดับอยู่เสมอ 6.2.4 เก็บเอกสารต่าง ๆ เก่ยี วกบั ชิน้ สว่ นซอ่ ม และ บชอพ.ไวเ้ ป็นหลักฐานในสำนักงานของหน่วย และพร้อมที่จะใชร้ บั ตรวจได้ 6.3 การทำบญั ชีคุม ทกุ หนว่ ยท่มี หี น้าทร่ี ับผิดชอบในการซอ่ มบำรงุ ประจำหน่วย บันทึกสถานภาพ และ ข้อมลู การสง่ กำลังของชน้ิ สว่ นซอ่ มทุกรายการทีไ่ ดร้ บั อนุมตั ิให้ใช้ในการซ่อมบำรงุ ลง ในแผนเกบ็ ของและ สำรวจยอด (ทบ.400-066) ดังน้.ี - 6.3.1 สำหรบั ชอพ. คงบนั ทกึ ตามวิธีเขียนในผนวก ข และหมายเหตุคำว่า ชอพ. ดว้ ยสแี ดงไวท้ ีม่ ุมบน ซา้ ย

- 107 - 6.3.2 สำหรบั ช้ินส่วนซอ่ มที่ไม่ใช่ ชอพ.แต่ได้รบั อนุมตั ิใหใ้ ชใ้ นการซอ่ มบำรงุ ประจำหนว่ ยได้ โดย บนั ทึกตามวธิ เี ขยี นในผนวก ข ยกเวน้ ชอ่ งท่เี กบ็ และชอ่ งระดบั สะสมท่อี นุมตั ิ 6.4 การสอบทานความต้องการ เพ่ือปรบั ปรงุ บชอพ.ใหม้ ีรายการและจำนวนของ ชอพ.ไดส้ มดลุ กับ ความต้องการในการซ่อมบำรุงประจำหน่วย ให้หน่วยท่รี ับผิดชอบการสง่ กำลังบำรุงประจำหน่วยปฏบิ ัติ ดงั นี้ 6.4.1 ชอพ.ให้สอบทานแผนเกบ็ ของ และสำรวจยอดทุกรอบเดือน เพื่อทราบความถ่แี ละจำนวนของ ความตอ้ งการทดแทนในห้วง 6 เดือนทแ่ี ลว้ มา และขดี เสน้ สแี ดงในแผนเกบ็ ของและสำรวจยอดใตบ้ ันทึก สดุ ท้ายของรอบเดือนทางดา้ นขวามือ 6.4.2 ช้นิ ส่วนซอ่ มท่ไี มป่ รากฏใน บชอพ. แตค่ ู่มือส่งกำลังหรือคู่มือเทคนิคอนุมัติให้เบิกไปใช้ในการ ซ่อมบำรงุ ประจำหน่วยได้ เช่น รายการที่มีเคร่ืองหมายแสดงไว้วา่ “ ตามความตอ้ งการ ” หรือรายการที่ ที่กำหนดระดับสะสมไว้ แต่ผลของการคำนวณโดยถือจำนวนยุทธภณั ฑเ์ ป็นหลัก ไดผ้ ลลพั ธต์ ำ่ กวา่ 0.5 นนั้ ถ้าปรากฏว่ามคี วามถขี่ องความตอ้ งการทดแทนต้งั แต่ 3 ครั้งขึ้นไปในหว้ ง 6 เดือนท่ีแลว้ มาเมือ่ ใดให้สอบทาน ความตอ้ งการตามข้อ 6.4.1 ได้ 6.5 การเพ่มิ และการตัดรายการใน บชอพ. 6.5.1 การเพิม่ รายการชน้ิ ส่วนซ่อมที่ไมป่ รากฏใน บชอพ.แต่คู่มอื ส่งกำลังหรือคู่มอื เทคนิคอนมุ ัติใหเ้ บกิ ไปใชใ้ นการซอ่ มบำรงุ ประจำหนว่ ยได้ ถา้ รายการใดมีความถ่ีของความต้องการทดแทนต้ังแต่ 3 คร้งั ข้นึ ไป ในห้วง 6 เดือนทแ่ี ล้วมา ให้คำนวณระดับสะสมทอ่ี นุมตั ิ โดยนำจำนวนรวมท่ีตอ้ งการของความต้องการ ทดแทนในหว้ ง 6 เดือนทแ่ี ล้วมานัน้ ไปค้นหาระดับสะสมที่อนมุ ตั จิ ากตาราง ผนวก ค วธิ หี าดูตวั อยา่ งทา้ ย ผนวก ค และเสนอขอเพ่มิ รายการนน้ั ลงใน บชอพ. และทำการเบิกใหเ้ ต็มระดบั สะสมท่อี นมุ ตั ิ 6.5.2 การตดั รายการ ชอพ.รายการใด เมอื่ มีการบันทกึ ความต้องการทดแทนในแผนเก็บของและ สำรวจยอดตั้งแต่ 12 เดือนข้ึนไปและมคี วามถีข่ องความต้องการทดแทนตำ่ กว่า 3 ครง้ั ในห้วง 6 เดอื นที่แลว้ มา ให้ขอตัดรายการน้ันต่อหนว่ ยสนบั สนุนโดยตรง เมือ่ ไดร้ ับอนมุ ตั ิแล้วให้ตัดรายการนนั้ ออกจาก ชอพ. ได้ ชอพ. รายการที่มีความสำคญั ตอ่ การรบแม้วา่ จะมีความถ่ีของความต้องการทดแทนไม่ถึง 3 ครัง้ ในหว้ ง 6 เดือนท่ีแลว้ มาไมต่ ้องตัดรายการนน้ั ออก คงสะสมไว้ไดจ้ ำนวน 1 หนว่ ยนบั เมอ่ื ตดั รายการ ชอพ.ออกจาก บชอพ. แลว้ ให้ สง่ คนื และหรือยกเลกิ คา้ งรบั ตอ่ หนว่ ยสนบั สนุนโดยตรงดว้ ย 6.6 การเพิ่มและการลดระดับสะสมที่อนุมตั ิใน บชอพ. 6.6.1 การเพิ่มระดับสะสมที่อนุมตั ิ ชอพ. รายการใดมีความถี่ของความตอ้ งการทดแทนตง้ั แต่ 3 ครง้ั ข้ึนไปในหว้ ง 6 เดือนท่แี ลว้ มา ให้คำนวณระดับสะสมท่ีอนมุ ัติตามวธิ ีในขอ้ 6.5.1 ถ้าไดผ้ ลลพั ธส์ ูงกวา่ ใน บชอพ.ใหข้ อเพิ่มระดับสะสมน้ันต่อหน่วยสนับสนุนโดยตรง เมอื่ ไดร้ บั อนมุ ตั แิ ลว้ จงึ เพ่มิ ระดบั สะสมใน บชอพ.ได้ และเบิกใหเ้ ตม็ ระดับสะสมที่อนมุ ตั ิ เช่น ชอพ.ค่าควรซ่อมซ่ึงกำหนดใหท้ ำการแลกเปลย่ี นโดยตรงได้ หรอื ชอพ.ทีค่ ลงั สายงานรับผิดชอบการสง่ กำลังกำหนดไว้วา่ ไมใ่ ห้เพมิ่ ระดับสะสมเกินกวา่ ท่ีทีอ่ นุมตั ิไวใ้ น บชอพ.ข้ันต้น

- 108 - 6.6.2 การลดระดบั สะสมทอ่ี นุมตั ิ ชอพ. รายการใดถ้ามคี วามถ่ีของความต้องการทดแทนตง้ั แต่ 3 ครั้ง ขน้ึ ไปในหว้ ง 6 เดือนท่แี ล้วมา ให้คำนวณระดบั สะสมที่อนมุ ัติเชน่ เดยี วกบั ในข้อ 6.5.1 ถา้ ตำ่ กว่าที่ กำหนดไวใ้ น บชอพ. ให้ขอลดระดับสะสมต่อหนว่ ยสนบั สนนุ โดยตรง เม่อื ได้รับอนุมตั แิ ล้วจงึ ลดระดับ สะสมของรายการนน้ั ใน บชอพ.ได้ การลดระดับสะสมที่อนมุ ัตขิ องของ ชอพ.ลงต่ำกว่าที่กำหนดไว้ใน บชอพ. ข้ันต้นให้กระทำได้เมื่อมีขอ้ มูลความตอ้ งการทดแทนในแผนเกบ็ ของ และสำรวจยอด ตั้งแต่ 12 เดอื นขนึ้ ไป และใหส้ ง่ คืน และหรือยกเลิกค้างรับตอ่ หนว่ ยสนบั สนนุ โดยตรง 6.7 ข้อยกเว้น 6.7.1 ชอพ.รายการใดเป็น สป.หลา้ สมยั หรอื หน่วยใช้ไม่มยี ทุ ธภัณฑ์ที่ใช้ ชอพ.รายการน้ันสำหรับการ ซอ่ มบำรุงประจำหน่วยอีกแล้ว ใหห้ น่วยใชส้ ง่ คืนทนั ที และตัด ชอพ.รายการนัน้ ออกจาก บชอพ.ไดโ้ ดย อัตโนมตั ิ 6.7.2 ชอพ.รายการใดมีความต้องการทดแทนไม่ถงึ 3 ครง้ั ในห้วง 6 เดอื นที่แลว้ มาเน่ืองจาก ยุทธภัณฑ์ไม่ได้ใชง้ าน เช่น งดใชก้ าร ฯลฯ หรอื ชอพ.นนั้ มีความต้องการเฉพาะฤดูกาลให้สะสมไวไ้ ด้เทา่ กบั จำนวน คงคลงั ท่ีมีอยู่ แต่ไมเ่ กินระดับสะสมทอี่ นุมัติครั้งสดุ ทา้ ย 6.7.3 เมอ่ื ได้รับแจ้งการเปลีย่ นแปลงหมายเลขสิ่งอุปกรณแ์ ละหรือรายการจากหนว่ ยสนบั สนนุ โดยตรงใหห้ นว่ ยใชแ้ ก้ไข บชอพ. กับแผนเก็บของ และสำรวจยอด ได้โดยอัตโนมัติ เพือ่ ใช้สำหรบั เบิก คราวต่อไป 6.8 วธิ ีปรบั ปรงุ บชอพ.ตามข้อ 6.5 และ 6.6 6.8.1 หนว่ ยใช้ ใชแ้ บบพมิ พ์ ทบ.400-066 ตามผนวก ก เขยี นเฉพาะรายการทต่ี ้องการปรบั ปรุง บชอพ. เสนอหน่วยสนบั สนุนโดยตรงจำนวน 2 ชุด ภายใน 15 วนั นับต้งั แตว่ นั ที่ทำการสอบทานความตอ้ งการ 6.8.2 หน่วยสนับสนนุ โดยตรงตรวจสอบหมายเลขสิ่งอปุ กรณ์ รายการ ขน้ั การซ่อม และความ ตอ้ งการ ที่ขอปรบั ปรุง บชอพ. เม่ือเห็นว่าถกู ต้องแล้วให้หัวหน้าหนว่ ยสนบั สนนุ โดยตรงหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย เป็นลายลักษณ์อักษร ลงนามอนุมตั ิแลว้ ส่งคนื ใหห้ น่วยทีเ่ สนอมา จำนวน 1 ชดุ ภายใน 30 วนั นบั ตัง้ แตว่ ันท่ี ได้รบั 6.8.3 เมอ่ื หนว่ ยไดร้ ับหลักฐานท่อี นุมัตแิ ล้ว ให้แก้ไข บชอพ.ได้ตามอนมุ ัติ 6.9 การปฏิบตั ิเพม่ิ เติมจากการปรับปรงุ บชอพ. 6.9.1 การเพม่ิ รายการ และการเพิ่มระดบั สะสมท่ีอนมุ ัติ 6.9.1.1 เพม่ิ ระดับท่ีอนุมตั ใิ นแผนเกบ็ ของ และสำรวจยอด 6.9.1.2 ตรวจสอบจำนวนคงคลัง คา้ งรับ และคา้ งจา่ ย เปรียบเทียบกบั ระดับสะสมท่ี อนมุ ตั ิ ถา้ จำเปน็ ให้เบกิ ทดแทนจากหนว่ ยสนบั สนุนโดยตรง เพอื่ ใหเ้ ตม็ ระดบั สะสมทอี่ นุมัติ 6.9.2 การตดั รายการ และการลดระดับสะสมท่อี นมุ ัติ

- 109 - 6.9.2.1 ลดระดบั สะสมท่ีอนุมัติในแผนเกบ็ ของ และสำรวจยอด 6.9.2.2 ตรวจสอบจำนวนคงคลัง คา้ งรับและคา้ งจา่ ย เปรียบเทยี บกบั ระดับสะสมท่ี อนุมตั ิ ถ้าจำเปน็ ใหส้ ่งคนื และหรือยกเลิกคา้ งรบั ต่อหนว่ ยสนับสนนุ โดยตรง เพอ่ื ไมใ่ หเ้ กินระดับสะสมท่ีอนุมัติ ข้อ 7 การปฏิบัตเิ กี่ยวกบั ชิ้นสว่ นซอ่ มที่สะสม (ชสส.) 7.1 หลกั เกณฑ์ในการสะสม ช้ินส่วนซ่อมรายการใดท่ีเข้าหลกั เกณฑใ์ นการสะสมต่อไปนใี้ หจ้ ัดไว้เปน็ พวก ชสส.และต้องหา บชสส. ไดแ้ ก่ 7.1.1 ชิ้นสว่ นท่ีมคี วามถี่ของความต้องการประจำต่ำกว่า 3 คร้งั ขึน้ ไปในห้วงควบคุม 12 เดือน (360 วัน) 7.1.2 ชน้ิ สว่ นซอ่ มที่มคี วามถีของความตอ้ งการประจำตำ่ กว่า 3 ครงั้ ในห้วงควบคมุ 12 เดือน (360 วนั ) แตเ่ ป็นรายการท่จี ำเปน็ ตอ่ ภารกิจ รวมท้ังรายการต่อไปน้ี คือ. 7.1.2.1 ชอพ.ของหน่วยซึง่ ตนมภี ารกิจให้การสนบั สนนุ 7.1.2.2 ชสส.ของหน่วยซงึ่ ตนมภี ารกิจใหก้ ารสนบั สนุน 7.1.2.3 ชิ้นสว่ นซอ่ มทอี่ นมุ ตั ิให้สะสมไว้ได้โดยจำกัดจำนวนตามคมู่ ือสง่ กำลัง หรอื คู่มอื เทคนคิ ทม่ี บี ญั ชีช้ินสว่ นซ่อม เพือ่ ประกนั ได้ว่ายทุ ธภัณฑ์ในความสนบั สนุนสามารถนำไปใชง้ านไดโ้ ดย ตอ่ เน่ือง 7.1.2.4 องคป์ ระกอบของยทุ ธภัณฑ์ ทกี่ รมฝ่ายยทุ ธบริการอนมุ ัตใิ ห้หน่วยสนับสนุนในการสง่ กำลังสะสมไว้ เพ่อื จ่ายทดแทนองคป์ ระกอบทช่ี ำรุดซ่อมได้ของยุทธภัณฑ์ เม่ือหนว่ ยสนบั สนุนการซ่อมบำรุง ไมส่ ามารถซ่อมยทุ ธภณั ฑ์ท่ีชำรุดให้แลว้ เสรจ็ ทันความตอ้ งการ 7.1.2.5 ชน้ิ สว่ นซ่อมควบคูท่ จี่ ัดให้โดยอตั โนมัตทิ หี่ นว่ ยจ่ายส่งใหเ้ พ่ือสนบั สนุนยุทธภณั ฑ์ รายการใหม่ 7.1.2.6 ช้ินสว่ นซ่อมตามบญั ชีแลกเปล่ียนโดยตรง ซงึ่ กรมฝา่ ยยุทธบรกิ ารอนมุ ัตใิ หส้ ะสม 7.1.2.7 ชนิ้ ส่วนซ่อมตามบญั ชีสะสมของโรงงานซอ่ มบำรุงของหนว่ ยสนบั สนนุ 7.2 การจดั ทำบัญชชี ้นิ ส่วนซ่อมทสี่ ะสม (บชสส.) 7.2.1 หนว่ ยสนบั สนุนโดยตรงและหนว่ ยสนบั สนนุ ทั่วไปจัดทำ บชสส.โดยใช้แบบพมิ พ์ทบ.400- 068 บญั ชีช้นิ สว่ นที่สะสม (ผนวก ง ) และเสนอให้หน่วย หรอื คลงั ท่ีสนับสนุนทราบเพ่ือเป็นหลักฐาน 7.2.2 เม่ือมกี ารปรับปรงุ บชสส.ให้จัดทำใหมท่ ุก ๆ ปี และเสนอให้หนว่ ยหรอื คลงั ท่สี นับสนุนให้ ทราบภายใน ม.ค. ของทกุ ปี 7.3 การสอบทานความตอ้ งการ เพื่อปรบั ปรงุ บชสส.ให้มีรายการ ชสส.ได้สมดุลยก์ ับความตอ้ งการใน การในการสง่ กำลงั และหรือซ่อมบำรงุ ใหฏ้ ิบตั ิดังน้.ี

- 110 - 7.3.1 ชสส.ทีส่ ะสมโดยอาศยั หลักเกณฑต์ ามขอ้ 7.1.1 ใหส้ อบทานบัตรบญั ชีคมุ ทบ.400-003 เมื่อ มีความต้องการประจำถึง 3 คร้ังในหว้ งควบคุมเมือ่ ใดให้คำนวณ และกำหนดเกณฑ์เบิกด้วย 7.4 การเพ่มิ และตัดรายการใน บชสส. 7.4.1 การเพมิ่ รายการชน้ิ สว่ นไม่ปรากฏใน บชสส. แต่คู่มือส่งกำลังหรือคู่มือเทคนิคที่มีบญั ชีชน้ิ สว่ น ซ่อมอนุมัติให้เบกิ ไปสะสมไว้ เพือ่ ภารกิจในการสนบั สนนุ ได้ ถา้ รายการใดเข้าหลกั เกณฑ์สะสมตามข้อ 7.1 อย่างหนง่ึ อย่างใด ให้เพิม่ รายการนนั้ ใน บชสส.ได้ และใหใ้ ชแ้ บบพิมพ์ ทบ.400-069 บัญชีชิ้นสว่ นซ่อมท่ี สะสม (ผนวก ง ) เสนอใหห้ น่วย หรือคลังท่ีสนับสนนุ ทราบเฉพาะรายการทเ่ี พิ่มภายใน 1 เดอื น 7.4.2 การตัดรายการ รายการตอ่ ไปน้ีต้องตัดออกจาก บชสส. 7.4.2.1 ชสส. ทส่ี ะสมตามหลักเกณฑ์ในข้อ 7.1.1 ถ้าปรากฏวา่ ในหว้ งควบคมุ ใดไม่มคี วาม ตอ้ งการ ประจำเลย และไมเ่ ข้าหลกั เกณฑ์ตามขอ้ 7.1.2 ด้วย 7.4.2.2 ชสส. ทส่ี ะสมตามหลักเกณฑ์ในข้อ 7.1.2 ถ้าหากหน่วยใช้ไม่มคี วามตอ้ งการต่อไป 7.4.2.3 ชสส. ท่ีสะสมตามหลกั เกณฑใ์ นข้อ 7.1.2.2 ถ้าหากหน่วยซ่ึงตนมภี ารกิจในการ สนบั สนุนไม่มีความตอ้ งการอีกตอ่ ไป 7.4.2.4 ชสส. ที่สะสมตามหลกั เกณฑ์ในข้อ 7.1.2.2 ถา้ หากคู่มอื สง่ กำลังหรือคู่มือเทคนิคมี การแก้ไข โดยตดั รายการนนั้ ออก 7.4.2.5 ชสส. ทส่ี ะสมตามหลกั เกณฑ์ในข้อ 7.1.2.4 ถา้ กรมฝา่ ยยทุ ธบริการท่ีอนุมตั ิใหส้ ะสม แจ้งการ แก้ไข โดยยกเลกิ การอนุมัติ 7.4.2.6 ชสส. ทส่ี ะสมตามหลกั เกณฑ์ในข้อ 7.1.2.5 เมอื่ สะสมไวค้ รบตามเวลาของห้วง ควบคุมแลว้ และไม่เขา้ หลกั เกณฑ์อย่างใดตามข้อ 7.1 7.4.2.7 ชสส. ทีส่ ะสมตามหลักเกณฑใ์ นข้อ 7.1.2.6 ถา้ กรมฝา่ ยยุทธบริการทอ่ี นุมตั ิให้สะสม แจ้งการแก้ไขโดยเลกิ อนุมัติ 7.4.2.8 ชสส. ทีส่ ะสมตามหลกั เกณฑ์ในข้อ 7.1.2.7 ถา้ โรงงานซ่อมบำรุงของหนว่ ยสนับสนุน ไม่ต้อง การอีกต่อไป การตัดรายการใน บชสส. ใหใ้ ช้แบบพิมพ์ ทบ.400-069 บัญชีชนิ้ ส่วนซ่อมท่ีสะสม (ผนวก ง) เสนอ เสนอใหห้ น่วยหรอื คลงั ที่สนบั สนุนทราบเฉพาะรายการที่ตัดออกภายใน 1 เดือน ขอ้ 8 ให้กรมฝ่ายยทุ ธบริการ และกรมฝ่ายกิจการพเิ ศษ ทร่ี ับผิดชอบในสิง่ อปุ กรณ์ออกระเบยี บปลีกย่อยได้ ตามความจำเปน็ โดยไม่ขัดกบั ระเบยี บนี้ ขอ้ 9 ให้กรมส่งกำลงั บำรุงทหารบกรกั ษาการให้เปน็ ไปตามระเบยี บน้ี ข้อ 10 ให้ใชร้ ะเบยี บน้ีต้ังแตบ่ ดั น้ีเป็นต้นไป

- 111 - ประกาศ ณ วันท่ี 9 มิถุนายน 2512 รบั คำสั่งผบู้ ัญชาการทหารบก (ลงชอ่ื ) พลเอก ท. โกศินานนท์ ( ทวนชยั โกศนิ านนท์ ) ผชู้ ่วยผ้บู ัญชาการทหารบก - - - - - - ------------- - - - - - - -

- 112 - บทท่ี 8 ระเบียบกองทัพบก ว่าด้วยการซ่อมบำรงุ ยุทโธปกรณ์ พ.ศ.2524 -------------- เพ่ือให้หน่วยต่าง ๆ ของกองทัพบก มีการปฏิบัติการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์อย่างถูกต้อง และเป็นไป ตามหลกั การซอ่ มบำรุง โดยใช้ระบบการซอ่ มบำรงุ ระบบเดยี วกนั ทัง้ ยามปกตแิ ละยามสงคราม จึงวางระเบียบน้ี ไวส้ ำหรบั ถือเป็นหลักปฏบิ ัตดิ ังตอ่ ไปนี้.- ตอนท่ี 1 บททั่วไป ขอ้ 1 ระเบียบน้ีเรียกวา่ “ระเบียบกองทัพบกวา่ ดว้ ยการซ่อมบำรงุ ยุทโธปกรณ์ พ.ศ.2524” ขอ้ 2 ให้ยกเลกิ คำส่ังกองทัพบก ที่ 337/24721 ลงวนั ที่ 22 พฤศจิกายน 2498 เร่ือง การซอ่ มบำรุงสิ่ง อปุ กรณ์และยุทโธปกรณ์ข้อความในระเบียบ คำสัง่ คำชี้แจง และคำแนะอื่นใดของ ทบ.ท่ขี ดั แยง้ กับระเบยี บนี้ หรอื ที่กำหนดไวใ้ นระเบียบนแ้ี ล้ว ใหใ้ ชข้ ้อความในระเบียบน้ีแทน ขอ้ 3 คำจำกัดความในระเบียบนี้ 3.1 ยทุ โธปกรณ์ (Equiment) หมายถึงสิง่ อปุ กรณ์ (สป.) ท่ีจดั ประจำบุคคลหรอื ประจำหน่วย ตามทก่ี ำหนดไวใ้ นอตั ราการจดั และยทุ โธปกรณ์(อจย.) ตามอัตราส่ิงอปุ กรณ์ (อสอ.) หรือตามอัตราอื่นใด และ หมายรวมถึงส่ิงอปุ กรณ์ประเถท 4 สิ่งอุปกรณใ์ นการพัฒนา และสิ่งอปุ กรณใ์ นความรบั ผิดชอบของคลงั สายยุทธ บรกิ ารดว้ ย เวน้ เคร่อื งบิน 3.2 การซอ่ มบำรงุ (Maintenance) หมายถงึ การกระทำใด ๆ ทีม่ ่งุ หมายจะรักษายุทโธปกรณ์ ตา่ ง ๆ ใหอ้ ยู่ในสถาพทใ่ี ช้การได้ หรอื มงุ่ หมายทจี่ ะทำให้ ยทุ โธปกรณ์ทชี่ ำรุดกลบั คนื มาอยู่ในสภาพท่ใี ช้การได้ และให้หมายรวมถงึ การตรวจสภาพ การทดสอบ การบริการการซ่อมแก้การซ่อมใหญ่การซ่อมสร้าง การ ดัดแปลง และการซอ่ มคืนสภาพ 3.3 การตรวจสภาพ (Irspection) หมายถึงการพิจารณาถึงสภาพการใชก้ ารไดข้ อง ยทุ โธปกรณ์ โดยการเปรยี บเทียบคุณลักษณะทางฟสิ ิคส์ ทางเคมี ทางจกั รกล และทางไฟฟา้ ตามมาตรฐานที่ได้ กำหนดไว้ 3.4 การทดสอบ (Test) หมายถึงการพิสูจนท์ ราบสภาพการใชก้ ารได้ของยุทโธปกรณ์ และ การค้นหาข้อบกพร่องทางไฟฟา้ ทางเคมี และทางจักรกล โดยการใช้ เครอื่ งมอื หรือวธิ ีการทดสอบต่าง ๆ 3.5 การบริการ (Service) หมายถงึ การทำความสะอาด การดูแลรกั ษา การประจุไฟฟ้า การ เติมนำ้ มนั เชือ้ เพลงิ น้ำมันหล่อลน่ื การเติมสารระบบความเยน็ และการเติมลมการเติมกา๊ ซ นอกจากนน้ั ยัง

- 113 - หมายรวมถึงความตอ้ งการบริการพเิ ศษตา่ ง ๆ ท่อี าจกำหนดขนึ้ ตามความจำเปน็ เช่น การพ่นสกี ารหลอ่ ลื่น ฯลฯ เปน็ ตน้ 3.6 การซอ่ มแก้ (Repair) หมายถึงการซ่อมยุทโธปกรณ์ชำรุดใหใ้ ช้การได้และยงั หมายรวมถึง การปรับ การถอดเปล่ยี น การเชอ่ื ม การย้ำ และการทำใหแ้ ข็งแรง 3.7 การซ่อมใหญ่ (Overhaul) หมายถงึ การซอ่ มยุทโธปกรณ์ท่ีชำรดุ ให้ใช้การได้อย่างสมบรู ณ์ โดยกำหนดมาตรฐานการซ่อมบำรุงไวเ้ ปน็ เอกสารโดยเฉพาะ การซ่อมใหญ่อาจกระทำได้สำเรจ็ ไดโ้ ดยการแยก สว่ นประกอบ การตรวจสภาพส่วนประกอบ การประกอบส่วนประกอบย่อย และช้ินสว่ นตา่ ง ๆ ท้งั นี้ จะต้องมี การตรวจสภาพและการทดสอบการปฏบิ ตั ิการประกอบด้วย 3.8 การซ่อมสรา้ ง (Rebuild) หมายถึงการซ่อมยุทโธปกรณ์ที่ชำรุด ใหก้ ลับคืนสู่สภาพ มาตรฐานอนั ใกลเ้ คียงกับสภาพเดมิ หรอื เหมอื นของใหม่ ทั้งในรปู รา่ ง คุณสมบตั ิในการทำงาน และอายขุ องการ ใชง้ าน การซ่อมสรา้ งอาจกระทำให้สำเร็จไดโ้ ดย การถอดช้ินส่วนของยทุ โธปกรณ์นั้นออกเพอ่ื นำไปตรวจสภาพ ช้ินสว่ นประกอบ และทำการซ่อมแก้ หรอื เปล่ียนชิน้ สว่ น และส่วนประกอบทช่ี ำรุด หรอื ใช้การไม่ไดแ้ ลว้ นำมา ประกอบเปน็ ยุทโธปกรณ์ข้ึนต่อไป 3.9 การดดั แปลงแกไ้ ข (Modifieation) หมายถึงการเปล่ยี นแปลงยุทโธปกรณ์ตามคำสัง่ การ ดดั แปลง การดัดแปลงนตี้ ้องไมเ่ ปลี่ยนลักษณะมูลฐานเดิมของยุทโธปกรณเ์ พยี งแต่เพ่ือเปลี่ยนภารกจิ หรือ ความสามารถในการทำงาน และเพ่ิมความปลอดภยั แก่ผใู้ ช้และเพ่ือผลท่ีต้องการตามแบบท่ีกำหนดให้ เปลี่ยนแปลงนัน้ 3.10 การซ่อมคืนสภาพ (Reclamation) หมายถงึ การดำเนินกรรมวธิ ีซ่อมยุทโธปกรณท์ ่ีใช้ การไม่ได้ เลกิ ใช้ ละทิง้ หรือเสยี หายแลว้ ให้ใช้ประโยชนไ์ ด้ หรือซ่อมชนิ้ สว่ นส่วนประกอบ หรือองค์ประกอบ ของยุทโธปกรณเ์ หล่านน้ั ให้ใช้ประโยชนไ์ ด้ และนำกลบั คืนสายส่งกำลงั ตอ่ ไป 3.11 การปรนนบิ ัติบำรุง (Preventive Maintenances) หมายถงึ การดแู ล และการ ให้บรกิ ารโดยเจ้าหน้าท่ี เพ่อื มุ่งประสงค์ท่จี ะรกั ษายุทโธปกรณ์และเครอื่ งมอื เคร่อื งใช้ใหอ้ ยู่ในสภาพทีใ่ ช้การได้ดี โดยจดั ใหม้ รี ะบบการตรวจสภาพ การตรวจคน้ และการแก้ไขขอ้ บกพร่องกอ่ นท่ีจะเกดิ ข้ึนหรือที่จะชำรุดมากขน้ึ 3.12 ถอดปรน (Cannibalization) หมายถึงการถอดช้ินสว่ น และส่วนประกอบ ตามที่ได้รบั อนุมัตจิ ากยทุ โธปกรณ์ครบชุด หรอื องค์ประกอบท่ีเกย่ี วข้อง ซึ่งสามารถซ่อมไดแ้ ต่ไม่คุ้มค่า หรือที่จำหน่ายแลว้ เพอื่ นำไปใชป้ ระโยชนใ์ หแ้ กย่ ุทโธปกรณอ์ ่ืน 3.13 ยุบรวม (Cannibalize) หมายถงึ การถอดช้นิ ส่วนใช้การได้ จากยุทโธปกรณห์ น่ึงไป ประกอบกบั อีกยุทโธปกรณ์หน่งึ ข้อ 4 หลักการซอ่ มบำรุง 4.1 การซอ่ มบำรงุ ต้องปฏบิ ตั ิตาม คู่มือที่กรมฝา่ ยยุทธบริการ หรอื กรมฝ่ายกิจการพเิ ศษ ท่ี รบั ผิดชอบไดจ้ ัดพิมพ์ขึ้น หรอื จดั หามาแจกจา่ ย โดยใหท้ ำการซอ่ มบำรุงได้ไม่เกินที่กำหนดไวแ้ ละใหส้ อดคล้อง กับสถานการณท์ างการยทุ ธ

- 114 - 4.2 การซ่อมแก้ ต้องพยายามกระทำ ณ ทซ่ี ่ึงยุทโธปกรณ์น้ันต้งั อยู่ เพ่ือให้ยุทโธปกรณ์นั้นกลบั ใช้งานได้โดยเร็ว 4.3 ยทุ โธปกรณ์ทชี่ ำรุดเกนิ ขีดความสามารถของหน่วยทจ่ี ะทำการซ่อมบำรงุ ให้สง่ ซ่อมที่ หน่วยซ่อมบำรงุ ประเภทสูงกว่า หรอื ขอใหห้ น่วยซอ่ มบำรุงที่สูงกว่ามาทำการซ่อมให้ 4.4 หา้ มทำการซอ่ มแบบยบุ รวม เวน้ แต่ 4.4.1 ไดร้ ับอนุมัติจากผูม้ ีอำนาจให้กระทำไดห้ รือ 4.4.2 ในกรณีฉุกเฉินและสถานการณ์ทางยุทธวธิ บี ังคับ ซง่ึ ไม่สามารถจะตดิ ต่อกับ หน่วยทมี่ ีหนา้ ทส่ี นับสนนุ ได้รวดเร็วทันเหตกุ ารณ์ แตต่ ้องรายงานใหผ้ ู้มีอำนาจให้กระทำไดท้ ราบ โดยผา่ นหน่วย สนบั สนนุ ในโอกาสแรกท่สี ามารถทำได้ ข้อ 5 ประเภทของการซ่อมบำรุง ใหแ้ บ่งการซ่อมบำรงุ ออกเปน็ 4 ประเภท ดังน้ี.- 5.1 การซ่อมบำรุงระดบั หน่วย 5.2 การซอ่ มบำรุงสนับสนุนโดยตรง 5.3 การซ่อมบำรุงสนับสนนุ ท่ัวไป 5.4 การซ่อมบำรุงระดับคลงั (Depot Maintenance) ข้อ 6 การซ่อมบำรงุ ระดับหน่วย คือ การซ่อมบำรุงยุทโธปกรณท์ อ่ี ยู่ในความครอบครองของหนว่ ยทใ่ี ช้ ยุทโธปกรณ์น้นั โดยผใู้ ช้ หรือพลประจำยุทโธปกรณ์ และช่างซ่อมของหน่วยการซ่อมบำรุงประเภทนี้ ประกอบด้วยการตรวจสภาพ การทำความสะอาด การบริการ การรักษา การหลอ่ ลน่ื การปรบั ตามความจำเปน็ การเปลยี่ นชิ้นส่วนซ่อมเลก็ ๆ นอ้ ยๆ การซ่อมบำรงุ ระดับหนว่ ยจะกระทำอย่างจำกัดตามคูม่ อื หรือคำสัง่ หรือผงั การซ่อมบำรุง(Maintenance Allocation Chart) ทอี่ นญุ าตใหก้ ระทำได้ในระดับน้ี ขอ้ 7 การซอ่ มบำรุงสนับสนนุ โดยตรง คือ การซ่อมบำรงุ ท่ีอนมุ ัตใิ ห้กระทำต่อยุทโธปกรณ์ท่อี ยูใ่ นความ รับผดิ ชอบการซ่อมบำรุงของหน่วยสนับสนนุ โดยตรง ซึง่ เปน็ หน่วยที่กำหนดข้ึนตามอัตราการจัดและ ยุทโธปกรณ์ (อจย.) หรอื อตั ราเฉพาะกิจ (อฉก.) และบง่ ถงึ ภารกจิ การซอ่ มบำรุงดังกลา่ วไวก้ ารซ่อมบำรุง สนบั สนนุ โดยตรง เปน็ การซอ่ มแก้อยา่ งจำกดั ตอ่ ยุทโธปกรณค์ รบชุด หรือซ่อมแก้ส่วนประกอบท่ีใช้งานไม่ได้ เพ่ือสนบั สนุนหน่วยใช้ ประกอบดว้ ยการซ่อม และการเปล่ียนส่วนท่ใี ช้งานไม่ได้ รวมทัง้ การซ่อมและการเปล่ยี น ส่วนประกอบย่อย (Subassemblies) และส่วนประกอบธรรมดา (Assemblies) ข้อ 8 การซอ่ มบำรุงสนับสนนุ ท่วั ไป คอื การซ่อมแกย้ ุทโธปกรณท์ ีใ่ ช้งานไม่ไดท้ เ่ี กนิ ขีดความสามารถ ของ การซ่อมบำรุงสนบั สนุนโดยตรง เพอ่ื สง่ กลบั เขา้ สายการสง่ กำลงั หรอื เพื่อสนับสนนุ การแลกเปลย่ี นโดยตรง (Direct Exchange) รวมท้ังทำการซอ่ มสว่ นประกอบใหญ่และส่วนประกอบยอ่ ย เพื่อส่งเข้าสายการสง่ กำลัง ขอ้ 9 การซ่อมบำรงุ ระดับคลัง คือ การซอ่ มบำรงุ โดยหน่วยซอ่ มขั้นคลังของกรมฝ่ายยทุ ธบริการ ซึ่งจะ ทำการซ่อมใหญย่ ุทโธปกรณท์ ่ีใช้งานไม่ไดใ้ หก้ ลบั คนื อยู่ในสภาพทใี่ ชง้ านได้อยา่ งสมบูรณ์ตามคู่มือทางเทคนิค หรอื ทำการซ่อมสรา้ งยุทโธปกรณ์ให้อยู่ในสภาพเหมือนของใหม่

- 115 - ตอนท่ี 2 หน้าที่และความรับผดิ ชอบ ขอ้ 10 การซ่อมบำรงุ ระดับหนว่ ย เปน็ ความรบั ผดิ ชอบของผู้บังคบั หนว่ ยใชย้ ทุ โธปกรณ์น้ัน จะตอ้ งจดั ใหม้ กี ารดำเนนิ การดังนี้.- 10.1 ทำการปรนนบิ ัติบำรุงยุทโธปกรณ์ตามคู่มอื การปรนนิบัตบิ ำรุง หรอื คำส่งั การหล่อลื่น สำหรบั ยทุ โธปกรณ์ชนิดน้ันโดยเครง่ ครัด 10.2 ทำการซ่อมบำรงุ ระดับหน่วยตามทกี่ ำหนดไว้ในคมู่ ือทางเทคนิค หรือตามทีส่ ายยทุ ธ บริการกำหนดให้กระทำ 10.3 ถ้ายทุ โธปกรณช์ ำรุด หรือจำเป็นต้องปรนนบิ ัตบิ ำรงุ เกินกวา่ ทกี่ ำหนดไวใ้ ห้ส่งไปรับการ ซอ่ ม หรือรับการปรนนบิ ัตบิ ำรงุ ทห่ี น่วยสนับสนนุ โดยตรง 10.4 ก่อนสง่ ยุทโธปกรณไ์ ปดำเนนิ การตามข้อ 10.3 ให้หน่วยใช้แจง้ ให้หนว่ ยสนบั สนุน โดยตรงทราบก่อน เม่ือไดร้ ับแจ้งใหส้ ่งยุทโธปกรณ์ไปทำการซอ่ มแลว้ จงึ จดั สง่ ไปในกรณที ี่หนว่ ยสนับสนุน โดยตรงสามารถสง่ ชุดซอ่ มมาซอ่ มยงั หน่วยใช้ได้ กอ็ าจจะส่งชดุ ซ่อมมาทำการซ่อมให้ ทั้งนหี้ น่วยสนบั สนุน โดยตรง จะตอ้ งพจิ ารณาถึงการประหยดั และสถานการณ์ดว้ ย 10.5 ก่อนส่งยุทโธปกรณไ์ ปซ่อมท่ีหน่วยสนับสนนุ โดยตรง หนว่ ยใชจ้ ะตอ้ งทำการปรนนิบตั ิ บำรงุ และทำการซ่อมบำรุงในช้ันของตนให้เรียบร้อยก่อน 10.6 ช้นิ ส่วนซอ่ มตามอัตราพิกดั เม่ือใช้ไปแล้ว ใหท้ ำการเบิกทดแทนไปยงั หน่วยสนับสนุน โดยตรงทนั ที การเบิกให้ปฏิบัติตามระเบียบกองทัพบก วา่ ด้วยการสง่ กำลังสงิ่ อุปกรณป์ ระเภท 2 และ 4 10.7 การส่งยทุ โธปกรณ์ไปซ่อม ให้ปฏิบตั ติ ามระเบียบกองทัพบก วา่ ดว้ ยการสง่ และรับสิ่ง อปุ กรณ์ พ.ศ.2500 10.8 ในการซ่อมบำรุงหรือการปรนนิบตั บิ ำรงุ ชน้ั หน่วยนัน้ พลประจำยุทโธปกรณ์มีหน้าท่ี ช่วยเหลอื ชา่ งซอ่ มของหนว่ ย 10.9 ขอบเขตของการซ่อมบำรุง ให้ปฏิบัตติ ามค่มู ือ คำสงั่ หรือระเบียบที่กำหนดไว้เปน็ ราย ยทุ โธปกรณ์ ขอ้ 11 การซ่อมบำรงุ สนับสนุนโดยตรง ผบู้ งั คบั หนว่ ยซอ่ มบำรงุ สนบั สนนุ โดยตรงมหี น้าท่ีรับผดิ ชอบ การซ่อมบำรุงยทุ โธปกรณท์ ่ีส่งมาซอ่ มยังหน่วยของตน และมหี นา้ ทร่ี บั ผิดชอบในการส่งกำลงั ชิ้นส่วนซอ่ ม หน่วยซ่อมบำรงุ สนับสนนุ โดยตรงตอ้ งให้การสนบั สนุนโดยใกลช้ ดิ ตอ่ หนว่ ยใช้ดังน้ี.- 11.1 ทำการซ่อมยุทโธปกรณ์ทีห่ น่วยใช้ในความรับผิดชอบส่งมาซอ่ ม 11.2 พิจารณาจัดชดุ ซ่อมเคล่ือนที่ไปทำการซอ่ ม ณ ที่ตั้งหนว่ ยใช้ ถ้าสามารถทำได้ และ ประหยดั กว่าการใหห้ นว่ ยใช้สง่ ยุทโธปกรณม์ าซ่อมทีห่ น่วยสนบั สนนุ โดยตรง หรอื ทำการซ่อมโดยการ แลกเปลีย่ นโดยตรง

- 116 - 11.3 ให้ความช่วยเหลือทางเทคนิคแกห่ นว่ ยใช้ เพ่ือลดขอ้ ขัดข้องและทำให้เคร่ืองมอื ปฏิบัติงานได้ดีขึ้น 11.4 ช่วยเหลือหนว่ ยใช้ในการหาสาเหตุขอ้ ขัดข้องของยทุ โธปกรณ์ 11.5 ทำการกซู้ อ่ มยทุ โธปกรณ์ของหนว่ ยใช้เม่ือได้รับการร้องขอ 11.6 ทำการซ่อมแบบยบุ รวมเมอื่ จำเป็น และได้รบั อนมุ ตั ิแลว้ 11.7 สนบั สนุนชนิ้ สว่ นซ่อมตามอัตราพิกดั และชิ้นส่วนซ่อมตามความต้องการใหแ้ ก่หนว่ ยใช้ 11.8 ยุทโธปกรณท์ ี่ซ่อมเสร็จแล้ว ใหส้ ่งกลบั คนื หนว่ ยใช้ การส่งคนื ใหป้ ฏิบัติตามระเบียบ กองทัพบก วา่ ดว้ ยการส่งและรับสิง่ อุปกรณ์ พ.ศ.2500 หรอื สง่ ไปเปน็ สิง่ อุปกรณ์สำรองการซ่อม (Maintainance Float) ในกรณที ่ไี ด้ทำการซอ่ มโดยการแลกเปลี่ยนกับหนว่ ยใช้ 11.9 รักษาระดบั การสะสมชิ้นสว่ นซ่อมตามท่ไี ดร้ บั อนมุ ตั ิ (ASL) 11.10 ขอบเขตการซ่อมบำรงุ ให้ปฏิบตั ติ ามค่มู ือ ระเบยี บ หรอื คำสั่ง ท่ีกำหนดไวเ้ ป็นราย ยทุ โธปกรณ์ ข้อ 12 การซอ่ มบำรงุ สนับสนุนทว่ั ไป ผู้บังคับหน่วยซ่อมบำรุงสนบั สนุนท่ัวไป มีหน้าท่รี บั ผิดชอบในการ สนบั สนนุ หนว่ ยซอ่ มบำรุงสนับสนนุ โดยตรงในเขตพน้ื ท่รี บั ผิดชอบ ขอบเขตหน้าที่ของหน่วยซอ่ มบำรงุ สนบั สนนุ ทวั่ ไปมดี ังน้ี.- 12.1 รับยุทโธปกรณเ์ พื่อทำการซอ่ มหรือทำการซ่อมใหญ่จากหนว่ ยซอ่ มบำรุงสนับสนนุ โดยตรงจากตำบลรวบรวม หนว่ ยสง่ กำลังและหน่วยอนื่ ๆ ทม่ี ีความรับผดิ ชอบ ในการซ่อมบำรุง 12.2 ทำการซ่อมใหญ่ 12.3 สง่ ยทุ โธปกรณ์ท่ซี ่อมเสร็จแล้ว เขา้ สายการสง่ กำลงั ขอ้ 13 การซอ่ มบำรงุ ระดบั คลัง ดำเนนิ การซ่อมโดยหนว่ ยทมี่ หี น้าท่ีตามอตั ราการจดั ให้ทำการซ่อม บำรุงระดบั คลงั โดยกรมฝ่ายยุทธบริการหรอื กรมฝา่ ยกิจการพเิ ศษนั้นเป็นผู้รบั ผดิ ชอบการซ่อมบำรุงระดบั คลัง ให้ดำเนนิ การดงั นี้.- 13.1 กรมฝา่ ยยทุ ธบริการ เป็นผู้พจิ ารณาว่ายทุ โธปกรณ์ใดที่อยู่ในความรบั ผิดชอบของตน จะ มกี ารซ่อมระดับคลงั 13.2 ทำการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณใ์ ห้ได้มาตรฐาน ตามที่กำหนดไว้ในคู่มือประจำยทุ โธปกรณ์ นน้ั หรือตามคู่มอื ของบรษิ ัทผู้ผลติ 13.3 กรมฝ่ายยุทธบริการ รบั ผดิ ชอบ พจิ ารณากำหนดแนวความคิดในการซ่อมบำรุงระดับ คลงั เมื่อได้แจกจ่ายยุทโธปกรณใ์ ห้แกห่ น่วยใช้ โดยกำหนดว่าจะต้องทำการซ่อมบำรุงระดับคลงั เม่อื ใด

- 117 - 13.4 ยุทโธปกรณ์ทจ่ี ะนำมาซ่อมประเภทนี้ ค่าซ่อมไม่ควรเกนิ 65 % ของราคาจัดหาใหม่ 13.5 กรมฝ่ายยทุ ธบริการ รบั ผิดชอบการวางแผนในรายละเอยี ดได้แก่ จำนวนยุทโธปกรณ์ท่ี จะเขา้ รับการซ่อม ความต้องการช้นิ ส่วนซ่อม ตลอดจนแผนการซอ่ ม โดยต้องจัดทำให้แลว้ เสร็จก่อนถึง กำหนดการซ่อมไม่น้อยกว่า 3 ปี และใหเ้ สนอความตอ้ งการ ในการซอ่ มเข้ารบั การจดั สรรงบประมาณลว่ งหน้า 3 ปี 13.6 เมอ่ื ซ่อมเสร็จแลว้ ใหส้ ่งขนึ้ บัญชคี ุมของกรมฝา่ ยยุทธบริการ เพ่ือการแจกจ่ายใหม่ ขอ้ 14 กรมฝ่ายยทุ ธบริการ และกรมฝ่ายกจิ การพเิ ศษ ท่ีรบั ผดิ ชอบส่งิ อปุ กรณ์ตามระเบยี บกองทพั บก ว่าดว้ ยความรับผดิ ชอบในสิง่ อุปกรณ์ พ.ศ.2510 มหี น้าทแี่ ละความรับผิดชอบในการซ่อมบำรงุ ดังนี้.- 14.1 กำหนดหลักการและคำสง่ั หรือคำแนะนำทางเทคนิค ได้แก.่ - 14.1.1 แผนผังการแบ่งมอบการซ่อมบำรุงระดบั ต่างๆ (Maintenance Allocation Chart) 14.1.2 คมู่ อื การใชย้ ุทโธปกรณ์ 14.1.3 คมู่ อื ทางเทคนิค 14.1.4 คำส่ังการหล่อล่ืน 14.1.5 คำสัง่ การดดั แปลงยุทโธปกรณ์ 14.1.6 คำแนะนำทางเทคนิคเกย่ี วกับคุณลักษณะ และการใช้เครอื่ งมือเครื่องทดสอบ และเคร่ืองอุปกรณ์ 14.1.7 คำแนะนำเก่ยี วกับเทคนคิ ของการซ่อมบำรงุ วธิ ีดำเนินการ และการวางผงั โรงงานซอ่ ม 14.1.8 บัญชรี ายชื่อช้ินส่วนซอ่ มที่ใช้ในการซ่อมบำรุงทุกประเภท 14.2 ตรวจสอบทางเทคนคิ เก่ียวกบั การซ่อมบำรงุ ยุทโธปกรณข์ องหน่วยตา่ ง ๆ 14.3 ใหค้ วามชว่ ยเหลอื และคำแนะนำแก่ผบู้ ังคับหนว่ ยทหารในเรื่องทเ่ี กีย่ วกบั การซ่อมบำรงุ ระดบั หนว่ ย การซ่อมบำรุงสนับสนุนโดยตรง และการซ่อมบำรงุ สนบั สนนุ ทว่ั ไป 14.4 ทำการตรวจการซอ่ มบำรงุ ให้เป็นไปตามท่ีระเบยี บการซอ่ มบำรุงกำหนดไว้ ขอ้ 15 ผบู้ ญั ชาการกองพล รับผิดชอบการซ่อมบำรงุ ยุทโธปกรณ์ของหนว่ ยซ่อมบำรุงในกองพล ขอ้ 16 ผ้บู ญั ชาการกองบัญชาการช่วยรบ รับผดิ ชอบการซ่อมบำรงุ ของหน่วยซ่อมบำรุงสนับสนุนทั่วไป ข้อ 17 แม่ทัพภาค รบั ผิดชอบการซอ่ มบำรงุ เปน็ ส่วนรวมในกองทพั ภาคของตน ขอ้ 18 กรมฝ่ายยทุ ธบริการ รับผิดชอบทางเทคนคิ ทง้ั ปวง และการซ่อมบำรุงระดบั คลงั ขอ้ 19 ให้กรมส่งกำลงั บำรงุ ทหารบก รกั ษาการใหเ้ ป็นไปตามระเบียบน้ี ข้อ 20 ให้ใชร้ ะเบียบนต้ี งั้ แต่บัดน้ีเปน็ ตน้ ไป

- 118 - ประกาศ ณ วันที่ 22 เมษายน พ.ศ.2524 รบั คำสงั่ ผู้บญั ชาการทหารบก (ลงชอื่ ) พลเอก ปิ่น ธรรมศรี (ปิ่น ธรรมศรี) ผชู้ ่วยผู้บัญชาการทหารบก กรมส่งกำลังบำรงุ ทหารบก - - - - - - - - - - ------------- - - - - - - - - - -

- 119 - ระเบยี บกองทพั บก ว่าดว้ ยการส่งกำลงั สป.5 พ.ศ.2542 1. คำจำกดั ความ 1.1 การสง่ กำลัง สป.5 หมายถึง การปฏิบัตกิ ารเก่ียวกบั การกำหนดความต้องการ การจัดหา การ เก็บรกั ษา การแจกจา่ ย การซ่อมบำรงุ การจำหน่ายและการทำลาย รวมทั้งการควบคุมการปฏบิ ัตติ าม ขน้ั ตอนดังกลา่ ว 1.2 สป.5 หมายถงึ ส่งิ ของท้ังมวลเก่ียวกับกระสนุ วตั ถรุ ะเบิด และสารเคมี ซึ่งจำเป็นสำหรับการ ปฏบิ ตั กิ ารทางทหาร 1.3 กระสุน หมายถึง วัตถุซึง่ สรา้ งขนึ้ เปน็ พเิ ศษ บรรจวุ ัตถุระเบิด หรือวตั ถเุ คมี หรอื รวมกัน โดยการ ขบั เคล่อื นจากอาวุธ การวาง การขว้าง หรอื การท้ิงอนั จะเปน็ เหตุให้เกิดอนั ตราย ความเสียหาย หรือ การ รบกวนตอ่ ชีวติ และทรัพยส์ ิน ซ่ึงหมายรวมถึงกระสนุ ทีใ่ ช้รบได้และใช้รบไม่ได้ รวมทั้งดินระเบิดที่ใชใ้ นการ ทำลาย และส่วนประกอบในการจุดระเบดิ 1.4 วตั ถุระเบดิ หมายถึง สารประกอบหรอื ของผสม ซ่ึงเม่ือไดร้ บั ความร้อนหรอื การกระทำทางกลท่ี เหมาะสม จะเกิดการสลายตัวโดยทนั ที ทำให้เกิดความร้อนและแรงดันจำนวนมาก 1.5 วตั ถทุ างเคมี หมายถึง ของแขง็ ของเหลว หรอื แก๊ส ซึง่ อาศยั คุณสมบตั ิทางเคมกี ่อให้เกิดการ สงั หาร การบาดเจบ็ หรือรบกวนตอ่ ชีวิตและทรัพย์สนิ 1.6 กระสนุ สำรองสงคราม หมายถึง ปริมาณกระสนุ ทกี่ องทพั บก ไดก้ ำหนดใหส้ ถานทีต่ ้ังการสง่ กำลัง กระสุนแตล่ ะแหง่ สะสมไว้ เพ่ือเผชิญสถานการณ์ทางยุทธวธิ ตี ามแผน โดยปกติกำหนดตามระดับกระสุน วนั สง่ กำลังและจำนวนอาวธุ หรือกำลงั พล 1.7 ระดับกระสุน หมายถึง จำนวนวันในการส่งกำลังกระสุนทกี่ องทัพบกได้อนุมตั ิให้สะสมไว้ ณ สถานการส่งกำลังกระสนุ 1.8 วนั สง่ กำลังกระสุน หมายถงึ อตั ราความส้นิ เปลืองกระสุนทีป่ ระมาณว่าจะใชร้ บใน 1 วนั โดย อาศัยสถานการณ์ การปฏบิ ตั ิการยุทธและกำลังรบเป็นมูลฐาน ทัง้ นีก้ องทัพบกเปน็ ผู้กำหนด โดยปกติกำหนด เป็นนัดต่ออาวุธ ตอ่ วนั สำหรบั กระสุนซง่ึ ใชย้ งิ จากอาวุธ หรือเป็นหน่วยนับในการคำนวณอืน่ ๆ ตอ่ หนว่ ยต่อวนั สำหรบั กระสุนซงึ่ ไมใ่ ชย้ ิงจากอาวุธ (ลข.สงั หาร 2 ลูก/คน, ทุ่น M18 16 ทุ่น/กองร้อย) 1.9 อัตรากระสุนมูลฐาน หมายถงึ จำนวนกระสุนซงึ่ กองทัพบกอนุมัตใิ หห้ น่วยสะสมไวเ้ พื่อใชร้ บหรือ เผชิญสถานการณ์ และสามารถนำไปไดด้ ้วยกำลงั พลและยานพาหนะของหนว่ ย 1.10 อัตรากระสนุ ฝึก หมายถึง จำนวนกระสนุ ท่ีกองทัพบกไดก้ ำหนดข้ึน เพ่ือใช้ในการฝึกของหนว่ ย ตา่ ง ๆ ตามหลักสูตรการฝึกประจำปี ซ่ึงกองทัพบกได้อนมุ ัติแล้ว 1.11 ระดบั กระสนุ ฝึก หมายถงึ ปริมาณกระสุนท่ีกำหนดข้ึน ณ สถานการสง่ กำลังต่าง ๆ เพอ่ื ให้ ดำเนินการฝกึ ของหน่วยเปน็ ไปโดยตอ่ เนอื่ ง ในห้วงเวลาเบิกหรือห้วงเวลารับกระสนุ ทสี่ ง่ มาเพิ่มเติม 1.12 เครดติ กระสนุ ฝึก หมายถึง รายการ จำนวนกระสนุ และ วัตถรุ ะเบดิ ทกี่ องทัพบกอนมุ ตั ิใหใ้ ช้ใน การฝกึ ในแตล่ ะปี

- 120 - 1.13 อัตรากระสุนทดสอบ หมายถึง จำนวนกระสุนซึ่งกองทพั บกอนุมัตใิ หม้ ีไว้ท่ีหนว่ ย ซ่ึงมีหนา้ ที่ ทดสอบการทำงานของอาวุธและกระสนุ เพื่อการปฏิบตั ภิ ารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมาย (คลังแสง, กชส.ศอ.,พัน ซบ ร.กรม สน.,พนั ซบร.บชร.,กอง สพบ.พล) 1.14 กระสนุ ตามโครงการพเิ ศษ หมายถึง จำนวนกระสุน ซ่ึงกองทัพบกไดร้ บั อนุมัตติ ามโครงพเิ ศษของ หนว่ ย ซึ่งมีความจำเปน็ ตอ้ งมไี ว้ เพ่ือประกอบภารกจิ ท่ไี ด้รบั มอบหมายเป็นพิเศษในครั้งคราวหน่งึ เช่นการยิง สลุต การยงิ ประกอบพิธตี ่าง ๆ เปน็ ต้น 1.15 กระสุนโครงการฝกึ พิเศษ หมายถึง จำนวนกระสุนซงึ่ กองทัพบกได้อนมุ ตั ติ ามโครงการฝึกพิเศษ น้ัน ๆ นอกเหนือจากอตั รากระสุนฝึกหรือเครดิตกระสนุ 1.16 เครดติ กระสุนรบ หมายถงึ กระสนุ ทก่ี องทัพบกแบ่งมอบให้กองทัพภาคใช้ปฏิบตั ิการรบตามภา กิจทกี่ ำหนด โดยพิจารณาจากอัตรากระสุนท่ีตอ้ งการ ซ่งึ หนว่ ยทางยุทธวธิ ีเสนอขนึ้ มา และกระสนุ ทีค่ าดวา่ จะมี ตามห้วงเวลาท่ีกำหนด 1.17 กระสุนนอกเครดิต หมายถึง กระสนุ และวัตถรุ ะเบิดทไ่ี ม่ไดก้ ำหนดเครดติ ไว้ รวมท้ัง สป.5 ถาวร ทตี่ อ้ งใช้ในการฝกึ หรือกระสนุ ละวตั ถุระเบดิ ทใี่ ชใ้ นกจิ การพิเศษ นอกเหนอื จากการฝกึ ตามหลักสตู รการฝึก ประจำปี 1.18 ส่งิ อุปกรณป์ ระเภท 5 ถาวร หมายถงึ สง่ิ อปุ กรณป์ ระเภท 5 ท่มี ีความคงทนต่อการใช้งานได้ หลายครง้ั หากเกดิ การชำรดุ หรือสญู หาย ตอ้ งทำการสอบสวนและขออนุมัติจำหน่าย เช่น กระสนุ ฝกึ บรรจุ,ลกู ระเบดิ ขวา้ งซ้อมขวา้ ง , ลูกระเบดิ ขวา้ งฝกึ ขว้าง ลกู ระเบิดยิงจากเคร่ืองยงิ ลูกระเบิดฝึกยงิ , ทุ่นระเบดิ ฝกึ 1.19 สถานการส่งกำลงั กระสุน หมายถึง สถานที่ซงึ่ กองทัพบกจัดต้งั ขนึ้ เพ่ือรบั คัดแยก เกบ็ รักษาและ จา่ ยกระสนุ 1.20 คลังแสง หมายถึง สถานการณส์ ่งกำลงั กระสุนของกองทัพบก ซ่งึ จัดตั้งขึน้ โดยให้อยูใ่ นความ รบั ผดิ ชอบของ กรมสรรพาวธุ ทหารบก เพื่อสนับสนนุ หน่วยในกองทพั บกเปน็ ส่วนรวม 1.21 คลังกระสุนกองบญั ชาการชว่ ยรบ หมายถึง สถานการณส์ ง่ กำลังกระสุนของกองทัพภาคซ่งึ กองทัพบกจัดตัง้ ขน้ึ โดยใหอ้ ยูใ่ นความรบั ผดิ ชอบของกองบัญชาการช่วยรบเพื่อสนบั สนุนหนว่ ยในกองทพั ภาค 1.22 คลังกระสนุ สว่ นภูมภิ าค หมายถงึ สถานการณส์ ่งกำลังกระสนุ ซงึ่ กองทพั บกจัดต้งั ข้ึนโดย ใหอ้ ยู่ ในความรับผดิ ชอบของมณฑลทหารบก และหรือจงั หวดั ทหารบกเพื่อสนับสนนุ โดยตรงต่อหน่วยใชใ้ นพนื้ ที่ และเปน็ ตำบลสง่ กำลงั ของกองบญั ชาการชว่ ยรบ 1.23 ตำบลส่งกำลงั กระสนุ (ตสน.) หมายถึง หมวดคลงั กระสุนของกองร้อยกระสนุ ซ่ึงแยกออกไปตัง้ เป็นตำบลสง่ กำลงั กระสุนในสนาม เพื่อใหก้ ารสนับสนุนโดยตรงแกห่ นว่ ยทีร่ ับการสนบั สนนุ โดยใกลช้ ดิ 1.24 หน่วยใช้ หมายถึง หน่วยระดบั กองพนั หรือเทยี บเทา่ หรือกองร้อยอิสระข้ึนไป ซงึ่ ไดร้ บั ประโยชน์ จากการใชก้ ระสุนนัน้ ๆ

- 121 - 1.25 หนว่ ยเบกิ หมายถึง หน่วยใช้ หรือคลงั กระสนุ ส่วนภมู ิภาค หรอื คลงั กระสุนกองบัญชาการชว่ ย รบ ดำเนนิ การในการขอเบกิ กระสนุ เพอ่ื ให้มีจำนวนกระสนุ เต็มอัตราหรือระดบั ซ่ึงได้รบั อนุมตั ิใหม้ ีหรอื สะสมไว้ เพอ่ื การแจกจ่ายหรอื การใช้ภายในหนว่ ย 1.26 หนว่ ยจา่ ย หมายถึง คลังแสง คลังกระสนุ กองบัญชาการชว่ ยรบหรอื คลังกระสุนสว่ นภมู ภิ าค ซึง่ ดำเนนิ การสะสมและแจกจา่ ยกระสนุ ให้หนว่ ยเบิก 1.27 สายการส่งกำลงั กระสนุ หมายถงึ ความเกย่ี วพันในการสง่ กำลังของหน่วยเหนือท่ีมตี ่อหนว่ ยรอง ตามลำดับ เช่น กองทพั บก, กรมสรรพาวธุ ทหารบก, กองบัญชาการช่วยรบ, มณฑลทหารบก จังหวดั ทหารบก และหนว่ ยใช้ 1.28 สายการบังคบั บญั ชา หมายถึง ความเกย่ี วพนั ในการบังคบั บญั ชาของหนว่ ยเหนือท่ีมตี ่อหนว่ ยรอง ตามลำดับ เชน่ กองทพั บก กองทัพภาค กองพล กรม และ กองพนั หรือ กองทัพบก กองทัพภาค และ ส่วนภมู ภิ าค รหสั หมวดหมู่ สงิ่ อุปกรณ์ สป.5 ตามคมู่ ือการส่งกำลงั สาย สพ. 1. หมวด 13 กระสนุ และวัตถุระเบิด 1305 กระสนุ ซึง่ มขี นาดตั้งแต่ 30 มิลลเิ มตร ลงมา 1310 กระสุนซง่ึ มขี นาดเกนิ กว่า 30 มิลลิเมตร แต่ตำ่ กวา่ 75 มลิ ลิเมตร 1315 กระสุนซึ่งมีขนาดตง้ั แต่ 75 มลิ ลิเมตร ข้นึ ไป ถึง 125 มลิ ลิเมตร 1320 กระสุนซง่ึ มีขนาดเกนิ กว่า 125 มิลลเิ มตร ข้นึ ไป 1325 ลูกระเบิดอากาศ 1330 ลูกระเบิดขวา้ งและลูกระเบดิ ยิงจากปืนเล็ก 1340 จรวด 1345 ทนุ่ ระเบดิ 1365 สารเคมีทหาร 1370 ไพโรเทคนิค 1375 อุปกรณ์ทำลาย 1377 กระสุนและดินขบั อปุ กรณ์ต่าง ๆ 1380 กระสนุ ซึ่งมขี นาดตง้ั แต่ 30 มลิ ลิเมตร ลงมา 2. หมวด 14 อาวธุ นำวิถี 1410 อาวุธนำวิถี 1420 องค์ประกอบอาวุธนำวิถี 1425 ระบบอาวุธนำวิถีครบชดุ 1427 ระบบย่อยอาวุธนำวิถี 1430 ระบบควบคุมอาวุธนำวถิ ี

- 122 - 1440 เครอ่ื งยงิ อาวธุ นำวถิ ี 1450 เคร่ืองมือยกขนอาวุธนำวิถีและอุปการณ์ 3. รหัสประเทศ หมายถึง หมายเลขประเทศผผู้ ลติ สง่ิ อปุ กรณ์ ใชร้ ว่ มกบั หมายเลขสงิ่ อุปกรณ์ (FSN)ประกอบด้วยเลข 2 ตวั ดังนี้.- 00 สหรฐั (ส่งิ อปุ กรณ์ที่มอี ยู่ก่อนปี 2518) 01 สหรฐั (สง่ิ อปุ กรณใ์ หม่ตั้งแตป่ ี 2518) 11 องค์การนาโต 28 ลักแซมเบิร์ก 12 เยอรมนั 29 อารเ์ จนตนิ า 13 เบลเยย่ี ม 30 ญีป่ นุ่ 14 ฝรั่งเศส 31 อสิ ราเอล 15 อิตาลี 32 สงิ คโปร์ 17 เนเธอแลนด์ 33 สเปน 18 อาฟริกาใต้ 34 มาเลเซยี 21 แคนาดา 35 ไทย 22 เดนมารค์ 36 อียิปต์ 23 กรีก 37 เกาหลีใต้ 24 ไอซ์แลนด์ 66 ออสเตรเลยี 25 นอรเ์ วย์ 70 ซาอุดิอาระเบยี 26 ปอรต์ ุเกส 98 นวิ ซแี ลนด์ 27 ตุรกี 99 อังกฤษ 3. หมายเลขส่งิ อุปกรณ์ ประเภท 5 หมายถึง หมายเลขสิ่งอุปกรณ์ (NSN) กบั รหัสพิสูจน์ทราบของ กระทรวงกลาโหม (DODIC) กระสุนทมี่ ีรหัสพสิ จู นท์ ราบของกระทรวงกลาโหม (DODIC) เดยี วกนั สามารถจา่ ย แทนกนั ได้ เช่น NSN (หมายเลขส่ิงอุปกรณ์) DODIC (รหสั พสิ ูจนท์ ราบของกระทรวงกลาโหม) รหสั หมวดหมู่ 1315 – 00 – 028 – 4859 C445 1315 – 00 – 667 – 8034 C445 รหสั ประเทศ

- 123 - 4. รหสั กระสนุ ของ กห (DODAC) หมายถึง รหัสหมวดหมู่ กับ รหัสพสิ ูจนท์ ราบของกระทรวง กลาโหม ( FSC กบั DODIC ) ใช้ในการเบิก-จา่ ย-ควบคมุ หรือรายงานสิ่งอุปกรณ์ประเภท 5 เช่น DODAC 1315 - C 4 4 5 (FSC) (DODIC) 5. เลขงานกระสนุ (LOT NUMBER) เป็นส่วนสำคญั มากในการควบคุมทางบัญชแี ละการสบื สวนการ ทำงานผดิ ปกติของกระสนุ ปจั จุบนั มีเลขงานกระสุน 2 แบบ คือ แบบเก่า และ แบบใหม่ เชน่ LOT PBA 1-45 (เก่า) LOT PBA 75D001-045 (ใหม)่ - PBA คอื รหัสพิสจู นท์ ราบโรงงาน - 75 คือ ปที ี่ผลติ 1975 - D คอื เดอื นทีเ่ ริม่ ผลิตโดยเร่ิมจาก A คือ เดือน มกราคม ดังนั้น D คอื เดือน เมษายน - 001 คือ หมายเลขตวั กลาง หมายถงึ สถานทผ่ี ลิตหรือโรงงานที่ผลิต - 045 คอื หมายเลขเรยี งลำดบั งวดงาน หมายถึง ลำดบั งวดงานในการผลิตกระสนุ หมายเหตุ เลขงานกระสุนใหมจ่ ะมตี ัวอักษรและตัวเลขรวมกันไมเ่ กิน 14 ตัว และไม่อยแู่ ยกกนั จำนวนอักษร และตวั เลขอย่างน้อยใช้ 13 ตวั ถ้ารหสั พิสจู น์ทราบโรงงานใช้ 1 หรอื 2 ตวั ส่วนท่เี หลือในตำแหน่ง จะเติมด้วย – แทน เช่น A --, AB- เป็นต้น ความตอ้ งการ ความต้องการส่งิ อุปกรณ์ประเภท 5 ใหแ้ บ่งความต้องการออกเปน็ ดังน้ี.- 1. ความตอ้ งการขัน้ ต้น - ความตอ้ งการกระสนุ มูลฐานขัน้ ตน้ - ความต้องการกระสนุ ทดสอบขั้นตน้ - ความต้องการกระสุนสำรองสงครามข้ันตน้ 2. ความต้องการทดแทน 3. ความตอ้ งการตามโครงการพเิ ศษ - ตามโครงการฝึกพิเศษ - ตามโครงการพเิ ศษอื่น ๆ 4. ความต้องการกระสนุ ฝึก - ของหน่วยใช้ - ของคลังกระสุน บชร., คลังกระสุนสว่ นภมู ิภาค

- 124 - - ของคลงั แสง 5. ความต้องการกระสุนที่ใช้รบ หมายถึง จำนวนกระสนุ ท่ีหน่วยตอ้ งการใช้การรบตามภารกิจ และ ตามห้วงเวลาที่กำหนด 5.1 อตั รากระสุนท่ีต้องการ หมายถงึ จำนวนกระสุนทีผ่ บู้ ังคบั หนว่ ยทางยุทธวธิ ี ประมาณการไวว้ ่า จะตอ้ งการใชส้ นบั สนุนการรบได้โดยไม่จำกัด ตามระยะเวลาท่กี ำหนด ตามปกตจิ ะกำหนดไว้ 10 – 15 วัน กำหนดเป็นจำนวนนัดตอ่ อาวุธตอ่ วัน สำหรบั กระสนุ ทใ่ี ชย้ งิ จากอาวุธ และกำหนดเป็นหน่วยนบั อืน่ ต่อวัน สำหรับกระสุนที่ไม่ได้ยงิ จากอาวุธ อัตรานไี้ มไ่ ด้กำหนดไวต้ ายตัว หากแตข่ ้นึ อยกู่ ับชนิดของการรบ ในหน่วยรบ แต่ละหน่วยในกองพล หรือกองทัพภาค อาจมคี วามต้องการไม่เท่ากัน 5.2 ผูบ้ ังคับหน่วยทางยุทธวธิ ีแตล่ ะหน่วย เปน็ ผเู้ รมิ กำหนดอัตรากระสุนทตี่ ้องการแล้วเสนอไปตาม สายการบังคับบัญชา ระบุจำนวนรวมของอาวธุ และจำนวนรวมของกระสุนแตล่ ะชนดิ ที่ตอ้ งการตามห้วง ระยะเวลาท่ีกำหนด รวมทั้งจำนวนนัดตอ่ อาวธุ ต่อวัน สำหรับรายการกระสนุ ทไี่ ม่ได้ใชย้ ิงจะระบเุ พยี งจำนวน รวมทต่ี อ้ งการ กองบญั ชาการในแตล่ ะระดับจะสรปุ รวมอัตรากระสนุ ท่ตี ้องการไปตามสายการบังคบั บัญชา 5.3 ในระดบั กองทัพบกจะทำการพิจารณาความตอ้ งการรวมโดยคาดคะเนกระสุนทจ่ี ะมตี ามห้วง ระยะเวลาน้ัน แล้วจึงประกาศเปน็ อตั รากระสุนทใ่ี ช้ได้ หรือเครดิตกระสุนรบ 6. การกำหนดความตอ้ งการ 6.1 ความตอ้ งการขน้ั ตน้ 6.1.1 ความตอ้ งการกระสนุ มลู ฐานขั้นต้น = อัตรากระสุนมูลฐาน × จำนวนหน่วยทหารหรือจำนวนอาวธุ ตามอัตรานั้นๆ 6.1.2 ความต้องการกระสนุ ทดสอบข้ันตน้ = อตั รากระสนุ ทดสอบ × จำนวนหนว่ ยทหารทท่ี ำการทดสอบ 6.1.3 ความตอ้ งการกระสุนสำรองสงครามข้ันตน้ = อตั รากระสนุ × วนั สง่ กำลงั กระสุน × จำนวนอาวธุ หรอื จำนวนหน่วยทหาร หรอื จำนวนกำลงั พลตามอัตรานนั้ ๆ 6.2 ความตอ้ งการทดแทน คงเป็นไปตามจำนวนกระสุนทใ่ี ชห้ มดไปในกรณีนนั้ ๆ 6.3 ความต้องการตามโครงการพิเศษ คิดคำนวณจากภารกิจยงิ เวลาในการปฏบิ ตั ิ, จำนวนทหาร และจำนวนอาวุธซึ่งจะใชต้ ามโครงการพิเศษน้นั ๆ 7. การเสนอความต้องการ 7.1 ความต้องการขนั้ ตน้ เนื่องจากกองทัพบกเปน็ ผู้กำหนดอัตราหรือระดบั กระสุน ฉะน้ันทุกหน่วย ไม่ต้องเสนอความต้องการขัน้ ตน้ 7.2 ความตอ้ งการทดแทน เนื่องจากจำนวนในการทดแทนเกี่ยวกบั การเส่อื มสภาพหรือสญู หายมี นอ้ ย ซ่งึ ไมเ่ ปน็ ผลกระทบกระเทอื นต่อการส่งกำลงั ฉะนนั้ ทุกหนว่ ยไม่ต้องเสนอความต้องการทดแทน

- 125 - 7.3 ความต้องการกระสนุ ตามโครงการพเิ ศษ 7.3.1 ใหห้ น่วยใช้เสนอความต้องการกระสุนตามโครงการฝกึ พิเศษตามสายการบังคบั บญั ชา และสายการสง่ กำลงั ก่อนปฏิบตั ิการอย่างน้อย 120 วัน 7.3.2 ให้หน่วยตามสายการบงั คับบัญชา ให้ข้อคดิ เห็นเกย่ี วกับความจำเป็นในการปฏบิ ัติตาม โครงการฝึกพเิ ศษนนั้ ๆ ตามลำดบั จนถึงหน่วยสงู สดุ ทขี่ ้นึ ตรงกองทพั บก สำหรบั หน่วยในสายการส่งกำลัง ให้ เสนอข้อพจิ ารณาผลกระทบกระเทือนเก่ยี วกบั สถานภาพกระสนุ และขีดความสามารถการสนบั สนุนตามลำดบั จนถงึ กรมสรรพาวธุ ทหารบก 7.3.3 หนว่ ยสูงสุดที่ข้นึ ตรงกองทัพบก เสนอผลการพจิ ารณาต่อกรมยทุ ธศึกษาทหารบกก่อน การปฏิบตั ิการของหนว่ ยใช้อยา่ งน้อย 90 วัน เพื่อพจิ ารณาความเหมาะสมเกย่ี วกบั หลักการฝึกนนั้ ๆ เสร็จแล้ว ให้เสนอ กรมยุทธการทหารบก 7.3.4 ให้กรมสรรพาวธุ ทหารบก เสนอผลการพจิ ารณาต่อ กรมส่งกำลงั บำรุงทหารบกก่อนการ ปฏิบตั ิการของหน่วยใชอ้ ย่างนอ้ ย 90 วนั เพอ่ื พิจารณาเสนอกรมยุทธการทหารบก 7.4 ความตอ้ งการกระสุนฝึกของหน่วยใช้ ใหเ้ สนอความต้องการกระสนุ ฝึกประจำปีตามคำสัง่ การ ฝึกและศึกษาประจำปีตามสายการบงั คบั บัญชา และใหห้ น่วยขึ้นตรงของกองทัพบกสรปุ และรวบรวมเสนอกรม ยทุ ธศึกษาทหารบก ก่อน 1 เมษายน ของปีปัจจุบัน * ในเสนอความต้องการกระสุน ทบ. 468 – 511 8. การเบกิ ผู้บังคบั หนว่ ยจะต้องรับผดิ ชอบในการขอเบิกกระสนุ เพื่อใหห้ นว่ ยมปี ระสิทธภิ าพพร้อมท่ี จะปฏบิ ตั ภิ ารกิจได้อยเู่ สมอ และให้ถือวา่ หนว่ ยขนาดกองพันหรือเทยี บเท่าหรือกองรอ้ ยอิสระขน้ึ ไป เปน็ หนว่ ย ในการเบกิ 8.1 เบกิ ขัน้ ต้น 8.2 เบกิ ทดแทน 8.3 เบิกพเิ ศษ 8.3.1 เบกิ เรง่ ดว่ น เมือ่ มีความเรง่ ดว่ นในยามฉกุ เฉินให้ ผบ.หนว่ ยขออนมุ ตั ิ ผบ.สว่ นภูมภิ าค ผบ.บชร. หรอื จก สพ.ทบ. ให้สนับสนุนดว้ ยเครื่องมือท่เี หมาะสม และมผี ู้อนุมตั ิพิจารณาใหส้ ่ังการใหจ้ า่ ยให้ คลังกระสนุ ทสี่ นบั สนุนใหจ้ ่ายได้ ใหห้ น่วยใชท้ ำใบเบิกมารับกระสนุ โดยอ้างหลักฐานการเบิกเรง่ ดว่ น 8.3.2 เบกิ นอกอัตรา นอกเหนืออตั ราท่กี ำหนด ซงึ่ หน่วยจำเป็นต้องใช้เพ่ือปฏิบัติภารกจิ ให้ สำเรจ็ ตามคำสง่ั เมื่อได้รบั อนุมัติแล้วให้ดำเนินการเบิกเช่นเดียวกบั เบกิ ขัน้ ต้น 8.4 เบิกกระสนุ ฝกึ ใหห้ น่วยใชเ้ บิกกระสุนฝกึ จากจำนวนเครดติ ที่ได้รับแบง่ มอบใหต้ ามจำนวนท่ใี ช้ ฝกึ เฉพาะคร้งั คราวนัน้ ลว่ งหนา้ ก่อนการฝกึ อยา่ งน้อย 7 วัน โดยดำเนินการเหมอื นการเบิกขั้นตน้ 8.5 ผ้มู สี ิทธเ์ิ บิก ผบ.หนว่ ยระดบั กองพนั หรอื เทยี บเทา่ หรอื กองร้อยอิสระ โดยผมู้ ีสทิ ธเิ บิกหรอื สั่ง มอบเฉพาะ เจา้ หนา้ ที่อื่นๆ จะเปน็ ผู้มีสทิ ธิเบิกได้เฉพาะอยู่ในตำแหนง่ รกั ษาราชการหรือทำการแทนเทา่ น้ัน

- 126 - * ใบเบกิ กระสนุ ทบ. 468-512, 468-513 9. การยกเลิกการเบกิ 9.1 การยกเลกิ การเบิก หน่วยจ่ายจะถอื สถานภาพกระสนุ สถานการณ์ กบั เวลาในการเบกิ และสง่ กระสนุ เปน็ หลักในการพจิ ารณา คือ 9.1.1 กระสนุ ฝกึ ท่ีเหลืออยูจ่ ากเครดติ ท่ีได้รบั หากพ้นกำหนด (พน้ ปีงบประมาณ) ให้หน่วยจา่ ย ยกเลกิ การเบิก 9.1.2 หากหนว่ ยมกี ระสุนเกนิ อตั รา ประเภท หรือชนิดที่ขอเบกิ ให้หนว่ ยจ่ายยกเลกิ การเบิก 9.1.3 หากกระสนุ ท่ีขอเบกิ เกดิ ขาดแคลนท่ตี อ้ งมีการควบคมุ ให้หน่วยจ่ายยกเลิก 9.2 ยกเลิกตามข้อเสนอของหน่วยตามสายการส่งกำลัง หรือสายการบงั คับบัญชาเฉพาะรายการ หรอื ทุกรายการก็ตาม หนว่ ยจ่ายพจิ ารณาเหน็ พ้องกันดว้ ยให้หน่วยจา่ ยยกเลิกการเบิก 9.3 ยกเลิกเพราะเบิกไมถ่ ูกตอ้ ง 9.3.1 กระสุนประเภทและชนดิ เกินจำนวนตามอัตราท่อี นมุ ัติ 9.3.2 กระสุนประเภทและชนดิ ไม่ปรากฏตามอตั รา หรอื ประเภทและชนิด และกระสุนท่ี อนมุ ตั ิ 9.3.3 หนว่ ยจา่ ยพจิ ารณาเห็นวา่ กระสนุ ประเภทและชนิดอน่ื สามารถจา่ ยแทนกันได้ ให้ ยกเลกิ รายการเดมิ 9.3.4 หนว่ ยเบกิ ไมด่ ำเนินการเบกิ ให้ถกู ตอ้ งตามแบบธรรมเนียมของทางราชการ 9.4 หนว่ ยเบกิ ขอยกเลิก หากพจิ ารณาว่ากระสนุ ทข่ี อเบกิ ไปแล้วหมดความจำเป็น ให้ขอยกเลิกจาก หนว่ ยจ่ายได้ * ใบแจ้งการยกเลิก ทบ. 400-008 10. การยมื กระสุน ใหห้ น่วยเสนอรายการเบิกยมื ตามสายการบงั คบั บญั ชาจนถงึ ผู้ส่ังจ่าย เม่อื ผูส้ งั่ จา่ ย อนุมตั ิให้ส่งรายการและใบเบิกยมื ตามสายการสง่ กำลงั และให้คลังสนบั สนุนแจ้งใหห้ นว่ ยยมื ทราบเพื่อรบั กระสุนต่อไป หมายเหตุ ใหใ้ ชใ้ บเบกิ เปน็ หลักฐานยมื และหน่วยยืมต้องลงเวลาในการยมื พร้อมดว้ ยเหตุผล เม่อื ครบกำหนด อนมุ ตั ใิ หน้ ำส่งคนื หรือเบิกใช้หน้ี ใบเบกิ ยมื ภายใน 30 วนั หรอื เมอื่ หมดความจำเป็นในการใช้ก่อนกำหนดให้ สง่ คนื ทนั ที 11. การฝากและการถอน หนว่ ยท่ฝี ากกระสุนต้องทำรายงานเสนอผมู้ อี ำนาจสั่งฝากเม่ือไดร้ บั อนุมัติ จึงดำเนนิ การฝากกระสนุ ให้ถือใบนำฝาก (ทบ. 468-772) เปน็ หลกั ฐานคู่กนั ระหวา่ ง หนว่ ยฝากและหน่วยรบั ฝาก การถอน ผูถ้ อนต้องรายงานขออนุมัติต่อผู้มอี ำนาจสั่งฝากเดมิ เมื่อไดร้ ับอนมุ ัติแล้วจงึ นำหลกั ฐานไปขอ ถอนกระสุนท่ฝี ากไว้โดยเจ้าหน้าทีท่ ัง้ สองลงนามรับรองไว้เปน็ หลักฐาน

- 127 - 11.1 ผมู้ ีอำนาจสั่งฝากและถอน 11.1.1 คลงั กระสุนส่วนภมู ภิ าค คลังกระสนุ บชร. และคลงั แสง ให้ ผบ.สว่ นราชการนั้น เปน็ ผมู้ ีอำนาจสั่งฝากถอน ถ้าถอนออกจาก คส.ให้หวั หนา้ แผนก คส. เปน็ ผู้มีอำนาจสั่งถอน 11.1.2 สป.5 ของหนว่ ยใช้ ให้ ผบ.พล. หรือเทยี บเท่าข้ึนไป ซ่ึงมคี ลังเก็บรักษา มีอำนาจ อนมุ ัตใิ ห้ฝาก และถอนระหวา่ ง นขต.ของตนเอง หรือหน่วยขา้ งเคยี ง 12. การส่งคืน หมายถึง การส่งกระสนุ จากหน่วยใช้ไปยงั คลังกระสนุ ส่วนภมู ิภาค คลงั กระสนุ บชร. และคลงั แสง หรือส่งจากคลังกระสนุ ส่วนภูมิภาคไปยงั คลังกระสนุ บชร. หรอื คลงั แสง 12.1 กระสุนทีส่ ่งคืนตอ้ งนำส่งคืนยังหนว่ ยที่ได้รบั กระสุน หากจำเปน็ ตอ้ งส่งหน่วยอ่ืน ให้สำเนา หลักฐานการสง่ คืน เสนอหนว่ ยทตี่ นเองรับกระสุนมาทราบด้วยทกุ ครงั้ เพ่ือดำเนินการทางบัญชี 12.2 กอ่ นนำกระสนุ สง่ คืนตอ้ ง แยกประเภท ชนดิ เลขงาน ทำการปรนนบิ ตั ิบำรุงให้เรยี บรอ้ ย กระสนุ ทุกรายการต้องทำป้ายชือ่ หมายเลข สป.5 เลขแทนจำนวน ตลอดจนทุกหีบห่อ ทำเครอื่ งหมายหีบหอ่ และน้ำหนัก หมายเหตุ ในกรณีส่งกระสนุ จากคลงั กระสุนสว่ นภูมิภาคไปยงั คลังกระสนุ ซบร.หรอื คลังแสง ให้หน่วยสง่ คืนคัด แยกประเภท และกำหนดรหัสสภาพกระสนุ 12.3 ลกั ษณะกระสนุ ท่ีส่งคนื 12.3.1 กระสุนใชก้ ารได้ ได้แก่ กระสุนที่มีสภาพใชก้ ารได้ หรือซอ่ มแซมจนใชก้ ารได้ 12.3.2 กระสนุ ใช้การไม่ได้ ได้แก่กระสนุ ชำรดุ เส่อื มสภาพตามความเห็นของกรมสรรพาวุธ ทหารบก 12.4 การสง่ คนื กระสุนท่ใี ช้การได้ 12.4.1 กระสนุ เกนิ ต้องการ เกินอตั ราที่ ทบ.กำหนด ใหส้ ง่ คืนทันที 12.4.2 กระสนุ ท่ีหน่วยไดร้ บั คำส่งั ให้สง่ คนื 12.4.3 กระสุนที่ครบกำหนดยืม หมดความจำเปน็ ในการใช้ ให้ส่งคืน 12.5 การส่งคนื กระสุนท่ใี ชก้ ารไมไ่ ด้ 12.5.1 กระสุนชำรดุ เส่ือมสภาพตามสภาพ เชน่ ปลอกบวม เกดิ คราบออกไซด์ มคี ราบวัตถุ ระเบิดไหลเยิ้ม ตามความเห็นของกรมสรรพาวธุ ทหารบก 12.5.2 กระสนุ ชำรดุ เม่ือเสื่อมสภาพที่ไม่เป็นไปตามสภาพ เช่น ปลอกบน่ิ แหวนรัดท้ายชำรดุ เสียรปู ทรงเดิม เปน็ สนิม หรือปล่อยใหป้ ลวกข้นึ จากการเก็บรกั ษา การหยบิ ยกขนย้ายหรืออบัตภิ ัย ให้หนว่ ย สืบหาสาเหตุทบ่ี กพร่อง เสนอรายงานตามสายส่งกำลงั จนถึง สพ.ทบ. เพ่อื จจิ ารณาดำเนินการตอ่ ไป และสง่ สำเนาให้สายการบงั คบั บัญชาระดบั หน่วยข้นึ ตรงกองทพั บกทราบด้วย * หมายเหตุ ในสง่ คืน ทบ. 400-013

- 128 - 13. การจำหนา่ ยกระสนุ ผบ.หน่วยซึง่ มีกระสุนในครอบครองเปน็ ผรู้ ับผดิ ชอบโดยตรง ในการรเิ ร่มิ ขอ จำหน่ายกระสนุ ซง่ึ หมดความจำเปน็ ทางการควบคุมทางบัญชีของหนว่ ย โดยได้ใช้ไป เส่ือมสภาพ ถูกทำลาย หรือสูญหาย 13.1 กระสุนทขี่ อจำหนา่ ย หมายถงึ กระสุนและวตั ถรุ ะเบิด และวัตถทุ างเคมี ตลอดจนส่วน ประกอบตา่ งๆ ท่ีมีอย่ใู นหนว่ ย และหนว่ ยในการสง่ กำลังขั้นเหนือ ไดค้ วบคุมทางบัญชีไว้แลว้ ทัง้ ชนิด และ จำนวนเปน็ ในลักษณะใดลักษณะหนง่ึ ดังน้.ี - 13.1.1 ใช้ไปในการทดสอบ 13.1.2 ใชไ้ ปในการฝกึ ตามหลกั สตู ร 13.1.3 ใชไ้ ปในการรบหรอื กรณีฉกุ เฉิน 13.1.4 ใชไ้ ปในโครงการพเิ ศษ 13.1.5 ชำรดุ หรือเส่อื มสภาพ ซึง่ ต้องทำลาย 13.1.6 ถกู ทำลายหรือเสียหาย ซง่ึ ตอ้ งทำลาย 13.1.7 ล้าสมัย ซึ่งต้องทำลาย 13.1.8 สูญหาย 13.1.9 ใช้ไปในการทำลายกระสนุ 13.2 อำนาจในการอนุมัตใิ ห้จ่ายกระสุน 13.2.1 กระสนุ ตามโครงการฝกึ พิเศษ และกระสุนตามโครงฝึกพเิ ศษอื่นๆ เจา้ กรมส่งกำลัง ทหารบก เป็นผอู้ นุมตั จิ ำหน่ายโดยไม่จำกดั วงเงิน 13.2.2 กระสนุ ฝึก กระสุนทดสอบ กระสนุ เสอ่ื มสภาพท่ตี อ้ งทำลาย และวตั ถรุ ะเบิดทีต่ ้องใช้ ในการทำลายกระสุน เจ้ากรมสรรพาวธุ ทหารบก เป็นผู้อนุมัตใิ ห้จำหน่ายโดยไมจ่ ำกัดวงเงิน 13.2.3 กระสนุ สำรองสงคราม กระสุนมลู ฐาน ผบู้ ัญชาการทหารบก เป็นผู้อนุมตั ิจำหน่าย 13.2.4 กระสนุ ฝกึ วงเงินไมเ่ กนิ 160,000 บาท ใหผ้ ู้บงั คบั บญั ชาชนั้ แม่ทัพหรือเทียบเทา่ เป็น ผอู้ นุมัตจิ ำหน่าย 13.2.5 กระสนุ ฝึกวงเงนิ ไมเ่ กิน 80,000 บาท ให้ผ้บู ังคับบัญชาชั้นผ้บู ญั ชาการกองพลหรอื เทียบเทา่ เป็นผอู้ นุมตั ิจำหนา่ ย หมายเหตุ กระสุนจดั เปน็ สิ่งอปุ กรณ์ใชส้ ้ินเปลืองซึ่งหมดสิ้นไป ตามสภาพการใชง้ าน ในการรายงานขออนมุ ัติ จำหน่ายไม่ต้องตงั้ กรรมการสอบสวน ยกเว้นกระสนุ ท่ีชำรดุ หรือเสือ่ มสภาพทีไ่ ม่เปน็ ไปตามปกติ หรือสญู หาย ตอ้ งดำเนนิ การสอบสวนหาสาเหตกุ ารบกพร่องและผู้รบั ผิดชอบ * แบบรายงานขอจำหน่าย ทบ. 400-065 ระเบียบกองทพั บก

- 129 - วา่ ด้วยการเกบ็ รักษากระสนุ และวัตถรุ ะเบดิ พ.ศ.2545 การเกบ็ รักษายามปกติ 1. กระสุนและวตั ถรุ ะเบิด ควรเก็บไว้ในอาคารท่ไี ด้ออกแบบ กำหนดและแบ่งแยกไวใ้ น เพอ่ื ความมงุ่ หมาย ห้าม ใช้สำหรับความมุ่งหมายอืน่ ในเวลาเดียวกนั กระสุนและวัตถุระเบิดห้ามเก็บไว้ในอาคารที่ใชใ้ นความม่งุ หมายอื่น เชน่ คลงั กองรอ้ ย คลงั พัสดุ โรงเรือน ของกองรอ้ ย สำหรับกระสนุ ปนื เลก็ ในกรณที ี่มีความจำเป็นในการปฏบิ ัตงิ าน ควรเตรียมพร้อมหรือรักษาความ ปลอดภยั อาจเก็บกระสุนปนื เลก็ ในจำนวนจำกัดไว้ในอาคารหรือใกล้อาคาร เชน่ อาคารทีพ่ ัก คลงั กองร้อย โรงงาน หรอื อาคารปฏบิ ัติงาน แต่ต้องรายงานใหแ้ ม่ทัพภาคเป็นผู้อนมุ ตั ิเปน็ ราย ๆ ไป 1. ต้องกองกระสุนไวต้ ามเลขงาน จดั ใหม้ อี ากาศถ่ายเทไดส้ ะดวกท้ังดา้ นลา่ งและทวั่ หอ้ งทเ่ี ราจะทำได้ 1.1 เมือ่ เกบ็ รักษากระสุนไว้มากกวา่ หนง่ึ เลขงาน ให้กองเลขงานเดียวกนั ไว้ทีเ่ ดียวกันและแยกเลขตา่ งเลข งานไวห้ ่างกันไมน่ ้อยกวา่ 4 นวิ้ โดยมีปา้ ยประจำกองกระสุน ทบ.468-506 ติดไวท้ กุ กองใหเ้ ห็นชัดเจน กระสนุ ต่างเลขงานห้ามกองรวมกัน ยอกของกระสุนตอ้ งอยู่ตำ่ กว่าระดบั ชายคา อยู่ห่างจากชายคาไมน่ ้อยกว่า 18 นว้ิ มีขอบรองให้กองกระสนุ ให้ห่างจากพน้ื ประมาณ 4 นิว้ 1.2 หีบพร่องควรปดิ ใหส้ นิท ทำเคร่ืองหมายใหเ้ หน็ ชดั เจนแลว้ วางไวด้ า้ นบนของกองและเลขงานหนึง่ ๆ ยอมใหม้ หี ีบพร่องได้หีบเดยี วเท่านั้น 1.3 หีบห่อกระสุนควรสะอาดและแห้งก่อนนำเข้าเกบ็ ไม่ควรเปดิ หบี หอ่ กระสนุ ในคลงั หีบหอ่ ทเี่ ปดิ แล้วไม่ ควรนำเกบ็ ในคลงั จนกวา่ จะไดป้ ิดสนทิ แล้ว ยกเวน้ กระสุนและวัตถุระเบิดท่ีอยูใ่ นหบี ห่อทชี่ ำรุดซึ่งอยรู่ ะหว่าง รอซ่อมอาจเก็บค้างคืนในคลังกระสนุ ได้ และถ้าจำเปน็ ต้องมกี ารซ่อมการเปล่ยี นหีบหอ่ สามารถทำไดใ้ นทีห่ ่าง จากคลงั กระสุนไมน่ ้อยกวา่ 100 ฟตุ 1.4 ต้องไมเ่ ก็บกระสุนหรือองค์ประกอบโดยไม่บรรจหุ ีบหอ่ ไว้ในคลงั กระสนุ หีบเปล่าขอนรองท่ีไม่ไดใ้ ชห้ รอื เคร่ืองมือ ควรใหม้ ีอยู่ไดเ้ วลาทำงานเทา่ นน้ั เศษผา้ เป้ือนน้ำมันสี และเศษวตั ถุไวไฟอนื่ ๆ ตอ้ งไม่ใหม้ ีอยู่ในคลงั 1.5 ดนิ ส่งกระสุนเหลว นำ้ มันที่ไวไฟ ออกซิไดเซอร์ กรดต่าง ๆ และกระสนุ ห้ามนำเก็บไวร้ วมกนั ตอ้ งเก็บ กระสุนไว้ห่างจากน้ำมันท่ไี วไฟอย่างนอ้ ย 1800 ฟตุ 1.6 กระสนุ เคมีอันตรายและทำให้ไร้สมรรถภาพ ต้องเก็บแยกต่างหาก ตอ้ งเกบ็ ไวใ้ นท่ีสามารถตรวจสภาพ หีบหอ่ ดูรอยรวั่ ได้ และสามารถยกออกได้ง่าย 1.7 กระสุนที่มวี ัตถรุ ะเบิดหรือวัตถุทลี่ กุ ไหม้ได้ เช่น ดินดำ ดินส่องวิถี หรอื สานไพโรเทคนิค ซงึ่ จะ เสอ่ื มสภาพไดร้ วดเร็วในอากาศช้นื หรอื มอี ุณหภูมสิ ูงติดต่อกนั เปน็ เวลานานควรเกบ็ ไวใ้ นทีท่ ่ีมหี ลงั คาคลมุ ท่ีดี ท่สี ุด มกี ารป้องกนั ความชืน้ และมกี ารระบายอากาศทีเ่ พยี งพอ

- 130 - 2. ข้อบังคบั ในการปฏิบัติงานในคลังกระสนุ สถานทซ่ี ง่ึ เก็บรักษากระสุนและวัตถุระเบิด 2.1 ใหต้ ดิ ปา้ ยประจำคลงั กระสนุ ไว้ท่ปี ระตูหรอื ใกล้ประตขู องคลังกระสนุ เพือ่ ให้เห็นไดเ้ ม่ือทำงานอยใู่ น คลงั กระสุน 2.2 องคป์ ระกอบหรอื กระสุนท่ีไมบ่ รรจุหีบหอ่ วสั ดุหีบหอ่ รางเลือ่ น รถยก ล้อเล่ือน ขอนรอง หีบเปลา่ และ วัสดุอ่นื ๆ ห้ามนำเก็บในคลงั กระสนุ 2.3 ตอ้ งควบคุมวัชพืชรอบทเี่ กบ็ กระสุนวัตถุระเบิด 2.4 ประตแู ละลูกกุญแจต้องอยู่ในสภาพดี ต้องใส่กุญแจคลงั ไว้ตลอดเวลา ยกเวน้ เวลาทำงานอยู่ในคลงั อยา่ ให้เจา้ หนา้ ท่ีทำงานในคลังกระสนุ ขวางทางเดนิ หรือขวางทางออก เมือ่ มีเจ้าหน้าท่ีทำงานในคลงั กระสุนที่มี ประตหู ลายบานต้องเปิดประตทู งิ้ ไว้สองบานหรอื มากกวา่ 2.5 วัตถทุ ี่ตดิ ไฟได้ เช่น ขอนรองทเี่ กนิ ต้องการ หีบห่อต่าง ๆ ต้องนำออกไปไว้นอกคลัง นำ้ มนั ทไ่ี วไฟต้องไม่ เกบ็ ไว้ในคลงั ท่มี กี ระสนุ และวตั ถุระเบดิ ยกเวน้ สารเคมที ี่บรรจุไวใ้ นลกู กระสุนหรือดนิ สง่ กระสุนเหลวท่บี รรจุ มาแล้ว

- 131 - การเก็บรกั ษาวัตถรุ ะเบิด (ปา้ ยประจำคลังกระสนุ ) คำแนะนำทัว่ ไป -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. ต้องหยิบยกกระสุนวัตถุระเบิดดว้ ยความระมัดระวงั เสมอ 2. ทำความสะอาดสิ่งสกปรกและกรวดทราย ออกจากหีบห่อและกระสุนกอ่ นนำเข้าเก็บ 3. อย่าเก็บกระสนุ และวตั ถรุ ะเบดิ ไวใ้ นหีบห่อทช่ี ำรุด 4. หีบห่อท่ีอยใู่ นคลงั ต้องปดิ ไวใ้ หส้ นิท 5. แยกเก็บตามเลขงานกองให้มน่ั คง ให้อากาศถ่ายเทได้ท่ัวกอง มีขอนรองใหห้ ีบห่อ และ กระสุนให้อยู่พ้นพืน้ 6. อยา่ เปดิ ซ่อมหรอื บรรจุหบี ห่อในคลงั หรอื ในระยะ 100 ฟุต จากคลงั กระสนุ 7. อย่าเกบ็ หีบห่อ เคร่อื งมือหรอื วสั ดุอน่ื ๆ ไว้ในคลังกระสนุ 8. ต้องรักษาความสะอาดและความเปน็ ระเบยี บอยา่ งเคร่งครดั 9. ในคลงั กระสุนให้ใชเ้ ฉพาะไฟฟา้ ตะเกียง หรือไฟฉายตามแบบมาตรฐานท่ีกำหนดเท่าน้ัน 10. ห้ามสูบบุหรห่ี รือนำไมข้ ีดเขา้ คลังกระสุน 11. หา้ มผไู้ มม่ ีหนา้ ทเี่ กีย่ วข้องเขา้ ไปใกล้หรือเขา้ ไปในคลงั กระสุน 12. คลงั กระสนุ ต้องปิดก้นั ประกายไฟ โดยบมุ ุ้งลวดตามรอ่ งระบายอากาศและไม่มชี ่องเปิดตามประตแู ละพ้นื 13. เมื่อไมม่ ีเจา้ หนา้ ที่อยู่ ต้องปิดคลงั ใส่กญุ แจไว้ เมื่อมรี ถเข้ามาที่ลานหน้าคลังตอ้ งปิดประตไู ว้ นอกจากรถนั้น มเี ครื่องเกบ็ ประกายไฟ 14. รอบคลังกระสนุ บนพน้ื ดิน ต้องปราศจากวสั ดตุ ดิ ไฟได้ในระยะ 50 ฟุต 15. เมือ่ มเี จา้ หนา้ ท่ที ำงาน ในคลังกระสุนถา้ มปี ระตูหลายบานตอ้ งเปดิ ทงิ้ ไวส้ องบานหรือมากกว่า 16. ตดิ ปา้ ยประจำคลงั กระสุนนไี้ ว้ในคลังกระสนุ ทุกครัง้ 17. คำแนะนำรายละเอยี ดดไู ด้จาก คท. 9-1300-206 การปอ้ งกนั เพลิง 1. หา้ มนำไมข้ ีดหรอื อปุ กรณท์ ี่ทำใหเ้ กดิ ประกายไฟ เปลวไฟ เข้ามาในพ้ืนที่คลังกระสนุ วัตถุระเบิด สำหรับไม้ ขีดทไี่ ม่ใชข้ า้ งขีดห้ามนำเขา้ มาเปน็ อันขาด 2. พื้นทีส่ ำหรับสูบบหุ รตี่ ้องอยู่หา่ งจากพ้ืนทีท่ ี่มีกระสนุ วตั ถุระเบิดไมน่ อ้ ยกวา่ 100 ฟตุ 3. ต้องมีทดี่ ับกน้ บุหรที่ ี่เหมาะสม 4. ให้ใชเ้ ฉพาะที่จุดบหุ ร่ดี ว้ ยไฟฟ้า แบบติดต้ังประจำทีใ่ นที่สบู บุหรท่ี ่ีกำหนดไว้ 5. ในท่สี ูบบุหร่ตี อ้ งมเี ครื่องดับเพลิงประเภท 1ก อย่างน้อย 1 เคร่ือง

- 132 - 6. ต้องมีถังเก็บน้ำและกระป๋องตกั น้ำ ถงั ทรายและพลวั่ โดยไว้ใชด้ ับเพลิงท่เี ร่ิมเกดิ ในพืน้ ท่ีเก็บรักษากระสุน และวัตถุระเบดิ 7. ต้องจดั ใหม้ ีเจ้าหนา้ ที่เวรยาม เจา้ หนา้ ท่ดี ับเพลิง การติดป้ายสญั ลักษณด์ บั เพลิง ตอ้ งติดป้ายสัญลักษณ์ดับเพลิงทอ่ี าคารหรอื พืน้ ทเ่ี ก็บรกั ษากระสนุ หรือวตั ถรุ ะเบิดอยใู่ นลักษณะท่ี เจ้าหนา้ ทีด่ ับเพลิงเห็นได้งา่ ยจากระยะไกล เพลิงพวกที่ อันตราย 1 ระเบดิ เปน็ กลุ่มก้อน 2 ระเบดิ พร้อมท้งั มสี ะเกด็ 3 4 เพลงิ รุนแรง เพลิงปานกลาง สญั ลักษณ์ สัญลักษณ์เพลงิ พวกท่ี 1 รปู แปดเหลี่ยม สญั ลักษณ์เพลิงพวกที่ 2 รูปกากบาท สญั ลกั ษณเ์ พลงิ พวกท่ี 3 รูปสามเหลี่ยมหวั กลบั สญั ลกั ษณเ์ พลิงพวกท่ี 4 รปู สีเ่ หลยี่ มขา้ วหลามตดั หมายเหตุ สพี ื้นสัญลกั ษณ์เพลงิ เป็นสสี ม้ ตัวเลขแสดงถึงเพลิงแต่ละพวกเป็นสีดำ -------------------------------------------------


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook