Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาสงคราม คชรน.

วิชาสงคราม คชรน.

Published by qacavalry, 2021-03-08 04:50:16

Description: วิชาสงคราม คชรน.
โรงเรียนวิทยาศาสตร์ทหารบก

Search

Read the Text Version

1 . ..

2 ่๑ ตอนท่ี ๑ กล่าวทว่ั ไป ๑. ุธ ่ จ ล ู (Weapons of Mass Destruction ) “อาวธุ ที่มีอานาจทาลายสงู ออกแบบเพ่อื ทาให้เกดิ การสญู เสียเป็นกลุ่มกอ้ น (mass casualties)” หรือ “ อาวุธท่เี มอ่ื ใช้แลว้ หรือขู่วา่ จะใช้ สามารถทาให้เป้าหมาย ข้ันการปฏบิ ตั ิ และหนทางปฏิบัติเปล่ียนไป” เปน็ คานิยามของอาวธุ ทาลายลา้ งมวลมนษุ ย์ และเป็นความหมายที่กว้างมาก ปัจจบุ นั มอี าวธุ ๔ ประเภทที่ เขา้ เกณฑ์ คอื อาวุธเคมี อาวธุ ชวี ะ อาวุธรังสี และ อาวุธนวิ เคลียร์ เพราะมผี ลอนั ตรายครอบคลมุ พื้นท่ี ขนาดใหญแ่ ละคงทนอยไู่ ดน้ าน การป้องกนั จาเปน็ ตอ้ งใชม้ าตรการและสิ่งอุปกรณท์ ก่ี าหนดหรอื ออกแบบ โดยเฉพาะ แต่ในอนาคตอาจมีอาวธุ ท่ีประดิษฐ์คิดคน้ ข้นึ มาใหม่ ซ่งึ มีอานุภาพเขา้ หลกั เกณฑอ์ าวุธทาลายล้าง มวลมนษุ ย์ อันตรายตกค้าง ได้แก่ ฝุ่นกมั มนั ตรังสี เชื้อโรค และสารเคมี ซ่ึงไม่เพยี งตกค้างใน พื้นทโ่ี จมตี (attack area) ต่อไปอีกระยะ หนง่ึ ภายหลังการโจมตี ยังจะถกู กระแสลมพัดพา ไปยังพน้ื ท่ี อันตรายตามลม (downwind hazard area) อนั ตรายตกคา้ ง อาจ มใี นพน้ื ท่ีเพยี งชวั่ ครู่จนถึงหลายปี ขึน้ อยกู่ ับชนิดและสถานะ ของสาร สภาวะอากาศ และภูมปิ ระเทศ มาตรการและสิ่งอุปกรณ์เฉพาะ ได้แก่ การพยากรณ์พืน้ ที่ อนั ตรายตามลม การลาดตระเวน นชด. การทาลายล้างพิษ หนา้ กากป้องกันเคมี-ชีวะ เคร่ืองตรวจสารเคมี และเครื่อง ทาลายล้างพษิ . ั ถปุ ะ ใ ใ ้ ธุ . คือ การทาให้มนษุ ย์ สตั ว์ พืช เจ็บป่วย บาดเจ็บ หรอื ตาย หรอื ขดั ขวาง การใชพ้ ื้นท่ี สงิ่ อานวยความสะดวก และยุทโธปกรณ์ ๓. ป้ จ ด้ ุธ . ไมเ่ คยเปลย่ี น ยงั คงเป็นฝ่ายท่ี  ไมไ่ ด้เตรยี มการป้องกนั ไวเ้ ลย  มคี วามสามารถในการป้องกนั ต่า  ไม่มีอาวุธทาลายล้างมวงมนุษยป์ ระเภทเดยี วกนั หรอื ทรี่ า้ ยแรงกวา่ ไวต้ อบโต้  ไม่ได้ระวงั ตวั ทง้ั ท่ีมยี ทุ ธภณั ฑ์ป้องกนั อยแู่ ล้ว ดงั ตวั อย่างในอดตี เช่น ในสงครามโลกครง้ั ท่ี ๑ เยอรมนใี ช้อาวธุ เคมโี จมตีฝา่ ยสมั พนั ธมิตรกอ่ น ในห้วงกอ่ น และระหว่างสงครามโลกครง้ั ท่ี ๒ ญี่ปุ่นใชอ้ าวธุ เคมแี ละอาวธุ ชวี ะกบั จนี แตไ่ มก่ ลา้ ใชก้ บั สหรฐั ฯ และใน ตอนท้ายสงครามโลกครั้งที่ ๒ สหรัฐฯ ใช้อาวุธนิวเคลียรโ์ จมตีญ่ปี นุ่ ในสงครามกลางเมืองเยเมน อยี ปิ ตใ์ ช้ อาวธุ เคมโี จมตีฝ่ายเจ้าผู้ครองรัฐ และอิรกั ใช้อาวุธ เคมโี จมตีอหิ ร่านแต่ไม่ไดใ้ ช้กับกองกาลงั สหประชาชาติในสงครามอา่ วเปอรเ์ ชยี

3 ๔. ผลจ ถู จ ด้ ุธ .  สญู เสยี กาลงั พลท่ไี มไ่ ด้รับการปอ้ งกัน (เจบ็ ป่วยและเสยี ชีวิต) และสญู เสียเปน็ กลมุ่ กอ้ น แมอ้ ยูใ่ น ทม่ี ัน่ แขง็ แรง ซงึ่ ใหก้ ารป้องกันต่ออาวธุ อนื่ ได้  ประสทิ ธิภาพการทางานและการรบของกาลงั พลลดลง เน่อื งจากตอ้ งสวมยทุ ธภัณฑ์ ป้องกนั ตน (อาจลดลงถึง ๘๐%)  จากัดการใชภ้ ูมิประเทศ อาวธุ ยทุ โธปกรณ์ และส่ิงอานวยความสะดวก  หนว่ ยเวลาหรอื ขดั ขวางการยิงสนับสนุนและการดาเนินกลยทุ ธ . ั ผด ด้ . ใ . ๕.๑ ทหารทุกนาย ไม่วา่ จะเปน็ เพศใด เหลา่ ใด ชน้ั ยศใด และมีตาแน่งหน้าทีใ่ ด ตอ้ ง รบั ผิดชอบ ตนเองเป็นอันดับแรก ต้องรจู้ ักใช้ยทุ ธภณั ฑป์ ้องกันตนและสามารถปฏิบัติตามมาตรการปอ้ งกันสาหรับทหาร เป็นบคุ คล เพ่อื หลักเลยี่ ง ปอ้ งกัน และลดอันตรายจากการโจมตดี ว้ ยอาวธุ ตชด.ของข้าศกึ และสามารถ ปฏิบตั ิหนา้ ที่ไดเ้ ปน็ ผลสาเร็จในภาวะ คชรน. ๕.๒ หน่วยทกุ หน่วย ทุกเหลา่ และผบู้ งั คับบัญชาระดับชัน้ ล้วนต้องรบั ผิดชอบดา้ นการปอ้ งกนั และ ลดอนั ตรายจากการโจมตีดว้ ยอาวธุ คชรน. ของข้าศึก เพื่อให้กาลังพลและหน่วยอยรู่ อดปลอดภัย หน่วย สามารถปฏิบัตภิ ารกจิ ที่ได้รบั มอบได้เปน็ ผลสาเรจ็ ในภาวะ คชรน. ทัง้ นโ้ี ดยอาศยั ยุทธภัณฑ์ป้องกัน คชรน. ใน อตั ราของหนว่ ยและความร้คู วามสามารถของกาลังพลในหนว่ ย ๕.๓ . . เป็นท้ัง สายวิทยาการดา้ นสงคราม คชรน. ทาหน้าท่ีจัดทาหลักนิยมของสรรพตารา ให้ การฝึกศึกษาดา้ นการปอ้ งกนั คชรน. และเปน็ หน่วยสนบั สนนุ การช่วยรบ ทาหนา้ ท่ีสง่ กาลงั ซอ่ มบารงุ และให้ การบรกิ าร สป. สาย วศ. ซ่งึ รวมทง้ั ยุทธภณั ฑ์ปอ้ งกัน คชรน. ๕.๔ ่ เปน็ หนว่ ยสนับสนนุ การรบ มีหน้าท่ีชว่ ยลดอนั ตรายที่เกดิ จากการ โจมตดี ้วยอาวธุ คชรน. ให้แก่หนว่ ยอื่น เพ่อื ช่วยให้อยรู่ อดและปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ได้สาเรจ็ ในภาวะ คชรน. ๕.๕ หนว่ ยทางการแพทย์ รบั ผดิ ชอบ  การจา่ ยเวชภณั ฑ์ เช่น ยากนิ ล่วงหนา้ ยาฉีดแก้พษิ และยาดมแกพ้ ิษ ให้ทหารนาตดิ ตัว ไปใชป้ ้องกันหรอื ปฐมพยาบาลตนเอง และชว่ ยเหลือเพอ่ื น เพือ่ บรรเทาความรนุ แรงของอาการป่วยอัน เน่ืองมาจากอาวธุ คชรน.  ด้านเวชกรรมป้องกนั โดยการปลกู ภมู ิคมุ้ กันโรค ตรวจหาการเปอื้ นพิษของนา้ ด่ืม และ อาหาร ใหค้ าแนะนาด้านการป้องกัน และชนั สตู รโรค  ใหก้ ารรักษาพยาบาลทหารทไี่ ดร้ ับอนั ตรายจากอาวธุ คชรน. จัดการผปู้ ว่ ยเป็นกล่มุ กอ้ นในภาวะ คชรน. และทาลายลา้ งพษิ ผ้ปู ่วย ๕.๖ หน่วยทหารชา่ ง  ชว่ ยก่อสร้างที่หลบภยั ป้องกนั คชรน. ในสนาม ตามท่ีไดร้ บั การร้องขอจากหนว่ ยรับการ สนบั สนนุ ภายใต้คาแนะนาและการกากบั ดูแลของทหารวิทยาศาสตร์  ให้การสนบั สนนุ รถบรรทุกน้าและเครื่องมอื กลสายช่างแก่หนว่ ยทหารวทิ ยาศาสตร์ ใน ภารกจิ ทาลายล้างพิษเม่อื ไดร้ ับการร้องขอ  ทาน้าประปาสนามแจกจา่ ยหน่วยทอี่ ยใู่ นพื้นทอ่ี ันตรายจากอาวุธ คชรน. ๕.๗ ตอนทะเบยี นการศพกองพล (พธ.) รับผิดชอบทาลายลา้ งพิษที่เปื้อนพษิ ก่อนดาเนนิ กรรมวธิ ี สง่ กลับ

4 ตอนท่ี ๒ ประวัตกิ ารใชอ้ าวธุ คชรน. ๖. ุธ ล โครงการผลิตอาวุธนิวเคลยี ร์ (เดิมเรยี กปรมาณ)ู ถอื กาเนิดในยุคสงครามโลกครงั้ ท่ี ๒ เมอ่ื นาซีเยอรมัน ดาเนินโครงการวจิ ัยพัฒนาอาวุธนวิ เคลียร์ แต่ถูกโจมตขี ัดขวางจนโครงการลม้ เหลวไปหลังฝ่ายพันธมติ รสืบ ทราบได้ อาทิ การโจมตีโรงผลติ น้าหนกั (heavy water) ทป่ี ระเทศนอร์เว หลงั เยอรมนแี พ้สงคราม สหรัฐอเมรกิ าทดลองระเบดิ นวิ เคลียร์ได้เป็นครง้ั แรกในโลก สร้างลูกระเบิดอากาศและนาไปท้งิ ที่ญปี่ ่นุ สองครงั้ ในปี พ.ศ.๒๔๘๘ คร้ังแรกท่ีเมอื ง ฮโิ รชิมา เม่ือวนั ที่ ๖ สงิ หาคม และคร้งั ท่ีสองอีกสามวันต่อมาทเ่ี มืองนา งาซากิ เมอ่ื วนั ที่ ๙ สงิ หาคม ทาใหญ้ ่ีป่นุ ยอมจานนต่อฝ่ายพนั ธมติ รโดยไม่มีเงือ่ นไข และเป็นการยุติ สงครามโลกคร้ังท่ี ๒ หลงั จากน้ันหลายประเทศพฒั นาอาวุธนวิ เคลียร์ขึน้ ใช้ ปัจจบุ ันประเทศที่เปิดเผยวา่ ตนมี อาวุธนวิ เคลียรข์ ึน้ ใช้ ปัจจุบนั ประเทศที่เปิดเผยว่าตนมอี าวธุ นิวเคลียร์ ไดแ้ ก่ สหรัฐฯ รัสเซีย สหราช อาณาจกั รฯ ฝร่ังเศส จนี อนิ เดีย ปละปากสี ถาน แอฟริกาใต้ประกาศว่าเคยผลติ อาวธุ นิวเคลียร์ไดแ้ ต่ ทาลายหมดไปแลว้ อสิ ราเอลมีอาวธุ นิวเคลยี ร์แต่ไมย่ อมเปิดเผย อูเครนซึ่งเคยเปน็ รฐั หนึง่ ในสหภาพโซเวยี ตมี อาวุธนิวเคลียร์จานวนหนึง่ ในครอบครองขณะนกี้ าลงั อยใู่ นระหว่างการเจรจาคืนให้รสั เซยี นอกจากนี้ยังมีอีก หลายประเทศที่กาลงั พัฒนาอาวธุ นวิ เคลยี รอ์ ย่างขะมกั เขม้น และไม่เปิดเผย เชน่ เกาหลีเหนอื และอหิ ร่าน ๗. ุธ ะ เป็นอาวธุ ทมี่ กี ารใชก้ นั มานานนับพันปีแล้ว ชาชาติกรีก ละติน และเปอร์เชยี ตา่ งบันทึกเหตกุ ารณไ์ ว้ วา่ มีการใส่ซากศพและสงิ่ ปฏกิ ลู ลงในแหล่งน้าและพ้นื ท่ี หรอื โยนซากศพเขา้ ไปในเมืองทถี่ ูกปิดล้อมเพ่ือทาให้ เกดิ โรคระบาด คร้ังเมอ่ื วทิ ยาศาสตรแ์ ระการแพทย์เจริญจนคน้ พบจลุ นิ ทรีย์แลว้ จึงมกี ารเจาะจงชนดิ ของเช้อื โรคทีใ่ ช้ และมีการเพาะเล้ียงเช้อื โรคเพื่อทาสงครามโดยเฉพาะ แตม่ ีหลกั ฐานการใช้อย่างแน่นอนในการทา สงครามเพยี งครง้ั เดียว (เหตกุ ารณอ์ นื่ เปน็ การกล่าวหาท่ีไม่สามารถหาหลักฐานพิสูจนย์ นื ยันไดอ้ ย่างแน่ชดั ) คือ เมือ่ กองทัพญี่ปุ่นเข้าไปตง้ั หนว่ ย ค้นคว้าทดลองการสงครามชีวะในจนี ก่อนสงครามโลกคร้ังท่ี ๒ และใช้ อาวุธชีวะทผ่ี ลิตไดโ้ จมตีทหารและประชาชนจีนและรสั เซีย และญ่ปี ่นุ ยงั ต้ังสาขาของสถานวี ิจยั อีกแห่งที่ สงิ คโปร์ในระหว่างสงครามครง้ั ที่ ๒ และลักลอบนาสารชวี ะเข้ามาทดลองในไทยอยา่ งลบั ๆ ประเทศทเ่ี คยผลติ อาวธุ ชีวะและสะสมไวแ้ ต่ภายหลังไดป้ ระกาศวา่ ทาลายหมดไปแล้ว ได้แก่ สหรัฐฯ และองั กฤษ อดีตสหภาพ โซเวียตทาการวจิ ยั อาวธุ ชีวะอย่างกว้างขวาง และเช่อื กนั ว่าได้ผลติ สะสมไวม้ ากมาย ตกทอดมาถึงรัสเซยี ใน ปัจจุบนั ซึ่งยังไมย่ อมเปิดเผย แม้จะเปน็ การละเมดิ ความตกลงระหว่างประเทศกต็ าม อริ ักเป็นอีประเทศหน่ึง ซง่ึ เคยค้นคว้าวิจัยและผลิตอาวธุ ชีวะ ภายหลงั สงครามอา่ วเปอรเ์ ซยี ยตุ สิ ถานที่ตง้ั ของโครงการทีถ่ กู คน้ พบถูก สหประชาชาตทิ าลายจนหมด แต่คาดว่าอริ ักคงซ่อนส่วนหนงึ่ ไว้ การทีใ่ นปจั จุบันหลายประเทศยังพยายาม ผลติ อาวุธชวี ะหรอื หามาไว้ ประกอบกับความกา้ วหน้าทางพนั ธุวิศวกรรมศาสตรเ์ ปดิ โอกาสใหม้ กี าร “สรา้ ง” เชอื้ โรคชนิดใหม่ซึง่ ไม่มใี นธรรมชาตขิ ้ึน และมีความเปน็ ไปไดส้ งู ว่าจะถูกนาไปใชใ้ นการกอ่ การร้าย จึงทาให้ อาวุธชวี ะเป็นภัยคกุ คามท่ีน่ากลัว ๘. ธุ เป็นอาวธุ ที่มีการใชก้ ันมานานนับพนั ปีเช่นกนั เริม่ จากการใช้สารพิษท่ีมใี นธรรมชาติ ลูกธนู และ ลกู ดอกอาบยาพษิ มใี ช้ต้ังแต่สมยั ใดไมม่ ีผู้ใดทราบ แม้กระท่ังควันพิษกม็ ใี ชต้ ัง้ แต่สมัยโบราณ เม่ือพัฒนาการ ด้านเคมีก้าวหน้าจนมนุษย์สามารถสังเคราะห์สารเคมีได้แลว้ จึงมกี ารใชใ้ นการรบยุคใหมอ่ ยา่ งกวา้ งขวางเปน็ คร้ังแรกในสงครามโลกคร้ังท่ี ๑ เม่อื เยอรมนีใช้แกส๊ คลอรีนโจมตีแนวรบ แตเ่ ป็นกานใช้กบั จนี นอกจากใน สงครามโลกแล้วยงั มีการใชอ้ าวุธเคมใี นการรบอ่านอกี มากมาย โดยเฉพาะในทวีปเอเชยี และแอฟรกิ า หลงั สุด เปน็ การใช้ระหว่างอริ ัก-อิหร่านในสงครามอ่าวเปอรเ์ ซียคร้งั ที่ ๑ และมกี ารก่อการรา้ ยดว้ ยสารประสาทญ่ีป่นุ ๒

5 คร้งั ท่ีเมืองมัตสโี มะโตะ ในปี ๒๕๓๗ และทสี่ ถานีรถไฟใตด้ นิ กรงุ โตเกยี ว ในปี ๒๕๓๘ ปัจจบุ ันประเทศที่ ไม่ได้เป็นภาคอี นุสัญญาหา้ มอาวธุ เคมี และมีอาวุธเคมี ได้แก่ ลเิ บยี เกาหลเี หนือ อยี ิปต์ และซีเรยี สว่ น ประเทศที่เปน็ ภาคีอนุสัญญาฯ ประกาศวา่ มีอาวุธเคมีและสถานทผี่ ลติ ซง่ึ จะตอ้ งทาลายให้หมดไปตามพนั ธกรณี ได้แก่ สหรัฐฯ รัสเซยี อินเดยี และเกาหลีใต้ ่ ธุ ล ผลอนั ตรายของอาวธุ นิวเคลียร์ครอบคลุมพนื้ ทก่ี ว้าง รวมทั้งเป้าหมายซ่งึ อยใู่ นพน้ื ที่อนั ตรายน้ดี ้วย แทบ ไม่มเี ป้าหมายใดทสี่ ามารถตอ่ อานาจของอาวุธนิวเคลียรไ์ ด้ ไม่มีการปอ้ งกนั ใดทจี่ ะให้การคมุ้ ครองต่อการโจมตี อย่างจงใจได้ แต่ที่ยังมกี ารดาเนนิ การปอ้ งกันอยูท่ ุกวนั นก้ี เ็ พราะคาดหวงั ว่าจะลดหรอื จากดั ความรุนแรงของ การโจมตไี ด้ อาวุธนวิ เคลียร์จงึ เปน็ อาวุธทีม่ ีอานาจการทาลายสมบูรณ์ (absolute) ตามความเขา้ ใจนี้ แต่อาวธุ นิวเคลยี ร์กเ็ ปน็ อาวุธที่ใช้ยาก เพราะความรุนแรงของผลอนั ตราย หากจะมกี ารนาอาวธุ นวิ เคลยี ร์ออกใชแ้ ล้ว คงไม่มีผู้ใดคาดคะเนจานวนผบู้ าดเจ็บลม้ ตายและเสยี หายไดอ้ ย่างแม่นยา ๑. ๑.๑ อาวุธนิวเคลยี ร์ (Nuclear Weapon) หมายถึง ประดิษฐกรรม (Device) ท่ีสามารถทาให้ เกดิ การระเบิดนวิ เคลยี ร์ ๑.๒ การระเบิดนวิ เคลียร์ (Nuclear Explosion) หมายถงึ การระเบิดทเี่ ป็นผลของการ ปลดปล่อยพลังงานจากปฏิกิรยิ านิวเคลยี ร์ . ป ฏ ณ ะด ล การระเบิดนวิ เคลยี รป์ ลดปล่อยพลังงานทั้งสิ้นออกมากภายในเวลาเพียงเศษหนง่ึ ส่วนลา้ นของวนิ าที เท่านน้ั เมอื่ อาวธุ นวิ เคลยี ร์ระเบดิ ในอากาศหรือทีผ่ ิวพนื้ จะเกดิ ประกายไฟสว่างวาบ กอ่ กาเนดิ (fire ball) ซง่ึ จะลอยสูงขน้ึ ขยายตัวออกจนมีขนาดใหญส่ ดุ และดับลงในท่ีสดุ สีของลกู ไฟจะเปล่ียนตามอุณหภูมทิ เ่ี ยน็ ลง (กว่าสิบล้านองศาเซลเซียสในตอนแรก) จากสขี าวสว่างจา้ เป็นสีสม้ และสีแดง ขณะเดยี วกันจะมีรงั สี นวิ เคลยี ร์เปล่งออกมา เกิดเสียงระเบดิ และมพี ายุพดั ออกจากลูกไฟตามดว้ ยพายุพดั กลับ สิง่ ต่าง ๆ ทอ่ี ยใู่ กล้ จะถูกดดู เข้าไปในลูกไฟและหลอมละลายหรอื ไหม้หมดในขณะท่อี ุณหภูมิของลูกไฟยังสงู ลกู ไฟทดี่ ับแล้ว กลายเปน็ เมฆรูปดอกเหด็ เศษเถา้ และผงชิ้นใหญจ่ ะตกใกล้ดอกเห็ด ส่วนเถา้ ธุลซี ึ่งเปน็ ผงละเอียดจะถกู กระแส ลมพัดพาไปตกยังท่ไี กล ๆ เศษผงและเถา้ ธุลเี หลา่ นค้ี ือฝุ่นกัมมนั ตรังสี ๓. ผล ั ข ุธ ล ผลอันตรายจากการระเบิดนวิ เคลยี ร์ ประกอบด้วย แรงระเบดิ รงั สคี วามร้อน รังสนี วิ เคลยี ร์ และคลน่ื พลั ส์แม่เหลก็ ไฟฟ้า ซงึ่ คิดเป็นรอ้ ยละ ๕๐, ๓๕, ๑๔ และ ๑ โดยประมาณของพลังงานท่ีปลดปล่อย ออกมาทั้งส้ิน ๓.๑ แรงระเบิด (Blast Effect) เปน็ ความดนั สูงกว่าบรรยากาศเคลอื่ นที่อยา่ งรวดเรว็ (ประมาณ ความเร็วของเสียงท่ีระดับนา้ ทะเล) ในลักษณะเป็นคล่ืน ทาใหเ้ กิดลมพายพุ ัดอยา่ งแรงออกจากและพดั กลบั เข้าหาศูนยก์ ลางการระเบดิ ทาให้เกิดอันตรายตอ่ รา่ งกายในลกั ษณะเชน่ เดียวกับอนั ตรายจากวัตถุระเบิดแรง สูง แต่ตา่ งกันตรงท่มี คี วามรนุ แรงมากกว่า เช่น อวยั วะภายในถกู บีบอัดจนเป็นอันตราย ลูกลมพายพุ ดั ลาก ครดู ไปกบั พืน้ หรอื พดั ปลวิ ไปท้งั ตัว และถกู เศษส่งิ ปรักหกั พังปลวิ ใส่รา่ งกาย ๓.๒ รังสคี วามรอ้ น (Thermal Effect) เคลือ่ นทด่ี ้วยความเรว็ ของแสง และมคี ุณสมบัตเิ หมือน แสง กล่าวคือ เดนิ ทางเป็นเสน้ ตรง สะทอ้ น หักเห กระจาย และถูกดูดกลืนได้ ประกอบดว้ ยอันตรายจาก แสงสวา่ งจา้ วูบหน่ึง (แสงวาวหรือ flash) และความรอ้ น ทาใหเ้ กิดอันตรายดังน้ี

6 ๓.๒.๑ นัยนต์ าพร่า (flash blindness) เกิดจากแสงวาวทสี่ ะท้อนจากท้องฟ้า พน้ื ดิน หรอื พื้นน้า เข้าตา ทาให้มองไมเ่ ห็นภาพชว่ั คราว หากเกดิ ในเวลากลางวันจะมอี าการนานหลายนาที หากเกิด ในเวลากลางคนื อาจมีอาการนานนับสบิ นาที ๓.๒.๒ จอตาไหม้ (corioretinal burn) เป็นอันตรายถาวร เกิดจากการมองตรงไปที่จุดท่ี อาวุธระเบิดหรือใชก้ ล้องสอ่ งทางไกลส่องในทศิ ทางนนั้ แม้จะอย่หู า่ งจนความรอ้ นไมส่ ามารถทาอันตรายได้ แลว้ ก็ตาม ๓.๒.๓ แผลไหม้จากแสงวาว (flash burn) เปน็ อันตรายทางตรงทีเ่ กดิ จากความรอ้ น เมือ่ ผวิ หนังด้านท่ีหนั เขา้ หาการระเบดิ ไดร้ บั ความรอ้ นจากแสงวาบจนไหม้ ขั้นความรุนแรงของแผลไหม้ขึน้ อยู่กบั ระยะทางห่างจากจดุ ท่อี าวธุ ระเบิด การกาบังความร้อนท่ไี ดร้ ับ เส้ือผ้าที่สวมใส่ ฯลฯ ผูท้ ่อี ยู่ในท่โี ลง่ อยใู่ น อาคารที่มีหน้าต่างและประตูมาก และอยูใ่ กลห้ น้าตา่ งทีเ่ ปิดไว้ มโี อกาสได้รบั อันตรายสงู ๓.๒.๔ แผลไหมจ้ ากเปลวเพลงิ (flame burn) เปน็ อนั ตรายทางออ้ ม ในรัศมีที่ความร้อน มีอุณหภมู สิ งู มาก วัสดุที่ติดไฟได้จะลกุ ไหม้ ทาใหเ้ กดิ เพลิงไหมส้ ่งิ ปลูกสรา้ งและลกุ ลามไปท้ังเมือง เปลวเพลิง อาจเผาไหม้ทาอนั ตรายรา่ งกาย ๓.๓ รงั สีนวิ เคลียร์ (Nuclear Radiation) ประกอบด้วย อนภุ าคแอลฟา อนุภาคบตี า อนุภาค นวิ ตรอน และรงั สีแกมมา จากวสั ดุนวิ เคลียรท์ ่ีทาหัวรบและจากปฏิกิริยานวิ เคลียร์เมอ่ื เกิดการระเบิด เปน็ สงิ่ ทปี่ ระสาทสัมผัสทั้ง ๕ ไมส่ ามารถรับรไู้ ด้ ทาอันตรายโดยการปลดปลอ่ ยพลังงานใสเ่ นอ้ื เยื่อของร่างกาย ทาให้ สารเคมีภายในเซลล์เปล่ียนแปลงไปจนเซลลต์ ายหรือทาหน้าทผี่ ิดปกติ เป็นผลใหเ้ กดิ การปว่ ย เรียกว่า การ ป่วยจากรังสี (radiation sickness) ซ่งึ อาจรนุ แรงจนทาใหเ้ สียชีวติ แบง่ เปน็ อันตรายเฉียบพลนั และ อันตรายระยะยาว ถ้าเสยี ชวี ติ ทนั ทีหรือ ปว่ ยและเสียชีวติ ในเวลาไม่นานหลงั ได้รับรงั สี จัดเป็นอันตรายเฉยี บพลัน แตถ่ ึงแมจ้ ะรอดชีวิตจากอนั ตราย เฉยี บพลนั หลายปีหลังจากไดร้ ับรังสแี ลว้ ยงั อาจมคี วามผิดปกตเิ กดิ ขึน้ ในรา่ งกายจนทาใหเ้ สยี ชวี ติ อาทิ เกิด โรคมะเร็งและโรคลูคเี มีย จงึ จัดเป็นอันตรายระยะยาว หากพจิ ารณาระยะเวลาท่ีรังสนี ิวเคลียร์สามารถนา อนั ตราย อาจแบง่ ได้เปน็ ๒ หว้ ง ดังนี้ ๓.๓.๑ รงั สีนวิ เคลยี ร์เริ่มแรก (Initial Nuclear Radiation) เปน็ รงั สีนิวเคลยี ร์ทท่ี า อนั ตรายในหว้ งเวลา ๖๐ วินาทีแรกของการระเบดิ เปน็ รังสที ีเ่ ปล่งออกจากลกู ไฟ ๓.๓.๒ รงั สนี วิ เคลียรต์ กค้าง (Residual Nuclear Radiation) เปน็ รังสนี วิ เคลียร์ที่ทา อันตรายภายหลังรงั สนี ิวเคลียร์เร่มิ แรก ปรากฏในรูปของ ฝุ่นกัมมันตรังสตี กจากท้องฟ้า (radiation fallout) ซ่งึ มีทีม่ าจากเมฆนวิ เคลยี ร์ เปน็ อนั ตรายที่ปกคลมุ พืน้ ที่ได้กว้างไกลและมผี ลเป็นอยา่ งมากต่อการยทุ ธ และ รังสีท่ีนวิ ตรอนเหนยี่ วนา (nutron induced radiation) ซึง่ แผ่จากพื้นดนิ บริเวณใกล้กับตาแหนง่ ท่อี าวุธ นิวเคลยี ร์ระเบิด แต่พื้นดนิ บริเวณดังกล่าวเปน็ พื้นทซี่ ่งึ ไดจ้ าเปน็ ตอ้ งเขา้ ไปหลงั การระเบดิ นวิ เคลยี ร์ เนอื่ งจาก สง่ิ ตา่ ง ๆ ถูกทาลายจนกลายเป็นพืน้ ทีว่ า่ งเปลา่ หรือเป็นพืน้ ที่มซี ากปรักหักพงั หรือมตี ้นไม้ใหญจ่ านวนมากล้มกีด ขวางการสัญจรของยานพาหนะ ๓.๔ คลน่ื พัลส์แม่เหลก็ ไฟฟ้า (Electromagnetic Pulse – EMP) เป็นคลนื่ แม่เหล็กไฟฟา้ เกือบทุก ยา่ นความถ่ีท่เี กดิ จากการแตกตวั ของกา๊ ซตา่ ง ๆ ในบรรยากาศเม่อื ไดร้ บั รังสีนวิ เคลยี ร์จากการระเบิด เม่ือไหล ผ่านตัวนาไฟฟา้ เช่น เสาวิทยุ เสาอากาศ และสายไฟ เขา้ สอู่ ุปกรณ์ อิเลก็ ทรอนิกสท์ ่ีใช้งานอยู่ จะทาใหอ้ ุปกรณน์ ั้นชารุดเสียหาย นอกจากนี้ คลน่ื พลั สแ์ ม่เหล็กไฟฟา้ ใน บรรยากาศยงั รบกวนสัญญาณวิทยุเรดาร์ และคล่นื อ่นื ท่ีใช้ในการสอ่ื สาร เปน็ เวลานานหลายสบิ นาทจี นถงึ หลายช่วั โมง เปน็ ผลให้ไมส่ ามารถบังคับบัญชา สั่งการ ค้นหาเป้าหมาย ป้องกนั ภัยทางอากาศ ควบคุมการ ยิงและการนาวถิ ีอาวธุ ปล่อย ฯลฯ ในห้วงเวลานั้น

7 ๔. ่ ดั ั ทหารใช้หนว่ ยวดั รงั สที ี่เรยี กวา่ เกรย์ (Gray) ซึง่ แบ่งยอ่ ยเปน็ ๑๐๐ เซน็ ติเกรย์ หนว่ ยนี้เป็นหน่วยที่ แสดงค่าเฉล่ียของพลังงานที่เนอื้ เยื่อไดร้ บั จากรังสีท่ที าใหอ้ ะตอมเป็นไอออน รังสนี ิวเคลยี ร์ขนาด ๑๐ ถึง ๕๐ เกรย์ เป็นขนาดทเี่ รียกวา่ ขนาดสงั หาร (lethal dose) เพราะผูท้ ไี่ ดร้ ับรังสนี วิ เคลียร์ขนาดนท้ี ่วั ร่างกายใน ระยะเวลาน้นั ไม่มีโอกาสรอดชีวิต . ข ด ุธ (Yield) ขนาดอาวธุ นิวเคลยี ร์ไม่ได้หมายถงึ น้าหนักหรอื มิตขิ องอาวุธ แต่หมายถึงพลังงานท้งั สนิ้ ทีอ่ าวุธนวิ เคลยี ร์ น้นั สามารถปลดปลอ่ ยออกมาเมอ่ื ระเบิด โดยเปรยี บเทยี บกบั พลังงานทป่ี ลดปล่อยจากการระเบดิ ของดิน ระเบดิ แรงสูงชนิด ทีเอน็ ที ขนาดอาวธุ นวิ เคลียร์ ๒ หนว่ ย คือ ๕.๑ กิโลตัน (kT) เทียบเท่าพลงั งานการระเบดิ ของ ทเี อ็นที หนกั ๑,๐๐๐ ตนั ๕.๒ เมกะตนั (MT) เทยี บเท่าพลงั งานการระเบดิ ของ ทีเอ็นที หนัก ๑,๐๐๐,๐๐๐ ตัน ๖. ป ะ ภ ะ ด แมข้ นาดอาวธุ จะเป็นสิง่ กาหนดปริมาณพลงั งานทัง้ ส้ินที่ปลดปล่อยมากจากการระเบิด แต่ ประเภทของการระเบดิ จะเป็นสิง่ ทก่ี าหนดความรุนแรงของผลอันตราย ประเภทการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ อาจแบง่ ออกเปน็ ๖.๑ การระเบดิ ในอากาศ (air burst) ในกรณนี ลี้ ูกไฟไมส่ ัมผสั ผวิ โลก แรงระเบิดและรงั สีความ ร้อนเป็นอนั ตรายสาคญั ๖.๒ การระเบิดทผ่ี ิวพนื้ (surface burst) ลูกไฟสัมผัสผิวโลก ไมว่ า่ อาวุธจะระเบิดท่ีผวิ พนื้ หรือไม่ ฝนุ่ กมั มนั ตรังสีเปน็ อันตรายสาคญั ๖.๓ การระเบดิ ใต้ผวิ พื้น (subsurface burst) หมายถึง การระเบดิ ใต้พ้ืนดินหรือพ้นื นา้ แรง ระเบิดและรังสคี วามร้อนจะถกู ดนิ และน้ารับไวเ้ กอื บหมด บริเวณท่เี กดิ การระเบิดจะยุบตัวลงเปน็ หลมุ ภายใน หลุมและปากหลุมมรี ังสีท่ีนวิ ตรอนเหนีย่ วนาในปริมาณสงู เป็นอันตรายสาคญั ๗. ู ล ะ ด ่ผ ้ื จดุ บนผิวโลก (พื้นดินหรือพื้นนา้ ) ซึ่งเป็นศูนยก์ ลางการระเบิดของอาวธุ นิวเคลียร์ หรืออยูเ่ หนือ หรอื ใต้ในทางดงิ่ จากศนู ย์กลางการระเบิดของอาวธุ นวิ เคลยี ร์ ตามท่ีได้วางแผนไว้หรอื เกิดขึ้นจริง ใช้เป็นจุดอ้างองิ สาหรบั การพิจารณาผลกระทบจากอาวุธ ่๓ ุธ ะ ในสมยั โบราณ หลายฝ่ายแพ้สงครามเพราะสญู เสียทหารเปน็ จานวนมากจากโรคระบาดทเ่ี กิดตาม ธรรมชาติ แม่ในปัจจบุ นั การสญู เสียวนั รบจากการป่วยด้วยโรคตามธรรมชาตยิ งั มากกวา่ การสญู เสียจาก การรบ หากมีการใชเ้ ชือ้ โรคเป็นอาวธุ แล้ว จะมีการสญู เสียมากเปน็ ทวีคูณ อาวธุ ชวี ะเป็นภัยคกุ คามท่ีสาคัญ แม้ประเทศมหาอานาจ เช่น สหรฐั ฯ ยังเกรงกลวั ๑. ๑.๑ อาวุธชวี ะ (Biological Weapons) หมายถึง ประดิษฐกรรมทใี่ ช้สง่ แพร่ หรอื กระจายสาร ชีวะและสัตวพ์ าหะ (vectors) ๑.๒ สารชีวะ (Biological Agents) (ชือ่ พอ้ ง : สารท่ีใช้ในการสงครามชีวะ – Biological Warfare Agents) หมายถงึ สง่ิ มีชีวติ รวมถึงสว่ นท่ที าใหเ้ กิดการติดเช้ือซ่ึงมีทม่ี าจากส่ิงมชี ีวติ นน้ั ซึง่ ถูกจงในทาให้ แพรอ่ อกไป เพือ่ ใหเ้ ขา้ ไปเจรญิ และทวจี านวนในร่างกายมนษุ ย์ สัตว์ พืช เปน็ ผลให้ปว่ ย เป็นโรคหรอื เสยี ชีวิต

8 . ะ ธุ ะ (Biological Weapon System) มีองคป์ ระกอบ ๓ ส่วน คือ ๒.๑ ยุทธปัจจัย (munitions) ซง่ึ อาจเปน็ กระสุน ลกู ระเบดิ จรวด ขปี นาวุธ ถังพ่นละออง ฯลฯ ใช้เป็น “บรรจุภณั ฑ์” (container) และบางชนดิ มีกลไกทที่ าใหส้ ารชีวะหรือสัตวพ์ าหะแพร่ออก ณ เปา้ หมาย ๒.๒ สารชวี ะหรือสัตว์พาหะ เป็นส่วนบรรจุในยุทธปัจจัย ๒.๓ ระบบเคร่อื งสง่ (delivery system) เปน็ ส่งิ ท่นี ายทุ ธปจั จยั บรรจสุ ารชีวะไปยังเป้าหมาย ระบบเครอ่ื งสง่ อาจเป็นเครื่องยิงลกู ระเบิด ปนื ใหญ่ เคร่ืองยิงจรวดหรอื เครอื่ งยงิ ขปี นาวุธ เคร่ืองบิน รถยนต์ บรรทุก เรือ ฯลฯ ๒. ผลอันตรายของอาวธุ ชีวะ ผลอนั ตรายทเี่ กิดจากอาวธุ ชวี ะคอื การเกดิ โรคตดิ เชือ้ (infectious disease) อันตรายเป็นแบบหน่วง เวลา (delayed effect) กล่าวคอื สารชวี ะจะต้องเขา้ ส่รู า่ งกาย ทวีจานวน และเอาชนะภมู คิ ้มุ กันของ ร่างกายได้ จึงจะเกดิ โรค ระยะเวลาตั้งแต่สารชวี ะเขา้ สูร่ า่ งกายจนถึงเวลาท่ีอาการของโรคปรากฏ เรียกวา่ ระยะฟกั โรค (incubation period) ๓. ป้ ข จ ด้ ธุ ะ ๓.๑ มนษุ ย์ อาจเป็นทหารหรอื ประชาชนพลเรอื นโดยลาพงั หรอื ท้งั ทหารและพลเรอื นปะปนกัน อยู่ ขนึ้ อยู่กบั ความต้องการและสถานการณ์ พ้ืนที่ซึง่ มีผอู้ ยู่กนั อย่างหนาแนน่ เชน่ ทต่ี ง้ั หนว่ ยทหารขนาด ใหญ่ และโรงงานผลติ อาวุธยุทธปัจจัย เปน็ เปา้ หมายที่เหมาะสม การโจมตีเป้าหมายเหลา่ นี้แต่ละครงั้ ด้วย อาวธุ ชีวะ จะเปน็ การใชเ้ ชื้อโรคซงึ่ ผู้ทตี่ กเป็นเปา้ หมายไม่มภี ูมติ า้ นทาน หรือเชอ้ื โรคท่ีสามารถควบคมุ ได้หรือ ถกู กาจัดหมดไปแล้วจากโลกหรอื จากภมู ิภาคนน้ั และเชอ้ื โรคซึง่ ไมม่ ใี นธรรมชาตแิ ตถ่ ูกสรา้ งขนึ้ โดยใช้วธิ ีการ ทางพนั ธุวิศวกรรมศาสตร์ ๓.๒ สัตว์ ซึง่ ไดแ้ กส่ ตั ว์ท่ีมคี วามสาคญั ทางเศรษฐกจิ ใช้เปน็ อาหาร และใชเ้ ปน็ พาหนะ เช่น โค กระบอื สกุ ร แพะ แกะ ม้า ฬ่อ สัตว์ปกี และสัตวน์ ้า การโจมตดี ว้ ยอาวธุ ชวี ะไม่เพยี งแต่ทาใหส้ ัตวป์ ว่ ย และตาย ยงั อาจทาใหต้ ้องฆา่ ทิ้งอีกเป็นจานวนมาก เพอื่ ปอ้ งกันไม่ให้โรคระบาด การทาอนั ตรายตอ่ สัตวม์ ุ่ง หมายจะใหเ้ กิดผลเสยี หายทางอ้อมต่อมนุษย์ ด้วยการจากดั อาหาร พาหนะ ความสามารถในการเพาะปลกู และผลิตภัณฑ์จากสตั ว์ ซึ่งรวมถงึ ผลิตภัณฑ์ชวี ภาพทางการแพทย์ เช่น อนิ ซลู นิ วคั ซีน และเซรมุ การ ปอ้ งกันฝงู สัตว์ไมใ่ ห้ไดร้ ับอันตรายจากการโจมตีด้วยอา่ วะชวี ะ ไม่อาจกระทาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิผล ๓.๓ พชื ซ่ึงไดแ้ ก่พืชทีเ่ ป็นอาหารหลกั และพชื เศรษฐกิจ เชน่ ธัญพชื ชนดิ ต่าง ๆ และมนั ฝรงั่ พชื ไร่ พชื สวน และไม้ดอก ทเี่ ปน็ สนิ ค้าสง่ ออกสาคัญ การโจมตีดว้ ยอาวุธชวี ะทาให้เกดิ โรคพชื ระบาด มีผลกระทบ กระเทอื นต่อการดารงชีพของมนษุ ย์และสัตว์ เพราะปจั จยั ส่ีล้วนไดม้ าจากพชื ๔. ป ะ ภ ข ะ จุลินทรีย์ท่สี ามารถใชเ้ ป็นสารชวี ะได้ มี ๔ ประเภท ดังนี้ ๔.๑ ฟงั ไจ (Fung) ใช้เป็นสารชวี ะทาอันตรายพืช ใช้เฉพาะเช้ือราก่อโรคพืชทีเ่ ปน็ อาหารหลกั หรือมคี วามสาคัญทางเศรษฐกจิ เชน่ โรคราสนิม โรคราน้าค้าง โรคไหม้ โรคเนา่ คอรวง และโรคถอดฝกั ดาบ ๔.๒ แบคทีเรีย (Bacteria) ใช้เป็นสารชีวะทาอนั ตรายมนุษย์และสัตว์ โดยเฉพาะพวกที่ก่อโรคสตั ว์ ทต่ี ิดตอ่ ถงึ มนษุ ยไ์ ด้ (zoonoses) เชน่ โรคกาสี (แอนแทรกส์) และกาฬโรค ๔.๓ ริคเกตเซีย (Rickettsiae) ตามธรรมชาติเปน็ จุลนิ ทรีย์ทกี่ อ่ โรคสตั ว์ป่า ซงึ่ ติดต่อถงึ มนษุ ย์ได้ โดยผ่านทางด้านพาหะ ใช้เป็นสารชีวะทาอันตรายมนุษย์ปล่อยกระจายไปกับสัตว์พาหะ เชน่ โรคไข้รากสาด ใหญ่ โรคไข้ควิ และโรคไขผ้ น่ื

9 ๔.๔ ไวรสั (วิสา) (Virus) ใช้เป็นสารชีวะทาอันตรายมนุษย์ ทาอันตรายสัตว์ หรือทาอันตรายพืช แล้วแต่จะเลอื กใช้ เชน่ โรคไขเ้ หลือง โรคเยือ่ หุ้มสมองอกั เสบ โรคปากและเทา้ เปือ่ ย โรคอหิวาตส์ ุกร และ โรคใบหงกิ . ลั ษณะ ฉ ะข ุธ ะ ๕.๑ ลกั ษณะทีเ่ ป็นขอ้ ได้เปรยี บ สารชวี ะเป็นสง่ิ มชี ีวิตขนาดเล็ก เมอื่ เข้าสู่ร่างกายสามารถทวี จานวนได้ จงึ มคี วามตอ้ งการใช้ในปริมาณน้อย นอกจากนี้ยังตรวจจับได้ยาก พสิ ูจน์ทราบชนดิ ได้ชา้ อาจทา ใหเ้ กดิ โรคระบาด และเหมาะสาหรบั ใชใ้ นการกอ่ ร้าย ก่อวนิ าศกรรม หรือในปฏิบัติการลบั ๕.๒ ลกั ษณะที่เปน็ ข้อเสียเปรียบ เกิดผลลา่ ชา้ ได้รับความกระทบกระเทอื นจากสภาวะลมฟา้ อากาศ และจะตอ้ งระวังอนั ตรายท่จี ะเกดิ แกฝ่ ่ายเดียวกนั ๖. ่ ะ ข้ ู่ ่ ๖.๑ ทางระบบทางเดนิ ลมหายใจ เป็นทางเขา้ ท่มี คี วามล่อแหลมมากทสี่ ุด เพราะสารชวี ะสามารถ เข้าสรู่ ่างกายได้ง่ายท่ีสุด เข้าได้ในจานวนมาก และจากถุงลมปอดสามารถเข้าสู่กระแสโลหติ ไดโ้ ดยตรง ๖.๒ ทางระบบทางเดินอาหาร เปน็ ทางเข้าทม่ี คี วามล่อแหลมรองลงมา ๖.๓ ทางผิวหนงั นอกจากจะเขา้ ทางรอยฉีกขาดของผวิ หนงั แลว้ ยงั อาจถกู สตั วพ์ าหะกดั ๗. ใ ้ ธุ ะ เวลาทเ่ี หมาะ ท่ีสุดสาหรับการใช้อาวุธชวี ะ คือห้วงเวลาต้ังแต่ ๑ ชวั่ โมงก่อนดวงอาทติ ย์ตก จนถงึ ๑ ช่วั โมงหลังดวงอาทิตยข์ นึ้ ในวันรงุ่ ข้นึ โดยประมาณ นอกจากนีย้ งั อาจใช้ได้ในเวลากลางวันท่ที อ้ งฟ้ามี เมฆปกคลมุ มาก การส่ง แพร่ หรอื กระจายสารชีวะ สามารถกระทาไดด้ ้วยวิธตี ่าง ๆ ท้งั ภาคพ้ืนดนิ ทางน้า และทาง อากาศ สารชวี ะอาจเป็นของแข็ง ของเหลว หรืออยู่ท่ีรา่ งกายของสัตวพ์ าหะ และสามารถนาเข้าสู่เป้าหมาย ได้ ๓ วิธี ดงั น้ี ๗.๑ วิธีหลัก คอื การปล่อยกระจายสารชวี ะเปน็ แอโรซอล (aerosal) โดยทาให้สารชีวะแพร่ หรอื ฟุง้ ออกไปในบรรยากาศในลักษณะที่เป็นผงหรือเป็นละออง ซ่ึงจะลอ่ งลอยเปน็ กลมุ่ ไปตามกระแสลม และ สามารถแผ่ปกคลมุ พนื้ ที่ไดก้ วา้ งขวาง เข้าสรู่ ่างกายทางระบบทางเดินลมหายใจเป็นอันดบั แรก และหากเป็น สารชวี ะทสี่ ามารถก่อโรคไดท้ างอนื่ ดว้ ย เมื่อตกใสน่ า้ อาหาร และผวิ หนัง จะเข้าสู่ร่างกายทางระบบทางเดิน อาหารและทางผิวหนัง ๗.๒ วธิ รี อง คือ การปล่อยกระจายสัตวพ์ าหะทมี่ สี ารชีวะอยทู่ ่รี า่ งกาย สตั วพ์ าหะจะแสวงหาเหยือ่ ท่ี เป็นมนุษย์และสตั วเ์ ลอื ดอุ่นในพื้นท่ีเป้าหมาย เพ่ือกัดและดดู โลหิตพรอ้ มท้ังถ่ายสารชีวะเช้าสู่ร่างกาย วธิ ีน้ี เป็นการใช้สารชวี ะที่ไม่อาจปลอ่ ยกระจายเป็นแอโรซอลไดห้ รือเพ่ือทาอันตรายผ้ทู ส่ี วมหนา้ กากป้องกัน ๗.๓ วิธเี สริม คือ การกอ่ วินาศกรรม การก่อการร้าย และปฏบิ ัติการลบั เพอื่ ให้เกิดความ ระส่าระสาย และต่นื ตระหนกในพื้นทส่ี ่วนหลัง ๘. ่ ุ ณ จ ด้ ธุ ะ เม่ือหน่วยไดร้ บั การเตือนจากฝ่ายข่าวกรองหรอื หน่วยเหนอื วา่ ข้าศกึ อาจใชอ้ าวธุ ชีวะโจมตี ให้สันนิษฐาน ว่าการโจมตีเกิดขึ้นแล้ว หรอื มอี ันตรายจากสารชีวะ ณ ท่ีน้ัน ถา้ มีส่งิ บอกเหตุตอ่ ไปนี้  มี บ. บนิ มาพ่นละออง  กระสุนระเบดิ ด้วยแรงระเบิดน้อยกว่าธรรมดา และไมม่ ีผลอนั ตรายปรากฏทันที  มีกลมุ่ หมอกหรือควันปรากฏหรอื ลอ่ งลอยมาโดยไมท่ ราบแปล่งกาเนิด  พบกระสุนหรอื ลกู ระเบดิ แบบใหม่ของข้าศึก (แม้จะพบเพียงชิ้นส่วน)  มสี ตั วพ์ าหะเพ่มิ จานวนผดิ สงั เกต  มีกาลังพลเจบ็ ปว่ ยจานวนมากดว้ ยอาการคล้ายกันในเวลาเดยี วกนั หรอื ในเวลา ใกล้เคยี งกันมาก

10 ่๔ ุธ ๑. ๑.๑ อาวธุ เคมี (Chemical Weapons) หมายถงึ ประดษิ ฐกรรมทใี่ ช้ส่ง แพร่ หรือกระจาย สารเคมี หรอื อาจหมายถงึ สารเคมีโดยลาพัง ๑.๒ สารเคมี (Chenical Agents) (ช่ือพอ้ ง : สารท่ใี ช้ในการสงครามเคมี, สารเคมที างทหาร) หมายถึง สารเคมีทจี่ งใจใชใ้ นปฏิบัติการทางทหาร เพื่อทาให้มนุษยเ์ สียชวี ิต บาดเจบ็ สาหัส หรือไร้ สมรรถภาพ โดยอาศัยผลทางสรีรวิทยา ทั้งนี้ไม่รวม  สารทาควัน สารเพลงิ และ  สารควบคมุ การจลาจลหรือสารทาลายพืช ซ่ึงใช้เพอ่ื วัตถปุ ระสงค์อนื่ เวน้ การ ทาสงคราม . ่ใ ้ใ (Chemical Warfare Agents) แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท ดังน้ี ๒.๑ สารสังหาร (Lethal Agents) (ชื่อพอ้ ง : สารเคมพี ษิ - Toxic Chemicals, สารพิษ - Toxic Agents, สารท่กี อ่ ให้เกิดการสญู เสีย - Casualty – producing Agents) หมายถงึ สารเคมี ใดท่ีผลจากปฏกิ ิริยาทางเคมีของมนั ทม่ี ีตอ่ กระบวนการของชวี ิต ทาใหม้ นษุ ยแ์ ละสตั วเ์ จบ็ ปว่ ยอย่างรุนแรง เสียชวี ิต หรอื เกดิ อันตรายถาวร สารสงั หารแบง่ ย่อยออกเป็น ๕ พวก ดังนี้  ป ะ (Nerve Agents) เป็นของเหลวไม่มกี ล่นิ ไม่มีสี มี ๒ กลุ่ม คอื กลุม่ สาร G และกลุ่มสาร V แต่ละกลมุ่ มหี ลายชนดิ ทุกชนิดมพี ษิ ร้ายแรง ทาอนั ตรายระบบประสาท และทา ใหเ้ สยี ชวี ิตไดใ้ นเวลารวดเร็วมาก  ชนดิ ที่ระเหยเป็นไอง่าย ทาอนั ตรายเมอื่ สูดหายใจเข้าปอด  ชนิดที่หนืดมาก ทาอันตรายเมือ่ สัมผัสและซมึ ผ่านผิวหนัง  อาการเร่มิ แรก : นา้ มูกใสไหลไมห่ ยุด แน่นหน้าอกหายใจไม่สะดวก รมู า่ นตาหร่ีเลก็ จนมองเหน็ ภาพไม่ชัด และนา้ ลายไหลไมห่ ยดุ  อาการอ่ืนตามมาอย่างรวดเร็ว : หายใจไม่ออก เหงือ่ ออกมาก คล่ืนไส้ เป็นตะคริว ปวดศรีษะ ชักกระตุก หมดสติ อจุ จาระและปสั สาวะราด และถงึ แกค่ วามตาย  ุ (Blister Agents) เปน็ ของเหลวทีม่ คี วามหนืดคลา้ ยนา้ มันหล่อลืน่ เคร่ืองยนต์ ระเหยช้า ม่งุ หมายใช้เพ่ือทาใหเ้ กิดอันตรายจากการสัมผสั ผิวหนงั ทาใหเ้ จบ็ ปวดและเกดิ แผล พุพอง มี ๓ กลุ่ม คือ กลมุ่ มสั ตาร์ด กลมุ่ สารประกอบสารหนุ และกลมุ่ ที่ทาให้เจบ็ คนั แต่ละกลุ่มมหี ลาย ชนดิ  ในสภาวะท่ีเปน็ ไอนอกจากจะทาอันตรายผิวหนังไดแ้ ลว้ ยังทาให้ นยั น์ตาและอวยั วะของระบบทางเดินลมหายใจเป็นแผล  ถ้ากลืนกนิ จะทาอนั ตรายอวัยวะของระบบทางเดนิ อาหาร  เมื่อซึมเขา้ ส่รู ่างกายจะเป็นพษิ ต่อร่างกายโดยทวั่ ไป ทาใหป้ ว่ ยจนถงึ แก่ ความตายได้  ส่วนใหญไ่ ม่ทาให้เกิดการเจบ็ ปวดทันทีทส่ี ัมผสั มีเพียงบางชนดิ ทาให้ รสู้ กึ เจบ็ ปวดทนั ที

11  อาการเร่ิมแรกท่ีผิวหนังอาจเกดิ ๓ ถงึ ๔ ชั่วโมงภายหลังการสัมผัส มี อาการปวดแสบปวดร้อน ผิวหนังแดง อกั เสบ และกลายเปน็ แผลพุพอง ใช้เวลารักษายาวนาน  ล (Blood Agents) ท่สี าคัญมี ๒ ชนดิ เป็นของเหลวที่ระเหยเป็นไอง่าย เมือ่ สูดหายใจเข้าปอดจะแพร่ไปทัว่ รา่ งกายผ่านทางกระแสโลหติ ทาให้เซลลไ์ มส่ ามารถนาออกซเิ จนจากโลหติ ไปใช้ได้ จึงทาให้เกดิ ภาวะขนาดออกซเิ จน  ถ้าเข้าสู่ร่างกายในขนาดความเขม้ ข้นไม่สูงนัก จะทาใหเ้ กิดอาการมึนงง ปวดศีรษะ ชีพจรเตน้ ผดิ ปกติ หากปลอ่ ยทง้ิ ไวจ้ ะหมดสติและตาย  ถ้าเข้าสูร่ ่างกายในขนาดความเข้มข้นสงู มากจะทาใหต้ ายทันที  บางชนดิ ทาใหอ้ วัยวะของระบบทางเดนิ ลมหายใจระคายเคอื ง จงึ มี อาการสาลักและไอรว่ มด้วย  ลั (Choking Agents) มหี ลายชนดิ เป็นแกส๊ ทาให้ปอดและหลอดลม เป็นแผล อาการป่วยระยะสดุ ท้ายมีของเหลวคั่งในปอด เสยี ชวี ติ จากบาดแผลประกอบดับการขาดออกซิเจน  อาการแรกเริม่ : รสู้ ึกระคายเคืองในปอดและหลอดลม ไอ ปวดศรี ษะ คลื่นไส้ อาเจียน อาการเหลา่ น้ีจะหายไปหากไม่ได้รบั สารเขา้ สู่รา่ งกายอีก  หลายชว่ั โมงตอ่ มา : เกิดอาการแน่นและเจ็บในทรวงอก หายใจหอบถี่ และตื้น ปวดศรี ษะ ไอรนุ แรงและไอมขี องเหลวเหนียวเปน็ ฟองออกมา  ซ (Toxin) (ช่ือพอ้ ง : ชีวพิษ) ตามธรรมชาติเป็นพิษของสตั ว์ พืช และจลุ ินทรยี ์ บางชนิด ถูกสกัดหรอื สังเคราะห์ขนึ้ เพือ่ ใช้เป็นอาวุธปล่อยกระจายในลักษณะเป็นแอโรซอล  เนือ่ งจากทอกซนิ มหี ลายชนดิ จึงมคี วามเป็นพษิ ตา่ งกนั หลายระดบั ตงั้ แตท่ าให้เกิดการระคายเคอื งจนถึงทาใหเ้ สียชวี ิตอย่างรวดเร็ว ลักษณะอาการแตกตา่ งกนั มากมาย  กลไกในการทาอันตรายตอ่ ร่างกายแบ่งออกเป็น ทอกซินทาลายระบบ ประสาท (neurotoxin) และ ทอกซินทาอันตรายเซลล์ (cytotoxin)  ตาราทหารบางประเทศจัดใหท้ อกซนิ เป็นสารชวี ะ ๒.๒ สารทาให้ไรส้ มรรถภาพ (Incapacitating Agents) หมายถึง สารเคมีใดที่ผลอนั ตรายของมนั ทาให้มนุษย์หมดความสามารถในการปฏบิ ัตภิ ารกิจชั่วคราว ซึ่งอาจเป็นอาการทางกาย ทางจติ หรือพรอ้ มกัน ท้ังสองทาง และไมท่ าใหเ้ สยี ชวี ติ หรือเกิดอันตรายถาวรหากใช้ในขนาดและดว้ ยวิธี “ปกติ” อาการทีเ่ กดิ จะ หายเองโดยไมต่ ้องรกั ษา สารทาใหไ้ ร้สมรรถภาพเป็นของแขง็ ปล่อยกระจายในลกั ษณะเป็นแอโรซอล โดย ทาใหเ้ ปน็ ผงละเอยี ดฟ้งุ ไปในบรรยากาศหรือทาให้เกดิ การเผาไหม้เปน็ กลุ่มควัน สารทาใหไ้ รส้ มรรถภาพ แบ่งย่อยออกเป็น ๓ พวก ดงั นี้  ฤ ธ์ จ (Psychotomimetic Agents) ทาใหเ้ กิดอาการชั่วคราวทางจติ หรอื ทั้งทางกายและทางจิตพรอ้ มกัน ออกฤทธชิ์ ้าแตม่ ผี ลนานหลายสบิ ช่วั โมง ฤ ธ์ จ จัด ่ ป็ ุธ จนถงึ ปจั จุบนั มกี ารผลิตเพือ่ ใชใ้ นการสงครามโดยเฉพาะเพยี งชนดิ เดียว  อาการทางกายทาให้มไี ข้ ชีพจรเตน้ เรว็ มองภาพไม่ชัด ปาก คอ จมูก และผวิ หนงั แห้ง ไมถ่ ่ายอจุ จาระและปัสสาวะ ปวดศีรษะ มนึ งง สญู เสียความสามารถในการทรงตวั ขณะเคล่อื นท่ี  อาการทางจิตทาให้มีความคิดสบั สน ประสาทหลอน ความจาเลอะเลือน มีอารมณเ์ ปล่ียนแปลงง่าย พูดไมร่ เู้ ร่ือง ปฏิบัตติ ามคาส่ังไม่ได้ ฯลฯ

12  ถา้ ได้รบั ในความเขม้ สูงทาใหอ้ าเจยี นและหมดสติ  อาการจะค่อย ๆ หาย ไม่ก่อใหเ้ กิดอนั ตรายต่อร่างกาย ยกเว้นเกิด อุบตั ิเหตุ หรอื ทาร้ายตนเอง  จ (Vamiting Agents) มีหลายชนิด ทกุ ชนิดทาให้เกิดอาการคลืน่ ไส้ และ อาเจียน อาจมอี าการไอ จาม และปวดศรี ษะร่วมด้วย ออกฤทธเ์ิ รว็ และอาการจะหายเองในระยะเวลาไม่ นานถ้าไม่ได้รบั สารเข้าสรู่ า่ งกายอีก  อดตี เคยใชเ้ ปน็ สารควบคมุ การจลาจล ปัจจบุ นั ไมน่ ิยมเนือ่ งจากมีความ เปน็ พษิ คอ่ นขา้ งสงู เมือ่ เทียบกบั สารควบคุมการจลาจลอืน่  ถ้ ไปใ ใ้ ถื ป็ ธุ  ้ ไ ล (Tear Agents) มหี ลายชนดิ ทกุ ชนดิ ทาใหเ้ กดิ อาการแสบตา นา้ ตา ไหล ระคายเคืองระบบทางเดนิ ลมหายใจสว่ นบน และแสบผวิ หนัง ออกฤทธเ์ิ รว็ และอาการจะหายเองใน ระยะเวลาไม่นานถา้ ไมไ่ ด้รบั สารเขา้ สู่รา่ งกายอีก  ใชเ้ ปน็ สารควบคมุ การจลาจลและใชใ้ นการฝกึ  ถ้ ไปใ ้ใ ถื ป็ ุธ ๒.๓ สารทาลายพืช (Antiplant Agents) เป็นศพั ท์ทหาร หมายถึง สารเคมีท่ีใชท้ าอนั ตรายพืช ในการปฏิบัติการทางทหาร  สว่ นใหญเ่ ป็นสารเคมกี าจดั วัชพืช (Herbicides) ใช้ในวงการเกษตร มจี าหนว่ ยทั่วไป ใช้ เพื่อกาจัดวัชพืชหรือปอ้ งกนั ไมใ่ หว้ ัชพชื งอกในพนื้ ทใี่ ช้ประโยชน์ อาทิ ไร่ นา สวน พ้นื ที่ของโรงงานหรอื คลงั และสองขา้ งถนน บางชนดิ มพี ิษรา้ ยแรงต่อมนุษยแ์ ละสตั ว์เลย้ี งลูกดว้ ยน้านม  ทาอันตรายโดยการทาให้ใบเห่ียว ใบรว่ ง ยบั ย้ังหรอื บังคับการเจรญิ งอกงามของพชื ในขณะทพ่ี ชื งอกแล้วหรือยังไมง่ อกจากเมลด็ หรือสว่ นขยายพันธุ์ เชน่ หัว เหง้า ไหล เปน็ ผลใหพ้ ืชตายใน ที่สุด  ในการสงคราม ทหารใช้สารเคมกี าจัดวชั พชื เปน็ สารทาลายพืช เพอื่ ทาลายปา่ ท่ีฝา่ ยตรง ขา้ มใช้หลบซ่อนซอ่ งสุมกาลัง ป่าสองฝง่ั ถนนหรือลาน้าซงึ่ ฝ่ายตรงขา้ มใช้เปน็ ทซ่ี ่มุ โจมตี พืชพรรณท่ีขนึ้ หนาทึบ รอบฐานท่มี ัน่ เพือ่ ปอ้ งกันไมใ่ ห้ฝ่ายตรงขา้ มใช้เปน็ ที่กาบงั เข้าโจมตี พืชผลของฝา่ ยตรงข้าม ฯลฯ  ไ ่ถื ่ ป็ ใ ้ ธุ ถ้าใช้สารเคมกี าจดั วัชพืชเพื่อวตั ถุประสงคใ์ น ทางสนั ติ  ถื ่ ป็ ใ ้ ธุ ถา้ นาไปใชใ้ นการสนบั สนุนการรบ ดงั เช่นในสงคราม เวยี ตนาม ๓. ่ ข้ ู่ ่ ๓.๑ ทางระบบทางเดินลมหายใจ เป็นทางเข้าทีม่ ีความลอ่ แหลมมากท่ีสุด เพราะสงครามเคมี สามารถเข้าสู่รา่ งกายได้ง่าย โดยการสดู หายใจเอาสารเคมีทเ่ี ปน็ แอโรซอล แกส๊ หรอื ไอ เข้าสู่ปอด และจาก ถุงลมปอดสามารถซมึ เขา้ สู่กระแสโลหติ ได้โดยตรง ความรนุ แรงของผลอันตรายขนึ้ อยู่กับพิษของสารเคมี ความเข้มขน้ และปริมาณที่ไดร้ ับ บางชนิดทาอนั ตรายเนื้อเยอ่ื ของอวยั วะระบบทางเดินลมหายใจด้วย บาง ชนิดซมึ ผ่านเข้าไปในกระแสโลหิตไปทาอันตรายอวยั วะหรือระบบการทกงานอ่นื ของรา่ งกาย ๓.๒ ทางผิวหนงั และนัยนต์ า เปน็ ทางเขา้ ที่มีความล่อแหลมรองลงมา โดยการสัมผัสกบั สารเคมีท่ี เปน็ หยด เปน็ ผง หรือเปน็ ไอ สารเคมบี างชนดิ ทาให้เกิดการระคายเคือง เจ็บปวด หรือเกิดบาดแผลที่ผวิ หนงั และนยั น์ตา บางชนิดซมึ ผ่านผวิ หนังไปทาอนั ตรายระบบการทางานอืน่ ของร่างกาย การซึมผา่ นผิวหนงั ทาให้ เกิดอันตรายลา่ ช้ากว่าการสูดหายใจ ในวันทอี่ ากาศร้อนจัดและมคี วามชื้นในอากาศสูงจะเกดิ อนั ตรายต่อ

13 ผวิ หนงั รนุ แรงกวา่ ปกติ เพราะรูต่อมเหงื่อและต่อมไขมนั ขยายกว้าง นัยนต์ าเป็นอวัยวะท่ไี วตอ่ สารเคมีมาก อาการระคายเคอื งและเจ็บปวดจะเกดิ ที่นยั นต์ าก่อน สารเคมีบางชนิดทาใหต้ าบอดได้ ๓.๓ ทางระบบทางเดินอาหาร โดยการบริโภคน้าและอาหารที่เปื้อนพิษ สารเคมีทที่ าใหน้ ้าและ อาหารเปอื้ นพษิ อาจเปน็ ของเหลว เปน็ ผง หรือเป็นแอโรซอล บางชนิดทาใหก้ ระเพาะอาหารและลาไสเ้ ปน็ อนั ตราย บางชนิดไม่ทาอันตรายอวยั วะของระบบทางเดินอาหารโดยตรง แตจ่ ะซึมผ่านเข้าไปในกระแสโลหิต ไปทาอนั ตรายระบบการทางานอนื่ ของร่างกาย ๔. ะ ษใ ่ พษิ ของสารเคมีบางชนิดสะสมในรา่ งกายได้ ถา้ ได้รบั ในขนาดความเขม้ ขน้ ต่าซา้ กนั หลายครงั้ อาจไม่ ปรากฏอนั ตรายในแต่ละคร้ังท่ีไดร้ ับ แต่ในท่ีสุดเม่ือพิษสะสมถึงระดบั อนั ตรายจะเกดิ อาการปว่ ยอย่างรุนแรง และอาจเสยี ชีวิต . ่ ุ จ ด้ ุธ เม่อื หน่วยได้รบั การเตือนจากฝา่ ยข่าวกรองหรอื หนว่ ยเหนอื ว่าข้าศกึ อาจใชอ้ าวุธเคมีโจมตี ให้สันนิษฐาน วา่ การโจมตีเกิดขน้ึ แลว้ หรือมอี ันตรายจากสารเคมี ณ ทน่ี ั้น ถา้ มีสิ่งบอกเหตตุ ่อไปน้ี  เครื่องสัญญาณแจง้ ภัยสารเคมีอัตโนมตั ิที่ติดต้งั ไว้ส่งสญั ญาณภยั  ถูกโจมตดี ว้ ย ป., ค., จ., ขปี นาวธุ หรือลูกระเบดิ อากาศ  มี บ.บนิ มาพ่นละออง  มีควันหรือหมอกกล่องลอยมาโดยไมป่ รากฏแหล่งกาเนดิ  มีกล่ินชวนสงสยั  มีของเหลวชวนสงสยั  เข้าไปในพืน้ ที่ทีส่ งสยั ว่าเป้อื นพษิ  มอี าการตอ่ ไปน้ี - น้ามูกใสไหลมาก - สาลักหรอื แน่นหนา้ อกหรอื ในลาคอ - มองเหน็ ภาพมดื มัวและมองวัตถุทีอ่ ยู่ใกล้ไม่ชัดเจน - ระคายเคือง แสบ หรอื เจ็บนัยนต์ า - หายในไม่สะดวก หรอื อตั ราการหายใจเพ่ิมผิดปกติ ่ ั ละ ล ไม่ว่าในพฤตกิ ารณใ์ ด ั ละ ล ื ั ละ ล ไ ใ่ ่ ธุ ควนั และเพลงิ เกี่ยวข้องกบั ทหารวทิ ยาศาสตรเ์ พราะเป็นวิทยาการสายวิทยาศาสตร์ ยุทโธปกรณ์ทาควัน สารทาควัน ลกู ระเบิดควัน อาวุธเพลิง และสารเพลงิ ล้วนเป็น สป.สาย วศ. ส่วนกระสุนควนั ขณะน้อี ยูใ่ นความรบั ผดิ ชอบของ สพ.ทบ.แต่ในอนาคตจะโอนให้ วศ.ทบ. ควนั เปน็ สิ่งท่ีประจักษ์แล้วตั้งแตค่ ร้งั โบราณว่ามีคุณประโยชนต์ ่อการรบ เพราะช่วยลดการสูญเสียทง้ั กาลงั พลและยุทโธปกรณ์ ใชใ้ นการสือ่ สาร และชว่ ยในการดาเนนิ กลยทุ ธ ส่วนเพลิงน้ัน ถงึ แมป้ ัจจบุ นั จะไมม่ ี การใช้อย่างกว้างขวางในการรบดังแต่ก่อน แตก่ ย็ ังคงเปน็ อาวธุ ที่เป็นตัวคณู อานาจการรบในบางโอกาสซึง่ อาวธุ อนื่ ทาไมไ่ ด้ เชน่ การรบในปา่ เขตรอ้ น การรบในพ้ืนทม่ี สี ิ่งปลกู สร้างหนาแน่น

14 ๑. ั (Smoke) ควนั เป็นแอโรซอล เกิดจากการทาให้สารทาควันลุกไหม้เปน็ กลมุ่ ควนั หรือทาใหส้ ารทาควันกลายเปน็ ไอ และควบแน่นเปน็ ละอองในอากาศ มองเห็นเปน็ กล่มุ ควัน ควนั ท่ีใช้ในสนามรบอาจเป็นสีขาวหรือเป็นสีตา่ ง ๆ โดยวิธกี ารใช้และวตั ถปุ ระสงคใ์ นการใชต้ า่ งกนั ๑.๑ ประเภทของควนั ทใี่ ช้ในสนามรบ มี ๔ ประเภท  ควนั บังตา (Obscuring หรือ Blinding Smoke) สีขาวหนาทบึ ทาใหเ้ กิด ณ ท่ีตัง้ ฝ่ายข้าศึก เพอื่ ไม่ใหม้ องเห็นท้งั ในที่ต้งั หรือไกลออกไป เพอ่ื บังคับใหร้ ถรบต้องลดความเรว็ เปลีย่ นทิศทาง หรือวางกาลงั ก่อนกาหนด เพ่อื จากดั การค้นหาเป้าหรอื การปรับการ ยิง ป. ฯลฯ  ควันกาบงั (screening Smoke) สขี าว ทาในพน้ื ที่ปฏิบตั ิการฝา่ ยเรา หรือระหวา่ ง กาลังฝา่ ยเรากบั ข้าศกึ เพือ่ ลดความสามารถในการสังเกตการณท์ างพ้ืนดนิ และทางอากาศ และทาใหใ้ ช้ -๑๔- อปุ กรณท์ ศั นศาสตร์ไฟฟ้า (electro-optical device) เช่น เครอื่ งเล็ง เครื่องชี้เปา้ ฯลฯ ไม่ได้ผล นอกจากน้ียังใชซ้ ่อนพรางการปฏิบตั ิของฝ่ายเรา  ควันลวง (Deceiveing Smoke) ควันสีขาว ทาเพอ่ื ลวงข้าศึกให้เข้าใจความมุ่งหมาย ในการปฏิบัติของฝ่ายเราผดิ ไป  ควันบอกฝา่ ย / ควนั สัญญาณ (Identifying / Signalling Smoke) สีขาวและ สีต่าง ๆ ใช้เพ่ือชเ้ี ป้า แสดงว่าเปน็ ฝ่ายเดียวกัน สง่ สญั ญาณตามทกี่ าหนดไวล้ ว่ งหนา้ ใหเ้ ข้าตี รน่ ถอย ส่ง สป. ขอ ความช่วยเหลอื ฯลฯ ๑.๒ รูปแบบของการทาควนั มี ๒ รปู แบบ  เรง่ ดว่ น (Hasty Smoke) วางแผนนอ้ ย ทาในหว้ งเวลาสน้ั ทา ณ ทีซ่ ง่ึ ตอ้ งการ ทนั ทที ีต่ ้องการ ร้องขอเม่อื มคี วามจาเปน็ เช่น ยงิ กระสนุ ควันหรือยงิ จรวดควันให้ตามคาขอ เหมาะสาหรับ ทาควันบงั ตา ควันกาบงั บางวิธี ควนั แสดงทตี่ ั้ง ช้เี ป้า หรือสง่ สญั ญาณ  ประณีต (Deliberate Smoke) มกี ารวางแผนอยา่ งละเอียดลว่ งหนา้ ทาควนั เปน็ เวลานานติดต่อกนั ปกคลมุ พ้ืนทก่ี ว้าง เหมาะสาหรบั ทาควันกาบังและควันลวง ๑.๓ หน่วยรบั ผิดชอบการทาควนั  การทาควันเร่งด่วน หนว่ ย ป., ปืนเรอื , ค.หนัก, ฮ. และ บ.  การทาควนั อย่าประณตี ใชห้ น่วยทาควนั ของทหารวิทยาศาสตร์ ๑.๔ ยุทโธปกรณ์ทาควนั ได้แก่ ค., ป., จ., ฮ., บ., เรือรบ, ลข., ลูกระเบดิ อากาศ, ถังพน่ ละออง , หมอ้ ควัน, เครื่องทาควนั , ระบบทาควนั ของยานเกราะ ฯลฯ ๑.๕ สารทาควนั (Smoke Agents) หมายถงึ สารเคมที ใี่ ช้ทาใหเ้ กดิ ควนั ควันที่เกดิ จากสารทา ควันไม่เป็นอนั ตรายตอ่ ร่างกาย มีพษิ เพียงเล็กนอ้ ยหรือแทบไมม่ ีเลยในพน้ื ทเี่ ปิด ยกเว้นฟอสฟอรัสขาว (white phosphorus – WP และ PWP) ซึง่ ทาปฏิกิรยิ าอย่างรุนแรงกับอากาศลกุ ไหม้เปน็ ไฟ เมือ่ กระสนุ ควันบรรจุฟอสฟอรสั ขาวระเบิด ฟอสฟอรสั ขาวจะกระเด็นออกมา ลกุ ไหม้และเกดิ เป็นกลมุ่ ควันสขี าว หาก กระเดน็ ถูกร่างกาย ทาใหบ้ าดเจบ็ สาหัสจากไฟไหมแ้ ละถงึ แกค่ วามตายได้ นอกจากน้ฟี อสฟอรัสขาวยงั เปน็ พิษ ต่อเซลล์ จึงทาให้แผลหายยาก . ล (Foame) เพลิงใชเ้ พอ่ื เผาทาลายยุทโธปกรณ์ ส่งิ ปลูกสรา้ ง ทาใหเ้ กิดการบาดเจบ็ และสังหาร สารเพลิง (Encendiaries) หมายถึง สารเคมีทใ่ี ชท้ าให้เกิดเพลิง บรรจุในลกู ระเบดิ เครือ่ งฉดี ไฟ และทาวตั ถุเพลิง แสวงเครือ่ ง (flame fiels expedient)

15 ่๖ ป้ ั . ภ ะ . (NBC Condition) เปน็ ภาวะหน่ึงของการสงคราม หมายถงึ ภาวะทม่ี ภี ยั คกุ คาม (threat) ซ่ึงเกิดจากการใช้หรอื การมอี าวุธ นชด. ในสนามรบ ในภาวะเช่นน้ีค่สู งครามท้งั สองฝ่าย หรือเพยี ง ฝ่ายเดยี วมีอาวธุ นชค. และอาจมกี ารใชห้ รือไมก่ ็ได้ แตค่ วามสามารถในการใชย้ ังคงมอี ยูภ่ ายใต้ภาวะ นชด. กาลงั พลต้องใชม้ าตรการปอ้ งกนั นชค. ครบถ้วนเพือ่ ป้องกันและลดอันตรายจากการถูกโจมตี ในระดับยุทธการ การะป้องกนั นชค. ที่มีประสิทธิผลจะทาให้ฝ่ายเราได้เปรียบจังหวะเวลาการปฏบิ ัติ ซึ่งอานทาให้ขา้ ศกึ เลิกล้มความต้ังใจทีใ่ ช้อาวธุ นชค. ตอ่ ไป หรอื ต้องทาการรบตอ่ ไปภายใต้เงื่อนไขทีไ่ ม่ เหมาะสม ในระดับยทุ ธวิธี การป้องกนั นชค. จะช่วยให้ทหารมชี วี ติ อย่รู อด ทาการรบตอ่ ไปได้ และประสบ ชัยชนะในภาวะ นชด. ๑. ั ถุป ะ ข ป้ ั . ๑.๑ เพอ่ื ป้องปรามการใช้อาวุธ นชค. ๑.๒ เพื่อให้กาลังพลและหน่วยอยู่รอด เมอ่ื ถกู โจมตดี ้วยอาวุธ นชค. ๑.๓ เพือ่ ใหส้ ามารถปฏบิ ตั กิ ารยุทธได้อยา่ งต่อเนอื่ งในภาวะ นชค. . ลั ้ื ฐ ข ป้ ั . การปอ้ งกนั นชค. เปน็ การปฏิบตั ิบนหลกั พื้นฐานสาคัญ ๓ ประการอย่างสมดลุ คอื หลีกเลย่ี ง ปอ้ งกัน และทาลายลา้ งพษิ ซ่งึ ตอ้ งกระทาทกุ ระดบั หน่วยจนถึงตัวบุคคล .๑ ล ล่ ป้ื ษ (Contamination Avoidance) เป็นหลักพื้นฐานขอ้ ท่สี าคญั ที่สุด หากหลีกเลีย่ งได้สาเร็จกไ็ มจ่ าเป็นตอ้ งใชม้ าตรการตามหลักพน้ื ญานข้ออน่ื การหลีกเลย่ี งกระทาเพ่อื มใิ ห้ หน่วยถูกข้าศกึ ตรวจพบและตกเป็นเป้าหมายของการโจมตดี ้วยอาวธุ นชค. และเพอ่ื ให้กาลังพลสามารถ หลกี เล่ียงอันตรายท่ีเกิดจากการเป้ือนพษิ มาตรการหลีกเลยี่ งประกอบด้วยมาตรการเชงิ รบั และมาตรการเชิง รกุ ๒.๑.๑มาตรการหลกี เลย่ี งเชงิ รับ เปน็ มาตรการท่ีใช้เพอื่ หลีกเลีย่ งมิให้ขา้ ศึกตรวจพบท่ีตง้ั ไม่ว่า สถานการณด์ ้าน นชค. จะเปน็ อย่างไร ได้แก่ การฝกึ ที่ดี การพรางและการซ่อนพราง การปรบั ปรงุ ที่มั่นให้ แขง็ แรง และการกระจาย ๒.๑.๒มาตรการหลกี เลี่ยงเชงิ รุก เป็นมาตรการท่ีใช้เพื่อหลกี เลีย่ ง ควบคุมและลดอนั ตรายท่ี เปน็ ผลจากการใช้อาวธุ นชค. เช่น การเตือนภยั และรายงาน นชค. (NBC warning and reporting) การ ตรวจสารเคมี (chemical monitoring and detection) การวดั รงั สี (radiation monitoring) การ พสิ จู นท์ ราบชนดิ ของสาร (identufying) การติดปา้ ยเตือนภัย นชค. (NBC contamination marking) และการจากัดการเปอื้ นพิษ (limiting contamination) ๒.๒ ป้ ั (Protection) เปน็ หลกั พ้ืนฐานข้อท่สี อง ใช้เมอื่ ไม่สามารถหลกี เลยี่ งการเปอื้ น พษิ ได้แลว้ ทหารอาจเป้ือนพิษเพราะถกู โจมตดี ้วยอาวุธ นชค. หรืออาจต้องเขา้ ไปปฏิบตั ิภารกิจในพืน้ ท่เี ป้ือน พษิ ซึ่งทาใหจ้ าเปน็ ตอ้ งใช้มาตาการปอ้ งกนั การหลกี เลีย่ งและการป้องกนั เปน็ การปฏิบัตทิ ี่มีความสัมพนั ธก์ ัน อยา่ งแนน่ แฟ้น วธิ ีหลีกเลี่ยงบางวธิ อี าจเป็นการป้องกนั ไปในตวั การป้องกันกระทาเปน็ ๒ ระดบั อยา่ ง สอดคล้องกนั ดังนี้  การป้องกันเปน็ บคุ คล เป็นการใช้ ยทุ ธภัณฑ์ปอ้ งกันตน และปฏบิ ตั ติ ามมาตรการ ปอ้ งกนั (ดรู ายละเอียดข้อ ๓-๕ ของบทน้ี) เพื่อใหก้ าลงั พลมชี ีวติ อยูร่ อดในเบื้องตน้ และสามารถปฏิบตั ิการได้ ต่อไปในสภาพแวดลอ้ มที่เป้อื นพษิ ตามปกตหิ น่วยจะกาหนดจานวนชน้ิ ของยทุ ธภณั ฑป์ ้องกันตนทจ่ี ะให้กาลัง พลสวม ให้สอดคล้องกบั ภารกจิ ของหนว่ ย ระดับภัยคกุ คาม และสภาพอากาศ ทั้งนีโ้ ดยกาหนดเป็นระดับ

16 ลักษณะป้องกันตามภารกิจบังคับ (ระดับ ลปภบ.) (Mission Oriented Protective Posture Level- MOPP Level) ุ ธภัณฑป้ ั (Individual Protective Equipment – IPE หรือที่ ทบ.อเมรกิ นั เรยี ก MOPP Gear) ทหารจะได้รบั จ่ายเม่ือหนว่ ยพจิ ารณาว่ามีภยั คุกคามจากอาวธุ นชค. และจะต้องเกบ็ ไว้ ประจากาย ใชเ้ พอ่ื ปอ้ งกนั ร่างกายและใชใ้ นการปฐมพยาบาลตนเอง ประกอบด้วย หนา้ กากป้องกันเคมี-ชวี ะ ใช้เพ่ือปอ้ งกนั ใบหน้า นยั น์ตา ระบบทางเดนิ ลมหายใจ และระบบทางเดนิ อาหาร จากสารเคมีและสารชีวะในอากาศ เครอื่ งแต่งกายป้องกัน ใชเ้ พ่ือปอ้ งกนั ร่างกายสว่ นอนื่ จากการสมั ผัสกบั สารเคมี ประกอบด้วย  เส้อื -กางเกงปอ้ งกนั  ผา้ คลมุ ศีรษะ (แยกช้ินหรือเย็บติดเปน็ ส่วนหน่งึ ของเสอ้ื ปอ้ งกัน)  ถุงมอื ป้องกัน  รองเท้าป้องกนั ยาป้องกัน เกบ็ ไว้ในยา่ มหนา้ กากปอ้ งกัน รบั ประทานล่วงหน้าเม่อื ได้รับคาสั่ง เพือ่ ชว่ ย ให้หายปว่ ยจากสารประสาทเร็วขึ้น ยาแก้พิษ เก็บไวใ้ นยา่ มหน้ากากป้องกัน ใช้ในขน้ั การปฐมพยาบาล เพ่ือบรรเทาอาการ เม่ือเกิดการปว่ ยจากพิษของสารเคมีแล้ว ยาทาลายลา้ งพษิ บุคคล เกบ็ ไว้ในย่ามหน้ากากปอ้ งกัน ใช้สาหรบั ทาลายล้างพษิ ผิวหนงั เครอ่ื งแตง่ กายปอ้ งกนั และหน้ากากปอ้ งกัน เม่ือเป้อื นสารเคมีที่เปน็ ของเหลว เคร่อื งวัดปริมาณรังสี จ่ายใหใ้ นกรณมี ีอันตรายจากรงั สนี วิ เคลยี ร์ ในอตั รา ๑ เคร่ืองต่อ ทหาร ๑ หมู่ พกหรอื สวมตดิ ตัวตลอดเวลาที่สงั่  การป้องกันเปน็ สว่ นรวม เป็นการใชย้ ทุ ธภัณฑป์ อ้ งกันประจาหนว่ ยและปฏบิ ตั ิตาม มาตรการปอ้ งกนั ท่ีหน่วยกาหนด เพือ่ ความอยรู่ อดของหน่วยและกาลงั พลในหนว่ ยเปน็ ส่วนรวม ซง่ึ จะส่งผล ใหห้ น่วยสามารถปฏิบัตภิ ารกิจไดอ้ ย่างต่อเน่อื งและบรรลภุ ารกิจในภาวะ นชค. ๒.๓ ล ล้ ษ (Decontamination) กระทาเม่อื เกดิ การเป้ือนพษิ และมคี วามจาเปน็ ท่ี จะต้องทาใหพ้ ษิ เหลอื น้อยลงหรือหมดไป การทาลายล้างพิษมีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือปอ้ งกนั การสูญเสียกาลงั พลจาก การป่วยและเสียชีวติ และเพือ่ ฟ้นื คืนสภาพอานาจการรบทส่ี ญู เสียไปเนอ่ื งจากการเปื้อนพิษ

17 ล ล้ ษ เปน็ กรรมวธิ ใี นการลดอนั ตรายที่เกิดจากการเปื้อนพษิ นชค. ลงเท่าทจ่ี าเป็น เพื่อให้มีชวี ติ เพื่อใหม้ ีชีวติ อย่รู อดและปฏิบตั ภิ ารกจิ ได้สาเรจ็ แบง่ ความรบั ผิดชอบออกเป็น ๓ ระดบั  ระดบั บุคคล ทหารแต่ละนายรับผิดชอบร่างกายและอาวุธยุทโธปกรณป์ ระจากาย โดยใช้ยาทาลายล้างพษิ บคุ คลและสิ่งอุปกรณ์อื่นตามความจาเป็น  ระดับหน่วย ผู้บงั คบั หน่วยรบั ผิดชอบในการทาลายล้างพษิ อาวุธยทุ โธปกรณ์ ประจาหน่วย สง่ิ อานวยความสะดวก และทต่ี ั้งหนว่ ย โดยใชก้ าลังพลของหนว่ ยและส่งิ อปุ กรณ์ ของหนว่ ยเอง ภายใต้การกากับดูแลของเจ้าหน้าท่ปี อ้ งกนั นชค. ของหนว่ ย  ระดบั หนว่ ยสนับสนนุ หน่วยทหารเคมี (วิทยาศาสตร์) ปฏิบัตกิ ารทาลายล้างพิษ ใหก้ ับหนว่ ยท่ีร้องขอ ในกรณีทีก่ ารทาลายล้างพษิ เกินความสามารถของหนว่ ยน้นั ตามปกติจะ จากดั เฉพาะกาลังพลจานวนมาก ยุทโธปกรณ์สาคัญจานวนมาก พน้ื ทแ่ี ละเส้นทางสาคัญ ๓. ป้ ัล ๓.๑ กอ่ นการโจมตี เตรยี มท่กี าบงั และปอ้ งกนั สป.  ขดุ หลมุ บุคคล(หลมุ ยืนยงิ )และทาหลังคาปกคลุมกันฝุ่นกมั มนั ตรังสีตกใส่ ๓.๒  สารวจท่ีกาบงั ซ่งึ มีอย่แู ล้วในพื้นที่ เชน่ ถฎ้ อุโมงค์ คู และท่อระบายน้า อัตโนมัติ สาหรับใช้ยามฉุกเฉิน ๓.๓  ป้องกนั ไมใ่ ห้ส่งิ ของต่าง ๆ ปลวิ ใส่ โดยใสไ่ ว้ก้นหลมุ ท่ขี ุดขน้ึ โดยเฉพาะ  ป้องกันน้าดื่มและอาหารไม่ให้เปอ้ื นฝนุ่ กมั มนั ตรังสที จ่ี ะตกใส่  สวมเครื่องแบบครบชุด ปลอ่ ยแขนเส้อื ลง และสวมหมวกเสมอเม่ืออยู่ กลางแจง้ เพ่อื ป้องกันฝนุ่ กมั มนั ตรงั สตี กใสผ่ ิวหนังโดยตรงและลด อนั ตรายจากรังสีความรอ้ น  จดจามาตรการปอ้ งกนั และสญั ญาณแจ้งภยั เฉพาะตาบลสาหรับการตกของ ฝุ่นกัมมันตรงั สี เมือ่ เกดิ การระเบิดนวิ เคลียร์ ๓.๒.๑ เม่อื เกดิ การระเบิดนิวเคลยี รโ์ ดยปราศจากการเตือนภัย ให้ใชม้ าตรการปอ้ งกนั โดย  ถา้ ทห่ี ลบภยั หลมุ บุคคล หรือที่กาบงั อย่หู า่ งไมเ่ กิน ๓ กา้ ว ให้เขา้ ไป หลบทนั ที ถ้าไม่มีหรือมีแต่อยู่ไมเ่ กินกว่า ๓ ก้าว ให้ท้งิ ตัวนอกคว่าราบ ลงกบั พน้ื ทันที หสั ศรี ษะทีส่ วมหมากเหลก็ ไปทางทศิ ทางการระเบดิ ถ้าได้ กม้ หน้า เก็บคาง เหยยี ดแขนขา้ งลาตวั หรือซกุ ไวข้ ้างลาตัว อยูน่ ่งิ จนกว่า แรงระเบดิ จะผา่ นพน้ ไปแล้ว ๓.๒.๒เม่อื ไดร้ บั การเตือนภัยลว่ งหน้าว่าจะเกิดการระเบดิ นิวเคลยี ร์  เข้าทก่ี าบังท่ีให้การปอ้ งกนั ได้ดีท่สี ุดและอยูใ่ กล้ทส่ี ุด ถา้ ยังไมไ่ ด้ขดุ หลุม บุคคลและมเี วลาเพยี งพอให้ขดุ หลุมบุคคล  ทันทที ่ีอาวธุ นวิ เคลียรร์ ะเบดิ หมอบนิ่งและหลบั ตานานอย่างน้อย ๑๐วนิ าที รอจนแรงระเบิดผ่านพน้ ไปแล้ว ภายหลังการโจมตี  หลังการระเบดิ นวิ เคลียร์ รอจนเศษปรักหกั พังหยุดตกใส่ อยู่ในความสงบ ตรวจหาบาดแผล ตรวจความเสยี หายของอาวธุ ยุทธภัณฑ์ประจากาย  ถา้ มฝี ่นุ ละอองในอากาศมาก ให้หายใจผ่านผา้ ปิดปากปดิ จมกู

18  ช่วยเหลือปฐมพยาบาลผู้ได้รบั บาดเจ็บ  รอฟังคาสง่ั และเตรียมปฏิบัตภิ ารกจิ ตอ่ ไป ๓.๓.๑ถา้ อยู่ในพ้ืนทอี่ ันตรายตามลมและทราบว่าจะมฝี ่นุ กัมมันตรังถูกลมพดั มาตกใส่  ขดุ หลุมบุคคลถ้ายังไมไ่ ดข้ ุด และทาหลังคาปกคลุม  เข้าไปอยู่ในหลุมบุคคลเม่ือเจา้ หนา้ ท่วี ดั รังสีของหน่วยแจ้งว่าฝุ่นกัมมนั ตรงั สี เร่ิมตก และคงอยู่ในหลมุ จนกว่าจะได้รับแจ้งวา่ ฝุ่นกมั มนั ตรังสีหยดุ ตกแลว้ และได้รับคาสัง่ ใหอ้ อกจากหลุมบุคคลได้  เม่ือได้รบั คาส่ังให้ออกจากหลุมบุคคลได้ใหอ้ อกมากวาดพื้นรอบหลมุ บุคคล  รอรบั คาส่งั และเตรียมปฏิบัติภารกจิ ต่อไป ๓.๓.๒เม่ือเขา้ พนื้ ทที่ ี่ฝนุ่ กัมมนั ตรังสกี าลังตก  เดินทางไปยงั ที่หมายดว้ ยความรวดเร็ว  เมื่อถงึ ทีห่ มายให้ขุดหลุมบคุ คล กวาดพืน้ รอบหลุมบคุ คล ลงไปอยู่ในหลมุ แลว้ ใช้ผ้าใบหรือผา้ กนั ฝนปอนโจปิดคลุมปากหลุม คงอยใู่ นหลุมจนกวา่ จะไดร้ บั แจง้ วา่ ฝ่นุ กัมมนั ตรงั สีหยุดตกแลว้ และได้รับคาสั่งใหอ้ อกจากหลมุ บคุ คลได้  เมอ่ื ได้รบั คาสงั่ ให้ออกจากหลมุ บุคคลได้ ให้ออกมาปัดฝนุ่ ออกจากเครื่อง แต่งกายและอาวุธยทุ ธภณั ฑป์ ระจากาย และกวาดพ้นื รอบหลมุ บคุ คล  รอรับคาสงั่ และเตรียมปฏบิ ัตภิ ารกิจต่อไป ๔. ป้ ั ะ ๔.๑ ก่อนการโจมตี  สรา้ งเสรมิ ภมู ิคุ้มกันโรค โดยรบั การปลูกภูมคิ ุ้มกันตามแพทย์สั่ง  รกั ษาสขุ วิทยาสว่ นบุคคล  ทาการสขุ าภิบาลพื้นที่เพอ่ื กาจดั แหล่งสะสมเช้อื โรคและสตั วพ์ าหะ  ปอ้ งกนั อาวุธยทุ ธภัณฑ์ประจากาย นา้ ดม่ื และอาหาร ไม่ให้เป้อื นพิษเมอื่ ถูกโจมตี โดยการปดิ คลมุ และปดิ ฝาให้สนิท  สวมเครอ่ื งแบบครบชดุ ปล่อยแขนเสอ้ื ลง ใส่ขากางเกงในรองเท้า สวม หมวกเม่ืออยกู่ ลางแจ้ง ปิดบาดแผลดว้ ยพลาสเตอร์ และใช้ยาทากันแมลง ๔.๒ เม่อื เกิดการโจมตี  ถ้ายงั ไม่สวมหน้ากากปอ้ งกนั สวมทันที  ใช้ยาฆา่ แมลงเม่ือมสี ัตวพ์ าหะมีจานวนมากผดิ ปกติ  ถา้ ถูกโจมตีดว้ ยวิธีพน่ ละอองทางอากาศใหใ้ ชว้ ธิ เี ช่นเดียวกัยการปอ้ งกนั เคมี ๔.๓ ภายหลังการโจมตี  ทาลายลา้ งพิษเคร่ืองแตง่ กาย อาวุธยุทธภัณฑป์ ระจากาย และรา่ งกาย  บริโภคอาหารและน้าท่ไี ดร้ ับการปอ้ งกันไว้ไม่ใหเ้ ปือ้ นพิษ หรอื ทไี่ ด้รบั การรบั รองจากแพทย์วา่ ไม่เปอ้ื นพษิ  รายงานอาการปว่ ยทเ่ี กิดขึ้นทนั ที แม้เปน็ เพยี งอาการปว่ ยเลก็ น้อย . ป้ ั ๕.๑ กอ่ นการโจมตี  ใช้ ลปภบ. ตามคาสงั่ ถ้าไม่มเี คร่ืองแต่งกายปอ้ งกนั ให้สวมเครื่องแบบ ครบชุด ปล่อยแขนเสอื้ ลง และสวมหมวกเสมอเมื่ออยู่กลางแจ้ง

19  ป้องกนั อาวธุ ยุทธภณั ฑป์ ระจากาย น้าดมื่ และอาหาร ไม่ให้เปอื้ นพิษเมือ่ ถูกโจมตี โดยการปดิ คลุมและปิดฝาให้สนทิ  ทาหลังคาคลมุ หลุมบุคคลเพื่อป้องกันสารเคมีตกใส่ ๕.๒ เมอื่ เกิดการโจมตี  สวมหนา้ กากป้องกันทันที ถ้ายงั ไมส่ วม  ส่งสญั ญาณแจ้งภยั เฉพาะตาบล เพอื่ แจง้ เตอื นผทู้ ี่อย่ใู กล้เคียง  ปฏิบัติภารกจิ ต่อไป  ปฏบิ ตั ิเพิ่มเติมเมอ่ื จาเปน็ หรือเมอ่ื สถานการณ์ทางยุทธวิธีอานวย - เพม่ิ ระดัย ลปภบ. - ปฐมพยาบาลผปู้ ่วยทอี่ ยู่ขา้ งเคียง - ทาลายลา้ งพษิ ผวิ หนงั ทันทที ีเ่ ปื้อนสารเคมี  ขณะอยกู่ ลางแจ้ง ถ้าถูกโจมตดี ว้ ยการพ่นละอองทางอากาศ หรอื ดว้ ย กระสนุ เคมีแตกอากาศ ปฏบิ ัติตามลาดับดังนี้ - สวมหนา้ กากปอ้ งกนั ทนั ที ถ้ายังไมส่ วม - ปกคลุมรา่ งกายดว้ ยผา้ กันฝนปอนโจ ผา้ กระโจมกระแบะ หรอื ผ้าพลาสตกิ หรือ รีบเข้าไปหลบในอาคารหรือยานพาหนะ - เมอ่ื ละอองหรือหยดสารเคมตี กใสแ่ ลว้ ใหน้ าสิ่งปิดคลุมรา่ งกายออก ดว้ ยความระมัดระวงั อย่าให้สารเคมีสมั ผัสผวิ หนังหรือเส้ือผ้า ๕.๓ ภายหลงั การโจมตี  สวมหน้ากากปอ้ งกนั ตอ่ ไปจนกวา่ จะมคี าส่ังให้ถอด (ผู้บังคับบญั ชาจะ ใหเ้ จ้าหนา้ ทีใ่ ชเ้ คร่อื งตรวจสารเคมตี รวจจนมัน่ ใจว่าบรรยากาศรอบตวั ปราศจากสารเคมีแลว้ จงึ จะออกคาส่งั )  ปฐมพยาบาลผู้ป่วยทอี่ ยู่ข้างเคยี ง  ทาลายล้างพษิ ผิวหนัง เสื้อผ้า และอาวุธยุทธภัณฑป์ ระจากายที่เป้ือน สารเคมเี หลว ----------------------


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook