บทที่ ๔ ความหมายของเครือ่ งชว่ ยฝึกสอน ( ๒๐ ) ความหมายของเครื่องช่วยฝึกสอน คอื บรรดาสิ่งตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเป็นของจริง หรอื ประดิษฐ์ข้นึ ที่นามาใช้ ประกอบการสอน เพื่อชว่ ยใหเ้ ข้าใจง่าย และเรียนรูไ้ ดร้ วดเรว็ ขน้ึ ประโยชนข์ องเคร่ืองช่วยฝึกสอน ( ๒๑ ) ๑. ทาให้เขา้ ใจงา่ ย ติดหตู ิดตา ๒. มสี ภาพคลา้ ยของจรงิ หรอื ปฏิบัติได้จริง ๓. ช่วยใหเ้ กดิ ความสนใจ ๔. ประหยัดเวลา ชนิดของเครอ่ื งชว่ ยฝกึ ( ๒๒ ) ๑. ชนดิ ภาพฉาย ๒. ชนดิ ภาพเขียน ๓. ชนดิ มีทรวดทรง ๔. ชนิดทาขน้ึ โดยเฉพาะ ลกั ษณะเครอื่ งช่วยฝึกสอนทดี่ ี ควรมี ( ๒๓ ) ๑. ขนาดใหญ่ พอเห็นได้ทว่ั ถึง ๒. ตรงเรื่องทสี่ าคญั เหน็ ได้เด่นชัด ๓. มสี งิ่ สาคัญท่ีจาเป็นเท่าน้ัน ๔. ใช้กับความมุ่งหมายไดเ้ ฉพาะอยา่ ง หรอื หลายอย่าง ๕. ทนทาน นาไปสะดวก การใชเ้ คร่ืองช่วยฝกึ สอน ( ๒๔ ) ๑. เลือกใชใ้ หเ้ หมาะกบั เรอ่ื งทสี่ อน ๒. เตรียมการใช้ และทดลองการใช้ อะไรก่อนหลงั ๓. อธิบายใหถ้ ูกความหมายของเคร่ืองชว่ ยฝึกสอน ๔. เม่ือยงั ไม่ใช้ให้ปกปิดไว้กอ่ น ๕. อธบิ ายโดยหนั หน้าไปทางผู้รบั การสอน และไม่บงั ผรู้ ับการสอน ๖. ใชไ้ ม้ช้ี ประกอบ ๗. ใช้ครผู ้ชู ่วย หรอื ลูกมอื ใหเ้ หมาะกบั จังหวะ ๘. ใชด้ ้วยความทะนถุ นอม 51
บทท่ี ๕ หลักการพูดและการปฏิบัติของครู หลักการพดู และการปฏบิ ตั ขิ องครูผสู้ อน (๒๕) ครูจะตอ้ งใชห้ ลักการแสดงออกของตน ในเรือ่ ง ทางตา ( จักษุ ) ทางหู ( โสตสมั ผัส ) ทางจิต ( จิตสมั ผสั ) ๑. อาการภายนอก ๑. การปรบั ปรงุ การพดู ๑. การจดั ระเบยี บเร่ืองทสี่ อน ๒. กริ ิยาท่าทาง ๓. อาการเคล่อื นไหว ๒. ลักษณะของเสยี ง ๒. สอนให้มีการนาไปปฏิบตั ิ ๔. การใช้แขน ๓. จังหวะการพดู ๓. การเลือกคาพดู ๕. อากัปกิริยา ๔. การใช้สาเนยี ง ๔. ความขบขัน ๖. อาการตื่นเตน้ ๗. การใช้หวั ขอ้ การสอน ๕. การออกเสยี ง ๕. พรรณาโวหาร ๖. การใชป้ ระโยค ๖. คติพจน์ ๗. การเน้น ๗. การยกตัวอยา่ ง ๘. ตวั อย่างการรบ บทท่ี ๖ แผนการสอน (๒๖) ๑. แผนการสอน คือ การวางแนวทางการสอนของครู ว่าตอ้ งการใหผ้ เู้ รียนได้เปลย่ี นแปลง พฤตกิ รรม ตามทหี่ ลกั สูตรกาหนดไว้ ซึ่งในแผนการสอนจะประกอบดว้ ย ๑.๑ ช่ือเร่อื ง บทเรียน ๑.๒ ครผู ู้สอน ๑.๓ วธิ ีสอน ๑.๔ วัตถุประสงคข์ องบทเรยี น ๑.๕ วัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม ๑.๖ เนอื้ หาของบทเรยี น ๑.๗ หลักฐานการสอน ๑.๘ ส่ือการสอน ๑.๙ กิจกรรมการเรียนการสอน ๑.๑๐ การประเมนิ ผล ( ใบปะหนา้ ) 52
แผนกวชิ า ………….. เวลา………ชม. ( ในการสอน ) กศ.รร……………… วนั / เดอื น / ปี ( ทจ่ี ัดทา ) แผนบทเรยี น หลักสตู ร ………………………………………………………..……. รุ่นท่ี ………. วชิ า ……………………………………………………………………………… ความมงุ่ หมาย ……………………………………………………………………………… ชนดิ การสอน ……………………………………………………………………………… สถานท่ี ……………………………………………………………………………… หลักฐานอ้างอิง ……………………………………………………………………………… เครื่องมือทีใ่ ช้ ……………………………………………………………………………… เคร่อื งช่วยฝึก / อปุ กรณ์การสอน ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… สภาวะเคร่ืองช่วยฝึก ……………………………………………………………………………… กจิ กรรม ……………………………………………………………………………… ความต้องการพเิ ศษ ……………………………………………………………………………… ข้อควรระมัดระวัง ……………………………………………………………………………… ผู้เขยี น ……………………………………………………………………………… --------------------------------------------------- เห็นควรอนมุ ตั ิใหใ้ ชแ้ ผนบทเรยี นได้ อนมุ ตั ิ เห็นควรแกไ้ ข แกไ้ ข ( ลงช่อื ) พ.อ. ( ลงช่ือ ) พ.อ. (…………………..) (……………………) ผอ.กศ.รร.ม.ศม. วนั / เดอื น / ปี รอง ผบ.รร.ม.ศม. วนั / เดอื น / ปี 53
( แบบฟอรม์ – ใบบทนา ) บทนา ๑. ส่ิงเร้า ดงึ ความสนใจของผู้เรียน และให้มสี ว่ นรว่ มกบั ผู้สอน พร้อมเสนอเรื่องราวทีส่ ามารถนาเข้าสู่ วัตถปุ ระสงค์ ๒. วตั ถุประสงค์ เข้าส่คู วามตอ้ งการทง้ั ปวงของผู้สอน ทตี่ ้องการใหผ้ ู้เรียนได้รับความรใู้ นแต่ละหวั ขอ้ ของเนือ้ หาวิชาทีส่ อน ๓. มาตรฐาน เปน็ การประเมนิ ผลการเรยี น โดยกาหนดระดับมาตรฐาน อาจกาหนดเปน็ เปอรเ์ ซน็ ต์ เวลา , ระยะทาง สว่ นปก ( ใบปะหนา้ ) คาอธิบายประกอบตวั อย่างแผนบทเรียน แผนกวชิ า.. รร.เหลา่ สายวิทยาการ - เป็นแผนกวิชาทผ่ี ู้เขยี น / ผสู้ อน รบั ผิดชอบในการสอน จดั วางก่ึงกลางหนา้ เวลา ( ในการสอน ) กระดาษ เช่น แผนกวิชาค้นหาเป้าหมาย ชวั่ โมง - เปน็ ช่อื ของหนว่ ย / รร.เหลา่ สายวิทยาการเจ้าของแผนบทเรียน จดั วางก่ึงกลาง วัน / เดือน / ปี หนา้ กระดาษ เชน่ รร.ป.ศป. แผนบทเรยี น หลักสตู ร - กาหนดเป็น ช่ัวโมง กรณีมีเศษให้กาหนดเป็นจุดทศนิยม เช่น 1.5 = ๑ วิชา ๓๐ นาที, 1.4 = ๑ ช่วั โมง ๒๔ นาที, 1.3 = ๑ ช่ัวโมง ๑๘ นาที , ความม่งุ หมาย 1.6 = ๑ ชว่ั โมง ๓๖ นาที, 1.7 = ๑ ชวั่ โมง ๔๒ นาที ( ตวั เลขหลักจุด ชนดิ การสอน ทศนิยม มีสว่ นเปน็ ๑๐ เม่อื คณู ด้วย ๖๐ นาที จะไดจ้ านวนนาทีออกมา ) - เวลาในการสอนท้งั หมด จะรวมถึงเวลาพกั ๑๐ นาทีประจาชว่ั โมง และเวลาใน การสอบ รวมท้งั กิจกรรมต่าง ๆ ทกี่ าหนดในส่วนคาสอน - จดั วางมุมกระดาษขวาบนแนวบรรทดั เดยี วกันกับแผนกวชิ า…. - เป็นกาหนด วนั / เดอื น / ปี ท่จี ัดทาแผนบทเรยี นน้ัน ๆ เช่น ๑๖ มี.ค.๔๔ จัดวางมมุ ขวาแนวบรรทดั เดยี วกบั หน่วย / รร.เหล่าสายวิทยาการ - จัดวางกลางหนา้ กระดาษ - เปน็ ชื่อหลักสูตรท่ไี ดร้ บั อนมุ ัติให้ทาการเปดิ การศกึ ษา หรอื อาจเป็นชอ่ื หลกั สตู ร ท่ีหนว่ ย / รร.เหล่าสายวิทยาการเปดิ การศกึ ษาขนึ้ เอง ภายในหน่วย / เหลา่ สาย วทิ ยาการ เชน่ หลักสูตรชนั้ นายพันทหารชา่ ง รนุ่ ที่ ๔๔ หรอื หลกั สตู รการใช้ คอมพวิ เตอร์ระดับผบู้ ริหาร จดั วางกึ่งกลางระหว่างสว่ นท้ายของหลกั สูตร และ สว่ นหน้าของแผนบทเรยี น - เป็นช่อื วิชาที่จะใช้สอน เชน่ การเรยี นร้ตู ามรอยพระยุคลบาท - เป็นความมงุ่ หมายท่ีระบุไว้ในแถลงหลักสตู ร ( POI / Plan of Instruction ) ซ่ึงจะต้องสอดคลอ้ งกับความมุ่งหมายของ ทบ. , กระทรวงกลาโหม และ นโยบายของชาตใิ นดา้ นการฝกึ และ ศกึ ษา เช่น เพอ่ื ใหผ้ ูบ้ งั คับหมแู่ ต่ละคน ทาการรอ้ งขอ และ ปรับการยิง ค. ๔.๒ นวิ้ - ชนดิ การสอน หรอื กลวิธใี นการสอนนนั้ พิจารณาจากความมุ่งหมาย, วตั ถุ ประสงค์ และประสิทธิภาพของการเรยี นรู้ รูปแบบ หรือ ชนดิ การสอน 54
แบ่งออกเปน็ ๗ ชนดิ สถานท่ี ๑. Self Study เป็นการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง หลกั ฐานอา้ งอิง เครอื่ งมือทใ่ี ช้ ๒. Assignment เป็นการมอบหมายงานใหน้ ักเรียน เช่น ทารายงาน อปุ กรณ์การสอน หรอื ทาการค้นคว้า, วจิ ัย, ทดลอง สภาวะเครอ่ื งช่วยฝกึ ๓. Lecture เป็นการสอนในลกั ษณะการบรรยาย กจิ กรรม ๔. Demonstrate เป็นการสอนในลกั ษณะสาธติ ผสู้ อนแสดงตวั อย่าง ให้นักเรียนดู ๕. Discussion เปน็ การสอนในลกั ษณะถกแถลง อาจแบง่ เป็นกลมุ่ เพอ่ื ระดมใหไ้ ด้แนวทางปฏิบัติทีผ่ ้สู อนตอ้ งการ ๖. Practice / exercise เปน็ การสอนในลกั ษณะใหผ้ เู้ รยี นฝึกปฏบิ ตั ิ ๗. Visit True เปน็ การศึกษาดูงาน - จะต้องพจิ ารณาสถานทใ่ี หเ้ หมาะสมกบั เนอื้ หาวิชา และเคร่อื งช่วยฝึก ในการฝกึ และศกึ ษา บางวชิ าอาจศึกษาภาคทฤษฎีในหอ้ งเรยี น แต่ไม่สามารถนาเคร่ือง ชว่ ยฝึกท่ีมีขนาดใหญเ่ ข้าไปในหอ้ งเรียนได้ จึงจาเป็นต้องใชส้ ถานทน่ี อก หอ้ งเรียน ที่พิจารณาตามความเหมาะสม - เป็นหลกั ฐานสาคัญอันหน่งึ ทีเ่ ปน็ ตวั ควบคุมการสอน ให้เปน็ ไปอย่างถูกตอ้ ง เช่น คู่มือราชการสนาม ( FM ) คูม่ ือทางเทคนคิ ( TM ) ตาราเรยี นต่าง ๆ, ระเบยี บ, คาส่งั , ขอ้ บังคับ - ในบางวิชาที่จะตอ้ งมกี ารถอดประกอบ จาเปน็ ต้องใชเ้ ครอ่ื งมอื บางชนิด ดังน้ัน ควรระบเุ ครื่องมอื เท่าที่จาเป็นจะต้องใช้เท่าน้นั และให้พอเพียงกบั จานวน นกั เรยี น - เปน็ อกี องคป์ ระกอบหนึง่ ของการเรยี นรู้ เชน่ ของจรงิ , หุ่นจาลอง, ชาร์ท, กราฟ รูปภาพต่าง ๆ, สไลด์, เครือ่ งฉายขา้ มศีรษะประกอบแผน่ ใส, เครื่องฉาย ข้ามศีรษะประกอบเครื่องคอมพวิ เตอร์ การเลือกใช้อุปกรณพ์ ิจารณาถึงความ เหมาะสม ผูเ้ รยี นมองเห็นชัดเจนอย่างทว่ั ถึง สงิ่ ทป่ี รากฏบนอปุ กรณต์ อ้ งถูกต้อง แน่นอน - เป็นการกาหนดลักษณะ, การจัดวาง, การจัดตง้ั เคร่อื งช่วยฝึก ให้อยใู่ นสภาพท่ี ตอ้ งการ กอ่ นการเรยี นการสอน เช่น การตั้งมุมยกของลากล้องปืน ขนาด ๑๕๕ มม. ของ ป.อัตราจร M ๑๐๙ ใหอ้ ยใู่ นมมุ ๔๕ องศา หรอื วางมุม ๐ องศา เพ่อื ถอดเครือ่ งปิดท้าย - เปน็ การระบุกิจกรรมของผู้เรยี น ใหท้ ราบวา่ นกั เรียนจะมีกิจกรรมในการเรยี น อย่างไร เช่น กิจกรรมที่ ๑ ชมวดี ที ัศน์, กจิ กรรมท่ี ๒ แบง่ กลุ่มสัมมนา , กจิ กรรมที่ ๓ แถลงผลการสมั มนาของแตล่ ะกลมุ่ ความต้องการพเิ ศษ - เปน็ ความตอ้ งการ นอกเหนือจากเครื่องช่วยฝึก / อปุ กรณ์การเรียนทีม่ ี เชน่ ขอ้ ควรระมัดระวงั การยมื ยทุ โธปกรณ์หลักของตา่ งหนว่ ย มาเปน็ เคร่ืองช่วยฝึก หรือ ตอ้ งการ ผู้ช่วยครูเปน็ ผู้ เปิด – ปิด วดี ที ัศน์ - เปน็ การยา้ เตือนทงั้ ผ้สู อน และผูเ้ รยี น ใหร้ ะมดั ระวงั อุบตั ิเหตทุ อี่ าจเกิดข้ึนได้ ซง่ึ อาจทาให้เกดิ การเสยี หายต่ออาคารสถานที่, เคร่อื งชว่ ยฝกึ หรือเกิดการ 55
บาดเจ็บ หรือเสียชีวติ ผ้เู ขียน - นบั วา่ เป็นผูท้ ่ีมคี วามสาคญั ซงึ่ สว่ นมากจะเปน็ ผู้สอนในวิชานั้น ๆ เปน็ ผู้เขยี น และ แผนบทเรียนนน้ั จะเปน็ ตน้ แบบใหก้ บั ผสู้ อนใหม่ ทยี่ า้ ย หรอื บรรจลุ ง ในตาแหนง่ การตรวจสอบ - เปน็ การตรวจสอบแผนบทเรยี นท่ไี ดจ้ ัดทา ว่า มีความเหมาะสมและถกู ต้อง ประการใด หรือจะต้องแกไ้ ข ซึ่งผตู้ รวจสอบอนั ดบั แรก ก็คือ หน.แผนกวชิ า ซ่งึ จะต้องนาเรยี น และ เสนอแนะผ้อู านวยการกองการศกึ ษา พจิ ารณากอ่ น ซ่ึงจะมีการลงช่ือ และ วัน / เดือน / ปี กากับ การอนมุ ตั ิ / แกไ้ ข - เป็นข้ันตอนสดุ ทา้ ยกอ่ นที่จะนาแผนบทเรยี นไปใช้ในการสอน หรอื จะตอ้ ง แกไ้ ขในสว่ นใดก่อน พร้อมการลงชือ่ และ วนั / เดอื น / ปี กากับ ( ตัวอย่าง ใบคาสอน ) คาสอน ๑ / ๓๐ ลาดับขนั้ การปฏิบตั ิ เวลาที่ใช้ ( นาที ) ๑ กลา่ วนา …………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… …………………………………………… เครือ่ งชว่ ยฝึก ๒ เนื้อหา ( รายละเอยี ดตามความเหมาะสม ) ……………………. ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… เคร่ืองชว่ ยฝกึ ทบทวนบทเรยี นโดยยอ่ ประกอบปญั หาซกั ถาม ( สงั เกตพฤติกรรมผู้เรยี น ) ๑. คาตอบ……….…………( สุม่ ถามจากพฤติกรรมทไ่ี มเ่ ขา้ ใจ ) คาตอบ ………………………………………………………. ๒. คาตอบ……….…………( สมุ่ ถามจากพฤติกรรมทีไ่ มเ่ ข้าใจ ) คาตอบ ………………………………………………………. สรปุ ( เน้นหวั ขอ้ ทีน่ ักเรยี นไมเ่ ข้าใจ ) รวมเวลาทง้ั สิ้น 56
( ตัวอยา่ ง บทนา ) บทนา ๑. การอยู่รวมกันในสงั คม เป็นสง่ิ ทจี่ าเปน็ สาหรับมวลมนษุ ยชาติ นกั เรยี นจะตอ้ งร่วมงาน หรือ อาจปฏบิ ัตหิ น้าท่ใี นตาแหนง่ ฝ่ายอานวยการในโอกาสข้างหน้า จงึ มคี วามจาเป็นทน่ี ักเรยี นจะตอ้ งทราบถงึ หน้าท่ีของฝา่ ยอานวยการ ๒. ในบทเรยี นน้ี นักเรียนจะได้ทราบรายละเอยี ดตา่ ง ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง ผบู้ ังคบั บัญชา กบั ฝ่ายอานวยการ, ตาแหนง่ และหน้าทข่ี องฝา่ ยอานวยการแต่ละฝา่ ย, การวางแผน, การทาแผน, คาสั่งและการควบคุมการปฏิบตั ิ ๓. เพอื่ ประเมินผลความเขา้ ใจของนักเรียน จะมกี ารทบทวน และสอบถามท้ายช่วั โมง และจะมี การสอบในชั่วโมงสดุ ท้ายของการสอน โดยวัดผลเกณฑผ์ า่ น ๗๐ % - สง่ิ เร้า ------------------------------- - วตั ถุประสงค์ คาอธิบาย ใบคาสอน - มาตรฐาน - เป็นการสร้างความสมั พันธ์ เช่น การแนะนาตวั ผสู้ อน สร้างความสนใจ เพ่ือ - คาสอน โน้มน้าวจิตใจและสมาธขิ องผู้เรียนให้อยูภ่ ายในหอ้ งเรยี น อาจเป็นเรือ่ งจรงิ ที่ ที่เกิดขนึ้ และเปน็ เร่ืองที่สามารถเชอื่ มโยงเขา้ สูว่ ตั ถุประสงค์ ซึ่งจะเปน็ หวั ข้อ ต่อไป ในหัวข้อน้ีจะเปน็ ประโยชนข์ องผ้สู อน หากสามารถให้ผเู้ รียนมกี าร สนองตอบ ( Reaction ) ผูส้ อน จะทาให้ลดอาการประหมา่ ของผูส้ อนลงได้ - เปน็ การระบุความต้องการท่ีช้ีเฉพาะของผู้สอน ทต่ี อ้ งการให้นักเรยี นได้เรยี นรู้ จากบทเรียนของวชิ า เชน่ ๑. ในระหวา่ งการฝกึ ผบ.หมแู่ ตล่ ะคน จะได้รบั การฝกึ การหาทศิ ทาง จากทีอ่ ยขู่ องตน ไปยังเปา้ หมาย ๒. ผบ.หมู่แตล่ ะคน จะไดร้ ับการฝกึ การกะประมาณท่ีตงั้ เป้าหมาย เป็นพิกัดกริด ๓. ผบ.หมูแ่ ตล่ ะคน จะได้รับการฝึกการร้องขอการยิงเริ่มแรก - เปน็ การประเมินผลการเรยี นตามขอบเขตหลกั เกณฑท์ ่กี าหนด เช่น กาหนด การสอบ และเกณฑ์ทต่ี ้องการ ในการฝึกนนั้ อาจใชเ้ วลา ระยะทาง หรือ ความพร้อมเพรียงเป็นเกณฑ์กาหนดในการตรวจสอบการฝึก - เปน็ เนอ้ื หาวิชา กาหนดเวลาทใ่ี ช้ ซ่งึ ก็คอื เวลาทั้งหมด ลบด้วยเวลาของ สว่ นบทนา สว่ นประกอบของคาสอน ๑. ลาดับหวั ข้อเรอ่ื งทจ่ี ะสอน พรอ้ มรายละเอยี ดพอสงั เขป ระบุเวลา ที่ใช้ในแต่ละหัวขอ้ ๒. หัวข้อย่อยทม่ี ีความสาคญั พรอ้ มรายละเอยี ดพอสงั เขป ๓. ระบุเคร่อื งชว่ ยฝึกเครื่องมอื ทจ่ี ะใช้ในแต่ละหัวข้อ 57
๔. ทบทวน ( Application ) หวั ขอ้ สาคญั ที่ไดท้ าการสอนโดยยอ่ พร้อมหาจุดที่ผเู้ รยี นไม่เข้าใจ เพื่อเน้นในตอนสรุป - ใชค้ าถาม - สังเกตปุ ฏกิ ิรยิ าของนักเรียน ท้ังระหว่างการสอน และการทบทวน - เป็นการทบทวนคาบสุดทา้ ยของการสอน ( สอน ๒ ชั่วโมง นาไป ทบทวนในชั่วโมงท่ี ๒ ) ๕. สรุป ( Summary ) ผู้สอนจะตอ้ งยา้ ในข้อความสาคัญ ในเนอื้ เร่อื งท่ี จะสอนโดยยอ่ จะตอ้ งไมม่ ีการสอนสิ่งใหม่ ๆ ในตอนนี้ - เป็นการสรุปคาบสุดทา้ ยของการสอน ( สอน ๒ ชวั่ โมง นาไป สรปุ ในชั่วโมงที่ ๒ ) - เป็นการสรปุ ก่อนการสอบ ๖. การสอบ ( Test ) เปน็ ส่วนหนง่ึ ของแผนบทเรยี น ใชเ้ ปน็ เครอ่ื งวัด ความสามารถในการสอนของครู และความสามารถในการเรยี นของ นักเรียน - ควรจัดเตรียมขอ้ สอบไวอ้ ยา่ งนอ้ ย ๒ ชดุ กรณมี กี ารสอบภายหลัง เนอ่ื งจากการ ป่วย, ลา ของผูเ้ รยี น - ครอบคลมุ เนื้อหาทส่ี อน 58
( ตัวอย่าง - ใบปะหน้า ) เวลา ๓๐ ช่วั โมง แผนกวิชาฝ่ายอานวยการ วัน/เดือน/ กศ.รร.สพ.สพ.ทบ. ปี แผนบทเรยี น หลักสตู ร - นายทหารสรรพาวธุ ชัน้ นายพนั ทหารสรรพาวุธ รนุ่ ท่ี ๔๔ วิชา - ภารกิจ และการจดั ฝา่ ยอานวยการ ความมุ่งหมาย - เพื่อใหน้ กั เรียนมคี วามเขา้ ใจในสายงานของฝา่ ยอานวยการ ชนิดการสอน - การบรรยาย ( Lecture ) สถานที่ - ห้องเรียน ๑ หลกั ฐานอ้างอิง - FM. ๑๐๑ - ๕ เคร่ืองมือทใ่ี ช้ - เครอื่ งชว่ ยฝกึ - เครอ่ื งฉายแผน่ ใส อปุ กรณ์การสอน - ๑. แผน่ ใส ๒. ชดุ รหัสขอ้ สอบ ๐๐๑ ๓. ชดุ รหสั ขอ้ สอบ ๐๐๒ สภาวะเครื่องช่วยฝึก - ปรับระยะ และความชดั ของเครือ่ งฉายแผน่ ใสกอ่ นการสอน กจิ กรรม ๑. ตอบขอ้ ซักถามของผ้สู อน ๒. การสอบ ความตอ้ งการพเิ ศษ - โทรทัศน์ พร้อมเครอ่ื งเล่นเทปบันทึกภาพ ขอ้ ควรระมดั ระวงั - ผู้เขียน - พ.ท. ………………………………. ---------------------------- เห็นควรอนมุ ัตใิ ห้ใช้แผนบทเรยี นได้ อนุมัติ เหน็ ควรแกไ้ ข แก้ไข ( ลงช่อื ) พ.อ. ( ลงช่อื ) พ.อ. ( …………………) ( …………………. ) ผอ.กศ. รร. …………… รอง ผบ.รร………………. วัน / เดือน / ปี วนั / เดือน / ปี 59
( ตัวอยา่ ง - ใบคาสอน ) คาสอน ๑ / ๓๐ ลาดับข้นั การปฏิบัติ เวลาที่ใช้ ( นาที ) ตอนท่ี ๑ บทที่ ๑ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง ผบู้ งั คบั บัญชา และฝา่ ยอานวยการ ๒๐ กลา่ วนา ( FM ๑๐๑ - ๕ หนา้ ๑/๑ ) ๑๕ - การควบคมุ และบังคับบญั ชา - ระบบการควบคุม และบงั คับบญั ชา ( รายละเอยี ดตามความเหมาะสม ) ๑๐ ประกอบแผ่นใสที่ ๑ - ๒ ๒ ตอนท่ี ๒ ผ้บู ังคับบัญชา และฝ่ายอานวยการ ( FM ๑๐๑ - ๕ หนา้ ๑ - ๒ ) ๕๐ - ผบู้ ังคบั บัญชา ……….. ( รายละเอยี ดตามความเหมาะสม ) ประกอบแผ่นใสที่ ๓ ทบทวนบทเรียนโดยย่อ ประกอบปัญหาซักถาม ( สงั เกตพุ ฤติกรรมผู้เรียน ) ๑. ความสัมพนั ธ์ระหว่าง ผู้บังคบั บญั ชา และฝ่ายอานวยการ มีลกั ษณะ อยา่ งไร ( สุม่ ถามจากพฤติกรรมทีไ่ มเ่ ขา้ ใจ ) คาตอบ ความสัมพันธ์ระหวา่ ง …………………. ๒. ระบบการควบคมุ บังคับบัญชามรี ายละเอยี ดอย่างไร ( สุ่มถาม……….) คาตอบ ระบบการควบคุม…………………. สรปุ ( เนน้ หัวขอ้ ท่นี กั เรียนไมเ่ ขา้ ใจ ) ( รวมเวลาในบทนา ๓ นาที ) 60
Search