Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลยภาพของตลาด

หน่วยที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลยภาพของตลาด

Published by suwattana9893, 2020-06-13 03:25:47

Description: หน่วยที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลยภาพของตลาด

Search

Read the Text Version

รายวชิ า หลักเศรษฐศาสตร์ รหสั 30200 -1001 หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้ันสูง (ปวส.) หน่วยท่ี 2 อุปสงค์ อปุ ทาน และดุลยภาพของตลาด อ. สุวฒั นา ธรรมกรณ์ วทิ ยาลยั เทคนิคลพบุรี สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

แนวคดิ ในระบบเศรษฐกจิ ทม่ี กี าร แข่งขนั กลไกราคาหรือระบบตลาดจะมี บทบาทสาคญั ในการกาหนดนสตสอละ ปริมาณการซื้อขายสินค้าและบริการซึ่งก เกดิ จากความต้องการซื้อของผู้บริโภคหรือ อุปสงค์ และการเสนอขายจากผู้ผลติ หรือ อุปทานโดยท้งั อุปสงค์และอุปทานมกี าร เปลยี่ นแปลงไปตามปัจจัยท่กี าหนด และมี การปรับตวั เข้าหาจุดสมดุลหรือจุดดุลย ภาพในทส่ี ุด

สาระการเรียนรู้ 1. อุปสงค์ 2. การเปลย่ี นแปลงปริมาณซื้อและการ เปลย่ี นแปลงอุปสงค์ 3. อุปทาน 4. การเปลย่ี นแปลงปริมาณขายและการ เปลย่ี นแปลงอุปทาน 5. ดุลยภาพของตลาดและการเปลย่ี นแปลง ของดุลยภาพตลาด

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมาย ชนดิ ของอปุ สงค์ ตวั กาหนดอปุ สงค์ และกฎของอปุ สงค์ และเส้น อปุ สงค์ได้ 2. อธิบายการเปลย่ี นแปลงปริมาณซื้อและการ เปลย่ี นแปลงอปุ สงค์ได้ 3. อธิบายความหมายของอปุ ทาน ตวั กาหนด อปุ ทาน และกฎของอปุ ทาน และเส้นอปุ ทานได้ 4. อธิบายการเปลย่ี นแปลงปริมาณขายและการ เปลยี่ นแปลงอปุ ทานได้ 5. อธิบายดุลยภาพของตลาดและการ เปลยี่ นแปลงของดุลยภาพตลาดได้

อปุ สงค์ (Demand) อุปสงค์ (Demand) หมายถงึ ปริมาณของสินค้าและบริการชนิดใด ชนิดหน่ึงทผี่ ู้บริโภคมคี วามต้องการซื้อใน ระยะเวลาหน่ึง ณ ระดบั ราคาต่าง ๆ หรือ ระดบั รายได้ต่าง ๆ หรือ ช่วงเวลาต่าง ๆ

อปุ สงค์ อปุ ทาน และดุลยภาพของตลาด

อุปสงค์ (Demand) อปุ สงค์ (Demand) แบ่งออกเป็ น 3 ชนิด คือ อปุ สงค์ต่อราคา อปุ สงค์ต่อรายได้ (price demand) ( income demand) อปุ สงค์ต่อราคาสินค้า ชนิดอื่น ( cross demand)

ปัจจยั ทีเ่ ป็ นตวั กาหนดอุปสงค์ ตวั กาหนดอปุ สงค์ หมายถงึ ตวั แปร (variable) หรือ ปัจจยั ต่าง ๆทม่ี อี ทิ ธิพลต่อปริมาณสินค้าท่ี ผ้บู ริโภคมคี วามต้องการทจ่ี ะซื้อ มดี งั นี้ 1. ราคาของสินค้า 6. มาตรการของรัฐบาล 2. ราคาของสนิ คา้ ชนิดอ่นื ๆ ที่ 7. สภาพการกระจายรายไดใ้ น เกย่ี วขอ้ ง ระบบเศรษฐกจิ 3. รายได้เฉล่ียของครัวเรือน 8. การคาดคะเนของผู้บริโภค 4. รสนิยมของผู้บริโภค 9. สภาพดนิ ฟ้าอากาศหรือ ฤดกู าล 5. จานวนประชากร

ปัจจัยที่เป็ นตัวกาหนดอุปสงค์ สามารถแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่าง ปริมาณซื้อสินค้าและบริการกบั ตัวกาหนดอปุ สงค์เหล่านีไ้ ด้ด้วยฟังก์ชันอปุ สงค์ดงั นี้ Qx = f (Px, A1, A2, A3, A4, A5, A6) กาหนดให้ Qx = ปรมิ าณซือ้ สินค้า X Px = ราคาสินค้า X A1 = ราคาสนิ ค้าอน่ื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง A2 = รายได้เฉล่ียของครัวเรอื น A3 = รสนิยมของผู้บรโิ ภค A4 = จานวนประชากร A5 = สภาพกระจายรายได้ในระบบ เศรษฐกจิ A6 = สภาพดนิ ฟ้าอากาศหรือฤดกู าล

กฎของอุปสงค์ กฎของอปุ สงค์ (Law of demand) “ เมื่อกำหนดใหป้ ัจจยั อ่ืน ๆ คงท่ี ปริมำณของสินคำ้ และบริกำรชนิดใดชนิดหน่ึงที่ ผบู้ ริโภคตอ้ งกำรซ้ือยอ่ มเปลี่ยนแปลงในทำง ตรงกนั ขำ้ มกบั รำคำของสินคำ้ และบริกำรเสมอ ” เกิดจำกสำเหตุ 2 ประกำร คือ 1) ผลทำงรำยได้ ( income effect) 2) ผลทำงกำรทดแทน (substitution effect)

กฎของอปุ สงค์ กฎของอุปสงค์ สามารถสรุปได้ดงั นี้ “ เมอื่ ราคาสินค้า (P) ปรับตัว สูงขน้ึ ปริมาณความต้องการซ้ือหรือ บริโภค (Q) ของผ้ซู ื้อหรือผ้บู ริโภคจะลดลง ” ในทางกลับกนั  Q  ) (P (P  Q  ) “ เมอื่ ราคาสินค้า (P) ปรับตัวลดลง ปริมาณความต้องการซื้อหรือบริโภค (Q) ของผ้ซู ื้อหรือผ้บู ริโภคจะเพมิ่ ขนึ้

ตารางแสดงจานวนสินค้าทตี่ ้องการซื้อ ณ ระดบั ราคาต่างๆ ราคา(บาท) จานวนสินค้าทตี่ ้องการซื้อ (หน่วย) 1 40 2 3 35 4 5 30 25 20

กราฟแสดงลกั ษณะของเส้นอุปสงค์ ราคา (P) 5 (P Q) 4 3 (P Q) D 2 1 0 20 25 30 35 40 จานวนสินค้า (Q)

ลกั ษณะของเส้นอปุ สงค์ ลกั ษณะเส้นของอุปสงค์ จำกกรำฟสำมำรถสรุปลกั ษณะของ เสน้ อุปสงค์ ไดด้ งั น้ี “ เป็ นเส้นตรง หรือ เส้นโค้ง ลาดลงจากซ้ายไปขวา มีค่าความชันเป็ นลบ ”

อุปสงค์รายบุคคลและอปุ สงค์ตลาด รายการ คาอธิบาย 1. อุปสงค์รายบุคคล คือ อุปสงค์ของผู้บริโภคคนใด (individual demand) คนหนึ่ง 2. อุปสงค์ของหน่วยผลติ คือ อุปสงค์ต่อสินค้าชนิดใดชนิด ( firm demand ) หน่ึงของผู้ผลิตรายใดรายหน่ึง 3. อุปสงค์ของตลาด คือ อุปสงค์ของสินค้าชนิดใดชนิด ( market demand ) หนึ่งของทุกหน่วยผลติ หรือ ของผู้บริโภคทุกคน 4. อุปสงค์มวลรวม คือ อุปสงค์ของสินค้าทุกชนิด ( aggregate demand ) รวมกันท้ังระบบเศรษฐกจิ 5. อุปสงค์จากภายนอก คือ อุปสงค์ของประเทศอ่ืนๆ ต่อ ประเทศ ( foreign demand ) สินค้าและบริการของประเทศ

ตารางแสดงอุปสงค์รายบุคคลและอปุ สงค์ ตลาด ราคาส้ม ปริมาณซื้อ ปริมาณซื้อ ปริมาณซื้อ (บาท) (ก.ก.) (ก.ก.) รวม(ก.ก.) นาย ก นาย ข ของตลาด 40 3 2 5 70 1 1 2

กราฟแสดงอปุ สงค์รายบุคคลและอปุ สงค์ ตลาด ราคา (P) ราคา (P) ราคา (P) 70 70 70 Dตลาด 40 Dก 40 Dข 40 ป(Qริม) าณ 0 1 23 (Q) (Q) 45 ปริมาณ ปริมาณ 012 3 02 อปุ สงค์ นาย ก อปุ สงค์ นาย ข อปุ สงค์ ตลาด

การเปลีย่ นแปลงปริมาณซื้อ การเปลยี่ นแปลงปริมาณซื้อ ( change in quantity demand) หมายถงึ การทตี่ วั กาหนดโดยตรง คือราคาสินค้าได้เปลย่ี นแปลงไปอนั มผี ลทา ให้ปริมาณซื้อเปลย่ี นแปลงไปด้วยตามกฎ ของอุปสงค์ ส่วนตัวกาหนดโดยอ้อมท้งั หมายสมมตวิ ่า อยู่คงท่ี การเปลย่ี นแปลงจงึ เป็ น “ การย้ายตาแหน่งจดุ บนเส้นอุปสงค์ ”

การเปล่ยี นแปลงปริมาณซื้อ ราคา (P) P1 A P2 B D 0 Q1 Q2 จานวน (Q) จากรูป แสดงการใช้บริการรถโดยสารขสมก. - สมมตวิ ่าเดมิ ราคาค่ารถโดยสาร อยู่ ณ ระดับ P1 บาท ปริมาณการใช้บริการจะอยู่ที่ Q1 หน่วย - ต่อมาราคาค่ารถโดยสาร อยู่ท่ี P2 บาท ปริมาณการ ใช้บริการจะเพมิ่ ขนึ้ ไปท่ี จุด Q2 หน่วย - จะเหน็ ได้ว่ามกี ารเคลื่อนย้ายจากจุด A ไปยงั จุด B บนเส้นอปุ สงค์เดมิ

การเปลย่ี นแปลงอปุ สงค์ การเปลย่ี นแปลงอุปสงค์ ( change in demand) หมายถงึ การทตี่ วั กาหนดอุปสงค์ โดยอ้อม เช่น รายได้ รสนิยม ราคาสินค้า อื่น เป็ นต้น ตัวใดตัวหน่ึง หรือหลายตวั เปลยี่ นแปลงไป แล้วมผี ลทาให้ปริมาณซื้อ เพมิ่ ขนึ้ เช่น ค่ารถโดยสารจะเพม่ิ ขนึ้ เม่ือ ราคาค่ารถแทก็ ซ่ีเพม่ิ ขนึ้ การเปลี่ยนแปลง จึงเป็ น “ การเปลย่ี นแปลงระดบั อปุ สงค์ ”

การเปลย่ี นแปลงอุปสงค์ ราคา(P) P AB D1 D2 0 Q1 Q2 จานวน (Q) จากรูป แสดงการใช้บริการรถโดยสารขสมก. - สมมตวิ ่าเดิมการใช้บริการรถโดยสาร ขสมก. อยู่ ณ เส้น อปุ สงค์ D1 - ต่อมาราคาค่ารถแทกซ่ีซึ่งเป็ นราคาสินค้าชนิดอื่นท่ี เกยี่ วข้องแพงขนึ้ โดยทค่ี ่ารถโดยสารไม่เปลย่ี นแปลง จะมผี ล ทาให้อปุ สงค์การใช้บริการรถโดยสารเพมิ่ ขนึ้ จากเดิม D1 ย้ายไป ทางขวาเมือของเส้นอปุ สงค์เดมิ คือ D2 ทง้ั น้ีเนื่องจาก รถโดยสารและรถแทก็ ซี่เป็ นสินค้าทใ่ี ช้ทดแทนกนั ได้

อุปทาน (Supply ) อุปทาน (Supply) หมายถงึ ปริมาณของสินค้าและบริการชนิด ใดชนิดหน่ึงทผ่ี ู้ผลติ พร้อมทจ่ี ะเสนอขาย หรือผลติ ออกขาย ในระยะเวลาหน่ึง ณ ระดบั ราคาต่าง ๆ หรือ ช่วงเวลาต่าง ๆ

ปัจจัยท่ีเป็ นตวั กาหนดอปุ ทาน ตวั กาหนดอปุ ทาน หมายถึง ตัวแปร (variable) หรือปัจจัยต่าง ๆทมี่ อี ทิ ธพิ ลต่อจานวนสินค้าและบริการซึ่งผู้ผลติ ้องการ ทจ่ี ะผลติ ออกขาย ปัจัยเหล่านีม้ อี ทิ ธพิ ลต่อปริมาณขาย มากน้อยไม่เท่ากนั ซึ่งสามารถแยกพจิ ารณาได้ดังนี้ 1. ราคาของสินค้าน้ัน 5.เป้าหมาของธุรกจิ หรือผู้ผลติ 2. ราคาของสินค้าอื่นที่ 6.สภาพเทคโนโลยที ใี่ ช้ในการ เกยี่ วข้อง ผลติ 3. ราคาของปัจจัยการ 7.สภาพดนิ ฟ้าอากาศหรือ ผลติ ฤดูกาล 4. จานวนของผู้ผลติ หรือผู้ขาย ในตลาด

ปัจจัยทีเ่ ป็ นตวั กาหนดอุปทาน สามารถแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างปริมาณขาย กบั ตัวกาหนดอปุ ทานเหล่านีไ้ ด้ด้วยฟังก์ชันอปุ ทานดงั นี้ Qx = f (Px, B1, B2, B3, B4, B5, B6) กาหนดให้ Qx = ปริมาณขายสินค้า X Px = ราคาสินค้า X B1 = ราคาสินค้าอ่ืนทเี่ กยี่ วข้อง B2 = ราคาของปัจจยั การผลติ B3 = นวนผู้ผลติ หรือผู้ขายในตลาด B4 = เป้าหมายของธุรกจิ หรือผู้ผลติ B5 = สภาพเทคโนโลยที ใี่ ช้ในการผลติ B6 = สภาพดินฟ้าอากาศหรือฤดูกาล

กฎของอปุ ทาน กฎของอปุ ทาน (Law of supply) “ เมื่อกาหนดให้ปัจจัยอื่น ๆ คงท่ี ปริมาณขายของสินค้าและบริการชนิดใดชนิด หนึ่งท่ผี ู้ผลติ เสนอขายย่อมเปลย่ี นแปลงไป ในทางเดียวกนั กบั ราคาของสินค้าและบริการ ชนิดน้ันเสมอ” หมายความว่า เม่ือราคาสินค้าสูงข้นึ ผ้ผู ลิตมีความเต็มใจทจ่ี ะผลติ สินค้าออกขาย มากขึน้ แต่เมื่อราคาสินค้าลดลง ผ้ผู ลิตจะผลิต สินค้าน้อยลง

กฎของอปุ ทาน กฎของอุปทาน สามารถสรุปได้ดงั นี้ “ เมื่อราคาสินค้า (P) ปรับตัวสูงขึ้น ปริมาณความต้องการผลิตหรือเสนอขาย (Q) ของผ้ผู ลติ หรือผ้ขู ายเพม่ิ ขน้ึ ” ในทางกลบั กนั “ เมื่อราคาสินค้า (P) ปรับตัวลดลง ปริมาณความต้องการผลิตหรือเสนอขาย (Q) ของผ้ผู ลติ หรือผ้ขู ายลดลง (P  Q  ) (P  Q  )

ตารางแสดงจานวนสินค้าทผ่ี ู้ผลติ รายหนึ่งยนิ ดี นาออกขาย ณ ระดับราคาต่างๆ ราคาสินค้า (บาท) ปริมาณขายสินค้า (หน่วย) 10 20 8 6 15 4 2 10 5 1

กราฟแสดงลกั ษณะของเส้นอุปทาน ราคา (P) S 10 (P  Q  ) 8 (P  Q  ) 6 ปริมาณ (Q) 5 10 15 20 4 2 01

ลกั ษณะของเส้นอปุ ทาน ลกั ษณะเส้นของอปุ ทาน จำกกรำฟสำมำรถสรุปลกั ษณะของเสน้ อุปทำน ไดด้ งั น้ี “ เป็ นเส้นตรง หรือ เส้นโค้ง ลาดขน้ึ จากซ้ายไปขวา มีค่าความชันเป็ นบวก ”

ตารางแสดงอปุ ทานรายบุคคลและอปุ ทาน ตลาด ราคาส้ ม ปริมาณขาย ปริมาณขาย ปริมาณขาย (บาท) (ก.ก.) (ก.ก.) รวม (ก.ก.) 40 นาย A นาย B ของตลาด 70 10 10 20 20 30 50

กราฟแสดงอปุ ทานรายบุคคลและ อุปทานตลาด ราคา (P) ราคา (P) ราคา (P) SA S S B ตลา 70 70 70 ด 40 40 40 ปร(ิมQา)ณ 0 10 20 30 40 ปริม(าQณ)0 10 20 30 40 ปณริม(Qา) 0 10 20 30 40 50 อุปทาน นาย A อุปทาน นาย B อปุ ทาน ตลาด

การเปลยี่ นแปลงปริมาณขาย การเปลยี่ นแปลงปริมาณขาย ( change in quantity supply) หมายถึง เกดิ จากราคาสินค้า เปลย่ี นแปลงไปทาให้ปริมาณขายหรือจานวน ผลผลติ เปลย่ี นแปลงไปด้วยตามกฎของอปุ ทาน โดยสมมตใิ ห้ตวั กาหนดอปุ ทานโดยอ้อมอยู่คงที่ การเปลยี่ นแปลงปริมาณขายเป็ นการย้ายจากจุด หน่งึ ไปยงั อกี จุดหน่งึ บนเส้นอปุ ทานเส้นส่วน ตวั กาหนดโดยอ้อมท้งั หมายสมมตวิ ่าอยู่คงที่ การ เปลย่ี นแปลงจึงเป็ น “ การย้ายตาแหน่งจดุ บนเส้นอปุ ทาน ”

การเปลย่ี นแปลงปริมาณขาย ราคา (P) P1 A P2 B D 0 Q2 Q1 จานวน (Q) จากรูป แสดงราคาข้าวเปลือก - สมมตวิ ่าเดิมราค้าวเปลือกอยู่ ณ ระดับ P1 บาท ปริมาณการใช้บริการจะอยู่ท่ี Q1 หน่วย - ต่อมาราคาข้าวเปลือกลดลงมาอยู่ท่ี P2 บาท ปริมาณขายจะลดลงเป็ น Q2 หน่วย - จะเห็นได้ว่ามกี ารเคล่ือนย้ายจากจุด A ไปยงั จุด B บนเส้นอปุ ทานเดมิ

การเปลย่ี นแปลงอปุ ทาน ราคา(P) S1 S2 P AB 0 Q1 Q2 จานวน (Q) จากรูป แสดงการใช้บริการรถโดยสาร ขสมก. - สมมตวิ ่าเดมิ อุปทานเดมิ ของเกษตรกรรายหน่ึงในการผลติ ข้าวเปลือก ถ้าราคาข้าวเปลือก อยู่ ณ ระดบั ราคา P เกษตรกรจะขาย ข้าวเปลือกอยู่ ณ ระดบั Q1 ณ จดุ A - ต่อมาเกษตรกรทานามากขึน้ มผี ลผลติ เพมิ่ ขนึ้ ในขณะที่ ราคา ข้าวเปลือกยงั อยู่ ณ ระดบั ราคา P เกษตรกรจะขายข้าวเพม่ิ ขึน้ ณ ระดบั Q2 ณ จุด B - ปริมาณขายเพมิ่ ขนึ้ หรืออุปทานเพม่ิ ขึน้ จะเป็ นผลทาให้เส้น อุปทานเดมิ S1 ย้ายไปทางขวาเป็ นเส้น S2

ดุลยภาพของตลาด ดลุ ยภาพของตลาด ( Market Equilibrium) หมายถึง ณ ระดบั ราคาใด ราคาหนงึ่ ซ่ึง ปริมาณสินค้าทผี่ ู้บริโภคต้องซื้อจะเท่ากบั ปริมา รณสินค้าทผี่ ้ผู ลติ ต้องการจะผลติ ออกขายใน ขณะเดยี วกนั พอใด มผี ลทาให้เกดิ ราคาดุลยภาพ (equilibrium price) และปริมาณดุลยภาพ (equilibrium quantity) เรียกสภาวะน้นั ว่า “ ดลุ ยภาพตลาด” ( market equilibrium) ราคา ดุลยภาพและปริมาณดลุ ยภาพนี้ เม่ือเกดิ ขึน้ แล้ว จะคงอยู่เช่นน้นั ตราบใดทอี่ ปุ สงค์และอปุ ทานไม่ เปลย่ี นแปลง

การกาหนดเป็ นดุลยภาพของตลาด และกลไกการปรับตัวเข้าสู่ดุลยภาพ ตารางอปุ สงค์และอปุ ทานของตลาด ราคา (บาท) 53 1 ปริมาณเสนอซื้อ 1,000 3,000 5,000 ปริมาณการเสนอขาย 5,000 3,000 1,000 ราคา (P) (Excess Supply) อุปทานสาวนเกนิ S 5 3 E จดุ ดลุ ยภาพ 1 D ปริมาณ (Q) 0 1,000 3,000 5,000 อปุ สงคส์ ่วนเกิน (Excess Demand)

ดุลยภาพตลาด และการปรับตวั เข้าสู่ดุลยภาพ ราคา (P) (Excess Supply) S อปุ ทานสาวนเกิน P1 P0 E จดุ ดลุ ยภาพ P2 D อุปสงค์ส่ วนเกิน 0 (Excess Demand) ปริมาณ (Q) Q1 Q0 Q2 - ณ ราคา 0P1 ปริมาณซื้อจะเท่ากบั 0Q1 ปริมาณเสนอขายมาก ถึง 0Q2 ณราคาทปี่ ริมาณขายมากกว่าปริมาณซื้อจะก่อให้เกดิ “อปุ ทานส่วนเกนิ (Excess Supply)” - ณ ราคา 0P2 ปริมาณซื้อจะเท่ากบั 0Q2 ปริมาณเสนอขายมี เพยี งแค่ 0Q1 ณราคาทปี่ ริมาณน้อยกว่าปริมาณซื้อจะก่อให้เกดิ “อปุ สงค์ส่วนเกนิ (Excess Demand)”

การเปลย่ี นแปลงดลุ ยภาพของตลาด การเปลยี่ นแปลงภาวะดลุ ยภาพเกดิ ขนึ้ จาก 1. อปุ สงค์เปลย่ี นแปลงในขณะทอ่ี ุปทานคงท่ี 2. อปุ ทานเปลย่ี นแปลงในขณะทอี่ ุปสงค์คงท่ี

อปุ สงค์เปลยี่ นแปลงในขณะทอ่ี ปุ ทานคงที่ ราคา (P) ราคา (P) S S PP21 E2 P1 E1 P2 E2 D1 0 E1 D1 D2 Q Q2 ปริมาณ (Q) 0 D2ปริมาณ Q Q1 (Q) อปุ สงคเ์ ปล่ียน1แปลงเพิ่มขนึ้ อปุ สงคเ์ ปล่ีย2นแปลงลดลง

อุปทานเปลยี่ นแปลงในขณะทอ่ี ุปสงค์คงท่ี ราคา (P) S1 S2 ราคา (P) S2 S1 PP12 PP12 E1 E2 E2 D 0 D 0 E1 ปริมาณ (Q) Q1Q2 ปริมาณ (Q) 1 Q2 Q1 อปุ ทานเปลี่ยนแปลงเพ่ิมขึน้ อปุ ทานเปล่ียนแปลงลดลง

สวัสดคี ะ่

รายวชิ า หลักเศรษฐศาสตร์ รหสั 30200 -1001 หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสูง (ปวส.) อ. สุวฒั นา ธรรมกรณ์ วทิ ยาลยั เทคนิคลพบุรี สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook