แผนการจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๙ เร่อื ง ชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค เวลา ๙ ช่วั โมง แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ เรอ่ื ง คานามและชนดิ ของคานาม เวลา ๑ ชัว่ โมง ผ้สู อน นายจริ ายุทธ ดอนสีชา ********************************************************************************** ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของ ภาษาและพลงั ของ ภาษาภูมิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ ๒. ตัวช้ีวดั ม.๑/๓ วิเคราะหช์ นดิ และหน้าทีข่ องคาในประโยค ๓. สาระสาคญั คานาม เปน็ คาทีใ่ ช้เรยี กช่ือคน สตั ว์ สงิ่ ของ สถานที่ สภาพ อาการ ทง้ั ที่มีตวั ตนและไมม่ ีตวั ตวั ตน แบ่งออกเป็น ๕ ชนิด คือ สามานยนาม วิสามานยนาม สมุหนาม อาการนาม และ ลักษณนาม การเรียนรเู้ ร่ืองคานาม จะทาให้นาไปใชไ้ ดถ้ ูกตอ้ ง ๔. จุดประสงค์การเรียนรู้ ( K P A ) ๑. ผู้เรียนสามารถอธิบายความหมายของคานามได้ (K) ๒. ผู้เรียนสามารถจาแนกชนดิ ของคานามได้(P) ๓. ผเู้ รียนเข้ารว่ มกิจกรรมดว้ ยความสนกุ สนาน (A) ๕. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียนสาคญั ๑. ความสามารถในการส่ือสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ ๖. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๑. มีวนิ ัย ๒.ใฝเุ รยี นรู้ ๓. ม่งุ มัน่ ในการทางาน ๗. ภาระงาน/ช้ินงาน ๑. แบบทดสอบหลังเรยี น เร่ือง คานามและชนดิ ของคานาม ๒. แบบฝึกหัด เรื่อง คานามและชนดิ ของคานาม
๘. สาระการเรยี นรู้ คานามและชนดิ ของคานาม ๙. กิจกรรมการเรียนรู้ ๙.๑ ขน้ั นาเขา้ ส่บู ทเรยี น ๑. เชค็ ชื่อสร้างสรรค์ โดยให้นกั เรยี นพูดคาอะไรกไ็ ด้ คนละ ๑ คา แล้วครเู ขยี นบนกระดาน เมอื่ ครบหมดทุกคนแลว้ ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันพจิ ารณาวา่ คาใดเปน็ คานามบา้ ง ๒. ครแู จง้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เรอื่ ง คานาม ๙.๒ ขั้นดาเนนิ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. ครูแจกใบความรู้เร่ืองคานามและชนิดของคานาม ให้นักเรยี นได้ศึกษาเนื้อหา ๒. ครูอธิบายเพ่ิมเติมเกย่ี วกับคานามและชนดิ ของคานาม ๓. แบ่งนกั เรยี นออกเป็น ๒ กลุม่ กล่มุ ละ ๓–๔ คน เล่นเกมจาแนกแยกคานาม โดยให้แต่ ละกุลม่ จับฉลากเลอื กชดุ บตั รภาพ-คา กลมุ่ ทีไ่ ด้ชดุ บัตรภาพ-คาที่ ๑ เป็นกลุม่ ที่ได้เลน่ กอ่ น กติกาการเลน่ เกม แต่ละกล่มุ จะได้บัตรภาพ-คาจานวน ๓๐ ใบ ใหน้ กั เรียนหยิบ บตั รภาพ-คา ทลี ะใบ ไปหย่อนลงในกล่องคานาม ๕ กล่อง กลอ่ งที่ ๑ สามานยนาม กลอ่ งท่ี ๒ วสิ ามานยนาม กลอ่ งท่ี ๓ สมุหนาม กล่องที่ ๔ อาการนาม และกล่องที่ ๕ ลกั ษณนาม ให้ถกู ต้อง ภายในเวลา ๓ นาที ๔. ครูและเพอ่ื นรว่ มชั้นเรียนทั้งหมด พจิ ารณาวา่ บตั รภาพ-คา ถูกหย่อนลงกล่องท่ีถูกต้อง หรอื ไม่ กลมุ่ ใดได้คะแนนสงู สดุ เปน็ ฝุายชนะ ๙.๓ ขน้ั สรุป ครูและนกั เรียนรว่ มกันสรุปองค์ความรเู้ รอ่ื งคานาม วา่ มีความจาเป็นต่อการดารงชวี ติ และเสนอแนะแนวทางท่ีนาไปใช้ในการดารงชวี ติ ๙.๒ ข้นั วัดและประเมินผล ๑. ครูให้นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียน จานวน ๑๐ ข้อ ๒. ครใู ห้นักเรียนทาแบบฝึกหดั เป็นการบา้ น ๑๐. ส่อื การเรียน/แหลง่ เรียนรู้ ๑. กจิ กรรมเช็คชื่อสรา้ งสรรค์ ๒. ใบความรู้ เรือ่ ง คานามและชนิดของคานาม ๓. เกมจาแนกแยกคานาม ๔. บตั รภาพ -คา ๕. กลอ่ งกระดาษ ๖. แบบทดสอบหลงั เรียน เร่อื ง คานามและชนิดของคานาม ๗.แบบฝึกหัด เรอ่ื ง คานามและชนิดของคานาม
แหล่งเรยี นรู้ – ๑๑. การวัดผลและประเมินผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) วิธกี ารวัดผลประเมินผล เคร่ืองมือการวดั ผลประเมนิ ผล เกณฑก์ ารประเมินผล ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ ๗๐ การทาแบบทดสอบหลังเรยี น แบบทดสอบหลั จานวน ๑๐ ข้อ ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ ๗๐ การทาแบบฝึกหัด แบบฝึกหดั ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P) เครอ่ื งมือการวดั ผลประเมนิ ผล เกณฑก์ ารประเมินผล วิธีการวัดผลประเมินผล แบบประเมนิ ผลปฏิบตั ิงานกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์ ระดับคุณภาพ ดีขึ้นไป การประเมินผลการปฏิบตั งิ านกลมุ่ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A) เครอื่ งมอื การวดั ผลประเมินผล เกณฑ์การประเมนิ ผล วธิ ีการวดั ผลประเมินผล แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์ ระดบั คุณภาพ ดีขน้ึ ไป การสังเกต พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมเปน็ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม รายบุคคล เป็นรายบุคคล เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล ดมี าก 1. ถกู ต้อง ๘๐ % ขน้ึ ไป ดี 2. ถกู ตอ้ ง ๗๐ – ๗๙ % พอใช้ 3. ถูกตอ้ ง ๖๐ – ๖๙% ปรบั ปรุง 4. ต่ากว่า ๖๐ %
๑๒. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรียนรู้ ๑๒.๑ ผลการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................. .............................................. ....................................................................................................................................................... .................... ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ....................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ๑๒.๒ ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. .................................................. ....................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ๑๒.๓ แนวทางการแกไ้ ขปญั หา ....................................................................................................... .................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ....................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ลงช่ือ......................................ผู้บนั ทกึ (นายจริ ายุทธ ดอนสชี า) ตาแหน่ง ครผู ู้สอน
ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของครพู ี่เล้ยี ง ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... ลงชอื่ ................................................ (นางสาวสภุ าพรณ์ สขุ ันธ)์ ครูพี่เลีย้ ง ............ / ............ / .......... ความคดิ เห็นของหัวหนา้ ฝา่ ยวิชาการ ............................................................................................................................................................................... .................................................................................................... ........................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... ลงชอื่ ................................................ (นางสาวสุภาพรณ์ สขุ นั ธ์) หวั หนา้ ฝาุ ยวชิ าการ/รองผอู้ านวยการฝาุ ยวชิ าการ ............ / ............ / .......... การพิจารณาอนุมัติของผ้อู านวยการโรงเรยี น อนุมัติให้สอนได้ ไมอ่ นุมัติ เนอ่ื งจาก ............................................ อ่ืน ๆ เพิ่มเติม ...................................................................................... ลงช่ือ ................................................ (พระครูศรีปริยัติวรากร) ผู้อานวยการโรงเรียน ............ / ............ / ..........
ภาคผนวก ภาคผนวก ก - ใบความรู้ เร่ือง คานามและชนดิ ของคานาม ภาคผนวก ข - แบบทดสอบหลังเรยี น เร่ือง คานามและชนดิ ของคานาม - แบบฝึกหัดเร่ือง คานามและชนดิ ของคานาม ภาคผนวก ค - แบบบันทกึ คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น เร่ือง คานามและชนิดของคานาม - แบบประเมนิ ผลการปฏิบัติงานกลมุ่ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นรายบุคคล
ภาคผนวก ก ใบความรู้ เร่ืองคานามและชนิดของคานาม คานามแบ่งออกเปน็ ๕ ชนิด คอื ๑ สามานยนาม คอื คาทใ่ี ช้เรียกชอ่ื นามทั่ว ๆไป ไมเ่ จาะจง ระบคุ วามหมายกว้าง ๆ เชน่ คน สตั ว์ พืช หมา แมว ตน้ ไม้ ดอกไม้ วัด โรงเรยี น กวี นกั วทิ ยาศาสตร์ นกั กีฬา ทหาร นกั รอ้ ง ฯลฯ ๒ วิสามานยนาม คือ คาที่ใช้เรยี กชือ่ นามที่เฉพาะเจาะจง ระบุความหมายแคบและชี้เฉพาะ เช่น นายจนั หนวดเขี้ยว เจ้าตินตนิ (สนุ ัข) มาดอนน่า(นักร้อง) เตรยี มอุดมศึกษา(โรงเรยี น) สุนทรภู่ บิล คลนิ ตัน บีโธเฟน ๓ สมหุ นาม คอื คาที่ใชเ้ รยี กชอื่ นามที่เปน็ หมวดหมู่ บง่ บอกจานวนมาก เช่น คณะ ฝูง กอง นิกาย บริษทั สารบั กก๊ เหลา่ ชดุ กลมุ่ โขลง หมู่ ๔ อาการนาม คอื คานามท่ีบอกกิรยิ าอาการ อารมณ์ความรูส้ ึก สภาวะในจิตใจ ใชก้ ารและความ นาหนา้ คากรยิ าและวเิ ศษณ์ (อาการ บ,ส-ความเปน็ อยู่ ความเปน็ ไป สภาพ+นาม) เชน่ การว่งิ การเดิน การนอน การอา่ นหนังสือ การออกกาลังกาย ความดี ความช่ัว ความงว่ ง ความงาม ความ สะอาด ความสขุ ๕ ลักษณนาม คือ คาท่ใี ช้บอกลักษณะรปู พรรณสณั ฐานของ คานามทว่ั ไป ลักษณะนามเปน็ เอกลักษณ์ของภาษาไทยประการหนึง่ แสดงใหเ้ ห็นความละเอยี ดลออในการใช้ภาษา ลักษณะนามแบง่ ออกเป็น ๖ กลุ่มดงั น้ี ๑. บอกชนดิ เชน่ พระภกิ ษุ, สามเณร, บาทหลวง, - รูป ยกั ษ์, ฤาษี - ตน ช้างปาุ - ตวั ช้างบา้ น - เชอื ก ๒. บอกอาการ เชน่ บุหร่ี - มวน พลู - จบี ไต้ - มัด ขนมจนี - จบั ,หวั ผา้ - พับ คมั ภรี ์ใบลาน - ผกู ๓. บอกรูปรา่ ง เช่น รถ - คัน บา้ น,เปยี โน,จักร - หลงั ดินสอ - แทง่ ปากกา - ด้าม กล้วย - เครอื ,หวี ลูก ๔. บอกหมวดหมู่ เชน่ ฟืน - กอง ทหาร - หมวด พระ - นกิ าย นกั เรยี น - คณะ ละคร - โรง กับขา้ ว - สารบั ๕. บอกจานวนมาตรา เชน่ ตะเกยี บ - คู่ ดินสอ - โหล เงิน,ทอง - บาท ผ้า - เมตร ท่ดี ิน - ไร่,งาน,ตารางวา ๖. ซา้ คานามขา้ งหน้า เช่น วดั - วดั โรงเรียน - โรง คะแนน - คะแนน คน - คน อาเภอ - อาเภอ จงั หวดั – จงั หวัด
ภาคผนวก ข โรงเรียนดอนธาตุนรงคว์ ิทยา วชิ าภาษาไทย แบบทดสอบ เร่อื ง คานามและชนิดของคานาม ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ช่ือ...........................................................................นามสกุล............................................................ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คาชแี้ จงให้นกั เรยี นเลือกคาตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว ๑. ข้อใดเป็นความหมายของคานาม ๖. ฝงู ลูกเปด็ ขเี้ หลก่ าลังวา่ ยน้ามากบั อรทัย คาวา่ ฝงู ก. เป็นคาท่ีทาหน้าที่ขยายคาต่างๆ เปน็ คานามประเภทใด ข. เป็นคาที่ใช้แสดงความรู้สึกของคน สัตว์ ก.สมหุ นาม ข.ลกั ษณนาม ค. เป็นคาท่ีใช้แทนชื่อคน สัตว์ สิ่งของ และสถานที่ ค.สามานยนาม ง.วิสามานยนาม ง. เป็นคาที่ใช้เรียกช่ือคน สัตว์ สิ่งของ และสถานที่ ๗. ธนากรซ้อื ขนมถวั่ ทห่ี นา้ โรงเรียนดอนธาตุนรงค์วทิ ยา ๒. ข้อใดเป็นคานามทุกข้อ จากประโยค คานามท่ที าหน้าที่เป็นกรรมคือคาใด ก. พูดดี - ตัวดา ก.ธนากร ข. น้าตก - ลาบ ข.ขนมถั่ว ค. ความชั่ว- มีสูง ค.โรงเรยี นมาบตาพดุ พนั พิทยาคาร ง. กลองใหญ่ – ใกล้ฝ่ัง ง.ซอ้ื ๓. ประโยคใดใช้ลักษณะนามถูกต้อง ๘. วสิ ามานยนาม หมายถงึ ข้อใด ก.ดินสออันน้ันเป็นของใครไม่รู้ ก. นามบอกอาการ ข.ปากกาด้ามนั้นเป็นของฉันเองค่ะ ข.นามที่บอกลักษณะของนามทีอ่ ยู่ขา้ งหน้า ค.หนังสือวางอยู่บนโต๊ะ ๒ แผ่นแค่นั้นเหรอ ค.นามท่ใี ชเ้ รยี กช่ือทั่วๆไป ง.มีเคร่ืองบิน ๓ คัน กาลังผาดโผนในอากาศ ง.นามทีเ่ ปน็ ช่ือเฉพาะ ๔. ประโยคใดที่มีคานามทาหน้าท่ีเป็นประธานและกรรม ๙. คาว่า ขนั ในข้อใดเปน็ คานาม ตามลาดับ ก.นกเขาขนั ไพเราะ ก.ครูตีนักเรียน ข.ฉันร้องไห้ ข.คุณศริ ิกุลกาลงั เช็ดขันน้า ค.นกบินสูงจังเลย ง.วันนี้ฝนตกหนักมาก ค.ธนากรขนั นอ็ ตดงั อ็อดๆ ๕. ศุภกรซื้อไข่ปิ้งมา ๓ ไม้ คาว่า ไม้ เป็นนามชนิดใด ง.นกั เรียนทาทา่ น่าขนั จรงิ ๆ ก.สมุหนาม ๑๐. ข้อใดเปน็ คานามท่ัวไป ข.ลักษณนาม ก.รถยนต์ ค.สามานยนาม ข.ระยอง ง.วิสามานยนาม ค.ดวงอาทิตย์ ง.เพลงแฟนเราเอาแต่ใจ
โรงเรยี นดอนธาตนุ รงค์วทิ ยา เฉลย วิชาภาษาไทย แบบทดสอบ เรือ่ ง คานามและชนดิ ของคานาม ชั้น มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ ชอ่ื ...........................................................................นามสกุล............................................................ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คาช้แี จงใหน้ ักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว ๑. ข้อใดเป็นความหมายของคานาม ๖. ฝงู ลูกเป็ดขเี้ หล่กาลงั วา่ ยนา้ มากบั อรทยั คาวา่ ฝูง ก. เป็นคาที่ทาหน้าที่ขยายคาต่างๆ เป็นคานามประเภทใด ข. เป็นคาที่ใช้แสดงความรู้สึกของคน สัตว์ ก.สมุหนาม ข.ลกั ษณนาม ค. เป็นคาที่ใช้แทนช่ือคน สัตว์ สิ่งของ และสถานที่ ค.สามานยนาม ง.วิสามานยนาม ง. เป็นคาที่ใช้เรียกช่ือคน สัตว์ ส่ิงของ และสถานท่ี ๗. ธนากรซ้ือขนมถว่ั ทห่ี นา้ โรงเรียนดอนธาตนุ รงคว์ ทิ ยา ๒. ข้อใดเป็นคานามทุกข้อ จากประโยค คานามท่ที าหน้าทเ่ี ปน็ กรรมคอื คาใด ก. พูดดี - ตัวดา ก.ธนากร ข. น้าตก - ลาบ ข.ขนมถั่ว ค. ความชั่ว- มีสูง ค.โรงเรยี นมาบตาพดุ พนั พทิ ยาคาร ง. กลองใหญ่ – ใกล้ฝั่ง ง.ซ้อื ๓. ประโยคใดใช้ลักษณะนามถูกต้อง ๘. วิสามานยนาม หมายถึงข้อใด ก.ดินสออันน้ันเป็นของใครไม่รู้ ก. นามบอกอาการ ข.ปากกาด้ามนั้นเป็นของฉันเองค่ะ ข.นามทีบ่ อกลักษณะของนามท่ีอยูข่ า้ งหนา้ ค.หนังสือวางอยู่บนโต๊ะ ๒ แผ่นแค่น้ันเหรอ ค.นามท่ีใช้เรียกชอื่ ทั่วๆไป ง.มีเคร่ืองบิน ๓ คัน กาลังผาดโผนในอากาศ ง.นามทีเ่ ป็นชื่อเฉพาะ ๔. ประโยคใดที่มีคานามทาหน้าท่ีเป็นประธานและกรรม ๙. คาวา่ ขัน ในข้อใดเป็นคานาม ตามลาดับ ก.นกเขาขันไพเราะ ก.ครูตีนักเรียน ข.ฉันร้องไห้ ข.คุณศิรกิ ลุ กาลังเช็ดขันน้า ค.นกบินสูงจังเลย ง.วันนี้ฝนตกหนักมาก ค.ธนากรขนั นอ็ ตดังออ็ ดๆ ๕. ศุภกรซ้ือไข่ปิ้งมา ๓ ไม้ คาว่า ไม้ เป็นนามชนิดใด ง.นักเรยี นทาทา่ น่าขันจริงๆ ก.สมุหนาม ๑๐. ข้อใดเปน็ คานามทว่ั ไป ข.ลักษณนาม ก.รถยนต์ ค.สามานยนาม ข.ระยอง ง.วิสามานยนาม ค.ดวงอาทติ ย์ ง.เพลงแฟนเราเอาแต่ใจ เฉลย ๑.ง ๒.ข ๓.ข ๔.ก ๕.ข ๖.ก ๗.ข ๘.ง ๙.ข ๑๐.ก
โรงเรียนดอนธาตุนรงคว์ ิทยา วิชาภาษาไทย แบบฝึกหดั เรอื่ ง คานามและชนิดของคานาม ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ชือ่ ...........................................................................นามสกุล............................................................ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คาช้ีแจง ให้นกั เรียนพจิ ารณาคาท่ขี ดี เส้นใต้ในแต่ละข้อแลว้ ตอบว่าเปน็ คานาม ชนดิ ใดโดยเลอื กคาตอบจากกรอบส่ีเหลี่ยม คานามทวั่ ไป คานามบอกลกั ษณะ คานามบอกหวดหมู่ คานามบอกอาการ คานามเฉพาะ ข้อ ประโยค ชนิดของคา ตวั อย่าง ฉนั ชอบเลี้ยงแมว คานามท่ัวไป ๑ ภาวณิ ชี อบรอ้ งเพลง ๒ การนอนอย่างเพียงพอทาใหส้ ขุ ภาพดี ๓ ความพยายามอยู่ทีไ่ หนความสาเร็จอยู่ท่ีนนั่ ๔ ฉันซือ้ ปากกามา ๒ ดา้ ม ๕ แมไ่ ก่กาลังฟักไขอ่ ย่บู นกองฟาง ๖ เด็กเริ่มหดั เขียนตอ้ งใช้ดนิ สอ ๗ คุณครมู อบรางวลั เรียนดใี หก้ บั ไข่มุก ๘ เขารู้สกึ ภาคภูมิใจในคุณความดีทเ่ี ขาไดท้ าไว้ ๙ ปากกาดา้ มนีเ้ ขียนลน่ื ดจี ัง ๑๐ คณุ แพรชมพูไว้ผมทรงนี้เข้ากบั ใบหนา้ ดีมาก
โรงเรยี นดอนธาตนุ รงค์วทิ ยา เฉลย วชิ าภาษาไทย แบบฝกึ หดั เรอ่ื ง คานามและชนิดของคานาม ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ ชอื่ ...........................................................................นามสกุล............................................................ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นพิจารณาคาทขี่ ีดเส้นใต้ในแตล่ ะขอ้ แลว้ ตอบว่าเป็นคานาม ชนดิ ใดโดยเลอื กคาตอบจากกรอบสี่เหล่ียม คานามทว่ั ไป คานามบอกลกั ษณะ คานามบอกหวดหมู่ คานามบอกอาการ คานามเฉพาะ ขอ้ ประโยค ชนิดของคา ตัวอย่าง ฉนั ชอบเลย้ี งแมว คานามท่วั ไป ๑ ภาวณิ ชี อบร้องเพลง คานามเฉพาะ ๒ การนอนอย่างเพยี งพอทาให้สขุ ภาพดี คานามบอกอาการ ๓ ความพยายามอยู่ทีไ่ หนความสาเรจ็ อยู่ทนี่ ัน่ คานามบอกอาการ ๔ ฉนั ซือ้ ปากกามา ๒ ดา้ ม คานามบอกลักษณะ ๕ แมไ่ กก่ าลังฟกั ไขอ่ ยบู่ นกองฟาง คานามบอกหวดหมู่ ๖ เดก็ เรม่ิ หดั เขยี นต้องใช้ดินสอ ๗ คณุ ครมู อบรางวลั เรียนดใี ห้กบั ไขม่ กุ คานามทั่วไป ๘ เขารูส้ ึกภาคภมู ใิ จในคุณความดีทเี่ ขาได้ทาไว้ คานามเฉพาะ ๙ ปากกาด้ามนเ้ี ขยี นลนื่ ดีจัง คานามบอกอาการ ๑๐ คุณแพรชมพูไว้ผมทรงนี้เขา้ กับใบหนา้ ดมี าก คานามทั่วไป คานามเฉพาะ
ภาคผนวก ค แบบบันทกึ คะแนน แบบทดสอบ เรื่อง คานามและชนดิ ของคานาม โรงเรียน ดอนธาตนุ รงค์วิทยา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ท่ี ชื่อ - สกุล ขอ้ ที่ รวมคะแนน คิดเปน็ ๕๖ (คะแนนเต็ม เปอรเ์ ซน็ ต์ ๑ ๒ ๓ ๔ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๐ คะแนน) ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. คะแนนรวม วิธกี ารบนั ทึก ถ้าตอบถูกต้องใหใ้ สเ่ ครื่องหมาย ถา้ ตอบผิดให้ใส่เครอ่ื งหมาย (เครื่องหมาย เทา่ กับ ๑ คะแนน เครอ่ื งหมาย เทา่ กับ ๐ คะแนน) เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๘๐% - ๑๐๐% ดมี าก ๗๐% - ๗๙% ดี ๖๐% – ๖๙% พอใช้ ตา่ กวา่ ๖๐% ปรับปรงุ
แบบบันทกึ คะแนน แบบฝกึ หัด เรอื่ ง คานามและชนดิ ของคานาม โรงเรียน ดอนธาตุนรงคว์ ิทยา ช้ัน มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ท่ี ชอื่ - สกุล ๑ ๒ ๓ ๔ ขอ้ ที่ ๗ ๘ ๙ รวมคะแนน คิดเป็น ๕๖ (คะแนนเต็ม เปอรเ์ ซน็ ต์ ๑. ๑๐ ๑๐ คะแนน) ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. คะแนนรวม วธิ กี ารบนั ทึก ถา้ ตอบถูกต้องให้ใสเ่ คร่ืองหมาย ถ้าตอบผิดให้ใสเ่ ครอ่ื งหมาย (เคร่ืองหมาย เท่ากับ ๑ คะแนน เครือ่ งหมาย เท่ากับ ๐ คะแนน) เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ ๘๐% - ๑๐๐% ดีมาก ๗๐% - ๗๙% ดี ๖๐% – ๖๙% พอใช้ ต่ากว่า ๖๐% ปรับปรุง
แบบประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานกล่มุ ชอ่ื กลุม่ ................................................................................................ ช้ัน ....................... ............................. คาช้ีแจง : ให้ครสู งั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ลงในช่องท่ตี รง กบั ระดับคะแนน ลาดับท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔๓๒๑ ๑ การแบ่งหนา้ ท่ีกันอยา่ งเหมาะสม ๒ ความร่วมมือกนั ทางาน ๓ การแสดงความคิดเหน็ ๔ การรบั ฟังความคิดเห็น ๕ ความมีน้าใจชว่ ยเหลอื กัน รวม ลงชือ่ ...................................................ผปู้ ระเมิน ............../.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ให้ ๓ คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมน้อยครงั้ ให้ ๒ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดมี าก ให้ ๑ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี ๑๐ - ๑๓ พอใช้ ต่ากวา่ ๑๐ ปรับปรงุ
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมเปน็ รายบคุ คล ชื่อ................................................................................................ ชนั้ ....................... ............................. คาช้ีแจง : ให้ครูสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ลงใน ช่องทต่ี รงกับระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อนั พงึ ประสงค์ด้าน ๔๓๒๑ ๑. มีวินยั รบั ผดิ ชอบ ๑.๑ ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบงั คับของครอบครัว และโรงเรยี น มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบตั กิ จิ กรรมต่างๆ ๒. ใฝ่เรียนรู้ ในชวี ติ ประจาวนั ๓. มุ่งมน่ั ในการทางาน ๒.๑ แสวงหาขอ้ มลู จากแหลง่ การเรยี นรู้ต่างๆ ๒.๒ มกี ารจดบันทึกความร้อู ยา่ งเปน็ ระบบ ๒.๓ สรปุ ความร้ไู ด้อย่างมเี หตผุ ล ๓.๑ มีความตง้ั ใจและพยายามในการทางานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ๓.๒ มคี วามอดทนและไมท่ ้อแท้ตอ่ อุปสรรคเพ่ือใหง้ านสาเรจ็ ลงช่อื ...................................................ผปู้ ระเมิน ............../.................../................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสมา่ เสมอ ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครงั้ ให้ ๔ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครงั้ ให้ ๓ คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ ๒ คะแนน ๒๐ - ๒๔ ดีมาก ให้ ๑ คะแนน ๑๖ – ๑๙ ดี ๑๐ – ๑๕ พอใช้ ตา่ กว่า ๑๔ ปรบั ปรุง
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: