การเขยี นงานวจิ ัย How to Write Research Paper ดร. ศลิ ปพร ศรจี ่ันเพชร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ภาควิชาการบญั ชี คณะพาณชิ ยศาสตรแ์ ละการบัญชี มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ กรรมการมาตรฐานการสอบบญั ชี สภาวิชาชพี บญั ชี ฯ Dr. Sillapaporn Srijunpetch Assistant Professor of Department of Accounting, Thammasat Business School, Thammasat University Auditing Standards Committee, Federation of Accounting Professions E-mail: [email protected] บทคดั ยอ่ การเขยี นรายงานวจิ ยั หรอื รายงานวชิ าการเปน็ ขน้ั ตอนสำ� คญั ของกระบวนการวจิ ยั บทความนอ้ี ธบิ ายโครงสรา้ ง หลักของรายงานวิจัย ได้แก่ ส่วนบทน�ำ ส่วนเน้ือหา และส่วนอภิปรายผล นอกจากนี้ ยังมีองค์ประกอบเพิ่มเติม อื่น ๆ ท่ีมีความส�ำคัญเช่นเดียวกัน ได้แก่ หวั ข้อ บทคัดย่อ และรายการอ้างอิง การเขียนรายงานการวิจัยควรคำ� นงึ ถึง 2 ประเดน็ สำ� คัญ คอื รูปแบบการเขียนและเน้อื หาทเ่ี ขียนในรายงานการวจิ ยั คำ� ส�ำคัญ: รายงานวชิ าการ รายงานวจิ ัย โครงสรา้ ง Abstract Writing the academic or research paper is the significant part of the research process. This article explains the structure of the paper. The key components of the paper are Introduction, Body and Introduction. In addition, the other important components are Title, Abstract and Reference. The other matters to be considered when writing the report are writing pattern and content of the research paper. Keywords: Academic Paper, Research Paper, Structure บทนำ� สามารถสังเกต ทดลองซ�้ำ และประเมินข้ันตอนการ Robert Day (1983) ได้นิยามงานเขียนเชิง ศกึ ษาวจิ ยั ได้ บรรณาธกิ ารและสำ� นกั พมิ พย์ อ่ มคาดหวงั วิชาการว่าเป็นการเขียนและรายงานที่บรรยายถึงผล รปู แบบและโครงสรา้ งทเี่ ปน็ มาตรฐานจากงานวจิ ยั ทสี่ ง่ การศกึ ษา โดย Day ได้ยืนยันว่าบทความทางวชิ าการ มา ซึง่ โครงสร้างและรปู แบบการเขยี นอาจแตกต่างกัน ควรมีข้อก�ำหนดขั้นต่�ำเกี่ยวกับรูปแบบการเขียนและ ไปตามประเภทของงานวิจัย เช่น การวิจัยท่ีเป็นกรณี การตีพิมพ์เพื่อเผยแพร่ นอกจากนี้ บทความวิชาการ ศึกษาย่อมแตกต่างจากการวิจัยเชิงส�ำรวจ อย่างไร ควรมีกระบวนการการตีพิมพ์ที่เหมาะสม เช่น ควรมี กด็ ี โครงสรา้ งโดยสว่ นใหญย่ งั มีความคล้ายคลึงกันบา้ ง การตรวจทานงาน (Peer Review) ก่อนตพี มิ พเ์ ป็นต้น วตั ถปุ ระสงค์ของการเขยี นงานวิจัย การตีพิมพ์ในปัจจุบันให้ความส�ำคัญกับประเภทของ บางคนอาจสงสัยว่าเหตุใดผู้ศึกษาวิจัยจึงต้อง งานวิจัยอย่างมาก โดยทั่วไป งานวิชาการท่ีได้รับการ บันทึกเร่ืองที่ได้ท�ำการศึกษาวิจัย Booth และคณะ ตีพิมพ์จะประกอบด้วย การเปิดเผยผลการศึกษาโดย (1995) ไดร้ ะบสุ าเหตทุ ่ีสำ� คัญ 3 ประการคอื ต้องมีข้อมูลอย่างเพียงพอที่จะให้ผู้เช่ียวชาญอ่ืน ๆ 24 วารสารวชิ าการบรหิ ารธุรกิจ สในมพารคะมรสาชถูปาบถนัมั อภดุ์ สมมศเดึก็จษพาเรอะกเทชพนรแหัต่งนปรราะชเทสศดุ ไาทฯยสยามบรมราชกมุ ารี ปที ่ี 6 ฉบับท่ี 2 ประจ�ำ เดอื นกรกฎาคม - ธันวาคม 2560
(1) เพ่ือให้สามารถจดจ�ำได้ เนือ่ งจากผทู้ �ำวิจยั (1) สว่ นบทนำ� (Introduction) (2) สว่ นเนอื้ หา (Body) อาจหลงลืมบางสง่ิ ไปหากไมจ่ ดบันทึกไว้ และ (3) สว่ นอภปิ รายผล (Discussion) ซงึ่ อาจเรยี ก (2) เพื่อเข้าใจ เนื่องจากการเขียนงานวิจัยจะ รปู แบบนีว้ า่ “แบบจ�ำลองนาฬิกาทราย” (Hourglass สามารถท�ำส�ำเร็จได้เมื่อมีการจัดวางโครงสร้างอย่าง Model) ดังแสดงในภาพท่ี 1 (ส่วนที่เป็นสีเทาอ่อน เหมาะสม ซ่ึงจะน�ำไปสู่ความเข้าใจในเร่ืองที่ต้องการ Swales, 1993) ศึกษาไดด้ ีขนึ้ บทนำ� จะทำ� ใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจถงึ แรงจงู ใจและทำ� ให้ (3) เพ่ือให้ได้มาซึ่งมุมมองหรือทัศนคติใหม่ ๆ ผอู้ ่านเห็นภาพกว้าง ๆ อันจะน�ำไปสคู่ ำ� ถามงานวิจัยใน เนอ่ื งจากการเขยี นเปน็ การมองในมมุ มองดา้ นอน่ื ๆ ให้ สว่ นเน้อื หา สว่ นเนือ้ หาจะกล่าวถึงขอบเขตของเรอ่ื งท่ี ครบถว้ นด้วย มีความส�ำคญั รวมถึงวธิ ีการวิจยั และผลการวจิ ัยอย่าง ยังคงมีข้อสงสัยต่ออีกว่าเหตุใดผู้วิจัยจึงต้อง ละเอยี ด และสดุ ทา้ ยสว่ นอภปิ รายผลจะกลา่ วถงึ ขอ้ สรปุ เขียนงานของตนให้เป็นบทความทางวิชาการ ท้ังท่ี จากการศกึ ษาวจิ ยั การเขยี นเพอ่ื ให้บุคคลอืน่ ๆ อ่านต้องใช้ความพยายาม นอกจากองค์ประกอบหลักท่ีกล่าวไปข้าง มากกว่า ค�ำตอบก็คือ การเขียนเพื่อเผยแพร่ต่อ ต้นแล้ว บทความวิชาการยังมีองค์ประกอบเพิ่มเติม สาธารณะจะทำ� ใหผ้ ศู้ กึ ษาวจิ ยั เขา้ ใจแนวคดิ และผลการ อ่ืน ๆ ที่มีความส�ำคัญเช่นเดียวกัน ได้แก่ หัวข้อ ศกึ ษาของตนมากย่งิ ขนึ้ ทัง้ น้ี ส�ำนกั พมิ พ์จะตอ้ งมกี าร (Title) บทคัดย่อ (Abstract) และ รายการอา้ งอิงหรือ ตรวจสอบคุณภาพของงานกอ่ นเสมอ บรรณานุกรม (Reference) ซึ่งมาขยายแบบจ�ำลอง แนวคิด ทฤษฏแี ละงานวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วข้อง นาฬิกาทรายให้เป็น ”แบบจ�ำลองพระราชา” (King โครงสร้างของรายงานวิชาการ Model) เน่ืองจากท�ำให้โครงสร้างมีรูปร่างคล้าย โดยท่ัวไป รายงานวิชาการ หรือรายงานวิจัย หมากพระราชาในเกมหมากรกุ ภาพท่ี 1 แบบจำ� ลอง จะประกอบดว้ ยโครงสรา้ งหลกั ที่ส�ำคญั 3 ส่วน ได้แก่ พระราชาจะใช้อธิบายโครงสร้างท้ังหมดของรายงาน วิชาการ 4 หวั ข้อ (Title) บทคดั ย่อ (Abstract) การลําดบั เร่ืองที่ บทนํา (Introduction) King Model เหมาะสม เนือ้ หา (Body) แบบจําลอง อภิปรายผล(Discussion) นาฬิกาทราย บรรณานุกรม (Reference) ขอบเขตความสาํ คญั ภาพที่ 1 โครงสภราา้ Sพงoขทอu่ี งr1cงาeโคน:รวงSจิ สwัยรaา้(lSงeoขsuอ(rง1cง9eา9น:3วS)จิ wยั ales (1993) โครงสร้างงานวิจัยทัง้ 6 องคป์ ระกอบ ตามภาพท่ี 1 อธบิ ายพอสงั เขป ดงั นี้ สถานก1า.รณ์มักเปห็นัวสข่ว้อนเดย(Tวทit่ีlถeูก)อ: ่านคบือรสิก่วานรทดัช่ีจนะถีอูกิเลอ็ก่าทนรมอานกทิกสี่ส์ุด(ในใEพนlรeงะรcาาชtนวูปrถoวาปัมทีิจnรภี่ 6ั์ยiสสcฉมสบเาโดมับดา็จรทคพี่ย2มวรIสมะปnเิชถทรักาdะพาจบรเำ�eนั กัตปเอดxนดุอื็นารiมนาnรศกชสgสกึรบ่วกุดษฎาานรฯเาอคแกสหิ มยชรSน-าากeมแธรหบนัแr่งรวvธปมลารรiคcรุะาะมเชทeใกก2ศน5)ุมไท6จิาหย0มรี ัลกาใหย2้5 ความสาํ คัญกับความถกู ตอ้ งเหมาะสมของหวั ขอ้ เพื่อทผ่ี ้อู า่ นงานวิจยั จะสามารถค้นหางานวิจยั ท่ีตนสนใจได้
โครงสรา้ งงานวจิ ยั ทง้ั 6 องคป์ ระกอบ ตามภาพ 1) อธิบาย (Descriptive) ซึ่งจะอธิบายราย ท่ี 1 อธิบายพอสงั เขป ดังนี้ ละเอียดของงานวิจัย เช่น การศึกษาบทบาทของการ 1. หัวข้อ (Title): คือ ส่วนท่ีจะถูกอ่านมาก ประชุมวชิ าการทีม่ ตี ่อการก�ำหนดกรอบวาระการวจิ ยั ที่สุดในงานวิจัย โดยมักเป็นส่วนแรกและในหลาย 2) เชิงประกาศ (Declarative) ซ่ึงจะกล่าว สถานการณ์มักเป็นส่วนเดียวที่ถูกอ่าน บริการดัชนี ถึงผลการศึกษา เช่น การประชุมวิชาการช่วยก�ำหนด อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Indexing Service) มกั ให้ กรอบวาระการวจิ ัยในระยะส้ัน ความสำ� คญั กบั ความถกู ตอ้ งเหมาะสมของหวั ขอ้ เพอื่ ท่ี 3) การถาม (Interrogative) เป็นการถาม ผู้อ่านงานวิจัยจะสามารถคน้ หางานวจิ ยั ที่ตนสนใจได้ ค�ำถาม เช่น การประชุมวิชาการมีบทบาทในการ Day (1983) ไดน้ ยิ ามหวั ขอ้ งานวจิ ยั ทด่ี วี า่ ผเู้ ขยี นควรใช้ กำ� หนดกรอบวาระการวจิ ัยหรือไม่ คำ� ทนี่ อ้ ยทส่ี ดุ ในการอธบิ ายเนอื้ หาของงานวจิ ยั ไดอ้ ยา่ ง 4) แบบผสม (Compound) ซง่ึ จะผสมรปู แบบ ถูกตอ้ ง โดย Peat และคณะ (2002) ไดร้ ะบแุ นวทาง ตา่ ง ๆ ดงั ท่ีกล่าวไปข้างตน้ การตงั้ ชอ่ื งานวิจัยวา่ Jamali และ Nikzad (2011) ได้ศึกษาผล - จูงใจผู้อ่านและตั้งช่ือให้ตรงกับประเด็น กระทบของการต้ังช่ืองานวิจัยประเภทต่าง ๆ ต่อการ ปัญหางานวิจัย ท�ำให้ผู้อ่านทราบได้ทันทีว่าเป็นการ ดาวน์โหลด (Download) และการอ้างอิงในงานวิจัย วิจัยเก่ียวกับอะไร อื่น ๆ โดยพบว่า การตงั้ ช่ืองานวจิ ยั ในรูปแบบการถาม - ใชค้ ำ� ท่ีบง่ บอกประเภทของงานวิจยั เชน่ จะมียอดดาวน์โหลดที่สูงกว่าแต่มีการอ้างอิงน้อยกว่า o การวจิ ยั เชงิ สำ� รวจ มกั ตง้ั ชอื่ งานวจิ ยั โดย งานวิจัยประเภทอน่ื ๆ ในขณะท่หี วั ข้องานวจิ ัยยาวจะ ใช้คำ� วา่ “การสำ� รวจ” ข้ึนต้น เช่น การวจิ ยั เชิงสำ� รวจ มียอดดาวน์โหลดต�ำ่ กว่าหวั ขอ้ ทส่ี ั้น เกย่ี วกบั ความคดิ เหน็ ของนกั บญั ชตี อ่ มาตรฐานรายงาน 2. บทคัดย่อ (Abstract) : คือ การเขียน ทางการเงนิ ส�ำหรับกิจการขนาดกลางและขนาดยอ่ ม สรุปงานวิจัยท้ังหมดให้อยู่ภายในหนึ่งย่อหน้า แม้ว่า o การวจิ ยั ความสมั พนั ธ์ มกั ตงั้ ชอ่ื งานวจิ ยั บทคัดย่อจะเป็นองค์ประกอบท่ีอยู่ส่วนแรก ๆ ของ โดยใช้ค�ำว่า “การศึกษาความสัมพันธ์” หรือ “ความ งานวจิ ยั แตอ่ งคป์ ระกอบดงั กลา่ วควรเปน็ สว่ นทผ่ี เู้ ขยี น สัมพันธ์” เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างรายการคงค้างที่ เขียนหลังสุด เน่ืองจากการเขียนบทคัดย่อจ�ำเป็นต้อง ขึ้นอยกู่ บั ดลุ ยพนิ จิ ของผบู้ ริหารกับคา่ สอบบัญชี อาศัยความเข้าใจในเน้ือหาส�ำคัญทั้งหมดของงานวิจัย o การวิจัยเชิงทดลอง มักต้ังช่ืองานวิจัย ทไี่ ด้ศกึ ษาก่อน การเขยี นบทคดั ยอ่ มีความสำ� คัญอยา่ ง โดยใช้ค�ำว่า “การทดลอง” หรือ “การวิเคราะห์” มากในฐานข้อมูลงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic เป็นต้น เช่น การทดลองการส่งเสริมความรู้ทางการ Publication Database) ซ่ึงในปัจจุบนั ผ้อู า่ นงานวิจยั ตรวจสอบระบบสารสนเทศดว้ ยเกมบทบาท จะเลอื กคน้ หาจากแหลง่ ขอ้ มลู ดงั กลา่ วมากขน้ึ (Koop- - ควรเลือกใช้ค�ำท่ีสั้น กระชับ เข้าใจง่าย man, 1997) เฉพาะเจาะจง แต่ท้ังน้ีไม่ควรส้ันเกินไปจนขาดความ Day (1983) ได้จัดประเภทบทคัดย่อออกเป็น หมาย สองประเภทคือ (1) บทคัดย่อแบบให้ข้อมูล (Infor- - หลีกเลยี่ งการใชค้ ำ� ฟุม่ เฟือย คำ� ซำ�้ หรือคำ� mative Abstract) ซึ่งจะคัดย่อทุกสิ่งท่ีเกี่ยวข้องใน ท่กี �ำกวม งานวิจัย เช่น วัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั วิธกี ารวิจยั รวมถงึ - ไม่ควรใชอ้ ักษรย่อในหวั ขอ้ งานวิจัย ยกเว้น ผลการวิจัย บทคัดย่อรูปแบบดังกล่าวถือเป็นตัวแทน เป็นค�ำที่กลุ่มเป้าหมายรู้จักหรือคุ้นเคยดี เช่น HTML ของงานวจิ ยั ทงั้ หมดไดอ้ ย่างถูกตอ้ งและ (2) บทคดั ย่อ หรือ CPU ในงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับวิทยาศาสตร์ แบบบง่ ชห้ี รอื แบบพรรณนา(Indicativeor Descriptive คอมพวิ เตอร์ Abstract) จะอธิบายบริบทเนื้อหาของงานวิจัย โดย หัวข้องานวิจัยมีหลายประเภท Jamali และ ไม่มีการกล่าวถึงผลการศึกษาหรือข้อสรุปแต่อย่างใด Nikzad (2011) ได้จัดประเภทหัวข้องานวิจัย โดย เพื่อให้ผู้อ่านใช้ประกอบการตัดสินใจว่าต้องการอ่าน แบง่ เปน็ เอกสารงานวิจัยฉบับเต็มหรือไม่ มักพบได้ในงานวิจัย ดา้ นมนษุ ยศาสตรห์ รอื สงั คมศาสตร์ กลา่ วคอื บทคดั ยอ่ 26 วารสารวชิ าการบรหิ ารธรุ กิจ ใสนมพารคะมรสาชถูปาบถันัมอภุด์ สมมศเดึกจ็ษพาเรอะกเทชพนรแหตั ง่นปรราะชเทสศดุ ไาทฯยสยามบรมราชกุมารี ปที ี่ 6 ฉบบั ท่ี 2 ประจ�ำ เดอื นกรกฎาคม - ธันวาคม 2560
รปู แบบดงั กลา่ วมกั ทำ� หนา้ ทคี่ ลา้ ยกบั สารบญั ทบี่ ง่ บอก ในบทน�ำจะแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน ถึงกรอบเนื้อหาในงานวิจัย ซ่ึงบทคัดย่อในรูปแบบ (Swales, 1993) ไดแ้ ก่ (1) นำ� เสนอแนวคดิ : เปน็ ส่วน ดังกลา่ วจะไม่ถือเปน็ ตวั แทนของงานวิจยั ทั้งหมด ทน่ี ำ� เสนอความสำ� คญั ของงานวจิ ยั หรอื นำ� เสนอขอ้ มลู Koopman (1997) ได้ท�ำแบบส�ำรวจรายการ พ้ืนฐานท่ีเก่ียวข้อง หรือกล่าวถึงงานวิจัยที่เก่ียวข้อง (Checklist) ขององคป์ ระกอบในบทคดั ยอ่ ซงึ่ สอดคลอ้ ง กับหัวข้อท่ีศึกษาในปัจจุบัน (2) น�ำเข้าสู่เน้ือหา : กบั แบบจำ� ลองนาฬิกาทราย ได้แก่ กลา่ วถงึ สมมติฐานงานวิจัย หรอื ชอ่ งวา่ งของการวจิ ัย - แรงจูงใจ: ผู้เขียนควรเร่ิมต้นบทคัดย่อโดย (Research Gap) หรอื คำ� ถามงานวจิ ัยและ (3) เจาะ สรปุ เรอื่ งราวทมี่ าความสำ� คญั ของงานวจิ ยั เพอื่ ใหผ้ อู้ า่ น ประเด็น : เร่ิมกล่าวถึงขอบเขตงานวิจัยหรือภาพร่าง เข้าใจว่าเหตุใดจึงต้องให้ความส�ำคัญกับการวิจัยเรื่อง ลักษณะเฉพาะของงานวิจัย สรุปผลการวิจัยที่ส�ำคัญ ดงั กลา่ ว โครงร่างคร่าว ๆ ของงานวจิ ัย - ปัญหา: ต่อมาผู้เขียนควรระบุวัตถุประสงค์ กล่าวโดยสรุปส่วนบทน�ำจะเป็นส่วนท่ีช่วยให้ งานวจิ ยั และคำ� ถามงานวจิ ยั ทต่ี อ้ งการศกึ ษาวา่ อะไรคอื ผู้อ่านเข้าใจสภาวะปัจจุบันในเรื่องที่ผู้วิจัยต้องการ สง่ิ ทง่ี านวจิ ยั ดงั กลา่ วพยายามแกไ้ ข รวมถงึ ขอบเขตของ ศกึ ษา และชว่ ยให้ผอู้ า่ นสามารถเข้าใจเนอื้ หางานวจิ ัย การศึกษาวิจัย บทอ่ืน ๆ โดยท่ีไม่ต้องไปอ่านงานวิจัยที่เกี่ยวข้องท่ีได้ - การแก้ปัญหา: กล่าวถึงวิธีการศึกษาว่า อา้ งองิ ไว้ ทงั้ นแี้ มว้ า่ สว่ นบทนำ� จะเปน็ เนอ้ื หาสว่ นแรก ๆ จะต้องท�ำอย่างไรเพ่ือแก้ไขปัญหา รวมถึงกล่าวถึง ของงานเขียน แต่มักเป็นส่วนท้าย ๆ ท่ีนักวิจัยจะ กลุ่มตัวอยา่ งทใ่ี ช้ในการศกึ ษา เร่ิมลงมือเขียน เนื่องจากการเขียนบทน�ำต้องอาศัย - ผลการศึกษา: สรปุ ผลการวจิ ัย ความเข้าใจเน้ือหา โครงสร้าง รวมถึงผลและข้อสรุป - การตีความ (Implication) ผลการศึกษา ในงานวจิ ยั กอ่ น ดังกล่าวสอื่ ถงึ อะไร 4. เน้ือหา (Body) : สว่ นเนือ้ หาจะเป็นส่วนที่ อยา่ งไรกด็ อี าจมอี งคป์ ระกอบบางอยา่ งทไี่ มค่ วร ตอบคำ� ถามงานวจิ ยั และอธบิ ายผลการศกึ ษา โดยทวั่ ไป ระบุในบทคัดย่อ เช่น ข้อสรุปท่ีไม่ได้มีการกล่าวถึงใน แลว้ โครงสรา้ งเนอ้ื หาของงานวจิ ยั จะแตกตา่ งกนั ไปตาม งานวจิ ยั การอา้ งองิ ถงึ งานวจิ ยั อน่ื (ทงั้ นแ้ี ลว้ แตว่ ารสาร ประเภทของงานวจิ ยั รปู แบบของวารสาร หรอื ความคดิ วิชาการแต่ละที่) ภาพประกอบ ตัวเลข แผนภาพ สรา้ งสรรคข์ องผ้เู ขยี นงานวจิ ัย เชน่ โครงสร้าง สูตรทางสถิติ หรือตาราง (Days, 1983) 1) งานวิจัยเชิงประจักษ์ (Empirical นอกจากน้ีผู้เขียนควรเขียนบทคัดย่อให้มีความ Papers) จะระบุถึงข้อมูลที่น�ำมาใช้ในการศึกษา วิธี ชดั เจน สนั้ กระชบั ควรเลอื กเฉพาะเนอ้ื หาหรอื ประเดน็ การศึกษาที่ใช้ตอบค�ำถามงานวิจัย และผลการศึกษา สำ� คญั สามารถถา่ ยทอดประเดน็ สำ� คญั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ผู้วิจัยจะต้องอธิบายให้ผู้อ่าน (หรือนักวิจัยท่ีสนใจ ครบถ้วน ไม่ควรยาวเกินไป (มักมีความยาวประมาณ ต่อยอดงานวิจัย) เข้าใจและสามารถน�ำไปท�ำซ�้ำหรือ คร่ึงหน้ากระดาษ A4) ตอ่ ยอดได้ 3. บทนำ� (Introduction) : บทนำ� ของงานวจิ ยั 2) งานวิจยั แบบกรณศี ึกษา (Case Study) มีวัตถุประสงค์เพ่ือท�ำให้ผู้อ่านงานวิจัยเข้าใจขอบเขต จะอธิบายเทคนิค เครื่องมือ หรือทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องที่ เน้ือหาของเร่ืองที่ต้องการศึกษา ดังน้ัน รายงานการ ปรากฏในงานวิจัย เร่ืองส�ำคัญคือคุณค่าท่ีสะท้อนอยู่ วิจัยควรมีการระบุอย่างชัดเจนว่างานวิจัยนี้มีเน้ือหา ในขอ้ สรปุ ท่ไี ด้จากประสบการณ์การศึกษาวจิ ัย เกี่ยวกบั อะไร และมีความสำ� คญั อยา่ งไร มีผวู้ ิจัยหลาย 3) งานวิจัยเชิงศึกษาวิธีการ (Methodo- คนที่ละเลยการกล่าวถึงประเด็นส�ำคัญพื้นฐานเหล่า logy Papers) เป็นการศึกษากระบวนการหรอื วิธีการ น้ี วิธหี นง่ึ ในการเข้าถึงแรงจูงใจของงานวิจัยคอื การต้ัง ใหม่ ๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือน�ำมาใช้ในงานวจิ ัยหรอื ค�ำถามว่า ใครทส่ี นใจในผลของงานวจิ ัยนี้ สำ� หรบั งาน สภาพแวดล้อมในการท�ำงานจริง งานวิจัยควรมีความ วจิ ยั ทางบญั ชอี าจแบ่งคนกลุ่มนเี้ ป็น 2 กลมุ่ ใหญ่ๆ คือ ชัดเจน เกี่ยวกบั กลุ่มเปา้ หมายทีต่ ้ังใจไว้ (1) ผปู้ ฏบิ ตั งิ านกบั ผกู้ ำ� หนดนโยบาย และ (2) กลมุ่ ผทู้ ำ� 4) งานวิจัยเชิงทฤษฎี (Theory Paper) วิจัย อธิบายถึงแหล่งท่ีมา แนวคิด (Concept) หรือแบบ วารสารวิชาการบริหารธรุ กิจ 27 ในพระราชูปถัมภ์ สมสเดมาจ็ คพมรสะเถทาพบรนั ตั อนุดรมาศชสึกดุษาาฯเอกสยชนามแหบ่งรปมรระาเชทกศุมไทายรี ปที ่ี 6 ฉบับที่ 2 ประจ�ำ เดอื นกรกฎาคม - ธนั วาคม 2560
จ�ำลองที่ได้จากประสบการณ์ การประจักษ์ หรือ - การน�ำเสนอข้อมูลเบ้ืองต้น (Back- กระบวนการอื่น ๆ ผู้เขียนงานวิจัยเชิงทฤษฎีควรจะ ground Information) เช่นเดียวกับการสรุปผล สร้างจุดยืนของตัวเอง เร่ืองส�ำคัญในส่วนของเน้ือหา การวิจัย ของงานวิจัยเชิงทฤษฎีคือความแปลกใหม่ (Original) - ข้อสรุปผลการวิจัย โดยให้ความส�ำคัญ หรอื กรอบแนวคดิ ทถี่ กู ตอ้ ง สมบรู ณ์ เชน่ เดยี วกบั ความ กบั การอภปิ รายผล สอดคลอ้ งของเนอื้ หาในงานวิจยั ท่ีเกยี่ วข้อง - เปรียบเทียบผลการวิจัยกับงานวิจัย กล่าวโดยท่ัวไปสว่ นเนอื้ หาของงานวิจยั จะตอบ กอ่ นหน้า ค�ำถาม 2 ค�ำถามได้แก่ (1) จะตอบค�ำถามงานวิจัย - สรปุ หรอื สรา้ งสมมตฐิ านจากผลการวจิ ยั อย่างไร (วธิ กี ารวจิ ยั กลุม่ ตวั อย่าง ทฤษฎี) และ (2) ผล พร้อมข้อสรุปทไ่ี ดจ้ ากหลกั ฐานการวจิ ัย การวิจยั (Davis, 1997; Day, 1983, Peat และคณะ - ข้อเสนอแนะเพ่ือเป็นแนวทางส�ำหรับ 2002) ผทู้ ีส่ นใจจะน�ำงานวจิ ัยไปพัฒนาตอ่ ยอดในอนาคต ส่วนของวิธีการวิจัยเป็นส่วนที่ผู้อ่านควรได้ 6. บรรณานกุ รม (Reference) : สว่ นสดุ ทา้ ยคอื ขอ้ มูลวา่ งานวจิ ัยน้ีได้ท�ำอะไรบ้างและทำ� โดยใคร ส่วน การอ้างอิงงานวิจัยที่เก่ียวข้องที่น�ำมาใช้ โดยรวบรวม ประกอบสำ� คญั 3 สว่ นทค่ี วรมคี อื (1) กลมุ่ ตวั อยา่ ง หรอื งานวิจัยที่ได้มีการกล่าวอ้างถึงในงานวิจัยของตนมาไว้ ผถู้ กู ทดลอง (2) ส่วนงาน และ (3) แบบแผนงานวจิ ัย สว่ นทา้ ยสุดของงานวิจัย วารสารของแตล่ ะส�ำนกั พมิ พ์ ส่วนแรกท่ีผู้อ่านต้องการรู้คืออะไรเป็นกลุ่ม จะมีรูปแบบการเขียนบรรณานุกรมท่ีแตกต่างกันไป ตัวอย่างและมีจ�ำนวนเท่าไร นอกจากนี้ผู้อ่านยัง รปู แบบทเ่ี ปน็ ทน่ี ยิ มมากทสี่ ดุ มดี งั ตอ่ ไปนี้ (Day, 1983) ต้องการรู้เหตุผลว่าเหตุใดผู้วิจัยจึงเลือกกลุ่มตัวอย่าง • ระบบช่ือและปี (Name and Year นี้ รวมถึงการอธิบายคุณสมบัติต่างๆ ที่ผู้วิจัยเลือก System) คือการอ้างอิงโดยระบุชื่อผู้วิจัยและปีท่ีเผย ด้วย เช่น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาปริญญาโททาง แพรไ่ วด้ า้ นหลงั เชน่ ‘Chuck และ Norris (2003) กลา่ ว ด้านบริหารธุรกิจ จ�ำนวน 50 คน จากมหาวิทยาลัย ว่า…’ ซ่ึงการอ้างอิงในรูปแบบนี้สร้างความสะดวกต่อ ธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นนักศึกษากลุ่มท่ีมีความรู้ ความ ผู้เขยี นงานวจิ ยั เนือ่ งจากผู้เขยี นไม่จำ� เป็นต้องมาแก้ไข เขา้ ใจทางด้านการบญั ชแี ละด้านการเงินพอสมควร เปลย่ี นแปลงการอา้ งองิ เมอ่ื มกี ารเพม่ิ หรอื ลบการอา้ งองิ สว่ นตอ่ มา คอื การอธบิ ายสว่ นงานอยา่ งละเอยี ด บางรายการออกไป ถ่ีถ้วน ผู้วจิ ยั ควรระบเุ หตุผลในการเลือกแบบแผนการ • ระบบตัวอักษรและตัวเลข (Alpha- วิจัยนั้น รวมถึงควรช้ีแจงแนวทางของผู้วิจัยเกี่ยวกับ bet-number System) คือการอ้างอิงโดยเรียงตาม \"ความสมเหตุสมผลหรือความสมจริง\" ของงาน และ ลำ� ดบั อกั ษรและอา้ งถงึ การอา้ งองิ ดงั กลา่ วโดยใชต้ วั เลข ส่วนสุดท้ายของวิธีการวิจัยควรอธิบายรายละเอียดที เชน่ ‘ดังที่กล่าวไวใ้ น [4]’ การอา้ งองิ ในรปู แบบน้สี ร้าง ละขัน้ ตอนว่าการศกึ ษาด�ำเนินงานอย่างไรบ้าง ความสะดวกต่อผู้อ่าน เนื่องจากไม่ท�ำให้ผู้อ่านรู้สึก ส่วนของผลการวิจัยน้ัน เรื่องส�ำคัญที่ต้อง สะดดุ หรอื ตดิ ขดั ขณะทอ่ี า่ นงานวจิ ยั อยา่ งไรกด็ ผี เู้ ขยี น ค�ำนึงถึงคือความพอเพียงของข้อมูลที่ผู้วิจัยเขียนลงใน ต้องระมัดระวังล�ำดับการอ้างอิงเมื่อมีการเพิ่มหรือลบ รายงานการวิจัย เชน่ การน�ำเสนอคา่ เฉลย่ี สว่ นเบยี่ ง การอ้างอิงบางรายการเนื่องจากจะท�ำให้ตัวเลขอ้างอิง เบนมาตรฐาน ชว่ ง หรือการแจกแจงอ่นื ๆ เป็นตน้ เปลยี่ นแปลงไป 5. อภปิ รายผล (Discussion) :สว่ นอภปิ รายผล • ระบบการอ้างอิงตามล�ำดับ (Citation บางครงั้ อาจเรียกว่า สรุปผลการวิจัย (Conclusion) Order System) คือรูปแบบการอ้างอิงที่คล้ายกับ หรืออภิปรายและข้อเสนอแนะ (Discussion and ระบบตัวอกั ษรและตัวเลข แต่ขอ้ แตกตา่ งทส่ี �ำคัญมาก Conclusion) ส่วนอภิปรายผล คอื ส่วนที่จะต้องเขยี น ประการหนึ่งคือระบบการอ้างอิงตามล�ำดับไม่ได้มีการ ลอ้ กบั สว่ นหวั ขอ้ เนอ่ื งจากสว่ นอภปิ รายผลจะนำ� ผอู้ า่ น เรียงตามล�ำดับอักษรแต่จะเรียงล�ำดับตามล�ำดับการ จากผลลัพธ์ท่ีเฉพาะเจาะจงไปสู่ข้อสรุปแบบกว้าง ๆ อา้ งองิ ทีป่ รากฏในงานวจิ ยั โดยทั่วไปแลว้ เนื้อหาในส่วนน้ีจะกลา่ วถงึ (Day, 1983; นอกจากรปู แบบการอา้ งองิ ทไี่ ดก้ ลา่ วไปขา้ งตน้ Swales, 1993) แลว้ เรอื่ งสำ� คญั มากในการเขยี นงานวจิ ยั คอื ทกุ ครงั้ ทมี่ ี 28 วารสารวชิ าการบรหิ ารธุรกิจ สในมพารคะมรสาชถปูาบถันัมอภุด์ สมมศเดกึ ็จษพาเรอะกเทชพนรแหตั ง่นปรราะชเทสศดุ ไาทฯยสยามบรมราชกุมารี ปีที่ 6 ฉบบั ท่ี 2 ประจ�ำ เดือนกรกฎาคม - ธนั วาคม 2560
การอา้ งองิ ถงึ งานวจิ ยั อนื่ ผเู้ ขยี นจะตอ้ งนำ� แหลง่ อา้ งองิ ของการมุ่งตอบปัญหาการวิจัย หรือวัตถุประสงค์ของ ดังกล่าวมาเขียนในบรรณานุกรมและทุกการอ้างอิงที่ การวจิ ยั ทีต่ ัง้ ไวเ้ ปน็ หลกั เทา่ นน้ั หลกี เลี่ยงการเขยี นที่มี ปรากฏในบรรณานุกรมจะต้องมกี ารอา้ งถงึ ในงานวจิ ยั เนอื้ หามากแตไ่ มส่ ามารถตอบคำ� ถามวิจยั ได้ สาระในประเดน็ ต่างๆ (Contents) 2.2) ความถกู ตอ้ งของเนอื้ หาในรายงานการ ขอ้ พจิ ารณาในการเขียนรายงานการวจิ ยั วจิ ยั : เนอ้ื หาทกุ จดุ ในรายงานการวจิ ยั ตอ้ งเปน็ ขอ้ ความ นอกจากจะต้องค�ำนึงถึงส่วนประกอบต่างๆ หรอื ประโยคทถ่ี กู ตอ้ ง ไมถ่ กู บดิ เบอื นไปจากขอ้ เทจ็ จรงิ ของรายงานแล้ว การเขียนรายงานการวิจัยยังมีข้อ ดังนั้น ในการเขียนทุกคร้ังโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสรุป พิจารณาทสี่ �ำคัญ ไดแ้ ก่ (1) รูปแบบการเขียนรายงาน หรอื ลงความเห็นใดๆ ผู้วิจยั ตอ้ งไมม่ ีอคติ และเล่าเพยี ง วจิ ัย และ (2) เน้อื หาท่เี ขียนในรายงานวิจยั ดงั น้ี ขอ้ เท็จจรงิ ท่คี ้นพบไดเ้ ท่านัน้ ไมเ่ ขยี นเกนิ ข้อมลู ทมี่ ีอยู่ 1) รูปแบบการเขียนรายงานการวิจัยรวมถึง รวมถึงไม่เขียนในรูปแบบของการโน้มน้าวหรือชักจูง เรอื่ งตอ่ ไปนี้ ผู้อา่ นใหค้ ล้อยตามและเชอื่ ในขอ้ มูลท่ไี ม่เป็นความจรงิ 1.1) การเรยี งลำ� ดบั ความสำ� คญั ของประเดน็ 2.3) ความชัดเจนของเน้ือหาในรายงาน ต่างๆ : ผู้วิจัยควรเขียนเน้นให้ผู้อ่านเห็นประเด็นหรือ การวิจัย: ความชัดเจนของเน้ือหาในรายงานการวิจัย จุดส�ำคัญมากท่ีสุดก่อนแล้วจึงเขียนล�ำดับความส�ำคัญ สามารถสร้างได้จาการใช้ภาษาท่ีสื่อความหมายให้ อันดับรองลงไปเรือ่ ยๆ เพอ่ื ไม่ให้เกดิ ความสับสน ทงั้ น้ี ผู้อา่ นสามารถเข้าใจไดง้ ่าย กระชับ รัดกุม ตรงจุด ไม่ ควรค�ำนึงถึงความเหมาะสมของการเรียบเรียงเนื้อหา วกวน ดงั นน้ั ผวู้ จิ ยั จงึ ควรหลกี เลย่ี งการใชค้ ำ� ขยายมาก ด้วย เกนิ ไปจนทำ� ใหป้ ระโยคยาวจนไมอ่ าจทราบวา่ ขอ้ ความ 1.2) ความถกู ตอ้ งตามหลกั การใชภ้ าษา:การ ใดเป็นข้อความส�ำคัญ นอกจากนี้ผู้วิจัยไม่ควรบัญญัติ เขียนรายงานการวิจัยให้ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษา ค�ำศัพท์ใหม่ท้ังๆ ที่มีค�ำท่ีใช้และเป็นท่ียอมรับกันอยู่ สามารถบง่ บอกความเปน็ มอื อาชพี และความรอบคอบ แลว้ แตห่ ากไมม่ กี ารบญั ญตั ไิ วก้ ค็ วรเขยี นขยายความให้ ของผู้วิจัย จุดส�ำคัญที่ควรตรวจสอบคือ การใช้ เขา้ ใจ รวมถงึ หลกี เลย่ี งการใชค้ ำ� คลมุ เครอื คำ� ทมี่ คี วาม เครื่องหมายวรรคตอน ไวยากรณ์ การสะกดตัวการนั ต์ หมายก�ำกวม คำ� แสลง และค�ำยอ่ หรอื ตวั ยอ่ รวมถงึ การอา้ งอิงให้ถูกตอ้ งตามรูปแบบ และไม่อ้างผดิ 2.4) ความสอดคลอ้ งของเน้อื หาในรายงาน เลม่ ผิดหน้า หรอื อา้ งผู้เขียนผดิ คน การวจิ ยั : เนื้อหาในรายงานการวจิ ยั ทกุ บทควรมคี วาม 1.3) ความสม�่ำเสมอ หรือความคงเส้น สอดคล้อง โดยไม่ท�ำให้ผู้อ่านเกิดความสงสัยในขณะ คงวาของการใชค้ ำ� หรอื ข้อความ : การใชถ้ อ้ ยคำ� ตา่ งๆ ที่อ่านว่า เรื่องที่อ่านอยู่น้ันเป็นคนละเร่ืองกับท่ีอ่าน หรือข้อความใดๆ ท่ีมีการกล่าวถึงหลายคร้ัง ให้ผู้วิจัย มาแล้วในตอนต้น และการเขียนท่ีควรหลีกเลี่ยง คือ พึงระมัดระวังการใช้ถ้อยค�ำหรือข้อความน้ันให้เป็น การน�ำข้อมูลต่างๆ มาปะติดปะต่อกันแต่ไม่มีส่วนท่ี แบบเดยี วกันตลอดทงั้ เรอื่ ง เช่น ค�ำวา่ “บรษิ ทั ” หรือ เก่ยี วข้องกนั เลย “กจิ การ” หากใชค้ ำ� หนง่ึ คำ� ใดกข็ อใหใ้ ชค้ ำ� นนั้ ตลอดทง้ั 2.5) ความมีจรรยาบรรณในการเขียน เรื่อง นอกจากนี้ความสม่�ำเสมอของรูปแบบการเขียน รายงานการวิจัย : ผู้วิจัยควรใช้ถ้อยค�ำหรือข้อความ ก็เป็นเร่อื งท่ีผวู้ ิจยั ควรค�ำนงึ ถงึ เชน่ การอ้างองิ การใช้ ที่ไม่อยู่ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหาย หรือเสีย สัญลักษณ์ต่างๆ การใช้เครื่องหมายก�ำกับหัวข้อและ ช่ือเสียงแก่บุคคลหรือผู้ท่ีเกี่ยวข้อง รวมถึงไม่แอบอ้าง วรรคตอน ควรใช้ให้เป็นรูปแบบเดียวกันตลอดท้ังเล่ม ความคิดของผู้อ่ืนมาเปน็ ของตน ดงั นั้น ทกุ คร้งั ที่มีการ เพ่อื ให้มคี วาม เปน็ ระเบยี บสวยงาม และผอู้ ่านไม่เกิด กลา่ วถงึ ผลงานหรอื ความคดิ ของของผอู้ นื่ ผวู้ จิ ยั ควรให้ ความสับสน เกยี รตอิ า้ งองิ ถงึ เจา้ ของผลงาน หรอื เจา้ ของความคดิ นนั้ 2) เนอื้ หาทเ่ี ขยี นในรายงานการวจิ ยั รวมถงึ เรอ่ื ง ดว้ ย ตลอดจนควรยดึ มนั่ และซอ่ื สตั ยต์ อ่ เรอื่ งทตี่ นศกึ ษา ตอ่ ไปน้ี และรายงานผลตามขอ้ เท็จจริงทคี่ ้นพบได้เท่านนั้ 2.1) ความตรงประเดน็ ของเนอื้ หาในรายงาน 2.6) ความส�ำรวม : ผู้วิจัยควรระมัดระวัง การวิจัย : ผวู้ จิ ยั ควรเขียนรายงานการวิจยั ในลักษณะ การเขยี นท่ีเป็นการยกย่องตัวเอง หรือท�ำใหผ้ อู้ า่ นมอง ว่าเรื่องเก่ียวกับบุคคล ซึ่งสามารถหลีกเลี่ยงได้โดยใช้ วารสารวชิ าการบรหิ ารธุรกิจ 29 ในพระราชปู ถมั ภ์ สมสเดมา็จคพมรสะเถทาพบรนั ตั อนดุ รมาศชสึกุดษาาฯเอกสยชนามแหบง่รปมรระาเชทกศุมไทายรี ปที ่ี 6 ฉบบั ที่ 2 ประจ�ำ เดือนกรกฎาคม - ธนั วาคม 2560
คำ� ว่า “ผ้วู จิ ยั ” หรือ “คณะผู้วจิ ยั ” แทนการใชช้ ื่อหรือ เอกสารอ้างอิง สรรพนามบุรษุ ที่ 1 Booth, W.C., Colomb, G.G., & Williams, J.M. สรปุ การเผยแพรผ่ ลการศกึ ษาวจิ ยั และขอ้ คน้ พบเปน็ (1995). The Craft of Research, Chicago, สว่ นหนง่ึ ของกระบวนการศึกษาวจิ ยั ผวู้ จิ ยั อาจบนั ทกึ IL: University of Chicago Press. เรอ่ื งราวหรอื ขนั้ ตอนการศกึ ษาวจิ ยั เพยี งเพอ่ื จดบนั ทกึ Davis, M. (1997). Scientific Papers and Presen- งานของตนเอง แต่ผู้อ่านงานวิจัยหรือผู้ท�ำวิจัยอ่ืน tations. San Diego, CA: Academic Press. คาดหวงั รูปแบบ การเขยี น และภาษาทเ่ี ปน็ มาตรฐาน Day, R.A. (1983). How to Write and Publish a เมื่ออ่านงานวิจัยบทความน้ีอธิบายถึงโครงสร้างและ Scientific Paper.Philadelphia, PA: ISI ข้อควรพิจารณาในการเขียนรายงานวิจัยหรือรายงาน Press. วิชาการ Jamali, H., & Nikzad, N. (2011) Article title type and its relation with the number of downloads and citations. Scientomet- rics, 88 (2), 653–661. Koopman, P. (1997). How to write an abstract, Electrical & Computer Engineering. Retrieved January 20, 2017, from http:// www.ece.cmu.edu/~koopman/essays/ abstract.html. Peat, J., Elliott, E., Baur, L., & Keena, V. (2002) Scientific Writing: Easy When You Know How, London: BMJ Books, Robert H. A. (1998). Writing Accounting Research for Publication and Impact. Journal of Accounting Education, 16(2), 247-260. Swales, J.M. (1993). Genre Analysis: English in Academic and Research Setting. New York: Cambridge University Press. Victoria Business School. (2017). How to write a business report. Retrieved July 4, 2017, from www.victoria.ac.nz/vbs/ teaching/resources/VBS-Report-Writing- Guide-2017.pdf 30 วารสารวิชาการบรหิ ารธุรกิจ ใสนมพารคะมรสาชถูปาบถนััมอภุด์ สมมศเดึก็จษพาเรอะกเทชพนรแหตั ง่นปรราะชเทสศดุ ไาทฯยสยามบรมราชกุมารี ปที ี่ 6 ฉบบั ท่ี 2 ประจ�ำ เดอื นกรกฎาคม - ธนั วาคม 2560
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: