Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย กศน.

หนังสือทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย กศน.

Description: หนังสือทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย กศน.

Search

Read the Text Version



ข เอกสารสรุปเน้ือหาที่ตองรู รายวิชาทักษะการขยายอาชีพ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รหสั อช31002 หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สํานักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร หามจําหนาย หนงั สือเรียนนจ้ี ดั พมิ พดว ยเงินงบประมาณแผน ดนิ เพ่ือการศกึ ษาตลอดชีวิตสําหรบั ประชาชน ลิขสิทธ์ิเปนของสํานักงาน กศน.สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร



สารบญั ง คาํ นาํ หนา สารบัญ บทที่ 1 ทกั ษะในการขยายอาชพี 1 กจิ กรรมทายบทที่ 1 4 บทท่ี 2 การทําแผนธรุ กิจเพ่อื การขยายอาชพี 6 กิจกรรมทายบทที่ 2 9 บทที่ 3 การจดั การความเสย่ี ง 11 กจิ กรรมทา ยบทที่ 3 14 บทท่ี 4 การจดั การผลติ หรอื การบรกิ าร 15 กจิ กรรมทา ยบทที่ 4 19 บทท่ี 5 การจัดการการตลาด 27 กจิ กรรมทา ยบทท่ี 5 25 บทท่ี 6 บญั ชธี รุ กจิ 26 กิจกรรมทายบทที่ 6 28 บทที่ 7 การขับเคลอื่ นธุรกิจเพื่อการขยายอาชพี 29 กิจกรรมทายบทที่ 7 31 บทที่ 8 โครงการขยายอาชพี 33 กิจกรรมทา ยบทท่ี 8 35 คณะทาํ งาน 43

๑ บทท่ี 1 ทักษะในการขยายอาชพี ความหมายของการขยายอาชพี การขยายอาชีพ หมายถึง การเพ่ิมโอกาสทางอาชีพ โดยเพิ่มพูนความรูและทักษะ เพอ่ื ใหเ กิดความชํานาญในงานทต่ี นปฏบิ ตั อิ ยู แลวนําไปเปนชองทางในการขยายอาชีพ ความจาํ เปน ในการขยายอาชพี ผปู ระกอบธรุ กิจทีป่ ระสบความสาํ เร็จมีความมั่นคงแลว มีความประสงคจะขยายอาชีพ ตัวเอง จะตองดําเนินการจัดทําแผนธุรกิจ มีการจัดการความเส่ียง มีระบบการจัดการผลิต การตลาด บัญชีธรุ กจิ และจัดทาํ โครงการขยายอาชพี ความสาํ คญั ของการขยายอาชีพ 1. เปนการพฒั นาตนเอง ใหเปนผมู ภี มู ิรู ทกั ษะ ประสบการณมากข้ึน 2. เปน การสรา งมลู คาเพิม่ กับงาน ผลผลิต หรอื ผลติ ภัณฑท ีม่ อี ยู 3. เปนการเสริมสรางรายได หรอื เพ่ิมผลประกอบการใหสูงย่งิ ขึ้น 4. เปนการเพิม่ ศักยภาพในการแขงขนั กบั บุคคล หนวยงานหรือธรุ กจิ อ่นื ๆ 5. เปน ที่ยอมรบั จากภายนอกมากยง่ิ ขน้ึ แหลงเรียนรแู ละสถานทฝ่ี กทกั ษะในการขยายอาชพี การถายทอดภูมิปญญาจากเจาขององคความรูไปสูบุคคลที่รับการถายทอด สวนใหญ จะใหค วามสําคญั กบั เทคนคิ ขั้นตอน วิธีการของการทํางานหรือการแกปญหา แตในความเปน จริงแลว ภูมิปญญายังมีองคประกอบอื่น ๆ อีกมากมาย เปนองครวมที่จะนําไปสูความสําเร็จ ม่นั คง ยงั่ ยนื ได แตผูรับการถายทอดมักจะมุงไปรับเทคนิควิธีการมากกวา เชน ภูมิปญญาแยก อินทรียก็จะใหความสําคัญกับวิธีการทําปุยหมัก ปุยน้ํา เทาน้ัน ท้ัง ๆ ยังมีสวนประกอบอ่ืน ๆ ทส่ี ําคัญมากมาย ดังนั้น การตอยอดภูมิปญญาจึงเปนเร่ืองที่จะตองมีกระบวนการคิดวิเคราะห อยา งเปนระบบ เพื่อยกระดับความรใู หส ูงขึน้ สอดคลองไปกบั ยคุ สมัย ข้ันตอนการวเิ คราะหภมู ิปญญา 1.1 วเิ คราะหภมู ิปญ ญาระบภุ ารกจิ ระบุความรูส ารสนเทศ ตอ ยอดภมู ิปญญา 1.2 วิเคราะหภ ารกจิ ระบุกิจกรรม และขอ มูล ศึกษาทบทวน ปรับแตง พัฒนาเขา สู ยคุ สมัย

๒ 1.3 วิเคราะหก ิจกรรมระบขุ ัน้ ตอนระบบ ทําความเขา ใจใหก ระจาง 1.4 วิเคราะหข้ันตอนระบบ ระบุเทคนคิ วิธีการ การวางแผนโดยการฝกทกั ษะอาชพี โดยพฒั นาตอ ยอด ประยุกตใชภูมปิ ญ ญาและคาํ นงึ ถงึ ความหลากหลายทางชวี ภาพ การตอยอดภูมิปญญายกระดับความรูใหสูงขึ้น เปนกระบวนการข้ันตอนการวิเคราะห ภูมิปญ ญาทองถ่ิน เพอ่ื ใหม คี วามรเู กิดความกระจางในองคค วามรูข องภูมิปญญานําไปสู การวเิ คราะห ระบุ ทฤษฎแี นวคิดยุคใหมใชยกระดับความรใู หส งู ข้นึ การสรางความหลากหลาย การสรา งความหลากหลายในอาชีพ เปนภมู ิปญญาเพ่อื ใชส รางภูมิคุมกันใหกับการดํารง อาชีพตามหลักทฤษฎีใหมข องพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลปจจุบัน มีพระราชประสงค ทีจ่ ะใหอาชีพเกษตรกรสูความเขม แข็งมัน่ คงยั่งยืน ดวยการใหป ลกู ขา ว ปลกู ผัก ผลไม และเลี้ยง ไก ไวก นิ ในครอบครวั เหลือขาย เลี้ยงหมไู วเ ปนเงินเก็บ เงินออม ปลูกไมใชงาน ใชเปนเช้ือเพลิง ใหรม เงา จัดการบานเรอื นใหส ะอาด ชวี ิตกจ็ ะร่าํ รวยความสุข (จากความจําของผูเขียน เม่ือครั้ง เขาเฝาถวายงานโครงการเกษตรธรรมชาติถาวรนิมิตอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัด นครนายก พ.ศ. 2537 โดยมีพระมหาถาวร จิตตภาวโรวงศมาลัย เปนผูอุปถัมภ) พระราช ดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวบงชี้ถึงการสรางความหลากหลายทางชีวภาพ การหมุนเวียนเปลี่ยนรูปบนความหลากหลายไดผลผลิตพอเพียงกับการกินอยู และเหลือขาย เปน รายไดใ ชดาํ รงชวี ิต ฝก ทกั ษะอาชีพตามแผนทกี่ าํ หนดไวได โดยมีการบนั ทกึ ขน้ั ตอนการฝก ทกุ ขนั้ ตอน แนวคดิ ของการฝก ทกั ษะ หรอื การอบรม การฝก ทกั ษะแบบเดิม การฝกทกั ษะแนวใหม 1. การไดร บั ความรจู ะนาํ สกู ารปฏิบัติ 1. ทักษะแรงจูงใจนาํ ไปสูการปฏบิ ัติ โดยมแี นวคดิ วา ทักษะสามารถพฒั นาไดจากการฝก ฝน 2. ผเู ขา รับการฝก ไดเรียนรใู นสิ่งท่ี 2. การเรยี นรูเกิดจากศกั ยภาพ แรงจงู ใจของผูฝก วิทยากรสอนให วิธีการและศักยภาพของวทิ ยากร บรรทดั ฐานในการ เรยี นรูข องกลุม และบรรยากาศท่วั ไปของการฝก 3. นําสิง่ ทีป่ ระยกุ ตจ ากการฝก ไปใชเพื่อ 3. การปฏบิ ัตงิ านท่ีดขี ้ึนเปนผลมาจากการเรยี นรขู อง การปฏบิ ตั งิ านที่ดีขึ้น แตล ะบคุ คล บรรทัดฐานของกลมุ ทาํ งาน และ บรรยากาศทัว่ ไปของกลมุ งาน 4. การฝก เปน ความรบั ผิดชอบของทมี 4. การฝก เปนการรว มมอื ของผเู ขา ฝก ทมี ฝกอบรม ฝก (ครผู ฝู ก) ต้ังแตเร่มิ ตน จนจบ และองคก ร

๓ วิธีฝกทักษะอาชีพ 1. การฝกอบรมในการทํางานเปนวิธีที่ผูประกอบการ เปนผูรับผิดชอบในการฝก ทักษะ หรอื อบรมโดยตรง 2. การประชุมหรือถกปญ หา เปนวิธีการฝกแบบเฉพาะตวั สวนใหใชก บั พนักงาน ท่ีปฏิบัติงานดานวชิ าชีพ พนกั งานดา นเทคนคิ ตลอดจนหัวหนางานตาง ๆ มีการถายทอดความ นกึ คิดระหวางกนั ถา ยทอดวธิ ปี ฏิบตั งิ าน 3. การอบรมงานชางฝมือ เปนระบบของการฝกอบรม มีการทดลองฝกหัดทําจน ชํานาญ 4. การอบรมโดยหอ งบรรยาย เปน การอบรมเปน กลุมใหญ ๆ โดยอาศัยครูผสู อน 5. การใหล องทาํ ในหอ งทดลอง เปนการใชเ ครื่องมือตา ง ๆ ในหองทดลอง กอนที่จะ ใหลงมือทํางานจริง ๆ สามารถใหผลสําเร็จสงู แตเ สยี คา ใชจ า ยสูงดว ย 6. การจัดแผนการศึกษา เปน การจดั เตรียมเอกสารในรปู แบบของหนังสือคูมือ เปนเครอ่ื งชวยสอน โดยใหทดลองตอบปญหาโดยวธิ ีเขียนคําตอบในชองวาง หรือทดลองกดปุม เคร่อื งจักร การปฏิบตั ิ การฝกทกั ษะอาชีพทดี่ ตี องปฏบิ ัตดิ ังน้ี ในการฝก ปฏบิ ตั ิการทดี่ ีตอ งมีการจดบันทึกในการปฏิบัตงิ าน โดยจดรายละเอียดให ชัดเจน เรมิ่ ต้ังแตการวางแผนการทาํ อาชีพตา งๆ การวเิ คราะห การศกึ ษา สงั เกต ตลอดจนผล ทไี่ ดรับจากการปฏบิ ัติการในอาชีพน้ันๆ และแนวทางการแกไ ขปญ หาทถ่ี กู ตองและมี ประสิทธิภาพ

๔ กิจกรรมทา ยบทที่ 1 คาํ ช้ีแจง ใหผ ูเรยี นอธบิ ายคําถามตอ ไปนใ้ี หถูกตอง 1. การขยายอาชีพ หมายถึง ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวตอบ การเพม่ิ โอกาสทางอาชพี โดยเพิม่ พนู ความรแู ละทกั ษะ เพ่ือใหเกิดความ ชาํ นาญในงานท่ีตนปฏิบัติอยู แลว นําไปเปนชองทางในการขยายอาชพี 2. การขยายอาชีพมีความสาํ คญั อยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวตอบ เปน การสรา งเสริมรายได หรอื เพมิ่ ผลประกอบการใหสงู ขนึ้ เปนการพฒั นา ตนเองใหเ ปน ผูร ู เปนการเพิม่ ศักยภาพในการแขง ขัน 3. ใหผ ูเ รียนศกึ ษาคน ควาจากแหลงเรียนรู ส่อื ตาง ๆ ในเร่อื งแหลงศึกษาคนควา ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ใหผูเรียนรวมกันวิเคราะหชุมชนของตนวามีจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค อะไร อยา งไร ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………

๕ แบบวเิ คราะหช มุ ชน ชอื่ ชมุ ชน................................................................ท่ีอยู.............................................................. ปจจยั ภายใน จดุ แขง็ จุดออ น ปจ จัยภายนอก โอกาส อุปสรรค สรุป ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ผรู ว มวเิ คราะห ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. การจดั การขยายอาชพี เพอื่ ความมนั่ คงตามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความหมายวา อยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวตอบ กรรมวธิ ีในการควบคมุ การดาํ เนินงานทํามาหากินใหข ยายกา วออกไปใหเกิด ความแนนและทนทานไมกลับเปน อื่นตามหลกั ความรู ความจริงของงานเกีย่ วกบั การผลติ การ จําหนายจายแจกและการบรโิ ภคใชส อยส่งิ ตา ง ๆ ของชมุ ชนเปนไปตามตองการ

๖ บทที่ 2 การทําแผนธุรกจิ เพ่อื การขยายอาชพี การทําแผนธรุ กจิ ความหมายของแผนธรุ กจิ แผนธุรกิจ คือแผนงานทางธุรกิจที่แสดงกิจกรรมตาง ๆ ที่ตองปฏิบัติในการลงทุน ประกอบการ โดยมีจุดเริ่มตนจากจะผลิตสินคาและบริการอะไร มีกระบวนการปฏิบัติอยางไร บา ง และผลจากการปฏิบตั ิออกมาไดม ากนอ ยแคไ หน ใชงบประมาณและกาํ ลงั คนเทาไร เพื่อให เกิดเปน สนิ คา และบรกิ ารแกล กู คา และจะบรหิ ารธุรกิจอยางไรธุรกิจจงึ จะอยรู อด การศึกษาวิเคราะหชุมชนเพอ่ื การพฒั นาอาชีพ การวิเคราะหชุมชน หมายถึง การนําเอาขอมูลทั่วไปของชุมชนท่ีเราอาศัยอยู ซ่งึ อาจจะเปนหมูบาน ตําบล หรืออําเภอก็ไดข้ึนอยูกับการกําหนดขอบเขตของชุมชนวาจะนํา ขอมูลของชุมชนในระดับใดมาพิจารณา โดยการจําแนกขอมูลดานตาง ๆ เพื่อใหทราบถึง ประเด็นปญหา และความตองการท่ีแทจริงของชุมชน เพ่ือจะนํามากําหนดแนวทางการขยาย อาชพี ใหต อบสนองตรงกบั ความตอ งการของคนในชมุ ชน โดยเฉพาะเกีย่ วกับการประกอบอาชีพ รายไดของประชากรตอคน ตอครอบครัวเปนอยางไร ลักษณะของการประกอบอาชีพของ ประชากรเปนอยางไร รวมถึงขอมูลอื่นท่ีเก่ียวของ ไดแก ขอมูลดานการตลาด แนวโนมของ ความตองการของการตลาด นโยบายของรัฐท่ีจะเอื้อประโยชนตอการผลิตหรือการประกอบ อาชีพ เปนตน ขอมูลเหลานี้จะชวยใหเราวางแผนการดําเนินการพัฒนาอาชีพไดรอบคอบข้ึน การวิเคราะหขอมูล โดยวิเคราะหสภาพการภายใน ภายนอกของชุมชน โดยใชเทคนิค SWOT (SWOT Analysis) การศึกษาความตองการของชุมชนเปนการสํารวจความตองการของชุมชน เพื่อใหทราบถงึ จุดเดน จุดดอย อปุ สรรคหรอื ความเสี่ยงและโอกาสในดานตา ง ๆ ของขอมูลและ ความตองการของชมุ ชน ทั้งนี้โดยใชเ ทคนคิ SWOT ในการวิเคราะหช มุ ชน มดี ังนี้ S (Strengths) จุดแขง็ หรอื จุดเดนของชมุ ชน W (Weaknesses) จดุ ออ นหรอื ขอดอ ยของชมุ ชน O (Opportunities) โอกาสทีจ่ ะสามารถดาํ เนนิ การได T (Threats) อปุ สรรคหรือปจจัยท่ีเปน ความเสยี่ งของชุมชนที่ควรหลีกเลย่ี งใน การปฏิบตั ิ

๗ ในการวเิ คราะหชมุ ชน อาจจะเขียนเปนตารางวเิ คราะหไดดังน้ี ปจจยั ภายใน จดุ แข็ง (S) จุดออ น (W) ปจ จยั ภายนอก โอกาส (O) อุปสรรคและความเสยี่ ง (T) การวิเคราะหขอมูล ผูวิเคราะหควรพิจารณาจําแนกขอมูลในดานตาง ๆ โดยให สมาชกิ ในชุมชนหรอื กลมุ อาชพี นน้ั รว มกันชวยวิเคราะห หากพบขอมูลสวนใดท่ีเปนจุดเดนของ ชุมชนหรือกลุมอาชีพน้ันใหใสขอมูลในชอง S หากพบขอมูลใดท่ีเปนจุดออนหรือขอดอยของ ชุมชนหรือกลุมอาชีพใหใสขอมูลในชอง W หากสวนใดท่ีเปนโอกาสชองทางของชุมชน เชน ความตองการสินคาของประชาชน นโยบาย หรือจุดเนนของรัฐหรือของชุมชนท่ีเปนโอกาสดีให ใสในชอง O และในขณะเดียวกันขอมูลใดที่เปนความเส่ียง เชน ขอมูลเก่ียวกับการกระทําผิด กฎหมาย หรือความตองการของชุมชนไมมีหรือมีนอย ขาดแคลนวัตถุดิบหรือปจจัยการผลิต เปนตน ใหนําขอมูลใสในชอ ง T ทาํ เชนน้ีจนครบถว น หากสวนใดขอมูลไมชัดเจนเพียงพอก็ตอง สํารวจขอมลู เพิ่มเติมได จากน้ันนําขอมูลไปวิเคราะหเพ่ือกําหนดทางเลือกในการพัฒนาอาชีพ หรือทางเลอื กในการแกปญหาอกี ครั้งหน่ึง กอ นที่จะกําหนดเปน วิสยั ทัศนต อ ไป การกาํ หนดวสิ ัยทัศน พันธกจิ เปาหมาย และกลยทุ ธ ในการวางแผนขยายธุรกิจของชมุ ชน วิสัยทัศน เปนการกําหนดภาพในการประกอบอาชีพในอนาคต มุงหวังใหเกิดผล อยางไร หรอื กลาวอีกนัยหนง่ึ คอื การมองเปาหมายของธุรกิจวาตองการใหเกิดอะไรข้ึนขางหนา โดยมีขอบเขตและระยะเวลากาํ หนดทแ่ี นนอน ในการกาํ หนดวสิ ัยทศั นเปน การนาํ เอาผล การวิเคราะหขอมูลชุมชนและขอมูลอาชีพของผูประกอบการ มาประกอบการพิจารณาอยาง รอบคอบเพ่ือการตัดสนิ ใจที่ดี มีความเปนไปไดเพื่อนําไปสคู วามสาํ เร็จของธรุ กจิ ในทส่ี ุด พนั ธกิจ ภาระงานท่ีผปู ระกอบการจะตองดําเนนิ การใหเ กิดผลสําเรจ็ ตามวสิ ยั ทศั น ท่กี ําหนดไวใ หไ ด ผปู ระกอบการจะตอ งสรางทีมงานและกําหนดภารกิจของสถานประกอบการ ใหช ดั เจน ครอบคลมุ ทง้ั ดา นการผลติ และการตลาด การวิเคราะหพันธกิจ ของสถานประกอบการ สามารถตรวจสอบวาพันธกิจใดควรทํา กอนหรือหลัง หรือพันธกิจใดควรดํารงอยูหรือควรเปล่ียนแปลง ผูประกอบการและทีมงาน จะตองรวมกันวิเคราะห เพื่อกําหนดพันธกิจหลักของสถานประกอบการ ผูประกอบการและ ทมี งานจะตอ งจัดลําดับความสําคัญของพนั ธกิจและดาํ เนินการใหบ รรลเุ ปาหมายใหได

๘ เปา หมายหรอื เปาประสงค เปาหมายในการขยายอาชีพ คือการบอกใหทราบวาสถาน ประกอบการนั้นสามารถทําไดภายในระยะเวลาเทาใด ซ่ึงอาจจะกําหนดไวเปนระยะสั้น หรือ ระยะยาว 3 ป หรือ 5 ป กลยุทธในการวางแผนขยายอาชีพ เปนการวางแผนกลยุทธในการขยายอาชีพ หรือ ธุรกิจน้ัน ๆ ใหส ําเรจ็ ตามเปาหมายทวี่ างไวการวางแผนจะตอ งกําหนดวิสยั ทัศน เปาหมายระยะ ยาวใหช ัดเจน มีการวเิ คราะหส่งิ ท่ีจะเกิดขึน้ ในอนาคต และมกี ารทาํ งาน วางระบบไวคอนขางสูง เพ่ือใหมีความคลองตัวในการปรับเปลี่ยนไดตามสถานการณที่เปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว ทั้งนี้ เพือ่ ใหผ ูประกอบการและทีมงานสามารถพัฒนาอาชพี ใหมีประสทิ ธิภาพและมีความกาวหนาได ในอนาคต ข้ันตอนกระบวนการวางแผน ขนั้ ตอนของกระบวนการวางแผนในการขยายธรุ กิจของชุมชน มดี งั น้ี 1. ข้ันการกําหนดวัตถุประสงคตองใหชัดเจน เพ่ือเปนแนวทางการปฏิบัติหรือการ ดาํ เนินกจิ กรรมตาง ๆ 2. ข้ันการกําหนดวัตถุประสงคการกําหนดวัตถุประสงคตองมีความชัดเจนวาจะทํา เพื่ออะไร และวตั ถปุ ระสงคนน้ั จะตอ งมีความเปนไปไดหรอื ไม และสามารถวัดผลได 3. ข้ันการตงั้ เปา หมาย เปนการระบุเปาหมายที่จะทําวาตั้งเปาหมายในการดําเนินการ ไวจ ํานวนเทา ใด และสามารถวัดไดในชว งเวลาส้ัน ๆ 4. ขั้นการกําหนดข้ันตอนการทํางาน เปนการคิดไวกอนวาจะทํากิจกรรมอะไรกอน หรือหลงั ซ่ึงการกาํ หนดแผนกิจกรรมนีจ้ ะทําใหก ารดําเนนิ งานบรรลุตามวัตถุประสงคไดอยางมี ประสทิ ธภิ าพ 5. ขั้นปฏิบัติกจิ กรรมตามแผน ซงึ่ จะตองดําเนินการอยางตอเน่อื งจงึ จะไดผล 6. ข้ันการปรับแผนการปฏิบัติงาน ในบางคร้ังแผนท่ีวางไวเม่ือไดดําเนินการไประยะ หน่ึง อาจจะทําใหสถานการณเปล่ียนไป ผูประกอบการจึงควรมีการปรับแผนบางเพื่อให สอดคลอ งกบั ความเปน จริงมากขึ้น และการดําเนินงานตามแผนจะมปี ระสทิ ธิภาพขึ้น การวางแผนปฏบิ ัตกิ าร การวางแผนปฏิบัติการเปนขัน้ ตอนสุดทา ยของการทําแผนธุรกิจเพ่ือการพัฒนาอาชพี ท่ีมี รายละเอียดมาจากแผนกลยุทธมากําหนดเปนโครงการ/กิจกรรมท่ีจะตองดําเนินการ โดยจะตองกําหนดวัตถุประสงค เปาหมาย ระยะเวลา และผูรับผิดชอบ โดยผูเรียนและผูนํา ชุมชนตอ งชว ยกนั กําหนด

๙ กจิ กรรมทายบทท่ี 2 คาํ ชแ้ี จง ใหผ ูเ รียนนําผลจากการวิเคราะหช มุ ชนรว มกับคนในชมุ ชน ชวยกันกาํ หนดวสิ ยั ทัศน พันธกิจ เปาหมายการพฒั นา/ขยายอาชีพชุมชน แลว บนั ทกึ ในแบบบันทึก แบบบนั ทกึ 1. วิสยั ทัศน ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. พันธกจิ ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. เปา หมายการพฒั นาอาชพี ชมุ ชน ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………

4. ใหผ เู รียนจดั ทาํ แผนปฏบิ ตั กิ ารขยายอาชพี แผนปฏบิ ตั กิ ารขยายอาชพี ........................ ท่ี กจิ กรรม เปา หมาย

๑๐ ................................................................ ระยะเวลา ยทุ ธศาสตร เงนิ ลงทนุ ผูรบั ผดิ ชอบ

๑๑ บทท่ี 3 การจัดการความเส่ยี ง การจดั การความเส่ียง ความเสย่ี ง คือ ความไมแ นน อนตอการประสบกบั เหตุการณ หรือสภาวะทเ่ี ราตองเผชญิ กับสถานการณอนั ไมพ ึงประสงคโ ดยมีความนาจะเปน หรอื โอกาสในส่ิงน้ัน ๆ เปน ความเส่ียง มีความหมายในหลากหลายแงมุม เชน - ความเสย่ี ง คือ โอกาสทเ่ี กิดขึน้ แลวธุรกิจจะเกดิ ความเสยี หาย - ความเส่ียง คือ ความเปน ไปไดท่ีจะเกดิ ความเสยี หายตอ ธุรกิจ - ความเสย่ี ง คือ ความไมแ นนอนของเหตกุ ารณท ่จี ะเกิดขึ้น - ความเสี่ยง คอื การคลาดเคลอ่ื นของการคาดการณ สภาวะท่ีจะทาํ ใหเกิดความเสยี หาย สภาวะที่จะทําใหเกิดความเสียหาย หมายถงึ สภาพเงอื่ นไขที่เปนสาเหตุท่ีทําใหความ เสยี หายเพม่ิ สูงขึน้ โดยสภาวะตา ง ๆ นั้น สามารถแบงออกไดเปนสภาวะทางดานกายภาพ คือ สภาวะของโอกาสทจ่ี ะเกิดความเสียหาย เชน ชนิดและทําเลท่ีต้ังของส่ิงปลูกสราง อาจเอื้อตอ การเกิดเพลิงไหม สภาวะทางดานศีลธรรม คือ สภาวะของโอกาสที่จะเกิดข้ึนจากความ ไมซ่ือสัตยตอหนาท่ีการงาน เชน การฉอโกงของพนักงาน และสภาวะดานจิตสํานึกในการ ปอ งกนั ความเส่ียง คอื สภาวะทไี่ มประมาทและเลินเลอ หรือการไมเอาใจใสใ นการปองกันความ เสีย่ ง เชน การท่พี นกั งานปลอยใหเคร่อื งจักรทํางานโดยไมค วบคุม องคป ระกอบการจดั การความเส่ยี ง การระบชุ ี้วา องคก รกําลงั มภี ัย เปน การระบุชว้ี า องคกรมีภัยอะไรบางท่ีมาเผชิญอยู และ อยใู นลักษณะใดหรือขอบเขตเปน อยา งไร นับเปนขั้นตอนแรกของการจัดการความเส่ยี ง การประเมินผลกระทบของภัย เปนการประเมินผลกระทบของภัยที่จะมีตอองคกร ซึ่งอาจเรียกอีกอยางหน่ึงวา การประเมินความเส่ียงท่ีองคกรตองเตรียมตัวเพื่อรับมือกับภัย แตละชนดิ ไดอยางเหมาะสมมากทส่ี ุด การจัดทํามาตรการตอบโตตอบความเส่ียงจากภยั การจดั ทาํ มาตรการตอบโตความเสี่ยง เปนมาตรการทจ่ี ดั เรียงลําดบั ความสําคัญแลวในการประเมินผลกระทบของภัย มาตรการตอบ โตทีน่ ยิ มใชเ พ่อื การรบั มือกบั ภยั แตล ะชนิด อาจจําแนก ได 5 มาตรการ ดังนี้

๑๒ (1) มาตรการขจดั หรือลดความรนุ แรงของความอนั ตรายของภัยท่ตี องประสบ (2) มาตรการท่ปี อ งกันผรู ับภยั มิใหตอ งประสบภัยโดยตรง เชน ภัยจากการที่ตองปนไป ในท่สี ูงกม็ มี าตรการปอ งกันโดยตอ งติดเข็มขัดนิรภยั กนั การพลาดพลงั้ ตกลงมา (3) มาตรการลดความรุนแรงของสถานการณฉุกเฉิน เชน กรณีเกิดเพลิงไหมในอาคาร ไดมีการขจดั และลดความรุนแรง โดยออกแบบตัวอาคารใหมีผนังกันไฟ กันเพลิงไหมรุนลามไป ยังบริเวณใกลเคียง และมีการติดต้ังระบบสปริงเกอร ก็จะชวยลดหรือหยุดความรุนแรงของ อุบตั ิภยั ลงได (4) มาตรการกภู ยั ก็เปน การลดความสญู เสยี โดยตรง (5) มาตรการกลับคนื สภาพ ก็เปนอกี มาตรการในการลดความเสียหายตอเนื่องจากภัย หรอื อบุ ัติภยั แตละคร้ังลงได การรบั มอื กบั ภัย 5 มาตรการ 1. การเตรยี มความพรอม องคกรตอ งเตรียมความพรอมระบบการบริหารความเสี่ยงให มคี วามพรอ มในการจัดทาํ มาตรการขจดั หรือควบคมุ ภัยตาง ๆ เอาไวลวงหนา 2. การตอบสนองอยา งฉบั ไวเมื่อเกดิ อบุ ัตภิ ัยข้นึ ระบบตองมีสมรรถนะที่ดีพอในการตอบ โตภ ยั แตละชนดิ อยา งไดผ ลและทันเวลา 3. การชวยเหลือกูภัย เปนกระบวนการปกปองชีวิตและทรัพยสินขององคกร ที่ไดผล และทันเวลา 4. การกลับเขา ไปทํางาน เมอ่ื อบุ ัตภิ ัยสนิ้ สุดลงแลวตองกลบั เขา ไปท่ีเดมิ ใหเ รว็ ทีส่ ุด เพ่ือการซอมแซม การเปลยี่ นใหม หรือการสรางขึน้ ใหม เพื่อใหอ าคารสถานท่ีพรอมท่ีจะดําเนิน กิจการตอไปได อาจรวมไปถงึ การประกนั ภัยดวย 5. การกลับคืนสูสภาวะปกติ องคกรสามารถเปดทําการ หรือ ดําเนินธุรกิจตอไป ตามปกตไิ ดเ สมือนวา ไมม ีอบุ ัติภยั มากอ น การตอบสนองอยางฉับไว กับการชว ยเหลือกูภัยอาจดู เหมอื นเปนเรื่องเดียวกัน แตความจริงแลวแตกตางกัน เชน กรณีเกิดอัคคีภัย อุปกรณดับเพลิง อัตโนมตั ิ การวิเคราะหป จจยั ความเสย่ี งทางธรุ กิจ การวิเคราะหปจจัยความเส่ียงทางธุรกิจ จะใชธุรกิจที่เราอยูเปนตัวต้ัง แลวมอง สิ่งแวดลอมรอบธุรกิจและตัวธุรกิจเองวา มีอะไรบางท่ีเปนจุดสําคัญ และถาจุดนั้นสําคัญถึง ขนาดทเี่ รียกวา ถาเกิดผลกระทบเลวรายแลว กับจดุ นแี้ ลว ธุรกจิ ของเราอาจมปี ญ หาได

๑๓ ประโยชนของการวเิ คราะหป จจยั ความเสี่ยง การวิเคราะหปจจัยความเสี่ยงนอกจากเกิดประโยชนกับธุรกิจแลวยังสงผลถึงองคกร และลกู คา ทมี่ าใชหรอื ขอรับบริการอีกดวย ซ่ึงพอสรปุ ได ดังนี้ 1. สามารถสรางเสรมิ ความเขา ใจการดําเนนิ การของธรุ กิจและจดั ทาํ แผนธุรกิจ ทใ่ี กลเ คยี งความเปน จรงิ มากขนึ้ ในเรื่องการประมาณการคาใชจาย และระยะเวลาดาํ เนนิ การ 2. เพ่ิมพูนความเขาใจความเสีย่ งในธรุ กจิ มากขนึ้ โดยเฉพาะอยางยิ่งผลกระทบท่ีจะเกิด กับธุรกจิ หากจัดการความเสีย่ งไมเ หมาะสมหรอื ละเลยการบริหารความเส่ียงนน้ั 3. มีอิสระในการพิจารณาความเสี่ยงของธุรกิจซ่ึงจะชวยใหการตัดสินใจจัดการความ เสย่ี งใหม ปี ระสทิ ธผิ ลและประสทิ ธภิ าพมากข้นึ 4. ทําใหยอมรับความเสี่ยงไดมากข้ึน และสามารถไดประโยชนจากการยอมรับความ เสย่ี งน้ันไดม ากขึน้ ดวย การประเมนิ ความเสี่ยง กระบวนการประเมนิ ความเสยี่ ง มีดังตอ ไปน้ี กาํ หนดความเส่ยี ง โดยตรวจสอบวาในธุรกิจของเรามีเร่ืองใดท่ีเปนความเสี่ยงบาง ซึ่งมี ประเด็นตา ง ๆ ทีส่ ามารถวางกรอบในการกําหนดความเส่ียงเปน ดา น ๆ 5 ดาน ดงั นี้ 1) ดา นการตลาด เชน การเปล่ียนแปลงของสินคา การเปล่ียนแปลงราคาสินคา อัตรา ดอกเบย้ี อัตราแลกเปล่ยี น ความผนั ผวนราคาหนุ การแขง ขนั ทางตลาด 2) ดานการผลิต เชน วัตถุดิบ กําลังการผลิต ตนทุนการผลิต เทคโนโลยี เครื่องจักร ความปลอดภยั ความผิดพลาดในขั้นตอนการผลติ 3) ดา นการเงนิ เชน ความเปลี่ยนแปลงดา นสนิ เชื่อ ความเปลย่ี นแปลงสินทรัพยทีใ่ ช คา้ํ ประกนั สินเช่ือ สภาพคลอ ง 4) ดานบุคลากร เชน ความรคู วามสามารถ ทกั ษะ ทศั นคติ ความรับผิดชอบ การทุจริต ความสามคั คี อตั ราการลาออก 5) ดาน 5 ศักยภาพ เชน ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิอากาศ ภัยธรรมชาติ ทําเลท่ีต้ัง ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี วิถีชีวติ ทรพั ยากรมนุษย เม่ือสามารถกาํ หนดความเส่ียงไดแลว ตอ งประเมนิ อีกคร้ังวาความเส่ียงน้ันรุนแรงระดับ ใด และ จัดลําดับความเสี่ยง ตามลําดบั ความรนุ แรง 1) การประมาณระดับความรุนแรงของความเสี่ยง การประมาณระดับของความเสี่ยง เพอ่ื ประกอบการตดั สนิ ใจในการดําเนินการแกไ ข เม่ือประเมินแลวนําขอมูลมาเรียงลําดับความ เส่ียง ซึ่งการประมาณความเส่ียงดูไดจาก การเรียงลําดับของความรุนแรงของสิ่งที่จะเกิดขึ้น (ผลกระทบ) และการเรยี งลาํ ดบั ของโอกาสทจ่ี ะเกดิ ข้ึนของเหตกุ ารณ ดังน้ี

๑๔ 1.1) ความรนุ แรงของอันตราย ลกั ษณะความรนุ แรง - ระดับความรนุ แรงมาก - ระดับความรุนแรงปานกลาง - ระดับความรุนแรงนอย การพิจารณาระดับความรุนแรง ระดับความรุนแรงหรือผลกระทบท่ีเกดิ จากเหตกุ ารณ ท่ีเกดิ ขน้ึ หรือคาดคะเนวา จะเกิดเหตุการณนั้น ๆ และเม่ือเกิดข้ึนแลวจะเกิดความรุนแรง หรือ ผลกระทบกับส่งิ ตา ง ๆ ในระดบั ใด กจิ กรรมทายบทที่ 3 คาํ ชแ้ี จง ใหผ ูเ รยี นอธบิ ายคาํ ถามตอ ไปน้ีใหถูกตอ ง 1. ใหผูเรียนยกตัวอยางอาชีพท่ีมีความเส่ียงในสังคมปจจุบันพรอมหาภาพ/เหตุการณ/ขาว/ บทความ ประกอบ 1 ภาพ และอธิบายดังหวั ขอ ตอไปน้ี 1. จะมวี ธิ ีจัดการความเส่ียงไดอยา งไร 2. ปจจัยท่กี อ ใหเกดิ ความเสย่ี งมอี ะไรบา ง 3. จะมีวิธีการบรหิ ารความเส่ยี งไดอ ยางไร 2. ความเสย่ี ง หมายถึง ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวตอบ การวัดประสิทธภิ าพ ของธุรกิจในการดาํ เนนิ การใหบรรลวุ ตั ถุประสงคข อง งาน ภายใตง บประมาณทีก่ ําหนด 3. ประโยชนข องการจดั การความเสยี่ ง คอื ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวตอบ การเพมิ่ ศกั ยภาพของธรุ กจิ ในการดําเนินการใหม กี าํ ไรมากข้ึน

๑๕ บทที่ 4 การจัดการผลิตหรือการบริการ ความหมายของการจดั การการผลติ การบรกิ าร และการควบคุมคุณภาพ การจัดการการผลิต หมายถึง กระบวนการท่ีดําเนินงานผลิตสินคาตามขั้นตอนตาง ๆ อยางตอเน่ืองและมกี ารประสานงานกัน เพือ่ ใหบรรลเุ ปาหมายขององคก รหรือกจิ การ การบรกิ าร หมายถึง กระบวนการท่ีเนนการใหบริการแกลูกคาโดยตรง โดยการทําให ลกู คาไดร ับความพงึ พอใจมคี วามสุขและไดร บั ผลประโยชนอ ยางเต็มที่ การควบคมุ คุณภาพ หมายถงึ การจดั กจิ กรรมตา ง ๆ เพ่อื ใหผลิตภณั ฑตอบสนองความ ตองการและสามารถสรางความพึงพอใจใหกับลูกคาบนแนวคิดพ้ืนฐานวา เม่ือกระบวนการดี ผลลัพธท ่ีออกมาก็จะดตี าม การจดั การเกย่ี วกบั การควบคมุ คณุ ภาพการผลิต การควบคุมคณุ ภาพนั้น มวี ตั ถุประสงคเ พอ่ื ใหส นิ คา หรือผลิตภัณฑหรือการบริการบรรลุ จุดมงุ หมายดังตอ ไปนี้ 1. สินคา ที่สงั่ ซอ้ื หรอื สัง่ ผลิตมีคณุ ภาพตรงตามขอ ตกลงหรือเง่อื นไขในสญั ญา 2. กระบวนการผลิตดาํ เนนิ ไปอยา งถกู ตอ งเหมาะสม 3. การวางแผนการผลิตเปน ไปตามท่ีกาํ หนดไว 4. การบรรจุหบี หอดี และเหมาะสม หมายถึง สามารถนําสงวัสดุยังจุดหมายปลายทาง ในสภาพดี ขน้ั ตอนการควบคมุ คณุ ภาพการผลิต แบงออกเปน 4 ข้ันตอน คือ 1. ข้นั การกําหนดนโยบาย ในข้ันนี้จะเปนการกําหนดวัตถุประสงคกวาง ๆ เชน ระดับ สนิ คา ขนาดของตลาด วธิ กี ารจาํ หนาย ตลอดถึงการรับประกัน ขอกําหนดเหลานี้จะเปนเคร่ือง ช้นี าํ วา กิจการจะตองทาํ อะไรบาง เพอื่ ใหบ รรลวุ ัตถปุ ระสงคท ่ีไดวางเอาไว 2. ข้ันการออกแบบผลิตภัณฑ การออกแบบผลิตภัณฑในที่นี้ หมายถึง การกําหนด คณุ ลกั ษณะของผลิตภณั ฑ การออกแบบผลิตภัณฑจงึ ตอ งมคี วามสมั พันธกับระบบการผลิต 3. ขัน้ ตอนการควบคุมคุณภาพของการผลติ การควบคุมคณุ ภาพการผลิต แบงออกเปน ขั้นตอนยอย 3 ขั้น คือ การตรวจสอบคุณภาพของชิ้นสวน การควบคุมกระบวนการการผลิต และการตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ โดยในการตรวจสอบทั้ง 3 ขั้นน้ี สวนใหญจะใช เทคนิคการสุมตวั อยา ง เพราะผลติ ภณั ฑท่ีผลติ ไดน ้นั มจี ํานวนมากไมอาจจะทําการตรวจสอบได อยา งท่ัวถึงภายในเวลาจํากัด

๑๖ 4. ข้ันการจาํ หนาย การควบคุมคุณภาพ จะมีลักษณะเปน การใหบ ริการหลงั การขาย ซึง่ ในระบบการตลาดสมัยใหมถ ือวาเปน เรื่องสําคัญมาก เพราะสนิ คาบางชนดิ โดยเฉพาะอยา งย่ิง สนิ คาประเภทเครื่องมอื เครื่องจักรหรืออุปกรณทางอิเล็กทรอนิกส ซ่ึงมีวิธีการใชและการดูแล รกั ษาท่ีคอ นขา งยงุ ยาก ผูผลติ หรอื ผขู ายจะตองคอยดูและเพื่อใหบริการหลังการขายแกผูซ้ืออยู เสมอ เพอื่ สรา งความพึงพอใจ ซึง่ จะมีผลตอความเชอื่ ม่ันและความกา วหนา ทางธุรกจิ ในอนาคต การใชน วัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลติ การใชน วัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลิต เปนการพัฒนาความสามารถในการผลิต ผลิตภัณฑของมนุษย ชวยในการแกปญหาและสนองความตองการของมนุษยอยางสรางสรรค โดยนําความรูมาใชกับกระบวนการเทคโนโลยี เพ่ือสรางและใชสิ่งของเครื่องใช วิธีการใหการ ดํารงชีวติ มคี ณุ ภาพดีย่ิงขึน้ นวัตกรรม หมายถึง ความคิด การปฏิบัติ หรือส่ิงประดิษฐใหม ท่ียังไมเคยมีใชมากอน หรือเปนการพัฒนาดดั แปลงมาจากของเดมิ ทีม่ ีอยูแลว เทคโนโลยี หมายถึง ส่ิงที่มนุษยพัฒนาขึ้น เพ่ือชวยในการทํางานหรือแกปญหาตาง ๆ เชน อุปกรณ เครอื่ งมอื เครอ่ื งจกั ร วสั ดุ หรือแมกระท่ังส่งิ ท่ไี มไดเปนสิง่ ของท่ีจับตอ งไดหรืออาจ เปน ระบบหรือกระบวนการตา ง ๆ เพื่อใหก ารทํางานบรรลผุ ลเปาหมาย เทคโนโลยีจะมีประโยชนอยางมาก เมื่อผูใชมีการนําไปใชไดอยางถูกวิธีและเหมาะสม และจะเกดิ ผลกระทบอยางมากมาย เมือ่ ผูใ ชนาํ เทคโนโลยไี ปใชแ บบผิด ๆ ดวยความไมรู หรือใช เทคโนโลยีมากเกนิ กวาความจําเปน กระบวนการเทคโนโลยใี นการผลติ กระบวนการเทคโนโลยีเปนกระบวนการท่ีเกี่ยวของกับการแกปญหา โดยการใช ความคิดรเิ ร่มิ อยางสรา งสรรคและรอบคอบ เพือ่ สรางผลติ ภัณฑท่กี อ ใหเกิดประโยชนตามความ ตองการของมนษุ ยอยา งมปี ระสิทธิภาพ หลักการเบื้องตน ของกระบวนการทางเทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ สามารถแบง ออกเปน ขน้ั ตอน ไดดังนี้ 1. กาํ หนดปญหาหรอื ความตองการ 2. สรา งทางเลือกหรอื วธิ ีการ 3. เลอื กวธิ ีการทเ่ี หมาะสม 4. ออกแบบและลงมือสราง 5. ทดสอบและประเมนิ ผล (ปรับปรงุ แกไ ข)

๑๗ การเลอื กใชเ ทคโนโลยอี ยา งสรา งสรรค การเลือกใชเ ทคโนโลยอี ยา งสรางสรรคต อ ชวี ติ สังคม สง่ิ แวดลอมและงานอาชีพ มหี ลกั การดงั ตอไปน้ี 1. การวเิ คราะหเปรียบเทียบผลิตภัณฑหรือวธิ กี ารท่ีไดจากเทคโนโลยีตาง ๆ ทั้งทางดาน คุณภาพ รูปแบบ วัสดุ ความสะดวกในการใช ความคุมคา โดยกอนที่จะตัดสินใจเลือก เทคโนโลยีใดมาใชน ัน้ ผปู ระกอบการหรอื เจาของกจิ การ ควรนําคุณลักษณะท่ัวไป คุณลักษณะ เฉพาะของเทคโนโลยมี าศกึ ษาเปรียบเทียบกอ นการตัดสนิ ใจเลือก 2. เมื่อมีการเลือกใชเทคโนโลยีสําหรับการสรางและพัฒนาผลิตภัณฑ เพื่อสนองตอ ความตอ งการของมนษุ ยแ ลว ยอ มตองมีผลกระทบตอสังคมและสิ่งแวดลอมตามมาดวย ดังนั้น ผูประกอบการหรือเจา ของกิจการตอ งศกึ ษาทบทวนวา เทคโนโลยีท่ีกําหนดใชนั้นมี ขอดี ขอเสีย และผลตอสงั คมและสงิ่ แวดลอ มทจี่ ะไดร ับนั้นเปนอยา งไร 3. ตัดสินใจเลือกและใชเทคโนโลยีท่ีมีผลดีตอสังคมและสิ่งแวดลอมในทางสรางสรรค มากทีส่ ดุ การลดตน ทุนการผลติ และการบรกิ าร การดาํ เนินงานธุรกจิ ทุกประเภท ใหสามารถดํารงอยไู ดอ ยางมั่นคง จําเปน ท่ีผปู ระกอบการหรอื เจาของธรุ กิจตองหาวิธีการลดตนทุนการผลิตและการบริการ โดยแนวคิด ในการลดและควบคุมตน ทุนการผลติ น้นั มีหลักการดงั นี้ 1. ศึกษาวิเคราะหและสํารวจสถานภาพปจจุบันของการผลิต คือแรงงาน วัตถุดิบ ตนทุน การผลิต เม่ือรูปจจยั การผลติ แลวทําใหส ามารถหาขอบกพรองและหาวธิ ีลดตนทุนได 2. วเิ คราะหหาสาเหตุของตนทุนสูญเปลาท่ีเกิดข้ึนจากการผลิตสินคา และการบริการ หมายถึง การเสยี คาใชจา ยแตไ มไ ดก อ ใหเกดิ ประโยชนตอธุรกจิ 3. ปฏบิ ัตกิ ารลดและควบคมุ ตน ทุนการผลติ ในสวนของคา ใชจา ยท่ไี รป ระสิทธภิ าพ มีความสูญเปลา โดยดาํ เนินการตอ เน่ืองใหบรรลผุ ลสาํ เร็จ การดําเนินธุรกจิ ตองเผชญิ กบั ขอจํากัดหลายอยางท่ีเปนอุปสรรคและเปนเหตุใหตนทุน การผลิตสูงขึ้น จากหลายปจจัย คือ ตนทุนแรงงานมีแนวโนมสูงขึ้น ตนทุนวัตถุดิบแพงขึ้น โดยเฉพาะการนําวตั ถุดิบจากภายนอกเขา มา ทําใหตน ทนุ การผลติ สูงขนึ้ เชน คา นาํ้ มัน คาไฟฟา คูแขงขันมีมากขึ้นและทวีความรุนแรงมากข้ึน จําเปนที่ผูประกอบการหรือเจาของ ธุรกจิ ตอ งลดตนทุนการผลติ ตอหนวยสินคาที่ผลติ จะมีผลใหไดก าํ ไรมากขนึ้ ดังน้นั ผปู ระกอบการ ตองปรับวิธีการทําธุรกิจ เพ่ือลดตนทุนการผลิตใหตํ่าลง โดยกําหนดเปาหมายการผลิตให

๑๘ เหมาะสมเพื่อความอยูรอด มีการปรับปรุงโครงสรางในการประกอบธุรกิจพัฒนาระบบการ สง เสริมการขาย ซึง่ เปนกญุ แจสําคัญสูค วามสําเรจ็ ปจ จัยในการลด และควบคุมตน ทนุ การผลติ ในการผลิตสนิ คา ตนทนุ การผลติ จะสงู หรือตา่ํ นัน้ ขนึ้ อยกู ับปจ จยั ตา ง ๆ หลายประการดังน้ี 1. ผบู รหิ ารตอ งมีนโยบายและโครงการเพ่ือลดตนทุนการผลิตอยางจรงิ จังและชัดเจนไม วาจะเปนนโยบายดานคุณภาพมาตรฐานระดับสากล เชน ISO , การสนับสนุนศักยภาพของ บุคลากร ฯลฯ หรือระบบและวธิ ีการลดตน ทุน ซง่ึ ตอ งดําเนนิ การอยา งจรงิ จังและตอ เน่อื ง 2. สรา งจติ สํานึกพนักงาน ใหมีจิตสํานึกท่ีดีตอโครงการลดตนทุนการผลิต จึงจะไดรับ ความรวมมือและประสบความสําเรจ็ ได 3. มีมาตรการเพ่ิมประสิทธิภาพและคุณภาพของการบริหารจัดการธุรกิจอยางจริงจัง ทุกปจจัยที่กลาวมามีความสําคัญเทากันหมด แตการดําเนินการใหบรรลุเปาหมายอยางมี คุณภาพผูบริหารธุรกิจตองกําหนดเปาหมายและการดําเนินงานอยางจริงจัง และตองมีการ จดั ทําขอ มลู และวดั ประสทิ ธิภาพของการลดตนทนุ อยางตอ เนอื่ ง 4. วธิ ีการจัดทําแผนปฏิบตั ิการ ข้ันตอนที่ 1 การแยกยอ ย ข้นั ตอนที่ 2 การจัดเตรยี มแผนงาน โครงการ และมาตรการ ขั้นตอนที่ 3 ประสานแผนปฏิบตั กิ ารเบอ้ื งตน เขา กับแผนงาน การจัดทําแผนปฏิบัติการในการจัดการผลิต ผูประกอบการจะตองเตรียมวางแผนไว ลวงหนา เพ่ือเปนการประกันความสําเร็จไดมากข้ึน การเขียนแผนปฏิบัติจะประกอบดวย รายการกิจกรรม วตั ถุประสงค ระยะเวลา งบประมาณ ผรู บั ผิดชอบ ดงั นี้ แผนปฏิบตั กิ าร การจัดการผลิต ที่ กิจกรรม วตั ถุประสงค ระยะเวลา งบประมาณ ผูรบั ผดิ ชอบ ดา นการควบคุม เพอ่ื ใหส นิ คามี ก.พ. ถึง 100,000.- นายวิญู 1 คณุ ภาพ คณุ ภาพตาม เม.ย. 53 มาตรฐาน 2 การใชน วตั กรรม เพือ่ ประหยัดเวลา ก.พ. ถึง 300,000.- นายวิชาญ เทคโนโลยใี นการผลิต ในการผลติ เม.ย. 53 3 การลดตน ทนุ การผลิต เพื่อผลกําไรมากขนึ้ ป พ.ศ. 53 - นางสรญา

๑๙ กิจกรรมทา ยบทท่ี 4 คําชีแ้ จง ใหผ ูเรยี นอธบิ ายคําถามตอ ไปน้ใี หถกู ตอง 1. ใหผูเรยี นรวมกลุม เพอ่ื นไปคน ควาหาความรใู นเรื่อง “การการผลิตหรือการบรกิ าร” จากแหลงเรยี นรตู า ง ๆ ท้งั ส่ือบคุ คล และจากอนิ เทอรเ นต็ แลวเขยี นสรุปยอ เปนองคความรู ลงในแบบบนั ทึก แบบบนั ทกึ เรือ่ ง การจดั การการผลติ หรอื การบริการ แหลง คน ควา ........................................................................................................................................ เน้อื หา 1. การวเิ คราะหความเปนไปไดของแผนการผลิตหรือการบริการ ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การจดั ทาํ แผนปฏิบตั ิการผลิตหรอื การบริการ ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ขน้ั ตอนการขับเคลอื่ นแผนปฏิบัตกิ ารผลติ และการบริการ ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………

๒๐ 2. ใหผูเรียนไปศึกษาจากผูประสบความสําเร็จในการประกอบอาชีพ โดยมีหัวขอในการ สนทนาดงั นี้ 1. แนวทางในการประกอบอาชีพใหม ีความมั่นคง ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การจดั ทาํ แผนการผลติ หรอื การบรกิ าร ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ขนั้ ตอนการขบั เคลอ่ื นแผนปฏิบัติการการผลิตหรือการบรกิ าร ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ใหผ เู รียนฝก เขียนแผนปฏิบตั กิ ารการผลติ หรือการบริการ

๒๑ บทท่ี 5 การจัดการการตลาด การจัดการการตลาด หมายถึง การดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ดานธุรกิจ ซึ่งจะตองมีการ วางแผนการผลิต การโฆษณา การประชาสัมพันธ การวิจัยการตลาด การสงเสริมการขาย การทําฐานขอมูลลูกคา การกระจายสินคา การกําหนดราคา การจัดจําหนาย ตลอดจน การดาํ เนนิ กจิ การทกุ อยา งเพือ่ สนองความตองการ และบริการใหแกผ ซู ื้อหรอื ผบู รโิ ภคพอใจ ทง้ั ในเรื่องราคาและบริการ การจัดการการตลาดเกี่ยวขอ งกบั เรอื่ งตา ง ๆ ดังน้ี 1. การโฆษณา หมายถงึ การนาํ เสนอหรือสงเสรมิ ความคิดในการขายสนิ คา หรือบริการ ผา นส่อื ตา ง ๆ มผี อู ปุ ถัมภเ ปน ผูเสียคาใชจายในการโฆษณา โดยมีวัตถุประสงคของการโฆษณา เพ่ือใหเ กิดความรู ความเขา ใจเกยี่ วกบั สนิ คาและงานบริการ เปน การใหข าวสารและชักจูงใหซื้อ สินคาและซื้อบริการสื่อที่ใชในการโฆษณามีหลายประเภท เชน นิตยสาร หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน ปายโฆษณา การโฆษณาทางไปรษณีย เปนตน ส่ือโฆษณาแตละประเภทจะมีจุดเดน และจดุ ดอ ยแตกตางกนั ดังนน้ั การเลอื กส่อื โฆษณาควรคํานึงถึงวตั ถปุ ระสงค ดังน้ี 1) สามารถเขา ถงึ กลมุ เปา หมายใหม ากทส่ี ดุ เทาท่ีจะมากได 2) สื่อน้ันมปี ระสิทธภิ าพและไดผ ลสงู สดุ 3) เสียคาใชจ า ยต่าํ ท่ีสุด 2. การประชาสัมพันธ หมายถึง การติดตอส่ือสารเพื่อสงเสริมความเขาใจที่ถูกตอง รวมกนั ตลอดจนสรางความสัมพันธอันดีตอกันระหวางลูกคากับผูผลิต เพื่อใหเกิดความเช่ือถือ ศรัทธา ความคิดเหน็ ทัศนคตทิ ี่ดีตอองคก าร การประชาสมั พันธ ไดแ ก ขาวแจกสําหรับเผยแพร การแถลงขาว 3. การสงเสริมการขาย หมายถึง กิจกรรมการสงเสริมการตลาดนอกเหนือจากการ โฆษณาการขายโดยบคุ คล และการประชาสมั พันธ เปนการชวยกระตุนความสนใจ การซื้อของ ผบู ริโภคหรือบุคคล 4. การวิจยั การตลาด หมายถงึ การศกึ ษาปจ จยั ภายนอกและภายในเกยี่ วกับการตลาด ทําใหผูประกอบการมีขอมูลในการวางแผนการตลาดไดอยางม่ันใจและสามารถบอก รายละเอียดในการดําเนินงานไดอยางชัดเจน การวิจัยการตลาดหรือการศึกษาตลาดควร วเิ คราะหพ ฤตกิ รรมผบู รโิ ภคมาปรบั ใช ดังน้ี 1. ผบู รโิ ภคของกิจการคอื ใคร ใชหลกั การแบง สวนตลาดเขา มาประกอบการ พจิ ารณา คือ หลักภมู ิศาสตร หลักประชากรศาสตร หลักจติ วิทยา หลักพฤตกิ รรมศาสตร

๒๒ 2. ตลาดตอ งการซื้ออะไร ผปู ระกอบการจะตองศกึ ษาวาผูบ ริโภคตองการอะไร จากผลิตภัณฑที่ซ้ือ เชน บางคนใชรถยนตราคาแพง เพราะตองการความภาคภูมิใจ บางคนเลือกรับประทานอาหารในรานหรูหรา นอกจากเขาตองการความอรอยจากรสชาติของ อาหารแลวเขายังตองการความสะดวกสบาย การบริการที่ดี เปนตน นักการตลาดจะตอง วิเคราะหดูวาผบู รโิ ภคตองการซือ้ อะไรเพื่อท่จี ะจดั องคป ระกอบของผลิตภัณฑใ หครบถวนตามที่ เขาตอ งการ 3. ซ้ืออยา งไร ผูป ระกอบการตอ งศึกษาถึงกระบวนการตัดสินใจในการซ้ือของ ผบู รโิ ภค กระบวนการการตดั สินใจในการซ้ือนี้จะเร่ิมจากความรูสึกวาตองการสินคาน้ัน จนไป ถึงความรสู กึ หลงั การซ้ือ กระบวนการดังกลาวน้ีจะกินเวลามากหรือนอย ยากหรืองายเพียงใด ขน้ึ อยกู บั ชนิดของสนิ คา ตวั บุคคลท่ที ําการซอ้ื ผูต ดั สนิ ใจซ้ือ การสงเสริมการตลาด ฯลฯ แตละ ขั้นของกระบวนการซ้ือใชเวลาไมเทากันและบางคร้ังการซื้ออาจจะไมไดดําเนินไปจนจบ กระบวนการก็ได เพราะผูบ รโิ ภคเปลยี่ นใจหรือเกิดอปุ สรรคมาขดั ขวางทาํ ใหเ ลิกซ้ือหรอื อาจตอง ทอดระยะเวลาในการซื้อออกไป 4. ทําไมผบู รโิ ภคจงึ ซ้ือเปน การพิจารณาถงึ วตั ถปุ ระสงคห รอื จดุ มงุ หมายของ การซือ้ 5. เม่ือไรผูบ ริโภคจะซื้อ นกั การตลาดจําตองทราบถึงโอกาสในการซอ้ื ของ ผูบริโภค ซ่ึงจะแตกตางกันตามลักษณะสินคานั้น ๆ เพ่ือวางกลยุทธทางตลาดไดเหมาะสมกับ พฤติกรรมการซ้อื ของผบู รโิ ภค 6. ผูบรโิ ภคจะซื้อท่ไี หน เปน การถามเร่อื งชอ งทางการจาํ หนาย แหลง ขายท่ี เหมาะสมกับสินคา โดยพิจารณาดูวาสินคาชนิดน้ีผูบริโภคมักจะซื้อจากท่ีไหน ซื้อจาก หางสรรพสินคา ใหญ หรอื จากรานขายของชาํ ใกลบ า น เปนตน 7. ใครมีสว นรว มในการตัดสินใจซ้ือ เปนการถามเพื่อใหทราบถึงบทบาทของ กลมุ ตา ง ๆ ทมี่ อี ทิ ธพิ ลหรือมีสว นรว มในการตัดสินใจซ้อื 8. การวางแผนการตลาด หมายถงึ การกําหนดกลุมลกู คา เปา หมาย สรา งความ นา เช่ือถอื ใหกบั กจิ การและผูทจี่ ะรวมลงทนุ สามารถอธิบายวธิ ีการทจ่ี ะดงึ ดดู และรกั ษาลูกคาท้ัง รายเกา รายใหมไ วได 9. การทําฐานขอ มูลลูกคา หมายถึง ขอ มลู จะชว ยในการกําหนดสวนตา งของ การตลาด การกําหนดกลยทุ ธ การตลาดทางตรงไมวา จะเปน กลยทุ ธก ารสรางสรรคงานโฆษณา กลยทุ ธส่อื ตลอดจนใชในการวิเคราะหขอมูลตาง ๆ เปนสิ่งสําคัญสําหรับการทําตลาดทางตรง เพราะกิจการจะไมสามารถสื่อสารหรือเขาใจถึงกลุมลูกคาที่คาดหวังได หากปราศจากขอมูล ลูกคา

๒๓ วตั ถุประสงคการทําฐานขอ มูลลกู คา มีดังนี้ 1) เพือ่ ใหทราบถึงความสาํ คัญของการจัดทาํ บญั ชีรายช่ือลกู คา 2) เพอื่ ใหท ราบถึงวธิ ีการเบอ้ื งตน ในการจดั ทาํ บญั ชีรายชอื่ ลูกคา 3) เพอ่ื ใหเ ขา ใจถงึ ประเภทของฐานขอมูล 4) เพื่อใหท ราบถึงองคป ระกอบของฐานขอมลู ลูกคา 10. การกระจายสินคา ในวงการธรุ กจิ ปจ จบุ นั นักการตลาดใหค วามสาํ คัญ เกี่ยวกับการกระจายสินคา ไมนอยกวาตัวแปรอื่น ๆ ในดานการตลาด หากผลิตภัณฑเปนท่ี ตองการของตลาด แตระบบการกระจายสินคาไมดี เชน สงสินคาผิดพลาด ลาชา ผิดสถานที่ เปนตน เปน ความสูญเสยี อนั ย่ิงใหญ เพราะทาํ ใหย อดขายลดลงและสญู เสยี ลูกคา จดุ ประสงคของการกระจายสินคา คือการจัดสงสินคาใหลูกคาไดถูกตอง ไปยังสถานท่ี ทถ่ี ูกตองในเวลาที่เหมาะสม โดยเสียคาใชจายนอยที่สุด ตลอดจนการใหบริการลูกคาที่ดีท่ีสุด บทบาทและความสําคัญของการกระจายสินคา เปนการเช่ือมโยงระหวางผูผลิตกับผูบริโภค หรือกลาวไดวาการที่นําสินคาออกจําหนายใหผูบริโภคทันตามเวลาท่ีตองการกระจายสินคา จงึ มีความสาํ คญั ทผ่ี ูประกอบการจะตอ งระมดั ระวงั ในเร่อื งตอไปน้ี 1) สินคา ที่ถกู ตอง 2) เวลาทถ่ี กู ตอง 3) จาํ นวนทถ่ี กู ตอ ง 4) สถานทท่ี ่ถี ูกตอง 5) รูปแบบทต่ี อ งการ การจดั การกระจายสนิ คา คอื การนําสนิ คาไปถึงมือผบู ริโภคหรอื ลูกคา ซึ่งกระจายสินคา เกีย่ วของกับการงานในหนา ทอี่ ื่น ๆ ไดแก การเริ่มตนจากการพยากรณการขายซ่ึงเก่ียวกับการ วางแผนการจัดจําหนาย และวางแผนการผลิต สวนการกระจายสินคา หมายถึง การบริหาร ระบบการขนสงระบบชองทางการจัดซื้อ ระบบชองทางการจัดจําหนาย ระบบสินคาคงคลัง เพ่ือใหไดมาซ่ึงประสิทธิภาพในการจัดซ้ือวัสดุ วัตถุดิบเพื่อการผลิต และเพ่ือใหไดมา ซ่ึงประสทิ ธภิ าพทางการตลาดทจ่ี ะขายสนิ คาสาํ เร็จรปู และบรกิ ารสูมือผบู ริโภค การวางแผนการตลาดเชงิ กลยทุ ธ การวางแผนการตลาดเชิงกลยุทธ จะทําใหพนักงานทุกคนไดรูวา จะปฏิบัติใหบรรลุ เปาหมายในระยะเวลาไดอยางไร แผนการตลาดเปนเอกสารที่เขียนขึ้น เพ่ือใชเปนเสมือน หนังสือนําทางสําหรบั กจิ กรรมทางการตลาดแกผจู ัดการฝายการตลาด การเขยี นแผนการตลาด

๒๔ ทีช่ ดั เจนเปน งานท่ีตอ งใชเ วลา แตเ ปน พน้ื ฐานในการสื่อสารภายในองคก าร แผนการตลาดจะทํา ใหพนักงานทุกคนทราบวาตนมีความรับผิดชอบอะไร ตองทําอะไร มีกรอบเวลาในการ ปฏิบัติงานอยางไร แผนการตลาดบง บอกวัตถุประสงคและแนวทางการจัดสรรทรัพยากรเพ่ือให บรรลวุ ัตถุประสงค แผนการตลาดเปนกรอบความคิดและใหทิศทางเชิงกลยุทธ สวนการนําไป ปฏิบัติเปนการทํางานในลักษณะท่ีจัดการกับปญหา โอกาส และสถานการณ แผนการตลาด แสดงขั้นตอนงานที่เรยี งเปนลําดับกอนหลังก็จริง แตขั้นตอนเหลาน้ันอาจเกิดข้ึนพรอมกันหรือ ประสานกันก็ได การเขียนแผนมีหลายรูปแบบ ข้ึนอยูกับองคกร พันธกิจ วัตถุประสงค กลมุ เปา หมาย และสว นประสมทางการตลาดขององคก รนน้ั การนาํ แผนไปปฏิบัติและการควบคุม เปนกระบวนการท่ีผูทําการตลาด ตองดําเนินงานตาม แผนการตลาดทวี่ างไว ดวยความมั่นใจวาสามารถบรรลุวัตถุประสงคได ซ่ึงรายละเอียดในแผน จะระบกุ ิจกรรม เวลา งบประมาณ ซง่ึ ตองมีการสื่อสารที่ดี เมื่อนําแผนการตลาดไปปฏิบัติแลว จะตองมกี ารประเมนิ เพื่อใหท ราบวาไดด ําเนนิ การบรรลุตามวัตถุประสงคเพียงใด มีอะไรท่ีควร แกไข การวางแผนมีความสัมพันธใกลชิดกับการควบคุม เน่ืองจากแผนไดระบุถึงสิ่งที่องคกร ตองการบรรลุ

๒๕ กจิ กรรมทายบทท่ี 5 คําช้ีแจง ใหผเู รียนอธิบายคาํ ถามตอไปน้ใี หถ ูกตอ ง 1. การจัดการการตลาด หมายถึงอะไร ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวตอบ การจัดการการตลาด หมายถึง การดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ดานธุรกิจ ซึ่งจะตองมีการวางแผนการผลิต การโฆษณา การประชาสัมพันธ การวิจัยการตลาด การ สง เสริมการขาย การทาํ ฐานขอ มูลลูกคา การกระจายสินคา การกําหนดราคา การจัดจําหนาย ตลอดจนการดาํ เนินกจิ การทุกอยา งเพื่อสนองความตอ งการ และบรกิ ารใหแกผูซื้อหรือผูบริโภค พอใจ ท้ังในเรอื่ งราคาและบริการ 2. การจดั ทาํ แผนการตลาดมีวธิ ใี ดบาง ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวตอบ การโฆษณา การประชาสัมพันธ การวิจัยการตลาด การสงเสริมการขาย การทาํ ฐานขอ มูลลูกคา การกระจายสินคา

๒๖ บทที่ 6 บัญชธี รุ กจิ ความหมายของบัญชธี รุ กิจ บญั ชีธุรกจิ หมายถึง ระบบประมวลขอมูลทางการเงิน การจดบันทึกรายการคาตาง ๆ ท่ีเกี่ยวกับการรับ – จายเงิน ส่ิงของ และสิทธิท่ีมีมูลคาเปนเงินไวในสมุดบัญชีอยางสม่ําเสมอ เปนระเบียบถูกตองตามหลักการและสามารถแสดงผลการดําเนินงานและฐานะการเงินของ กจิ การในระยะเวลาหน่งึ ได ความสําคญั ของการทาํ บญั ชี 1. เปนเครอื่ งมือวัดความสําเรจ็ ในการดาํ เนินธุรกิจ โดยพิจารณาจากผลการดําเนินงาน ฐานะทางการเงินของธุรกิจ และความม่ันคงของธรุ กิจ จะบันทึกบญั ชีรายการตา ง ๆ ท่ีเกิดขึ้นใน การดาํ เนินธรุ กจิ เชน การลงทนุ การรับ การจาย โดยไมนําสวนท่ีเปนของสวนตัวเขามาบันทึก ดวย ส่ิงที่บันทึกไวจะสามารถนํามาจัดทําเปนรายงานทางการเงินได เชน งบดุล งบกําไร ขาดทนุ ซ่ึงเปน ภาพสะทอนในการดําเนินธรุ กจิ 2. เปนเครื่องมือชวยในการวางแผนและตัดสินใจธุรกิจ สามารถนํามาวิเคราะหความ เปนไปไดของการลงทุนท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต ดังนั้น หากมีการบันทึกที่ถูกตอง จะทําให สามารถพัฒนากจิ การใหเ จรญิ กา วหนา อยางยงั่ ยืน 3. เปนเคร่ืองมือในการวางแผนกําไร และควบคุมคาใชจายของบริษัท ชวยในการ ตดั สินใจกาํ หนดราคาสนิ คา ชวยในการควบคุมตนทุนการผลิต และสามารถวิเคราะหปรับปรุง รายจายที่ไมจ ําเปนออก รวมถึงชวยในการวางแผนการดาํ เนินงานไดอยางถูกตอง เหมาะสมกับ ทรัพยากรท่มี อี ยู ประเภทและขนั้ ตอนของการทําบญั ชธี รุ กิจ บัญชกี ารเงนิ หมายถึง การเพิ่มข้ึนของประโยชนเชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชี ในรูปของกระแสเขาหรือการเพม่ิ ข้นึ ของสนิ ทรพั ย บัญชีสินทรัพย หมายถึง ทรัพยากรท่ีอยูในความควบคุมของกิจการ เปนผลของ เหตุการณใ นอดีตซงึ่ คาดวาจะไดร ับประโยชนเ ชงิ เศรษฐกจิ ในอนาคต บัญชีรับ-จาย หมายถึง การลดลงของประโยชนเชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชี ในรปู ของกระแสออกหรือการลดลงของสนิ ทรพั ย

๒๗ ตวั อยาง แบบฟอรมการทําบญั ชรี ายรบั -รายจา ย แบบบญั ชีรายรบั -รายจา ย วันเดอื น รายรับ จาํ นวนเงิน วันเดอื น รายจาย จาํ นวนเงิน ป บาท สตางค ป บาท สตางค บัญชที รัพย-หนี้สิน หมายถึงเปนภาระผูกพันในปจจุบันของกิจการโดยจะเปนผลของ เหตกุ ารณในอดตี ซง่ึ จะทาํ ใหก จิ การเสียทรัพยในอนาคต ตัวอยา งบญั ชีทรพั ย- หน้ีสนิ ทรัพยสนิ หน้ีสิน วันเดอื น รายการ จํานวน จํานวน วัน รายการ จํานวน จํานวน ป หนว ย เงิน เดือนป หนว ย เงนิ

๒๘ กจิ กรรมทายบทท่ี 6 คําช้แี จง ใหผ ูเรยี นอธบิ ายคาํ ถามตอไปนีใ้ หถ ูกตอ ง 1. บัญชธี ุรกิจ หมายถงึ อะไร ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวตอบ บัญชธี รุ กิจ หมายถงึ ระบบประมวลขอ มูลทางการเงิน การจดบันทึกรายการ คาตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการรับ – จายเงิน สิ่งของ และสิทธิที่มีมูลคาเปนเงินไวในสมุดบัญชีอยาง สม่ําเสมอ เปนระเบียบถูกตองตามหลักการและสามารถแสดงผลการดําเนินงานและฐานะ การเงนิ ของกิจการในระยะเวลาหนึง่ ได 2. บญั ชีมไี วเ พอื่ อะไร ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวตอบ 1. เปนเครอ่ื งมือวัดความสาํ เร็จในการดําเนนิ ธรุ กิจ 2. เปน เครอื่ งมือชวยในการวางแผนและตัดสนิ ใจธรุ กิจ 3. เปนเคร่ืองมือในการวางแผนกําไร

๒๙ บทท่ี 7 การขับเคลอ่ื นธรุ กิจเพ่ือการขยายอาชพี สง่ิ ทตี่ อ งวเิ คราะหใ นแผนปฏบิ ตั กิ ารขยายธรุ กจิ 1. ความถูกตอ งนา เชอื่ ถอื ของขอมูลพ้ืนฐานท่ีจะนาํ มาใชกําหนดแผน 2. ขอ มูลท่ีไดมามีความเทย่ี งตรงเพยี งพอก็ตองวเิ คราะหเ พ่อื ใหเ กย่ี วกบั แผนท่ี กําหนดขึน้ การจัดทําแผนปฏบิ ตั กิ าร มขี น้ั ตอนของการจดั ทาํ แผนการปฏิบตั ิการ 3 ขน้ั ตอนดงั น้ี 1. การวางแผน การวางแผนเปนจดุ เริม่ ตนในการดาํ เนินการโดยกําหนดวัตถุประสงค และวธิ ดี ําเนนิ งานเพือ่ ใหปรบั ปรงุ วัตถปุ ระสงคท ก่ี าํ หนดอยา งมปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ล 2. การควบคุม คือการติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน เพื่อใหการดําเนินงาน เกดิ ประสิทธภิ าพและเพอ่ื นาํ ขอมูลที่ไดม าวิเคราะหและแกไ ขปรับปรุงการวางแผนคร้งั ตอ ไป 3. ระบบควบคุม 1.กําหนดเปา หมายทีช่ ัดเจนในการดําเนินงาน คือเปนการกําหนดถึงเปาหมาย ทจี่ ะทําในการทํางานวา ทําเพื่ออะไร แลวผลตอบแทนเปน อยา งไร 2.กําหนดมาตรฐาน คือเปน การกาํ หนดถึงส่ิงที่ตองสรางเปนหลักเพือ่ ใหงานน้ัน เปนงานทเี่ ปนไปตามมาตรฐานเพือ่ ใหเปน จุดเดน 3.กาํ หนดตัวชีว้ ัดใหชัดเจน คือเปนการบอกถึงส่ิงท่ีช้ีวัดใหเห็นวาตองการเห็น อะไรในการทํางานในครั้งน้วี า ตอ งการเปน แบบใด ข้ันตอนการขับเคล่ือนแผนปฏิบัติการ เพ่ือขยายธุรกิจผูประกอบการจะตองดําเนินการใน 3 ประเด็นคอื 1. การวิเคราะหความเปน ไปไดข องแผนปฏิบัตกิ าร เปนการพิจารณาถึงความเหมาะสม ของแผนปฏิบตั ิการกับสภาพความเปนจรงิ ของกิจการวา สามารถเปน ไปไดตามทีว่ างไวห รอื เปลา 2. การพัฒนาแผนปฏิบัติการ เปนการพัฒนาแผนปฏิบัติการโดยการนําขอมูลจากการ วิเคราะหความเปนไปไดของแผนปฏบิ ตั กิ าร 3. การจดั การความรขู ับเคลอื่ นแผนปฏิบัติการสคู วามสําเรจ็ ในการขยายอาชีพ เปนการ จดั การกับความรทู ี่จะใชในการขบั เคลอื่ นแผนปฏบิ ัตกิ ารสูค วามสาํ เร็จในการขยายอาชีพ

๓๐ การตรวจตดิ ตามคณุ ภาพการทํางาน มีข้นั ตอนดังนี้ 1. ทบทวนโครงการ/กจิ กรรม ท้งั หมดใหเ ห็นเจตนารมณว า ตองทาํ อยา งไร 2. จดั ทาํ แผนการตรวจติดตาม พิจารณาวาควรควรจะตรวจติดตามโครงการ กิจกรรม ใด เมื่อไร และมจี ดุ เนนท่ใี หค วามสาํ คญั กับเรอื่ งใดบาง 3. ทําความเขาใจรวมกันใหชัดเจน วาการตรวจติดตามไมใชการจับผิด แตเปนการ รว มกนั ระหวา งผูต รวจติดตามกบั คณะทํางานรวมกันหาขอบกพรองที่จะทําใหงานเสียหายแลว ชว ยกันแกไขขอบกพรอ ง 4. ประเมินคุณภาพการทาํ งาน เขา กระบวนการ การวางแผน PIAN = P การทาํ งานใดตอ งมีขนั้ การวางแผนเพราะทําใหม ี ความม่นั ใจวาทํางาน การปฏบิ ตั ิ DO = D เปนการลงมือปฏบิ ตั ิงาน ตามแผนท่วี างไว การดาํ เนนิ การตามแผน อาจประกอบดวย การมีโครงสรางงานรบั รอง มวี ิธีการดาํ เนินการ มีผรู ับผิดชอบ การตรวจสอบ CHECK = C เปนข้ันตอนของการประเมินการทาํ งานวาเปนไป ตามแผนทวี่ างไวหรอื ไม การปรับปรุงแกไข ACTION = A เม่ือ CHECK แลวพบวามีปญหาหรือความบกพรอง แลวลงมอื แกไขซึ่งในข้นั นี้อาจพบวา ประสบความสาํ เรจ็ หรอื อาจพบวา มขี อบกพรองอีกดวยตอง ตรวจสอบเนอ้ื ของงานเพ่ือหาทางแกไ ข

๓๑ กจิ กรรมทา ยบทที่ 7 คําช้แี จง ใหผเู รยี นอธิบายคาํ ถามตอไปนี้ใหถูกตอง 1. สิ่งทีต่ อ งวิเคราะหใ นแผนปฏิบัติการขยายธรุ กิจอะไรบา ง ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวตอบ 1. ความถกู ตอ งนา เช่อื ถือของขอ มลู พ้นื ฐานทจ่ี ะนํามาใชก าํ หนดแผน 2. ขอ มลู ท่ีไดมามคี วามเทยี่ งตรงเพยี งพอก็ตองวิเคราะหเ กี่ยวกบั แผนท่ี กําหนดข้ึน 2. การจดั ทาํ แผนปฏบิ ัติการมีกขี่ ้นั ตอน ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวตอบ 1. การวางแผน 2. การควบคมุ 3. ระบบควบคุม 3. ข้ันตอนการขับเคลอื่ นแผนปฏิบัติการเพ่ือขยายธุรกิจผูประกอบการจะตองดําเนินการใน 3 ประเดน็ มีอะไรบา ง ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวตอบ 1. การวิเคราะหค วามเปน ไปไดข องแผนปฏิบตั กิ าร 2. การพัฒนาแผนปฏบิ ตั ิการ 3. การจัดการความรูข บั เคล่อื นแผนปฏบิ ัติการสคู วามสําเรจ็ ในการ ขยายอาชพี

๓๒ 4.การตรวจติดตามคณุ ภาพการทาํ งานใชห ลักการใด ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวตอบ PDCA

๓๓ บทท่ี 8 โครงการขยายอาชพี โครงการ หมายถึง แผนงานยอย แผนการดําเนินงานหรือกิจกรรมท่ีจะนําไปปฏิบัติได โดยมวี ตั ถปุ ระสงคใ นการดาํ เนนิ งานอยา งชัดเจน มีระยะเวลาเริ่มตน มีระเบียบแบบแผนในการ ปฏบิ ัติ ซ่ึงประกอบดวย ประโยชนของโครงการ 1. ชว ยอํานวยความสะดวกแกผ อู า น 2. ชวยประหยดั เวลาแกผูอนมุ ตั ิ 3. ชว ยใหก ารปฏิบตั ิงานตามโครงการเปน ไปตามวตั ถุประสงค 4. เปน การแสดงถงึ ประสบการณการทํางานของผูเขียนโครงการ องคประกอบของโครงการ 1. ช่ือแผนงาน เปนการกําหนดชื่อใหครอบคลุมโครงการเดียวหรือหลายโครงการท่ีมี ลกั ษณะงานไปในทิศทางเดยี วกัน 2. ช่ือโครงการ ใหระบชุ ่ือโครงการตามความเหมาะสมมคี วามหมายชัดเจน 3. หลักการและเหตุผล ใหช้ีแจงรายละเอียดของปญหาและความจําเปนท่ีเกิดขึ้นท่ี จะตองแกไ ขตลอดจนช้ีแจงถงึ ผลประโยชนท ่ีจะไดร ับจากโครงการ 4. วัตถุประสงค เปนการบอกใหทราบวาการดําเนินงานตามโครงการนั้นมีความ ตอ งการใหอะไรใหเ กดิ ขึ้น 5. เปาหมาย ใหระบุวาจะดําเนินการส่ิงใดโดยพยายามแสดงใหปรากฏเปนรูปตัวเลข หรือจาํ นวนทจ่ี ะทาํ ได 6. วิธีดําเนินการ คืองานหรือภารกิจซ่ึงจะตองปฏิบัติในการดําเนินโครงการใหบรรลุ ตามวัตถุประสงค 7. ระยะเวลาในการดาํ เนินงาน คอื การระบุระยะเวลาตั้งแตเริ่มตนโครงการจนส้ืนสุด โครงการ 8. งบประมาณ เปน ประมาณการคาใชจ ายทง้ั สน้ิ ของโครงการ 9. ผรู ับผดิ ชอบโครงการ เปนการระบุเพอื่ ใหทราบวา หนว ยงานใดเปนเจาของ 10. หนวยงานทีใ่ หก ารสนบั สนุน เปน การใหแนวทางแกผ ูอ นุมัติและผูปฏิบัติ 11. การประเมนิ ผล บอกแนวทางวา การติดตามประเมินผลควรทาํ อยางไร

๓๔ 12. ผลประโยชนทคี่ าดวา จะไดร บั เม่ือโครงการนั้นเสร็จส้ินแลว จะเกดิ ผลอยางไรบา ง ใครเปน ผูไ ดรบั แผนปฏิบัติการ คือ เคร่ืองค้ําประกันวาเปาหมายในการทํางาน มีโอกาสบรรลุ เปาหมาย ที่กําหนดไวเปนส่ิงยืนยันวาเปาหมายที่ต้ังไวความเปนไปไดเพราะมีแผนขั้นตอน ชดั เจน แบบฟอรมการเขียนแผนปฏบิ ตั ิการเพื่อการขยายอาชีพ กจิ กรรม เปาหมาย ระยะเวลา ผลลพั ธ ตวั ชี้วัด ผูรบั ผดิ ชอบ การตรวจสอบโครงการ หมายถึง โครงการและตัวช้ีวัดซ่ึงใชสําหรับตรวจสอบความ คบื หนา ของโครงการ ตลอดอายขุ องโครงการ ประโยชนจ ากการตรวจสอบโครงการ 1. ไดม ีการประเมินอยางเปนอสิ ระ 2. ระบุประเดน็ ความเส่ยี งในการบรหิ ารโครงการ 3. ระบุแผนปฏิบัติการในแตล ะโครงการที่ผานการตรวจสอบ 4. ชว ยปรบั ปรุงโอกาสและความเปนไปไดท จ่ี ะทาํ ใหโครงการประสบ ความสําเรจ็ หลักการโดยท่ัวไปของการกาํ กับงานตรวจสอบโครงการ 1. การตรวจสอบสถานะงบการเงินของโครงการ 2. การตรวจสอบการกาํ กับการปฏบิ ัติตามกฎเกณฑ 3. การตรวจสอบกิจกรรมและการปฏิบตั ิงานในโครงการ

๓๕ กจิ กรรมทายบทที่ 8 คาํ ชี้แจง ใหผ ูเรียนอธิบายคําถามตอไปนใี้ หถ ูกตอ ง 1. โครงการขยายอาชพี หมายถงึ อะไร ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวตอบ โครงการ หมายถึง แผนงานยอย แผนการดําเนินงานหรือกิจกรรมที่จะ นาํ ไปปฏิบัติไดโ ดยมวี ัตถุประสงคในการดําเนินงานอยางชัดเจน มีระยะเวลาเริ่มตน มีระเบียบ แบบแผนในการปฏิบัติ 2. ขนั้ ตอนการเขยี นโครงการมีกข่ี ้ันตอนอะไรบาง ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวตอบ ขั้นตอนการเขียนโครงการ 1. ช่อื โครงการ 2. หลักการและเหตุผล 3. วตั ถุประสงค 4. เปาหมาย 5. วิธีดาํ เนินการ 6. ระยะเวลาในการดาํ เนินงาน 7. งบประมาณ 8. เครือขา ย 9. การประเมนิ ผลและรายงานผลโครงการ 10. ผรู ับผิดชอบโครงการ 11. ความสมั พันธก ับโครงการอื่น 12. ผลท่ีคาดวา จะไดรับ

๓๖ 3.แผนปฏิบัตกิ ารคอื อะไร ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวตอบ แผนปฏิบัติการ คือ เคร่ืองคํ้าประกันวาเปาหมายในการทํางาน มีโอกาส บรรลุเปาหมายท่ีกําหนดไวเปนสิ่งยืนยันวาเปาหมายที่ตั้งไวความเปนไปไดเพราะมีแผนการ ขนั้ ตอนชดั เจน 4.การตรวจสอบโครงการหมายถงึ ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวตอบ การตรวจสอบโครงการ หมายถึง โครงการและตัวช้ีวัดซ่ึงใชสําหรับ ตรวจสอบความคบื หนาของโครงการ ตลอดอายุของโครงการ

๓๗ แบบทดสอบยอย รายวิชาทกั ษะการจัดการขยายอาชพี (อช31002) 1. การดาํ เนินการทางธรุ กจิ มอี งคป ระกอบรวม 4 องคประกอบดวยกนั คอื แนวตอบ 1. องคป ระกอบดานทุน 2. องคป ระกอบดานผลติ ภัณฑ 3. องคประกอบดา นลกู คา 4. องคประกอบดา นตนเอง 2. องคประกอบดา นผลิตภัณฑ ประกอบดวย แนวตอบ 1. คุณภาพของผลิตภัณฑ ตลาดตองการอยางไร 2. ระบวนการผลิตทีต่ องใช 3. นวัตกรรม เทคโนโลยี การลดตน ทุน เปนอยางไร 4. บรรจุภัณฑ 5. นวัตกรรม เทคโนโลยี การผลิตจะเขาถงึ ไดระดบั ใด 6. การเกบ็ รกั ษา 3. ใหนกั ศกึ ษาวาดแผนภูมกิ รอบแนวคิดการทาํ งานบนฐานขอ มูล แนวตอบ 4. ใหน กั ศกึ ษายกตัวอยางทนุ ที่ผปู ระกอบอาชีพจะนาํ เขามาบูรณาการใชลงทุนประกอบการมา 3 ทนุ แนวตอบ 1. เงินทุน ไดมาจากการออม จากการสะสมทุน จากการกูยืมสถาบัน การเงนิ 2. ทุนที่ดิน เปนที่ตั้งสถานประกอบการ เปนฐานการผลิตที่จะตองมีการ จดั การใหก ารใชท ่ีดินเปนไปอยางมปี ระสิทธิภาพ

๓๘ 3. ทุนทางสิ่งแวดลอม เชน การเกษตรอินทรีย ต้ังบนพ้ืนท่ีปาเขาโดยลอม ทําใหไดความช้ืนและปุยธรรมชาติมาตามลมและไหลมากับนํ้าฝน ทําใหลดตนทุนเกี่ยวกับปุย หมกั และจลุ นิ ทรยี ล งได 5. การเรียนรูเพ่ือพัฒนาศักยภาพ การคิด การกระทํา ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจะ มงุ เนน องคป ระกอบแหงคุณคา 5 ประการ คือ แนวตอบ 1. การพัฒนาทักษะการคิดหาเหตผุ ล 2. การพัฒนาทักษะการคิดตัดสินใจระบุความพอดีสําหรับตนเองและ ชุมชน 3. การพัฒนาทักษะการคิดกาํ หนดแนวทางสรางภูมิคุมกนั ใหก ับเรือ่ งท่จี ะทาํ 4. การพัฒนาทกั ษะการแสวงหาความรแู ละสรปุ องคค วามรูในเรอื่ งทีจ่ ะทํา 5. การพัฒนาเจตคติเพ่ือการคิดการกระทําใหเกิดคุณคาในคุณธรรมและ จริยธรรม 6. ใหนักศึกษาสรุปความหมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง แนวตอบ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง เปน เร่อื งของความรูสึก ความมงุ มัน่ การรูทันและ เขาใจในสง่ิ ทจ่ี ะทาํ คดิ สรางสรรคและรับรูโลกกวา ง เพื่อการดํารงชีวิตอยูอยางพอเพียงในสังคม ชุมชนของงาน และกาวเขาสูโลกแหงการแขงขันทางเศรษฐกิจในระบบทุนนิยมไดอยางมี สตปิ ญ ญา ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไมไดปฏิเสธทุนนิยม แตจะใชพลังแหงสติปญญา พัฒนา ตนเอง สังคม ชุมชน รวมกัน สรางทุนนิยมใหม นําพาประเทศเขาสูความเปนมหาอํานาจแหง สนั ตสิ ุขทม่ี ่นั คงยง่ั ยืน 7. รูปกาย คอื แนวตอบ รปู กาย เปน องคประกอบของอวัยวะตา ง ๆ ทงั้ ภายนอกและภายใน ทาํ หนาที่ สอดประสานกนั พรอมทาํ งานตามทใ่ี จส่ังการ โดยคุณภาพของการกระทําเปนตัวบงชี้ สมรรถภาพทางใจ

๓๙ 8. การปฏิบตั ิการวเิ คราะหทําความเขา ใจตวั ตนสามารถทาํ ไดอยา งไร แนวตอบ 1. องคประกอบทเี่ ราจะเรียนรูต น แบบดานการนึกคิดตรึกตรองจากตวั เราเอง คือ 1.1 ความรสู กึ 1.2 การจําได หมายรู 1.3 การคดิ ปรุงแตง 1.4 การรบั รู 2. การเตรียมการ ควรใชสถานท่ีสงบ สภาพอากาศสิ่งแวดลอมสบาย ๆ มสี ่ิงรบกวนนอย 3. วิธีการ 9. ใหนักศกึ ษายกตวั อยา งของการรบั รู แนวตอบ 10. การจดั การขยายอาชีพ เพื่อความมั่นคงตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความหมาย วา อยา งไร แนวตอบ กรรมวธิ ใี นการควบคุมการดาํ เนินงานทํามาหากินใหขยายกาวออกไปใหเกิด ความแนนและทนทานไมกลับเปนอ่ืนตามหลักความรู ความจริงของงานเกี่ยวกับการผลิต การ จําหนายจายแจกและการบรโิ ภคใชส อยสง่ิ ตา ง ๆ ของชมุ ชนเปน ไปตามตอ งการ 11. การจัดการขยายอาชีพเพ่ือความมน่ั คง หมายถึง แนวตอบ กรรมวิธีในการควบคุมการดําเนินงานทํามาหากินใหแผกวางออกไปดวย ความทนทานไมก ลบั เปน อน่ื 12. เศรษฐกิจ หมายถึง แนวตอบ งานเกีย่ วกับการผลติ การจําหนายจายแจกและการบริโภคใชสอยสิ่งตาง ๆ ของชุมชน

๔๐ 13. เศรษฐกจิ พอเพียงตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง หมายถึง แนวตอบ หลักแหงความรู ความจริงของงานเก่ียวกับการผลิต การจําหนายจายแจก และการบริโภคใชสอยส่งิ ตา ง ๆ ของชมุ ชนเปนไปตามตอ งการ 14. แผนธุรกิจ คอื แนวตอบ แผนงานทางธุรกิจท่ีแสดงกิจกรรมตาง ๆ ท่ีตองปฏิบัติในการลงทุน ประกอบการ โดยมีจุดเร่ิมตนจากจะผลิตสินคาและบริการอะไร มีกระบวนการปฏิบัติอยางไร บาง และผลจากการปฏบิ ตั อิ อกมาไดม ากนอ ยแคไ หน ใชง บประมาณและกําลังคนเทาไร เพ่ือให เกิดเปน สินคาและบรกิ ารแกล ูกคา และจะบรหิ ารธุรกิจอยา งไรธรุ กิจจึงจะอยรู อด 15. ใหน ักศกึ ษาบอกความหมายของ SWOT แนวตอบ S (Strengths) จดุ แข็งหรือจุดเดนของชุมชน W (Weaknesses) จดุ ออ นหรือขอ ดอยของชมุ ชน O (Opportunities) โอกาสที่จะสามารถดําเนนิ การได T (Threats) อุปสรรคหรอื ปจ จัยที่เปนความเส่ยี งของชุมชนท่ีควร หลกี เลี่ยงในการปฏิบัติ 16. พันธกจิ คือ แนวตอบ ภาระงานทผี่ ูประกอบการจะตองดาํ เนินการใหเ กดิ ผลสาํ เรจ็ ตามวสิ ยั ทัศน ที่กาํ หนดไวใ หได ผูประกอบการจะตองสรางทีมงานและกําหนดภารกิจของสถานประกอบการ ใหชดั เจน ครอบคลุมทงั้ ดานการผลิตและการตลาด 17. ทาํ ไมจงึ ตองปองกันความเส่ยี ง แนวตอบ 1. เพ่อื ใหผลดําเนินงานของหนว ยงานเปนไปตามเปาหมายและวตั ถปุ ระสงค ที่วางไว 2. เพ่ือสงเสริมความม่ันคง และลดความผันผวนของรายไดอันจะทําให องคการเตบิ โตอยา งมีเสถียรภาพ 3. ลดโอกาสท่จี ะทาํ ใหเ กิดการสูญเสียจากการดาํ เนินงาน 4. เพ่มิ คุณคา ใหกบั บุคลากร และผเู กยี่ วของ 5. เพื่อใหเกิดการบูรณาการกบั ระบบงานอืน่ ไดด กี วา เดิม

๔๑ 18. ประเภทสินคา แบงตามลกั ษณะการซอ้ื หรอื การบริโภค แบง ไดเปน 2 ประเภท คอื แนวตอบ 1. สินคา อปุ โภค บริโภค หมายถึง สินคาหรือบริการที่ผูซ้ือซื้อไปเพื่อใชเอง หรอื เพื่อใชใ นครอบครวั 2. สนิ คาอุตสาหกรรม หมายถงึ สนิ คา ทีซ่ อ้ื มาเพ่ือนํามาใชผลิตเปนสินคาอื่น ตอไป หรือเพื่อใชในการดําเนินงานของธุรกิจ เชน วัตถุดิบ สินคาสวนประกอบ อุปกรณ เคร่ืองจักร เครอ่ื งมือ สิ่งกอ สราง เปน ตน 19. คาใชจ า ยตาง ๆ สามารถแบง ออกไดเปน กป่ี ระเภท อะไรบาง แนวตอบ 3 ประเภท คือ 1. ตนทุนขาย 2. คาใชจายในการดําเนินงาน 3. คา ใชจ ายอื่น 20. ขน้ั ตอนการควบคุมคณุ ภาพการผลิต แบงออกเปน 4 ขนั้ ตอน คือ แนวตอบ 1. ขัน้ การกาํ หนดนโยบาย 2. ขั้นการออกแบบผลติ ภณั ฑ 3. ขนั้ ตอนการควบคุมคณุ ภาพของการผลิต 4. ขนั้ การจําหนาย 21. ใหน ักศึกษาบอกถึงโครงสรางของกฎระเบยี บการดาํ เนนิ งาน แนวตอบ โครงสรางของกฎระเบียบหรือขอตกลงการทํางานรวมกันจะมีองคประกอบ หลัก ดังนี้ 1. แนวคิดอุดมการณข องการขยายอาชีพ 2. วถิ ีชีวติ ในการทาํ งาน 3. การใชวัสดุอุปกรณ 4. การทํางาน 5. ความปลอดภยั 6. แรงจูงใจ 22. หวั ขอของการเขยี นโครงการควรประกอบไปดว ยอะไรบา ง แนวตอบ 1. ชอื่ โครงการ 2. เหตุผล หลักการ 3. เปาประสงค 4. วตั ถปุ ระสงค 5. ผลไดข องโครงการ

๔๒ 6. วธิ ดี ําเนินงาน 7. งบประมาณดาํ เนนิ การ 8. ผลดาํ เนนิ โครงการ 23. การเขยี นวธิ ีดําเนินงานมขี ้นั ตอนการเขยี นอยางไร แนวตอบ 1. ยกขอความ วัตถุประสงคและผลไดโ ครงการมาเปนตวั ตงั้ 2. ดําเนินการวิเคราะหผลไดแตละตัวเพื่อกําหนด กิจกรรม/ข้ันตอนวิธีการ ดาํ เนนิ งานทเี่ กิดผลได 3. ระบเุ กณฑช ้วี ดั ความสําเรจ็ ของงาน 4. กําหนดระยะเวลาดําเนนิ งานทเ่ี ปน จริง 24. คณุ ธรรมตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง หมายถึง แนวตอบ สภาพคุณงามความดีของการทํามาหากิน การผลิต การจําหนายจายแจก การบริโภค การใชส อยทม่ี คี วามขยนั ความประหยดั ความซือ่ สตั ย และความอดทนเปน หลกั ในการทาํ งาน 25. การทาํ ธรุ กิจ หมายถึง แนวตอบ การงานประจาํ เกย่ี วกับการทํามาหากิน คาขายแลกเปลี่ยนจากความหมาย ดังกลาว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได ระบุพัฒนาการของการทํามาหากินไวเปนระดับ ต้ังแต (1) ทาํ ใหพออยพู อกนิ (2) ทําใหอยูดีมีสุข และเขาสู (3) ความมั่งมีศรีสุข การทํามาหากิน คาขาย แลกเปลย่ี นหรอื ทีเ่ รยี กวา ธุรกจิ น้ัน จําเปน ที่จะตอ งมแี ผนในทุกระดบั

๔๓ คณะทาํ งาน ท่ีปรกึ ษา จาํ จด เลขาธกิ าร กศน. นายสุรพงษ หอมดี รองเลขาธิการ กศน. นายประเสรฐิ สุขสเุ ดช ผอู าํ นวยการกลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ นางตรีนุช และการศึกษาตามอธั ยาศยั ผูอํานวยการ สถาบัน กศน.ภาคใต นายอรัญ คงนวลใย ผูสรปุ เนอ้ื หา ครู กศน.อาํ เภอควนขนุน จงั หวดั พทั ลงุ นางละอองดาว แกวกลับ ครู กศน.อาํ เภอปา พะยอม จังหวัดพทั ลงุ นางสาวศศิมณี สพุ ิทยพนั ธ ครู กศน.อําเภอเขาชัยสน จงั หวัดพัทลุง นางศศิธร คงเคว็จ ครู กศน.อําเภอปา บอน จงั หวดั พัทลงุ นางสาวอาภรณ ตนั ติสิทธิกร ครู กศน.อาํ เภอเมือง จงั หวัดพัทลุง นางอรัญญา สวสั ดปี ระเสรฐิ ครู กศน.อาํ เภอศรบี รรพต จงั หวดั พทั ลงุ นางสาวสุวรรณา ดว งทอง ผตู รวจและบรรณาธกิ าร ครู สถาบนั กศน.ภาคใต นางนฏั ยา ชปู ระดษิ ฐ ครู สถาบัน กศน.ภาคใต นางอรอนงค จันทรมณี ครู สถาบนั กศน.ภาคใต นางสาวปท มาภรณ ปน ทอง ผพู มิ พต น ฉบบั เจา หนา ท่ี สถาบัน กศน.ภาคใต นางสาวก่งิ กาญจน ประสมสขุ ผูออกแบบปก กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบ นายศภุ โชค ศรีรตั นศิลป และการศกึ ษาตามอัธยาศัย

๔๔