Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้เกี่ยวกับดิจิทัล_clone

ความรู้เกี่ยวกับดิจิทัล_clone

Published by nuttapontippawan7, 2021-05-13 03:02:52

Description: ความรู้เกี่ยวกับดิจิทัล
ณัฐพล-ทิพวัลย์-ส1-12-เลขที่16.

Search

Read the Text Version

เร่ืองท่ี 1 ความหมายของดจิ ทิ ลั ดิจิทลั (digital) อาจสะกดเป็น ดจิ ิทอล หรือ ดิจิตอล หรือในศพั ทบ์ ญั ญตั วิ า่ เชิงเลข ในทฤษฎีขอ้ มูลหรือระบบขอ้ มูล เป็นวธิ ีแทนความหมายของขอ้ มูลหรือช้ินงานตา่ ง ๆ ในรูปแบบของตวั เลข โดยเฉพาะเลขฐานสอง ทไี่ มต่ อ่ เนื่องกนั ซ่ึงตา่ งจากระบบแอนะลอ็ กที่ใชค้ า่ ตอ่ เน่ืองหรือสญั ญาณแอนะลอ็ กซ่ึงเป็นค่าตอ่ เน่ือง หรือแทนความหมาย ของขอ้ มูลโดยการใชฟ้ ังกช์ นั ที่ตอ่ เน่ือง ถึงแมว้ า่ การแทนความหมายเป็นดิจิทลั จะไม่ตอ่ เนื่อง ขอ้ มูลทีถ่ ูกแปลความหมายน้ันสามารถเป็นไดท้ ้งั ไมต่ อ่ เน่ือง(เชน่ ตวั เลขหรือตวั หนงั สือ) หรือตอ่ เน่ือง (เชน่ เสียง, ภาพ และการวดั อ่ืน ๆ) คำวำ่ ดจิ ทิ ลั ท่ีมาจากแหล่งเดียวกนั กบั คาว่า digit และ digitus (ภาษาละตนิ แปลว่า นิ้ว) เพราะนิ้วมอื มกั จะใชส้ าหรบั การนบั ท่ี ไม่ต่อเน่ือง นักคณติ ศาสตร์ จอร์จ CStibitz ของหอ้ งปฏบิ ตั ิการโทรศพั ทเ์ บลล์ใชค้ าว่าดจิ ิทัลในการอา้ งองิ ถงึ พลั สไ์ ฟฟ้าเร็วท่ปี ล่อย ออกมาจากอปุ กรณท์ ่ีออกแบบเพ่ือเลง็ และยงิ ปืนต่อตา้ นอากาศยานในปี 1942 มนั เป็นท่ีนิยมใช้มากท่ีสดุ ในการระบบคานวณและ ระบบอิเล็กทรอนิกสโ์ ดยเฉพาะอยา่ งย่ิงเม่อื ขอ้ มลู ในโลกแห่งความเป็นจริงจะถกู แปลงเป็นรูปแบบตวั เลขฐานสองเชน่ ในเสยี งออดิโอ ดจิ ิทัลและการถ่ายภาพดจิ ิทัล

คุณสมบัติของข้อมลู ดิจทิ ัล ขอ้ มูลดิจิทลั ท้งั หมดมีคุณสมบตั ทิ ว่ั ไปทีแ่ ตกตา่ งจากวธิ ีการส่ือสารแบบอะนาลอ็ ก ดงั น้ี การ Synchronization : เน่ืองจาก ขอ้ มูลดิจิทลั จะถูกลาเลียงโดยลาดบั ในท่ซี ่ึงสญั ลกั ษณไ์ ดถ้ ูกจดั เรียงไว้รูปแบบดิจิทลั ท้งั หมดมีวธิ ีการบางอยา่ งสาหรับการ กาหนดจุดเริ่มตน้ ของลาดบั ภาษา : การส่ือสารแบบดิจิทลั ท้งั หมดตอ้ งใชภ้ าษาซ่ึงในบริบทน้ีจะประกอบดว้ ยขอ้ มูลท้งั หมดที่ผูส้ ่งและผรู้ ับของการส่ือสารแบบดจิ ิทลั ท้งั สองจะตอ้ งมลี ว่ งหน้า เพื่อใหก้ ารส่ือสาร จะประสบความสาเร็จ ภาษาตา่ ง ๆ การคดั ลอก : เพราะการปรากฏตวั ของเสียงรบกวนเป็นส่ิงทห่ี ลกี เลย่ี งไม่ได,้ การทาสาเนาตอ่ เน่ือง หลายคร้ังในการส่ือสารแบบอะนาลอ็ กจะเป็นไปไม่ได้เพราะการทา ข้นึ ใหม่แตล่ ะคร้ังจะไปเพ่ิมเสียงรบกวน เพราะการส่ือสารแบบดจิ ิทลั โดยทว่ั ไปจะไมม่ ีขอ้ ผดิ พลาด ดงั น้ันสาเนาของสาเนาสามารถทาได้ Granularity : เมื่อคา่ อนาลอ็ กทแ่ี ปรอยา่ งตอ่ เน่ืองจะถกู แสดงในรูปแบบดจิ ิทลั จะมีการตดั สินใจเสมอเก่ยี วกบั จานวนของสญั ลกั ษณท์ จ่ี ะกาหนดใหก้ บั คา่ น้ัน จานวนของสัญลกั ษณ์จะเป็นตวั กาหนดความแม่นยาหรือความละเอียดของตวั เลขทเี่ กดิ ข้ึน ความแตกตา่ งระหวา่ งคา่ แอนะลอ็ กทเี่ กิดข้ึนจริ งกบั คา่ ดจิ ิทลั ทถ่ี ูกแปลงมา ไดเ้ ป็นทร่ี ู้จกั กนั วา่ เป็นQuantizing คอื 0.234456544453 คุณสมบตั ขิ องการส่ือสารแบบดิจิทลั น้ีเป็นทรี่ ู้จักกนั วา่ เป็น Granularity บบี อดั ได้ : ตามคาของมิลเลอร์ \"ขอ้ มูลดิจิทลั ที่ไม่ไดถ้ กู บีบอดั จะมีขนาดใหญม่ าก และในรูปแบบดิบ ๆ ของมนั จริง ๆ แลว้ จะผลติ สญั ญาณขนาดใหญ่(ดงั น้ันจึงเป็น เร่ืองยากมากข้นึ ในการถา่ ยโอน)กวา่ ขอ้ มูลอนาลอ็ กอยา่ งไรกต็ ามขอ้ มูลดจิ ิทลั จะสามารถถูกบีบอดั ได้การบบี อดั จะชว่ ยลดปริมาณของแบนดว์ ิดธท์ จ่ี าเป็นในการสง่ ขอ้ มูล

ประเภทของส่ือดจิ ิทลั CD Training คือ การสร้างสื่อดิจิทลั ในลกั ษณะทเ่ี ป็น CD ทใ่ี ชใ้ นการสอน การใชง้ านจะเป็นการใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์ เชน่ การสอนการใชโ้ ปรแกรม Microsoft Word เป็นตน้ นอกจากน้ัน CD Training ยงั ครอบคลุมไปถึงเรื่องการสอนการทางานของโปรแกรมตา่ ง ๆ จะใชเ้ ป็นการสาธิตการทางานของ โปรแกรม เป็นตน้ CD Presentation คือ การสร้างเป็นส่ือดิจิทลั ในลกั ษณะทเ่ี ป็น CD ทใ่ี ชส้ าหรับการนาเสนอในสถานที่ตา่ ง ๆ เชน่ นาเสนอขอ้ มูลในท่ปี ระชุม นาเสนอขอ้ มูลบริษทั ท่เี รียกวา่ Company Profile VCD/DVD คือ การสร้างสื่อดิจิทลั ในลกั ษณะทเี่ ป็น CD ภาพยนตร์ทม่ี ีการตดั ตอ่ ภาพยนตร์ตา่ ง ๆ ในลกั ษณะทเี่ ป็น Movie Clip แลว้ นามาจัดเรียงตอ่ กนั เป็น ภาพยนตร์ 1 เร่ือง เป็นตน้ E-book และ E-ducument คอื การสร้างส่ือดิจิทลั ในลกั ษณะทเ่ี ป็นการทาเป็นหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ ซ่ึงสามารถสร้างโดยการแปลงไฟลเ์ อกสารตา่ ง ๆ ให้เป็ น Webpage หรือเป็น PDF File เป็นตน้

องค์ประกอบของสื่อดจิ ิทลั ขอ้ ความ ข้อความทไ่ี ดจ้ ากการพิมพ์ เป็นขอ้ ความปกติทพ่ี บไดท้ ว่ั ไป ได้จากการพิมพด์ ้วย โปรแกรมประมวลผลงาน(Word Processor) เช่น NotePad, Text Editor, Microsoft Word โดยตวั อกั ษรแต่ละตวั เกบ็ ในรหสั เชน่ ASCII ข้อความจากการสแกน เป็นขอ้ ความในลกั ษณะภาพ หรอื Image ไดจ้ ากการนาเอกสารทีพ่ มิ พไ์ วแ้ ลว้ (เอกสารตน้ ฉบบั ) มาทาการสแกน ด้วยเครอื่ งสแกนเนอร์ (Scanner) ซึ่งจะไดผ้ ลออกมาเป็นภาพ (Image) 1 ภาพ ปจั จบุ นั สามารถแปลงขอ้ ความภาพ เป็นขอ้ ความปกตไิ ด้ โดยอาศยั โปรแกรม OCR ข้อความไฮเปอรเ์ ทก็ ซ์(HyperText) เป็นรปู แบบของขอ้ ความ ทีไ่ ดร้ บั ความนิยมสงู มากใน ปัจจบุ นั โดยเฉพาะการเผยแพรเ่ อกสารในรูปของเอกสารเวบ็ เนื่องจาก สามารถใชเ้ ทคนคิ การลงิ ก์หรือเช่ือมขอ้ ความไปยงั ขอ้ ความหรอื จดุ อ่นื ๆ ได้ เสียง เสียงเป็นองค์ประกอบหนึง่ ทีส่ าคญั ของมลั ติมีเดีย โดยจะถกู จดั เกบ็ อยใู่ นรปู ของสญั ญาณดิจติ อลซง่ึ สามารถเลน่ ซา้ กลบั ไปกลบั มาได้ โดยใชโ้ ปรแกรมท่อี อกแบบมา โดยเฉพาะสาหรบั ทางานด้านเสยี ง ภาพนิ่ง เป็นภาพทีไ่ ม่มีการเคล่อื นไหว เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด และภาพลายเสน้ เป็นตน้ ภาพนงิ่ นบั วา่ มีบทบาทต่อระบบงานมลั ติมีเดยี มากกว่าขอ้ ความหรอื ตัวอกั ษร เนื่องจาก ภาพจะใหผ้ ลในเชงิ การเรยี นรหู้ รอื รบั รดู้ ว้ ยการมองเห็นไดภ้ าพเคลือ่ นไหว ภาพกราฟิ กทม่ี กี ารเคลือ่ นไหวเพ่ือแสดงขนั้ ตอนหรือปรากฏการณต์ ่าง ๆ ท่ีเกิดขึน้ อย่างต่อเนอ่ื ง เชน่ การเคลอ่ื นที่ของลกู สบู ของเครอ่ื งยนต์เป็นต้น วิดีโอ เป็นองค์ประกอบของมลั ติมีเดียทม่ี คี วามสาคญั เป็นอย่างมาก เนอ่ื งจากวดิ ีโอในระบบดิจติ ลั สามารถนาเสนอข้อความ หรือรูปภาพ(ภาพนงิ่ หรือภาพเคล่ือนไหว) ประกอบ กบั เสียงได้สมบรู ณม์ ากกวา่ องคป์ ระกอบชนดิ อ่นื ๆ การนาเสนอภาพเพียง 1 นาทีอาจต้องใชห้ นว่ ยความจามากกวา่ 100 MB ซ่ึงจะทาใหไ้ ฟลม์ ขี นาดใหญ่เกนิ ขนาด และมีประสทิ ธภิ าพในการทางานทด่ี อ้ ยลง สื่อการเรยี นรดู้ ิจทิ ลั สือ่ การเรยี นรดู้ ิจิทลั ได้แก่ สื่อทกุ ชนดิ ท่ีนามาใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน และช่วยเสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจและการเรยี นรขู้ องนกั เรียนและบคุ คลทว่ั ไป

อปุ กรณ์ดิจิทัล ที่จะกล่าวถึงในท่ีนี้ ประกอบด้วย 1. โทรศพั ทเ์ คลือ่ นที่/แทบ็ เลต็ 2. คอมพิวเตอร์ 3. ทีวีดิจิทลั 4. บตั รเครดิต 5. ตเู้ อทเี มม็ /บตั รเอทีเอม็ /สมาร์ทการ์ด

กฎหมายดจิ ิทัลในประเทศไทย ประเทศไทย มีท้งั กฎหมายเดิมที่ระบุเกี่ยวกบั สื่อแตล่ ะประเภท เชน่ ส่ือสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุและโทรทศั น์ โดยกฎหมายทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั อินเทอร์เนต็ โดยตรงกค็ อื พระราชบญั ญตั ิวา่ ดว้ ยการกระทาความผิดเกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2550 หรือ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ กบั พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ และกฎหมายอ่นื ๆ ท่ีไม่ไดค้ วบคุมเฉพาะส่ือ เชน่ ประมวลกฎหมายอาญา วา่ ดว้ ยความผดิ ฐานหม่ินประมาท หรือมาตรา 112 วา่ ดว้ ยความผิดตอ่ องคพ์ ระมหากษตั ริยไ์ ทย หรือมาตราท่วี า่ ดว้ ยส่ือลามกอนาจารเดก็ กฎหมายทรัพยส์ ินทางปัญญา พ.ร.บ.คมุ้ ครองผบู้ ริโภค พ.ร.บ.สอบสวนคดพี ิเศษ เป็นตน้ เม่ือเดือนธนั วาคม 2557 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (ไอซีที) ไดแ้ ตง่ ต้งั คณะทางานทดสอบระบบเฝ้าตดิ ตามสื่อออนไลน์ และตอ่ มาไดม้ ี คาส่ังใหท้ ดสอบเคร่ืองมือและวิธีการพิเศษทีใ่ ชถ้ อดรหัสขอ้ มูลทถ่ี กู เขา้ รหัส นอกจากน้ี ขอ้ มูลจากวิกิลกี ส์ ยงั เปิ ดเผยวา่ สภาความมน่ั คงแหง่ ชาตขิ องไทยเป็น ลูกคา้ ของ Hacking Team อกี ดว้ ย การกาหนดความรับผิดของตวั กลาง เชน่ ผใู้ หบ้ ริการอนิ เทอร์เน็ต นบั เป็นอกี จุดหน่ึงทีอ่ าจทาใหม้ ีการปิ ดก้นั ในระดบั ทใ่ี หญข่ ้ึน ในการกลน่ั กรองหรือปิ ดก้นั ขอ้ มลู เคยมีขา่ ววา่ รัฐบาลไทยมีแนวคดิ จะใช้Single Gateway ควบคมุ การเขา้ ออกของขอ้ มูลขา่ วสารออนไลน์ แมไ้ ม่ได้ นามาใชจ้ ริง แตม่ ีแนวโน้มของการปิ ดก้นั ที่ขยายจากเวบ็ เพจทม่ี ีเน้ือหาน้นั เป็นการเฉพาะไปยงั ระดบั เครือขา่ ยน้นั มีอยู่เพราะขอ้ มูลขา่ วสารทกุ วนั น้ี แพร่กระจายอยา่ งรวดเร็วในทุกทศิ ทุกทางโดยมผี ทู้ าหนา้ ท่สี ่งสารไดม้ าก ๆ ในเวลาเดยี วกนั

การใช้ส่ือดจิ ทิ ัลอย่างปลอดภยั ความปลอดภยั ในโลกดิจิตอล คอื การปกปอ้ งความเป็นสว่ นตวั บนโลกออนไลน์ใหพ้ น้ จากการถกู มิจฉาชีพขโมยขอ้ มูลสว่ นตวั ไปใชป้ ระโยชน์หรือทาให้ เกิดความเสียหายแกเ่ จ้าของขอ้ มูล และยงั หมายความรวมไปถึง การใชเ้ คร่ืองมอื ทางเทคโนโลยี เพื่อรักษาความปลอดภยั น้ีดว้ ย เชน่ โปรแกรมกาจัดไวรัส การใชข้ อ้ มูลทางเอกลกั ษณ์บคุ คลเพ่ือระบุตวั ตน เชน่ ลายน้ิวมือ เคา้ โครงหนา้ เป็นตน้ รอยเทา้ ดิจิทล้ กบั ขอ้ มูลบุคคล การทากจิ กรรมใด ๆ บนอินเทอร์เน็ต เชน่ การส่งอเี มล การส่งภาพข้ึนโซเชียลมีเดีย การใชโ้ ทรศพั ทม์ ือถือ ตลอดจนการแสดงความคดิ เห็นตา่ ง ๆ บน เวบ็ ไซต์ จะมีร่องรอยขอ้ มูล และถกู จัดเกบ็ ไวใ้ ห้เหลอื เป็นร่องรอยอยบู่ นอนิ เทอร์เน็ต ซ่ึงเรียกวา่ “รอยเทา้ ดิจิทล้ ” หรือ digital footprint ดงั น้นั การ ทากิจกรรมบนอนิ เทอร์เน็ต จึงควรทาดว้ ยความระมดั ระวงั และเหมาะสม เพราะขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เหลา่ น้นั อาจจะกลบั มามีผลกบั ตวั เองในภายหลงั ได้ เชน่ ประวตั กิ ารทางานบกพร่อง หรือทาให้เสียช่ือเสียงได้ รอยเทา้ ดจิ ิทลั มี 2 ประเภท คือ 1.รอยเทา้ ดิจิทลั ทีจ่ ดั เกบ็ โดยผอู้ นื่ หรือ Passive digital footprint เป็นขอ้ มูลบคุ คลตนเองเป็นผกู้ ระทา แตม่ ีหน่วยงาน/บริษทั อื่น เป็นผจู้ ัดเกบ็ ขอ้ มูลเบ้อื งหลงั โดยที่บคุ คลน้ันไมร่ ู้ตวั เชน่ ขอ้ มูลการทอ่ งเวบ็ หมายเลขไอพีทใี่ ชง้ าน พฤตกิ รรมการซื้อของออนไลน์ เป็นตน้ ขอ้ มูลที่ถูกจดั เกบ็ น้ี มกั จะ นาไปใชป้ ระโยชน์เพ่ือการโฆษณาสินคา้ จดั ทาขอ้ มูลลูกคา้ เป็นตน้ การป้องกนั ขอ้ มูลบุคคลไม่ให้เกิดรอยเทา้ ดิจิทลั ลกั ษณะน้ี ทาไดโ้ ดยใช้ proxies และ การส่งขอ้ มูลท่ีเป็นเครือขา่ ยส่วนตวั (VPN) อยา่ งไรกต็ าม รอยเทา้ ดิจิทลั ประเภทน้ี ไมน่ า่ เป็นห่วงมากนัก เพราะ มักจะไมส่ ง่ ผลโดยตรง นอกจากจะมี โฆษณาสินคา้ ประเภทเดียวหรือใกลเ้ คียงกบั ท่ีเคยคน้ หา มาปรากฏใหเ้ หน็ 2.รอยเทา้ ดิจิทลั มีชีวติ หรือ Active digital footprint เป็นขอ้ มูลบคุ คลทีส่ ามารถสืบหาร่องรอยได้เป็นขอ้ มูลทีแ่ ชร์อยูบ่ นเวบ็ หรือ โซเชยี ลมีเดีย ตา่ ง ๆ ท้งั ที่ตนเองทาข้ึน หรือ เป็นการแสดงความคดิ เหน็ ของบุคคลอน่ื ทีม่ ีตอ่ บคุ คลน้นั ๆ รอยเทา้ ดิจิทลั ประเภทน้ี มักจะมีผลโดยตรงกบั บุคคลน้ัน ๆ เพราะผูท้ ีต่ อ้ งการทราบขอ้ มูลเกี่ยวกบั บคุ คลน้ัน ๆ สามารถสืบคน้ ไดไ้ มย่ ากนกั จึงเป็นรอยเทา้ ดจิ ิทลั ที่มีความสาคญั ตอ่ บุคคล เน่ืองจากสามารถสง่ ผลกระทบ ตอ่ ชวี ติ หนา้ ท่ี การงานของบุคคล น้นั ๆ ได้

ขอ้ ควรระวงั ในการใชอ้ ินเทอร์เนต็ อนิ เทอร์เนต็ กเ็ หมือนสิ่งตา่ ง ๆ ท่ีอยูร่ อบตวั เรา คือ เป็นส่ิงที่มีท้งั คุณและโทษ ถา้ เรารู้จักใชก้ จ็ ะเป็นคุณ ถา้ ขาดความระมัดระวงั กอ็ าจจะนาภยั มาสู่เราได้เชน่ ถกู หลอกลวงใหห้ ลงผดิ ถกู หลอกใหซ้ ื้อสินคา้ ท่ไี มม่ ีคณุ ภาพ โดนโจรกรรมขอ้ มูลสว่ นตวั เพื่อขโมยเงินทางอนิ เทอร์เนต็ เป็นตน้ ดงั น้นั การใชง้ าน อนิ เทอร์เนต็ ให้ปลอดภยั จึงควรตระหนกั ถึงสิ่งตอ่ ไปน้ี 1.ไม่ควรเปิ ดเผยขอ้ มูลสว่ นตวั เพราะอาจถกู นาไปใชป้ ระโยชน์ หรือหลอกลวงผใู้ กลช้ ดิ 2.ไม่ส่งหลกั ฐานสว่ นตวั ของตนเองและคนในครอบครัวใหผ้ อู้ ่ืนเชน่ สาเนาบตั รประชาชน เอกสารตา่ ง ๆ รวมถงึ รหัสบตั รตา่ ง ๆ เชน่ เอทีเอม็ บตั รเครดติ ฯลฯ 3.ไมอ่ อกไปพบเพ่ือนทร่ี ู้จักทางส่ือโซเชียล หรือทางอินเทอร์เนต็ 4.ระมดั ระวงั การซื้อสินคา้ ทางอินเทอร์เนต็ รวมถึงคาโฆษณาชวนเช่ืออ่ืน ๆ 5.ไม่เผลอบนั ทกึ ยูสเซอร์เนมและพาสเวิร์ดขณะใชเ้ คร่ืองคอมพิวเตอรส์ าธารณะ เพราะขอ้ มูลอาจจะถูกบนั ทึกไว้และผทู้ เ่ี ขา้ มาใชต้ ่อ อาจจะนาไปใชส้ วม รอยได้ 6.ไฟล์ภาพ เสียง หรือวดี โี อ รั่วไหลได้เชน่ จากการแคร็ก ขอ้ มูล หรือถูกดาวนโ์ หลดผา่ นโปรแกรมเพียร์ ทู เพียร์ (P2P) และถงึ แม้วา่ จะลบไฟลน์ ้นั ออกไปจากเครื่องแลว้ สว่ นใดสว่ นหน่ึงของไฟลย์ งั ตกคา้ งอยู่และอาจถกู กกู้ ลบั ข้นึ มาได้โดยชา่ งคอม ชา่ งมือถอื เป็นตน้

การป้องกนั ตนเอง ไม่ใหต้ กเป็นเหย่ือบนอินเทอร์เนต็ วิธีการปอ้ งกนั ไม่ให้ตกเป็นเหยอื่ บนอินเทอร์เน็ต 1.เม่ือไดร้ ับอีเมลขอ้ ความแปลก ๆ ให้วิเคราะห์ขอ้ ความท่ีสง่ มา หากเป็นการเชิญชวนใหร้ ่วมลงทุน หรือเสนอชอ่ งทางรวยใหก้ บั คณุ ใหส้ นั นิษฐานไดเ้ ลยวา่ หลอกลวงแน่นอน เพราะไม่มีบริษทั ไหน จะเชญิ ลงทุนผา่ นอีเมล 2.ไมต่ อบกลบั อีเมลแปลก ๆ ท่คี ณุ ไมร่ ู้จัก 3.ติดต้งั โปรแกรมตา้ นไวรัสและ Firewall ซ่ึงสามารถปอ้ งกนั การรับอีเมลท่ไี มพ่ ึงประสงคห์ รือการส่ือสารจากผทู้ ีไ่ ม่ ไดร้ ับอนุญาต การติดต้งั โปรแกรม ปรับปรุงชอ่ งโหว่(patch) กส็ ามารถป้องกนั ผลู้ กั ลอบ (hacker) หรือผสู้ ่งอเี มลปลอมได้ 4.ป้องกนั Spyware ที่จะเขา้ มาฝังตวั ทาความผดิ ปกตใิ หก้ บั เครื่อง หรือเจาะรหัสผา่ นตา่ ง ๆ โปรแกรมเหลา่ น้ีแอบเขา้ มาง่ายมาก บางคร้ังการเขา้ เวบ็ บาง แห่งกต็ ดิ โปรแกรมไม่พึงประสงคแ์ ฝงตวั เขา้ มาดว้ ย 5.พยายามขอคาปรึกษาจากคนรอบขา้ ง และเมื่อคนรอบขา้ งพยายามเตอื นกข็ อให้รบั ฟัง 6.อยา่ เช่ือคนทีค่ ุยดว้ ยผา่ นอนิ เทอร์เนต็ 100% เป็นอนั ขาด อยา่ หลงคาหวาน 7.มีสติ มีเหตผุ ล อะไรที่ดเี กนิ จริงตอ้ งระวงั 8.อยา่ ใชก้ ลอ้ งแชท็ หรือถา้ ใชก้ ลอ้ งแชท็ เวลาแชท็ ให้พยายามบอกผทู้ ่ีแชท็ ดว้ ยใหแ้ สดงกริยาตา่ งๆเชน่ โบกมือเพราะสแกมเมอร์จะใชว้ ีดโี อทอ่ี ดั ไวม้ าเปิ ดคยุ กบั เหยื่อเพ่ือใหเ้ หยื่อคิดวา่ มีตวั ตนจริง ๆ 9.อยา่ สง่ เอกสารสว่ นตวั และเงิน ไปให้บุคคลท่ีเพ่ิงรู้จกั กนั ทางอินเทอร์เน็ต 10.เกบ็ ขอ้ มูลส่วนตวั ให้ดที ส่ี ุด ต้งั คา่ ความปลอดภยั กบั เวบ็ ไซต์แอปตา่ ง ๆ ท่ใี ชอ้ ยใู่ หร้ ัดกุม 11.หากสงสยั วา่ อาจจะถูกหลอก หรืออาจจะตกเป็นเหยอ่ื การตม้ ต๋นุ ใหเ้ เชร์ขอ้ มูลใหเ้ พื่อน ๆ และญาตใิ หไ้ ดร้ ับรู้ 12.ไมต่ อ้ งกลวั คาขูข่ องพวกมจิ ฉาชีพ เมื่อรู้ตวั แลว้ ใหบ้ อกมิจฉาชพี ไปทนั ทวี า่ เรารู้แลว้ และจะแจ้งความทนั ที



เรื่องท่ี2 Big Data • ความหมายของ Big Data คอื ขอ้ มลู ขนาดใหญ/่ ปริมาณมาก หรือ ขอ้ มลู จานวนมากมหาศาล ทกุ เร่ือง ทกุ แง่มมุ ทุกรูปแบบ ซ่งึ อาจเป็นขอ้ มลู ท่ีมี โครงสร้างชดั เจน (Structured Data) เช่น ขอ้ มลู ท่ีเก็บอยใู่ นตารางขอ้ มลู ต่างๆ หรืออาจเป็นขอ้ มลู ก่งึ มโี ครงสร้าง (Semi-Structured Data) เช่น ลอ็ กไฟล์ (Log files) หรือแมก้ ระท่งั ขอ้ มลู ท่ีไม่มโี ครงสรา้ ง (Unstructured Data) เช่น ขอ้ มลู การโตต้ อบปฏสิ มั พนั ธ์ผา่ น สงั คมเครือข่าย (Social Network) เช่น Facebook, twitter หรือ ไฟลจ์ าพวกมีเดยี เป็นตน้ ซ่งึ อาจจะเป็นขอ้ มลู ภายในองคก์ รและ ภายนอกท่ีมาจากการตดิ ต่อระหว่างองคก์ ร หรือจากทุกช่องทางการตดิ ต่อกบั ลกู คา้ แตท่ งั้ หมดนี้กย็ งั คงเป็นเพียงขอ้ มลู ดิบท่ีรอการนามาประมวลและ วิเคราะหเ์ พ่ือนาผลท่ีไดม้ าสรา้ งมลู ค่าทางธรุ กิจขอ้ มลู เหลา่ นี้อาจจะไมไ่ ดอ้ ย่ใู นรปู แบบท่ีองคก์ รสามารถนาไปใชไ้ ดท้ ันที แต่อาจมขี อ้ มลู ท่ีเป็นประโยชน์ ต่อองคก์ รบางอย่างแฝงอยู่ • ทาไมตอ้ ง Big Data? ปัจจบุ นั เราทุกคนใชง้ านโซเชียลมีเดีย เช่น You tube, Facebook, Twitter, Google, Netflix, Walmart, Starbucks ส่งิ หน่ึง ท่ีทาให้โซเชียลมเี ดียเหลา่ นีป้ ระสบความสาเร็จคือ Big Data เป็นการนาขอ้ มลู จานวนมหาศาลท่ีไดจ้ ากการให้บริการมาใชว้ ิเคราะห์เพ่ือหาโอกาสทาง ธรุ กิจ ใช้ประกอบการตดั สนิ ใจในเร่ืองสาคญั ๆ ทงั้ การพัฒนาดา้ นการขายและการตลาด การปรบั ปรุงสนิ คา้ บริการให้ตอบโจทยค์ วามตอ้ งการของผบู้ ริโภค ยคุ ใหมท่ ่ีเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว รวมถงึ ภาคการผลิตท่ีนาขอ้ มลู Big Data ไปใช้ในการวิเคราะห์เพ่อื เพ่ิม Productivity ในกระบวนการผลติ และ การดาเนินงาน

Big Data มีคณุ ลกั ษณะสาคญั อยู่ 4 อยา่ ง คือ 1.ปริมาตร (Volume) หมายถึง ขอ้ มูลน้ันมันตอ้ งมขี นาดใหญม่ าก ซ่ึงไมส่ ามารถประมวลผลปริมาณของขอ้ มูลดว้ ยระบบฐานขอ้ มูลได้ จาเป็นตอ้ งใช้ คลงั ขอ้ มูล (Data Warehouse) และซอฟตแ์ วร์ฮาดปู (Hadoop) ทางานประสานกนั ในการบริหารจดั การขอ้ มลู 2.ความเร็ว (Velocity) หมายถงึ ขอ้ มูลดงั กลา่ วตอ้ งมีอตั ราการเพ่ิมข้นึ อยา่ งรวดเร็ว เชน่ ขอ้ มูลจากภาพถา่ ยโทรศัพทท์ ี่ถูกอบั โหลดข้นึ ขอ้ มูลการพิมพ์ สนทนา ขอ้ มูลวดิ ีโอ รวมไปถึงขอ้ มูลการส่ังซื้อสิ้นคา้ พูดง่าย ๆ คอื ขอ้ มูลทีม่ ีการเพ่ิมข้ึนตลอดเวลาแบบไมม่ ีหยดุ ย้งั นนั่ แหละ 3.ความหลากหลาย (Variety) หมายถงึ รูปแบบขอ้ มูลตอ้ งมีความหลากหลาย อาจจะเป็นขอ้ มูลทม่ี ีโครงสรา้ ง ไม่มีโครงสรา้ ง และก่งึ มีโครงสร้าง ซ่ึงผม ไม่ขอลงลกึ นะเพราะมันซบั ซ้อนมาก แตเ่ อาเป็นวา่ รูปแบบขอ้ มูลของBig Data มนั มีทุกอยา่ ง ไมไ่ ดจ้ ากดั แคพ่ วกขอ้ ความ อเี มล์รู ปภาพ ฯลฯ เทา่ น้นั 4.Veracity ไม่สามารถนามาใชเ้ ป็นขอ้ มูลท่สี มบูรณ์ เพ่ือการประกอบการพจิ ารณาได้

การใชป้ ระโยชน์จาก Big Data ในปจั จุบนั น้ี การนา Big Data มาใชใ้ นภาครัฐ เพื่อแกป้ ญั หาความเดือดร้อนและลดความเหล่ือมลา้ โดยนาขอ้ มลู ในระบบราชการจากหลาย หน่วยงาน เชน่ ขอ้ มูลสาธารณสุข ทะเบียนราษฎ์ ทต่ี ้งั ของธุรกจิ โรงพยาบาล สถานบาบดั สถานการณจ์ ้างงานฯ มาวิเคราะห์และการเช่อื มโยงกนั เกิดเป็น ขอ้ มูลขนาดใหญ่Big Data ของภาครัฐ ผา่ นกระบวนการวิเคราะหเ์ ชื่อมโยงเพื่อตอบการให้บริการของภาครัฐ ตวั อยา่ งเชน่ รัฐบาลตอ้ งการชว่ ยเหลือผมู้ ี รายไดน้ อ้ ย แตแ่ ทนทีจ่ ะชว่ ยเหลอื โดยให้เงินอุดหนนุ ที่เทา่ ๆ กนั แบบปูพรมท้งั ประเทศ กน็ าBig Data ซ่ึงเป็นขอ้ มูลจากแหลง่ ตา่ งๆมาใชช้ ้จี าเพาะวา่ บคุ คลใดท่ถี อื วา่ มีรายไดน้ อ้ ย พร้อมท้งั กาหนดระดบั และลกั ษณะความชว่ ยเหลอื ทีแ่ ตกตา่ งกนั เชน่ ผมู้ ีรายไดน้ อ้ ยทส่ี ูงอายุ เป็นผพู้ ิการ อยกู่ บั บา้ น ให้ ลูกหลานดแู ล รัฐอาจชว่ ยโดยสนับสนุนขาเทยี ม ให้คปู องเขา้ รับการทากายภาพบาบดั พร้อมท้งั เลอื กอาชีพทเ่ี หมาะสมกบั กายภาพของผสู้ ูงอายุ การฝึ กอาชีพเพ่ือเพิ่มรายได้ให้กบั ผมู้ ีรายไดน้ อ้ ย พร้อมท้งั จับคูก่ บั แหลง่ งานทีอ่ ยูใ่ กลเ้ คียงกบั ทพ่ี กั อาศยั อกี ท้งั ยงั ติดตามและเสนอโอกาสฝึ กอาชีพใหมๆ่ เพิ่มเติม เพ่ือให้มีรายไดท้ ่ีสูงข้ึนและพัฒนาคณุ ภาพชีวิตให้ดขี ้นึ ซ่ึงถา้ วิเคราะห์ดูจะเห็นวา่ ขอ้ มูลจานวนมากเกิดการบรู ณาการและวิเคราะห์ เพ่ือใชส้ าหรับ การตดั สินใจในการใหบ้ ริการของภาครัฐไดต้ รงกลุม่ เป้าหมาย โดยในปจั จุบนั น้ี จะเห็นไดจ้ ากการใชบ้ ตั รประชาชนเพียงบตั รเดยี วกส็ ามารถเขา้ ถึงบริการ ภาครัฐไดม้ ากข้นึ





เร่ืองท่ี3 IOT Internet of Things (IoT) คืออะไร Internet of Things (IoT) คือ \"อนิ เตอรเ์ น็ตในทกุ ส่งิ \" หมายถงึ การทอ่ี ปุ กรณ์ตา่ งๆ สงิ่ ต่างๆ ไดถ้ กู เช่ือมโยงทุกสิง่ ทกุ อยา่ งสโู่ ลก อนิ เตอรเ์ นต็ ทาใหม้ นษุ ยส์ ามารถสง่ั การควบคมุ การใช้งานอปุ กรณต์ า่ งๆผา่ นทางเครือขา่ ยอนิ เตอรเ์ นต็ เช่น การเปิด-ปิด อปุ กรณ์ เครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ (การสง่ั การเปิดไฟฟ้าภายในบา้ นดว้ ยการเชื่อมตอ่ อปุ กรณค์ วบคมุ เชน่ มือถอื ผา่ นทางอินเตอรเ์ นต็ ) รถยนต์ โทรศพั ทม์ ือถอื เครือ่ งมือสอ่ื สารเครื่องมอื ทางการเกษตรอาคารบา้ นเรอื น เครอ่ื งใช้ในชีวิตประจาวันตา่ งๆผา่ นเครือข่ายอนิ เตอรเ์ นต็ เป็นต้น IoT มชี ื่อเรียกอีกอยา่ งวา่ M2M ยอ่ มาจาก Machine to Machine คือเทคโนโลยอี ินเตอรเ์ นต็ ทเี่ ช่ือมต่ออปุ กรณ์กบั เครอ่ื งมอื ตา่ งๆ เขา้ ไว้ดว้ ยกนั เทคโนโลยี IoT มีความจาเปน็ ตอ้ งทางานรว่ มกบั อปุ กรณป์ ระเภทRFID และ Sensors ซงึ่ เปรยี บเสมือนการเติมสมองใหก้ บั อปุ กรณ์ ตา่ งๆ ที่ขาดไมค่ ือการเชื่อมตอ่ อินเตอรเ์ นต็ เพ่ือใหอ้ ปุ กรณ์สามารถรบั สง่ ขอ้ มลู ถงึ กนั ได้ เทคโนโลยีIoT มปี ระโยชน์ในหลายด้าน แต่กม็ า พรอ้ มกบั ความเส่ยี ง เพราะหากระบบรกั ษาความปลอดภยั ของอปุ กรณ์ และเครือขา่ ยอนิ เตอรเ์ นต็ ไมด่ ีพอกอ็ าจทาใหม้ ผี ไู้ มป่ ระสงคด์ ีเขา้ มา ขโมยขอ้ มลู หรือละเมิดความเปน็ สว่ นตวั ของเราได้ ดังน้ันการพัฒนาIoT จงึ จาเปน็ ตอ้ งพฒั นามาตรการและระบบรกั ษาความปลอดภยั ไอ ทีควบคกู่ นั ไปดว้ ย

แบง่ กลมุ่ Internet of Things ปจั จุบนั มีการแบง่ กลมุ่ Internet of Things ออกตามตลาดการใชง้ านเป็น 2 กลมุ่ ไดแ้ ก่ 1.Industrial IoT คอื แบง่ จาก local network ที่มีหลายเทคโนโลยที แ่ี ตกตา่ งกนั ในโครงขา่ ย Sensor nodes โดยตวั อปุ กรณ์ IoT Device ในกลุม่ น้ีจะเชื่อมตอ่ แบบ IP network เพ่ือเขา้ สู่อินเตอร์เน็ต 2.Commercial IoT คือ แบง่ จาก local communication ทีเ่ ป็น Bluetooth หรือ Ethernet (wired or wireless) โดยตวั อุปกรณ์ IoT Device ใน กลมุ่ น้ีจะส่ือสารภายในกลมุ่ Sensor nodes เดยี วกนั เทา่ น้ันหรือเป็นแบบ local devices เพียงอยา่ งเดียวอาจไมไ่ ดเ้ ชื่อมสู่อนิ เตอร์เนต็



แนวคิดInternet of Things เดิมมาจาก Kevin Ashton บิดาแห่ง Internet of Things ในปี 1999 ในขณะท่ีทางานวจิ ยั อยทู่ ี่มหาวิทยาลยั Massachusetts Institute of Technology หรือ MIT เขาไดถ้ ูกเชญิ ให้ไปบรรยายเรื่องน้ีใหก้ บั บริษทั Procter & Gamble (P&G) เขาไดน้ าเสนอโครงการที่ช่ือวา่ Auto-ID Center ตอ่ ยอดมาจากเทคโนโลยี RFID ที่ในขณะน้ันถอื เป็นมาตรฐานโลกสาหรับการจบั สญั ญาณเซ็นเซอร์ตา่ งๆ( RFID Sensors) วา่ ตวั เซน็ เซอร์เหลา่ น้นั สามารถทาให้มันพูดคุยเชือ่ มตอ่ กนั ไดผ้ า่ นระบบ Auto-ID ของเขา โดยการบรรยายให้กบั P&G ในคร้ังน้นั Kevin กไ็ ดใ้ ชค้ า วา่ Internet of Things ในสไลดก์ ารบรรยายของเขาเป็นคร้ังแรก โดย Kevin นิยามเอาไวต้ อนน้นั วา่ อุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกสใ์ ดๆกต็ ามที่สามารถ ส่ือสารกนั ไดก้ ถ็ ือเป็น “internet-like” หรือพูดงา่ ยๆกค็ อื อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ทสี่ ่ือสารแบบเดียวกนั กบั ระบบอินเตอร์เนต็ นั่นเอง โดยคาวา่ “Things” กค็ อื คาใชแ้ ทนอุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ตา่ งๆเหลา่ น้ัน ตอ่ มาในยคุ หลงั ปี 2000 มีอปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกสถ์ กู ผลิตออกจดั จาหน่ายเป็นจานวนมากท่วั โลก จึงเร่ิมมีการใชค้ าว่า Smart ซ่งึ ในท่ีนี้คอื Smart Device, Smart Grid, Smart Home, Smart Network, Smart Intelligent Transportation ตา่ งๆเหลา่ นี้ ลว้ นถกู ฝัง RFID Sensors เสมอื นกบั การเตมิ ID และสมอง ทาให้มนั สามารถเช่ือมต่อกบั โลกอนิ เตอร์เนต็ ได้ซ่งึ การเช่ือมต่อเหลา่ น้ันเองกเ็ ลยมาเป็นแนวคิด ท่ีว่าอปุ กรณเ์ หลา่ นน้ั กย็ อ่ มสามารถส่อื สารกนั ไดด้ ว้ ยเช่นกนั โดยอาศยั ตวั Sensor ในการส่อื สารถงึ กนั น่นั แปลว่านอกจาก Smart Device ตา่ งๆจะเช่ือมตอ่ อนิ เตอร์เน็ตไดแ้ ลว้ ยงั สามารถเช่ือมต่อไปยงั อปุ กรณต์ วั อ่นื ไดด้ ว้ ย

IoT ทาอะไรได้? 1. สงั เกตการณ์ (Monitor) ตวั เซนเซอร์และแหลง่ ขอ้ มูลภายนอกทาใหเ้ ราสามารถดสู ภาพของตวั อุปกรณ์ สภาพแวดลอ้ ม สถานะการใชง้ าน และยงั แจ้งเตอื นเม่ือมีอะไรเปลีย่ นแปลง ดว้ ย 2. ควบคมุ (Control) ซอฟทแ์ วร์ท่ีอยูใ่ นตวั อุปกรณ์หรืออยูใ่ นคลาวนข์ องอุปกรณส์ ามารถควบคมุ ฟังกช์ น่ั การใชง้ านของอุปกรณ์ และปรับให้เขา้ กบั ประสบการณ์เฉพาะของแตล่ ะ คนได้(Personalisation of User Experience) 3. เพ่ิมประสิทธิภาพ (Optimise) ความสามารถในการสงั เกตการณแ์ ละควบคมุ ของ IoT ทาใหอ้ ลั กอริธ่ึมให้เพมิ่ ประสิทธิภาพการใชง้ านของอุปกรณ์ ประมวลผลขอ้ มูล ทานายและ ปรับเปลยี่ นฟังกช์ นั เพื่อนการใชง้ านลว่ งหน้าไดด้ ว้ ย 4. ทางานไดอ้ ตั โนมัติ (Autonomy) ความสามารถท้งั สามอยา่ งทวี่ า่ มาจะทาให้อุปกรณท์ างานไดด้ ว้ ยตวั มันเอง วิเคราะห์การใชง้ านไดเ้ อง ปรับการใชง้ านให้เขา้ กบั พฤติกรรมการใชง้ านของคน ใชไ้ ดเ้ อง พร้อมประสานงานกบั อปุ กรณต์ วั อืน่ ๆไดเ้ อง

Internet of Things และ Big Data สัมพนั ธ์กนั อย่างไร ปจั จุบนั Internet of Things สามารถตอบสนองความตอ้ งการทางดา้ นการใชง้ านของเราไดม้ ากข้นึ สาเหตุเพราะอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ตา่ งๆมีราคา ถกู ลง ทาใหเ้ กิดการใชง้ านจริงมากข้ึน มีการคน้ พบ Use Case ใหมๆ่ ในธุรกจิ ทาใหผ้ ูผ้ ลิตไดเ้ รียนรู้และคอยแกโ้ จทย์เพ่ือเพม่ิ ประสิทธภิ าพใหต้ รงใจ ผใู้ ช้ กอ่ ใหเ้ กดิ นวตั กรรมใหมๆ่ ยิง่ ไปกวา่ น้ัน Internet of Things มีการเช่อื มโยงกนั อยา่ งเป็นระบบ เราจึงเริ่มเห็นธุรกจิ ที่หนั มาให้ความสนใจ Internet of Things ในแง่ทมี่ นั สามารถชว่ ยแกป้ ัญหาทางธุรกจิ ทางสงั คม และชว่ ยแกไ้ ขปญั หาชวี ิตประจาวนั ได้โดยการนาเอาขอ้ มูลหรือ Big Data เขา้ มาใชใ้ นการพฒั นาเพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของแตล่ ะรูปแบบ ถงึ ตรงน้ีแลว้ คงจะสงสัยใชม่ ้ัยคะวา่ Big data เกี่ยวขอ้ งอยา่ งไรกบั Internet of Things

ประโยชน์และความเสี่ยง เทคโนโลยี Internet of Things มีประโยชนใ์ นหลายดา้ นท้งั เร่ืองการเกบ็ ขอ้ มลู ท่ีแม่นยาและเป็นปัจจุบนั ชว่ ยลดตน้ ทนุ แถมยงั ชว่ ยเพิ่มผลผลิตของ พนกั งานหรือผใู้ ชง้ านได้แม้วา่ แนวโนม้ ของ IoT มีแตจ่ ะเพ่ิมข้ึนดว้ ยคณุ าประโยชนต์ ามทไ่ี ดก้ ลา่ วมาแลว้ แตป่ ระโยชน์ใดๆน้นั กม็ าพร้อมกบั ความเสี่ยง เพราะความทา้ ทายในการรักษาความปลอดภยั ของเครือขา่ ยใหมท่ ี่เกิดข้นึ น้ัน จะผลกั ดนั ใหผ้ ูเ้ ชย่ี วชาญมีการรับมือทางดา้ นความปลอดภยั มากข้ึน ในทาง ตรงกนั ขา้ มแฮกเกอร์หรือผไู้ มห่ วงั ดกี ท็ างานหนักเพ่ือที่จะเขา้ ควบคุม โจมตีเครือขา่ ย หรือเรียกคา่ ไถใ่ นชอ่ งโหวท่ ่ีIoT มีอยู่ฉะน้นั ผูเ้ ช่ยี วชาญดา้ นความ ปลอดภยั ทาง IoT จึงจาเป็นตอ้ งพฒั นามาตรการ และระบบรักษาความปลอดภยั ไอทคี วบคกู่ นั ไป เพื่อให้ธุรกจิ และการใชง้ าน IoT สามารถขบั เคลื่อน ตอ่ ไปได้