Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระมหายานไวปุลยธารณีสูตร

พระมหายานไวปุลยธารณีสูตร

Published by dumoot, 2021-08-28 04:09:22

Description: พระมหายานไวปุลยธารณีสูตร

Keywords: มหายาน,สูตรมหายาน

Search

Read the Text Version

大乘方廣總持經 隋天竺三藏毘尼多流支譯 สรวฺ ไวทรยฺ สคํ รฺห สตู ร (พระมหายานไวปลุ ยธารณสี ูตร) พระวนิ ติ รุจมิ หาเถระ ตรปี ฎกธราจารยช าวอินเดีย ในสมัยราชวงศสยุ ประเทศจนี แปลจากสันสกฤตพากยสจู นี พากย เมอ่ื พุทธศักราช ๑๑๒๕ พระวศิ วภัทร เซยี่ เกย๊ี ก (釋聖傑) วดั เทพพทุ ธาราม แปลจากจนี พากส ูไทยพากย เม่อื พระพทุ ธายกุ าลลว งแลว ๒๕๔๘ ป ๗ เดอื น ๑๒ วัน *** พระสตู รมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลขิ สทิ ธิใ์ นการแกไ ข ดัดแปลง จําหนา ย 1

คํานาํ พระมหายานไวปุลยธารณสี ูตร มชี อ่ื ในภาษาสนั สกฤตวา สรฺว ไวทรฺย สํครฺห สตู ร เปน พระสตู รในหมวดสทั ธรรมปณุ ฑรกี ะ แปลโดยพระวนิ ิตรุจิมหาเถระ ภิกษชุ าวภารตะประเทศ จากภาษา สนั สกฤตสูภาษาจนี ในสมยั ราชวงศส ุยของจนี ราวป พ.ศ. ที่ ๑๑๒๔-๑๑๖๑ นามของพระสตู รนอ้ี าจแปล ความไดว า พระสตู รทเ่ี ปน เคร่ืองทรงไวซ ง่ึ ความยิ่งใหญแ หง มหายานธรรม และมีการแปลสภู าษาจีนอกี ฉบับคือ 佛說濟諸方等學經 แปลโดยพระธรรมปาลมหาเถระ ในสมัยจนิ้ ตะวนั ตกของจนี (西晉 月氏三藏竺法護) ราวป พ.ศ. ๘๐๘-๘๕๙ ภายในเปนการเผยขอสงสัยท่ีวาเหตุใดพระศรีศากยมุนีพุทธเจา และพระพุทธเจาท้ังปวง น้ัน จึงตรัสรูที่พุทธประเทศ(โลกธาตุ)ท่ีตางกัน มีวิถีสูการตรัสรูที่สมภาพสมบูรณตางกัน ที่ตองโปรดและ ฉุดชว ยสรรพสัตวท่ีมพี ื้นฐานดานตางๆตา งกัน ซึง่ ทง้ั หมดนี้ จึงเปนเหตุใหพระพทุ ธเจา ผูมหากรุณาท้ังปวงทรงใชพระอบุ ายโกศล(กศุ โล บาย)ในการโปรดสรรพสัตวทต่ี า งกัน ดงั่ คาํ สรรเสริญพระพุทธคุณท่วี า “พระพทุ ธเจาทรงยิ่งดว ยพระ ปญ ญาคุณและพระกศุ โลบายเปน เลิศ” โดยพระพุทธเจา บางพระองคใ นโลกธาตุอ่ืน ทรงเทศนาพระ ธรรมเพยี งครั้งเดียว สรรพสตั วท ี่ไดสดับนัน้ ก็เกดิ ดวงตาเห็นธรรม แลว ออกบวชจนไดบ รรลมุ รรคผลใน ทส่ี ุด(รแู จงธรรมงาย) แตพ ระพุทธเจาบางพระองค ตองใชพ ระอบุ ายโกศลนานาประการ ในการส่ังสอน อบรมและสรรพสัตวก บ็ าํ เพญ็ ดว ยความยากลาํ บาก(รแู จงธรรมยาก) อีกเปน เพราะเหตใุ ด พระพทุ ธเจา ผู ทรงเปน พระบรมศาสดาจารยแ หงโลกและจกั รวาลทง้ั ปวงแตละพระองคจ งึ ตอ งทรงอบรมสั่งสอนศษิ ย (สรรพสัตว) ท่มี พี ชี ะปญญาที่หลากหลายตา งกนั และเหตใุ ดในโลกธาตทุ ต่ี า งกันน้นั ๆจึงประกอบดวย สรรพสัตวท ่มี พี ีชะและอนิ ทรียท ต่ี างกันมาเกิดอยรู ว มกัน ซงึ่ มีขอเฉลยชดั แจง อยูในพระธรรมสูตรปกรณน ี้ แลว อาตมาเหน็ วาจะไดเ ปนประโยชนแกบ รรดาธรรมาจารยผสู อนธรรม ทั้งบรรพชิตและ คฤหัสถ อีกทงั้ จะเปนประโยชนแกผฟู งธรรมทงั้ บรรพชิตและคฤหสั ถ และเปน ประโยชนในระหวา งผเู ปน ธรรมาจารยด วยกนั หรอื ผูฟ งธรรมดว ยกนั ท้งั บรรพชติ และคฤหัสถ คือจะเปนเครอ่ื งยังตนใหบ รสิ ทุ ธ์ิได ดว ยอดุ มประโยชนเ ห็นเชนนี้ จงึ ไดเ พียรแปลสําเร็จเปน รปู เลมตามท่ที านถืออยนู ้ี ดง่ั ใจความหนง่ึ ของพระ *** พระสูตรมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลขิ สทิ ธใ์ิ นการแกไข ดัดแปลง จําหนาย 2

สตู รน้ที ่วี า การบรรยายธรรมใดๆ ไมวาโดยใคร และเพือ่ ใครนน้ั ก็ลวนคือการบันดาลใหเ ปนไปโดยฤทธา นภุ าพของพระตถาคตเจาท้ังสิ้น เพราะฉะน้ัน จึงมิควรกลา วใหร ายแกผ ูแสดงธรรมน้ันๆ เพราะจะเปน การ กลาวรา ยตอพระตถาคตเจา ดวย เพราะการแสดงธรรมแตละคร้ัง ตอ งพิจารณาพน้ื ฐานทางธรรมของผรู บั ฟง เปน สาํ คัญ เชน หากตนไดฟ งธรรมที่แสดงแกบ ุคคลทศ่ี กึ ษามานอ ย ก็ใหเ กิดอคติ กลาวใหร ายและดูแคลนผูแสดงธรรมนน้ั วา ธรรมท่แี สดงนั้นมิบริสุทธิ์ มิใชธ รรมสงู มิใชธ รรมแท ทําใหผสู อนธรรมนน้ั เสอื่ มเสยี และหมดกาํ ลงั ใจ หรอื หากตนไดฟ งธรรมทลี่ ึกซ้ึงคมั ภีรภาพ แตท วาตนเองนน้ั ดอยในภูมิธรรม ไมอ าจเขาใจไดถ อ งแท กอ ใหเ กิดอคติ วา รายผสู อนธรรมวาธรรมนี้พระพทุ ธเจามเิ คยตรัสมากอน เปนธรรมเทยี มเทานัน้ ทําใหผู ใฝศ กึ ษาทมี่ ปี ญญาเกิดความลงั เล เคลือบแคลง ซง่ึ ทงั้ หมดนี้ถอื เปนอกุศลกรรมทใ่ี หญหลวงนัก โดยพระ สตู รไดใ หเหตผุ ลวา ไมวา ธรรมชั้นสงู หรอื ชัน้ พนื้ ฐานลว นคือพระอบุ ายโกศลของพระตถาคตเจาทงั้ สิน้ อัน ทานจกั พงึ ศึกษาไดจ ากพระธรรมสูตรปกรณน ี้เชน กนั . 後學釋聖傑 พระวศิ วภัทร เซ่ยี เกยี๊ ก วดั เทพพุทธาราม(เซยี นฮุดยี่) จ.ชลบุรี *** พระสูตรมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลขิ สทิ ธใ์ิ นการแกไข ดัดแปลง จําหนาย 3

ขออทุ ิศแดพ ระโพธญิ าณอันประเสริฐ เพอ่ื อนิตยโพธสิ ัตวผ ยู งั ไมเทยี่ งตอ พทุ ธภมู จิ งไดเท่ยี งแท และผเู รมิ่ บงั เกิดมพี ระโพธจิ ติ ทง้ั ปวงจงอยา ไดเสื่อมถอย *** พระสูตรมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลขิ สิทธใ์ิ นการแกไข ดัดแปลง จําหนา ย 4

大乘方廣總持經 隋天竺三藏毘尼多流支譯 สรฺว ไวทรฺย สํครฺห สตู ร (พระมหายานไวปุลยธารณสี ตู ร) พระวนิ ิตรุจิมหาเถระ ตรีปฎ กธราจารยชาวอนิ เดยี ในสมยั ราชวงศสยุ ประเทศจนี แปลจากสันสกฤตพากยสูจีนพากย เมอ่ื พุทธศักราช ๑๑๒๕ ภิกษุจีนวิศวภัทร 釋聖傑 วัดเทพพุทธาราม แปลจากจีนพากส ูไทยพากย เมื่อพระพุทธายกุ าลลว งแลว ๒๕๔๘ ป ๗ เดือน ๑๒ วัน 如是我聞。一時佛在王舍城耆闍崛山中。與大比丘眾六萬二千人 俱。菩薩摩訶薩八十億眾。摩伽陀國優婆塞六十億百千人。 ดั่งที่ขาพเจาไดสดับมา ในสมัยหน่ึงสมเด็จพระผูมีพระภาคเจา ประทับยังคิชกูฏบรรพต ในนคร ราชคฤห พรอมดวยมหาภิกษุหมูใหญจํานวน ๖๒,๐๐๐ รูป พระโพธิสัตวมหาสัตวจํานวน ๘๐ ๑ โกฏิ พระองค และอุบาสกของแควน มคธจาํ นวน ๖๐ โกฏิรอ ยพนั คน 爾時世尊夏安居已。臨涅槃時入如法三昧。入三昧已。是時三千大 千世界。普遍莊嚴懸繒幡蓋。置寶香瓶眾香塗飾處處遍散千葉蓮花。 ครั้งน้ันแล เมื่อคิมหันตฤดูลวงแลว สมเด็จพระโลกนาถเจา ก็จวนถึงกาลปรินิรวาณ จึงทรง เจริญตถตาธรรมสมาธิ เมื่อคร้ันเขาสูสมาธิแลว เพลาน้ันท่ัวตรีสหัสมหาสหัสโลกธาตุ๒ใหบังเกิดมีธงฉัตร ๑ โกฏิ คาํ เรยี กจาํ นวน สิบลาน และคําวา โกฏิรอยพัน ก็คือ จาํ นวน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐(สบิ ลาน) + (๑๐๐ คณู ๑,๐๐๐) จงึ เทา กบั แสน โกฏิ หรือ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ นั่นเอง ๒ ใน จุลนิกสูตร พระพุทธองคทรงกลา วกบั พระอานนทว า จากระยะใกลสุดท่ีดวงอาทติ ยแ ละดวงจันทรจ ะหมุนเวียนตามจักรราศี และ สองสวา งดวยแสงเรอื งโอภาส จนถึงชว งหน่ึงพันจกั รวาล ยังมีดวงจันทรหน่ึงพนั ดวง ดวงอาทิตยหนึ่งพันดวง หนึง่ พันพระสเุ มรุมหาสงิ ขร หนง่ึ พันชมพูทวีป หน่งึ พันอมรโคยานทวปี หน่ึงพนั อตุ รกรุ ทุ วปี หนงึ่ พันบุพพวิเทหทวีป สี่พันมหาสมุทร หน่งึ พนั จาตุมหาราช หนึง่ พนั ดาวดงึ สพิภพ หน่ึงพันยามาสวรรค หน่ึงพันสวรรคชั้นดสุ ติ หนึ่งพันนิมมานนรดี หนึ่งพันปรนมิ มิตวสวตี และหนึง่ พันหว งพิภพของของ เหลา น้แี หละ อานนท เรยี กวา ระบบสหสั สโลกธาตุในชั้นปฐม ระบบที่ใหญกวาทกี่ ลาวมานห้ี นึ่งพัน เรยี กวา สหัสสโลกธาตุช้ันมธั ยม ระบบทใ่ี หญก วา น้ีหนง่ึ พันเทา เรยี กวา ตรสี หสั สมหาโลกธาตุ *** พระสูตรมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลขิ สิทธิใ์ นการแกไข ดัดแปลง จําหนา ย 5

แขวนระยาประดับตบแตงอยางอลังการ รัตนกุณฑีท่ีบรรจุดวยสุคันธชาติแลประดาของหอมไดชะโลมตบ แตง อยทู ่ัวบริเวณ ทุกสถานโปรยปรายดวยดอกอบุ ลพนั กลีบ 爾時此三千大千世界億百千眾。諸梵天王及億百千眷屬來詣佛所。 到佛所已頭面禮足。合掌向佛却住一面。 เมื่อน้ัน ในตรีสหัสมหาสหัสโลกธาตุแหงน้ี อันประกอบไปดวยคณะ(ผูมารวมชุมนุม)จํานวนโกฏิ รอยพัน มีเหลาพรหมเทวราชพรอมดวยบริษัทจํานวนโกฏิรอยพัน ไดมาสูที่ประทับของพระพุทธองค แลว แลทําการศิราภิวาทดวยเศียรเกลาเบ้ืองพระพุทธยุคลบาท ประณตกรเฉพาะแดพระพุทธองคแลวยืนอยู ดา นหน่ึง 復有億百千淨居天子。自在天王大自在天王。龍王夜叉王。阿修羅 王迦樓羅王緊那羅王摩睺羅伽王。各與億百千眷屬來詣佛所。到佛所已頭 面禮足。合掌向佛却住一面。 ยังมีสุทธาวาสเทวบุตร อิศวรเทวราช มเหศวรเทวราช นาคราช ยักษราช อสุรราช ครุฑราช กินนรราช มโหราคราชจํานวนนับดวยโกฏิรอยพันพรอมดวยบริวารจํานวนโกฏิรอยพัน ไดมาสูท่ีประทับ ของพระพุทธองค แลวแลทาํ การศริ าภิวาทดวยเศียรเกลาเบื้องพระพุทธยุคลบาท ประณตกรเฉพาะแดพระ พุทธองคแ ลว ยืนอยดู านหน่ึง 爾時十方如恒河沙大威德菩薩摩訶薩來詣佛所。到佛所已頭面禮 足。合掌向佛却住一面。 เพลานั้น ในทศทิศมีพระโพธิสัตวมหาสัตวผูยิ่งดวยมหาเดชานุภาพอันมีจํานวนคณนาดวยจํานวน ดุจเมล็ดทรายในคงคาชล ไดมาสูที่ประทับของพระพุทธองค แลวแลทําการศิราภิวาทดวยเศียรเกลาเบ้ือง พระพุทธยคุ ลบาท ประณตกรเฉพาะแดพ ระพทุ ธองคแลว ยืนอยูดานหนึ่ง 爾時此三千大千世界。乃至有頂皆悉來集大眾充滿間無空處。 ครัง้ นนั้ ในตรีสหัสมหาสหัสโลกธาตแุ หง นี้ ตลอดถงึ อมั พรสถานเบือ้ งบนลวนคับคั่งไปดวยมหาชน ทม่ี าชมุ นุมโดยหาท่วี างบม เี ลย 爾時復有餘大威力天龍夜叉乾闥婆阿修羅迦樓羅緊那羅摩睺羅伽等 皆來集會。 *** พระสตู รมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลิขสทิ ธใ์ิ นการแกไข ดัดแปลง จําหนาย 6

อีกยังมีเทพยดา นาคา ยักษา คนธรรพ อสุรา ครุฑ กินนร มโหราค ผูลวนมากดวยมหิทธิ บรรดาที่หลงเหลืออยตู า งมารว มชมุ นมุ กันโดยพรอมเพรียง 爾時世尊正念現前從三昧起。遍觀大眾欠呿頻申。如師子王如是至 三。 ก็โดยสมัยนั้นแล สมเด็จพระโลกนาถเจาทรงสมบูรณตั้งอยูดวยพระสัมมาสติ แลวทรงออกจาก ๓ สมาธิ ทรงทอดทศั นามหาชน แลว ทรงหาวประดุจพญาสิงหราชตอเน่อื งกนั สามคร้ัง 爾時世尊從其面門出廣長舌。遍覆三千大千世界。是時如來現神通 已復觀大眾。 บดั น้ัน พระโลกนาถเจาทรงแลบพระชิวหาออกปกคลุมไปทั่วตรีสหัสมหาสหัสโลกธาตุ ครั้งน้ันเมื่อ พระตถาคตเจาทรงสาํ แดงพระมหาอภิญญา๔ฤทธแิ์ ลว ๕ ก็ทรงทอดทศั นามหาชนอีกคาํ รบหน่งึ 爾時一切大眾即從坐起。合掌作禮默然而住。爾時佛告彌勒菩薩摩 訶薩言。阿逸多。如來不久當入涅槃。汝於諸法有所疑者。我今現在。欲 有所問今正是時。佛滅度後勿生憂悔。 ครั้งนั้น บรรดามหาชนทั้งปวงลวนลกุ ขึ้น ประณตกรถวายอภวิ าทและยนื นง่ิ อยู ๖ พระพทุ ธองค ทรงรบั ส่งั กับพระเมตไตรยโพธสิ ัตวม หาสัตววา อชิตะ อีกมิชานานตถาคตจะปรินิร วาณ ในธรรมทงั้ ปวงนั้น เธอมีส่ิงใดท่ียังสงสัยอยูหรือไม โดยบัดน้ีตถาคตยังอยู เม่ือมีก็จงถามเสียเดียวน้ี เถิด เมอื่ หลงั จากพระพุทธปรินพิ พานแลว จกั มติ อ งสํานึกเสียดาย 爾時彌勒菩薩摩訶薩白佛言。唯然世尊。善自知時。諸佛如來於一 切法皆悉究竟。惟願宣說令此法眼久住於世。 ๓ ทรงหาว ๓ ครั้ง มคี วามหมายโดยนยั ยะ คือการปลกุ หรือการต่ืนขึ้นจากอกุศลมูลทั้ง ๓ คือ โลภะ โทสะ โมหะ หรือเปนการตื่นข้ึนของ ไตรภมู ิ มี กามภูมิ รูปภมู ิ อรูปภมู ิ ดวยการบันลอื สหี นาท คือการแสดงธรรม ๔ ฤทธ์ิ ๖ ประการ มี ๑)อทิ ธิวธิ ี แสดงฤทธิ์ได ๒)ทิพยจักษุ ตาทิพย ๓)ทพิ ยโสต หทู ิพย ๔)เจโตปริยญาณ ญาณทีก่ ําหนดรใู จ ผูอ่ืนได ๕) บพุ เพนวิ าสานุสสติญาณ การระลึกชาตไิ ด และ ๖)อาสวกั ขยญาณ ญาณที่ทาํ ใหส ้นิ อาสวะ (ขอ ๖ นี้มเี ฉพาะพระอรยิ บุคคล ในพระพทุ ธศาสนา) หา ขอ แรกเปน โลกียอภญิ ญา ขอทายเปน โลกตุ ตระ ๕ ทรงแลบพระชิวหา มีความหมายโดยนัยยะวา อันการแสดงธรรมจากพระพุทธโอษฐน้ัน สามารถครอบคลุมและส่ังสอนสรรพสัตวไปทั่ว ทั้งตรีสหัสมหาสหัสโลกธาต(ุ จกั รวาลทั้งปวง) ๖ อชิตะ คอื พระนามหนงึ่ ของพระเมตไตรยโพธสิ ัตว *** พระสตู รมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลขิ สทิ ธ์ิในการแกไ ข ดัดแปลง จําหนาย 7

ครานั้น พระเมตไตรยโพธิสัตวมหาสัตว จึงกราบทูลพระพุทธองควา ขาแตพระตถาคตเจาผูเจริญ พระองคทรงทราบถึงกาลดวยองคเองโดยชอบ ดวยพระพุทธตถาคตทั้งปวงทรงรูแจงตลอดซึ่งความเปน ท่ีสุดแหงสรรพธรรม ขอพระองคโปรดประทานพระเทศนาถึงการยังใหธรรมจักษุนี้ยืนยงธํารงม่ันในโลก ดวยเทอญ พระพทุ ธเจา ขา 爾時會中有大自在天子及八十億淨居天眾。眷屬圍遶頂禮佛足。合 掌恭敬而白佛言。世尊。此大乘方廣總持法門。過去無量諸佛如來應供正 遍知已曾宣說。惟願世尊。今復敷演利益安樂無量人天。能令佛法久住世 間。爾時世尊默然而許。 กาลบัดนั้น ณ ทามกลางธรรมสโมสรมีองคมเหศวรเทวบุตร และสุทธาวาสเทวบริษัทจํานวน ๘๐ โกฏิ พรอมดวยบริวารไดหอมลอมแลกระทําศิราภิวาทดวยเศียรเกลาเบื้องพระพุทธทวิบาท ประคองหัตถ ๗ ถวายอัญชุลี กราบทูลวา ขาแตพระโลกนาถเจาผูประเสริฐ อันมหายานไวปุลยธารณีธรรมทวารนี้ พระ พุทธตถาคตเจาผูทรงควรแกการนอมถวายสักการและอภิวันท ผูทรงตรัสรูชอบไดโดยพระองคเองจํานวน ไมมีประมาณในอดีต ก็เคยไดทรงเทศนาแลว ขอพระโลกนาถเจาโปรดประทานพระเทศนา เพ่ือยังคุณานุ ประโยชนแลความเกษมศานต์ิแกมนุษยและทวยเทพอันมากมายพนประมาณ และเพื่อยังพระพุทธบรม ธรรมใหสถิตเสถยี รยังโลกนีต้ ราบกาลดวยเถิด พระพุทธเจา ขา คร้งั น้นั สมเดจ็ พระโลกนาถเจาผแู จงโลก ทรงรบั อาราธนาโดยพระอาการดุษณยี ภาพนิ่งอยู 是時大自在天子知佛許已歡喜踊躍。合掌作禮却住一面。 เพลานั้น องคมเหศวรเทวบุตร จึงทราบวา พระพุทธโลกนาถเจา โปรดประทานพระบรมพุทธา ๘ นุญาตรับอาราธนาแลว จึงใหเกิดปติเปนที่ย่ิงเปนอุพเพคาปติ จึงประณตหัตถถวายอภิวาทแลวยืนอยูขาง หนึง่ ๗ แปลวา วิธกี ารทรงไวซ ่งึ มหายานธรรมอนั ไพศาลและยงิ่ ใหญ ๘ ความอิ่มใจ, ความดมื่ ด่ําในใจ มี ๕ คือ ๑. ขุททกาปติ ปต ิเล็กนอยพอขนชันนํ้าตาไหล ๒. ขณิกาปติ ปติช่ัวขณะรสู กึ แปลบๆ ดจุ ฟา แลบ ๓. โอกกนั ติกาปติ ปตเิ ปน ระลอกรสู กึ ซลู งมาๆ ดจุ คล่นื ซดั ฝง ๔. อุพเพคาปต ิ ปตโิ ลดลอย ใหใจฟูตวั เบาหรอื อทุ าน ออกมา ๕. ผรณาปต ิ ปติซาบซาน เอบิ อาบไปทัว่ สรรพางคเปน ของประกอบกับสมาธิ *** พระสตู รมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลิขสทิ ธ์ใิ นการแกไ ข ดัดแปลง จําหนา ย 8

爾時佛告彌勒菩薩摩訶薩言。阿逸多。此大乘方廣總持法門非我獨 說。過去未來及今現在十方世界無量諸佛亦常宣說。若有眾生於佛所說言 非佛說及謗法僧。而此謗者當墮惡道受地獄苦。 บัดนั้น สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ทรงมีพุทธบรรหารกับพระเมตไตรยโพธิสัตวมหาสัตววา ดูกอนอชิตะ อันมหายานไวปุลยธารณีธรรมทวารน้ีหาใชตถาคตกลาวเองเฉพาะตนไม อันพระพุทธเจาใน อดีต อนาคตและในวารปจจุบันนี้อันมีจํานวนประมาณมิไดในโลกธาตุท่ัวทศทิศ ก็ไดตรัสแสดงอยู สม่ําเสมอ หากแมนมีสรรพสัตวท่ีกลาววา “พุทธวจนะทั้งปวงหาใชพุทธวจนะไม” อีกทั้งกลาวรายซึ่ง พระธรรมแลพระสงฆ อนั ผกู ลา วรายนยี้ อ มลุแกอ บายภูมิรับทุกขเวทนาในนิรยสถาน 爾時佛告彌勒菩薩摩訶薩言。若有善男子善女人發菩提心。於此大 乘方廣總持經典。受持讀誦復為人說。當知是人不墮惡道。 คราน้ัน พระพุทธองค ตรัสกับพระเมตไตรยโพธิสัตวมหาสัตววา หากมีกุลบุตร กุลธิดาบังเกิด พระอนตุ รบรมสมั โพธจิ ติ ยดึ ถือ สาธยาย อานทอ งมหายานไวปุลยธารณีสูตรน้ีแกมวลมนุษยแลวไซร เธอ พึงทราบวาอันบุคคลน้ียอ มมิตอ งสูอ บายมรรค 爾時世尊復告彌勒菩薩摩訶薩言。阿逸多。我從成佛夜乃至將入無 餘涅槃。於其中間佛身口意。所作所說所念所思惟。頗有忘失起惡業不。 สมเด็จพระโลกนาถผูทรงเปนท่ีพึ่งแหงโลก ตรัสกับพระเมตไตรยโพธิสัตวมหาสัตวความวา ๙ ดูกอนอชิตะ นับแตตถาคตไดสําเร็จซึ่งความเปนพระพุทธะ ตราบถึงจวนจะถึงกาลสูนิรุปธิเศษนิรวาณ แลวนี้ ระหวางน้ันกาย วาจา และมโนแหงตถาคต บรรดาการกระทําทั้งปวง การกลาวแสดงท้ังปวง การ ระลกึ ทงั้ ปวง การนกึ คิดจนิ ตนาทง้ั ปวงนั้น หามคี วามวบิ ัติ ยังใหเกิดอกุศลกรรมข้ึนบางหรือไม 彌勒菩薩言。不也世尊。 พระเมตไตรยโพธสิ ตั ว ทูลวา หามไี มพระพทุ ธเจาขา 佛言彌勒。如汝所說。我從成道乃至涅槃。於其中間所言所說皆悉 真實無有虛妄。若有愚人不解如來方便所說。而作是言。是法如是是法不 如是。誹謗正法及佛菩薩。我說是輩趣向地獄。 ๙ นิพพาน ๒ ชนิด คือ ๑)โสปาทิเศษ-นิรวาณ คือ ความดับโดยมีสวนเหลือ หมายถึงผูบรรลุพระอรหันตผลดับกิเลสแลวแตยังมีชาติ อยู ๒)นริ ุปาทเิ ศษ-นิรวาณ คอื ความดับโดยไมมีสวนเหลอื หมายถงึ ผบู รรลพุ ระอรหนั ตผลดบั กเิ ลสแลว และสิน้ อายขุ ยั แลว *** พระสตู รมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลิขสิทธ์ใิ นการแกไ ข ดัดแปลง จําหนาย 9

พระพุทธองค ตรัสกับพระเมตไตรยวา เปนดังท่ีเธอกลาวแลว นับแตตถาคตสําเร็จซ่ึงพระอนุตร บรมมรรค จนถึงปรินิรวาณ ในระหวางนั้นบรรดาวาจา บรรดาการกลาวแสดงลวนเปนความสัตยที่บริสุทธ์ิ ๑๐ จริงแททั้งส้ิน หามีการโปปดลวงหลอกไม หากมีโมหบุรุษผูมิรูจําแนกในอุปายโกศล แหงการกลาวแสดง ของพระตถาคตแลวไซร ยอมจักกลาววาจาเชนน้ีวา “อันธรรมเปนเชนน้ี อันธรรมมิใชเชนนี้” กลาว ครหาตูว า พระสทั ธรรมและพระพทุ ธะ พระโพธสิ ตั ว อนั ตถาคตกลาวแลว วา ทั้งหมดนั้นยอ มมงุ สนู รกภมู ิ 佛言。阿逸多。於我滅後五濁世中。若有比丘比丘尼優婆塞優婆 夷。實非菩薩自謂菩薩。是外道人。曾於過去供養諸佛發願力故。於佛法 律而得出家。隨所至處多求親友。名聞利養。恣行穢污棄捨信心。成就惡 行不自禁制。不自調伏貪諸利養。於一切法門及出生堅固三昧。皆悉遠離 實無所知。為親屬故妄稱知解住於諂曲。口說異言身行異行。 พระพุทธองครับสั่งวา ดูกอน อชิตะ เม่ือตถาคตดับขันธลวงแลวในโลกแหงความเสื่อม ๕ ๑๑ ประการ หากมีภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ที่โดยแทแลวมิใชโพธิสัตว แตสําคัญตนวาเปนโพธิสัตว อันถือเปนพาหิรนอกพระศาสนา แตดวยในอดีตเคยถวายสักการะปวงพระพุทธเจาและดวยพลังแหง ปณิธานแตปางกอนท่ีตนเคยประกาศไวเปนเหตุ จึงยังใหไดดํารงในพระพุทธธรรมวินัย แลวออกบวช จาริกทอ งเที่ยวไปตามสถานที่ตางๆ เพื่อแสวงหามิตรแลบริวาร แสวงหาการสรรเสริญเยินยอ ลาภสักการะ มีกิริยากําเริบลําพอง ประพฤติตนแปดเปอนสามานย ละทิ้งเพิกเฉยซ่ึงจิตศรัทธา สําเร็จในอบายจริยาการ กระทําอันผิดช่ัว โดยมิรูจักหามปรามตน มิรูจักบําราบซ่ึงความละโมบในลาภสักการะทั้งหลาย ในสรรพ ธรรมทวารและการบังเกิดข้ึนของสมาธิอันแกรงกลานั้นลวนแตยังหางไกล โดยท่ีจริงแลวมิไดรูแจงโดยแท เลย ดวยมีบริวารอยูใกลชิดเปนเหตุ แลดวยคําโปปดที่เยินยอวาไดลวงรูแตกฉาน อันต้ังอยูบนบทเพลงลํา นาํ แหง คําสอพลอ มีปากทก่ี ลาวตา งกับวาจา มกี ายทม่ี ิตรงกับการกระทาํ 阿逸多。我菩提道於一切眾生。皆悉平等安住大悲。以善方便正念 不忘。如來安住無等等力。無障無礙而為說法。 ๑๐ อุปายโกศล หมายถึงวิธีการอันชาญฉลาดท่ีใชส่ังสอนใหไดผลดีเย่ียมและรวดเร็วกวาวิธีทั่วๆไป โดยในขอนี้มีนัยยะวา การสั่งสอน ธรรมแกส รรพสัตวท้ังปวงนั้น บางจําพวกอาจส่ังสอนดวยศูนยตาธรรมได แตบางจําพวกตองอาศัยอุบายโกศลนานาชนิด เพ่ือยังใหสรรพ สตั วนน้ั ๆไดเขา ใจแจงในธรรม โดยวิธีการตางๆ ทไี่ มเ หมอื นกนั ในแตล ะบุคคล ๑๑ ความเส่ือม ๕ ประการ มี ๑)ทฤษฎีกษายะ คือ ความเสื่อมแหงทิฐิ ๒)เกลศกษายะ คือความเส่ือมเพราะกิเลส ๓) สัตตวกษายะ คือ ความเส่อื มของสัตว ๔)อายษุ กษายะ คอื ความเสอ่ื มแหง อายุ ๕)กัลปกษายะ คอื ความเส่ือมแหง กัลป *** พระสตู รมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลิขสทิ ธิ์ในการแกไ ข ดัดแปลง จําหนาย 10

ดูกอน อชิตะ พระบรมโพธิญาณแหงตถาคต กับบรรดาสรรพสัตวทั้งปวงน้ัน ลวนมีความเสมอ ภาคเทาเทียมกันอยูดวยมหากรุณา แตดวยอุบายโกศลอันเย่ียมยอดและสัมมาสติท่ีระลึกชอบอยูจึงมิได หลงลมื เลอะเลือน ตถาคตไดดํารงอยูในอสมสมพละวิหาร อันเปนกําลังท่ีมิมีผูใดมาเสมอเทาฤๅเทียบเคียง ไดโดยแท ไรซ ่ึงอุปสรรคขวางกน้ั ทง้ั ปวงแลวจงึ แสดงพระสัทธรรม 若有眾生作如是言。佛為聲聞所說經典。諸菩薩等不應習學不應聽 受。此非正法此非正道。辟支佛法亦不應學。 หากมีสรรพสัตว กระทําวาจาเชนน้ีวา พระพุทธเจาเพ่ือเหลาสาวกแลวจึงทรงกลาวแสดงพระธรรม สูตร เหลาโพธิสัตวท้ังหลายมิพึงควรศึกษาปฏิบัติ มิพึงไดสดับฟง ส่ิงนี้มิใชพระสัมมาธรรม สิ่งนี้มิใชพระ สมั มามรรค อนั พระปจ เจกพุทธธรรมก็มพิ งึ ไดศ กึ ษาดว ย 復作是言。諸菩薩等所修行法。聲聞之人亦不應學不應聽受。辟支 佛法亦復如是。 แลวแลยังกลาววาจาเชนนี้วา บรรดาโพธิสัตวท่ีบําเพ็ญธรรมจริยาท้ังปวง และมนุษยสาวกก็มิพึง ศกึ ษา มพิ งึ ไดสดบั รับฟง ดว ย พระปจ เจกพุทธธรรมกม็ ิควรเชนกนั นี้ 復作是言。諸菩薩等所有言說。聲聞辟支佛不應聽受。彼此言行更 相違背不與修多羅相應。 และกลาววา บรรดาวจีคํากลาวของปวงโพธิสัตว สาวก ปจเจกพุทธก็มิพึงรับฟง อันวจนะและ จริยานั้นและน้ี ย่ิงตรงขามและมใิ ชโยคะแหงพระสตู ร 於如實說真解脫法不能信受。依彼法者不得生天。何況解脫。 ซึ่งโดยแทจริงแลวก็คือ สัตยวิมุตติธรรมอันจริงแท แต(ตน)มิอาจนอมใจศรัทธายอมรับได ดวย ตนอาศัยธรรมเชน นั้นจงึ มิไดอ บุ ตั บิ นเทวโลก แลวจกั ประสาอันใดกบั พระวิมตุ ติไดห ลดุ พนเลา 阿逸多。我今說法隨其信心而調伏之如恒河沙。阿逸多。我今欲往 十方世界隨順說法利益眾生。不為實非菩薩而作菩薩相者。亦不為毒惡欺 誑少聞之人於我法中作二說者。其二說人或作是言。是菩薩應學是不應學 謗佛法僧。 ดูกอน อชิตะ ดังท่ีตถาคตเทศนาธรรมอนุโลมตามจิตศรัทธาท่ีนอมรับ เพื่อบําราบอบรม(สรรพ สัตว)จํานวนนับดวยเมล็ดทรายในคงคานทีอยูน้ี อชิตะ ตถาคตปรารถนาดําเนินไปในโลกธาตุทั่วทศทิศ *** พระสูตรมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลขิ สทิ ธใิ์ นการแกไ ข ดัดแปลง จําหนาย 11

เพ่ือประทานพระธรรมเทศนา อนุโลมแกประโยชนสุขของสรรพสัตวเสียบัดน้ี ซึ่งมิใชเพ่ือโพธิสัตวแท ๑๒ โพธิสัตวเท็จ ฤๅแมกระทั่งผูท่ีมีรูปลักษณเปนโพธิสัตวก็ตาม อีกดวยมิใชเพ่ือมนุษยท่ีรายกาจชั่วราย ๑๓ ฉอ โกง โออ วด และเปนผูส ดบั นอ ยท่ไี ดก ลา วทวิวาทะ ในธรรมของเรา โดยบุคคลทก่ี ลาวทววิ าทะน้ัน อาจ กลาววา “อันน้ีโพธิสัตวพึงศึกษา อันน้ีมิพึงศึกษา” ซ่ึงเปนการกลาวรายพระพุทธ พระธรรมและ พระสงฆ 是人身壞命終墮於地獄。多百千劫不可得出。設令得出生貧窮家。 至於後時雖得授記。五濁惡世成等正覺。如我今日於是生死五濁世中成於 佛道。 บุคคลผูน้ีเมื่อสังขารแตกดับชาตะขาดสูญแลวยอมลุแกนรกภูมิ ใชเวลาหลายรอยพันกัลปก็มิอาจ หลุดพนได หากแมนไดถอื กาํ เนิดก็จักเกิดอยูในเรือนผูยากจนแรงแคน จนเม่ือในภายหลังถึงแมนจักไดรับ พระพุทธพยากรณก็ตาม ก็จักไดบรรลุพระอนุตรบรมสัมโพธิญาณในโลกแหงความเสื่อมทั้ง ๕ ประดุจเรา ตถาคตในวารนท้ี เ่ี วียนวายในโลกแหง ความเส่ือมท้งั ๕ นแ้ี ลวจึงไดสาํ เร็จซึง่ พระพุทธมรรค 以是因緣汝應諦聽。應當信知。隨順惡友所行如是。阿逸多。我念 過去無央數劫。彼時有佛名曰無垢焰稱起王如來應供正遍知明行足善逝世 間解無上士調御丈夫天人師佛世尊。出現於世。是時彼佛壽命八萬那由他 歲為眾說法。 ดวยเหตุปจจัยเชนน้ีแล เธอพึงไดต้ังใจสดับฟง พึงไดศรัทธาเชื่อถือ ดวยอนุโลมตามการกระทํา ของมติ รชว่ั เชนนี้ อชิตะ ตถาคตยังระลกึ ไดผ านกาลเวลายาวนานนับอสงไขยกลั ปยอ นไปในอดีตกาล เพลา น้ันมีพระพุทธเจาพระองคหน่ึงทรงพระนามวา “วิมลมริจีสรรเสริญราชา” พระองคทรงเปนพระ ตถาคตผูเสด็จมาแลวอยางนั้น ทรงหางไกลจากกิเลสและควรแกการบูชา ทรงตรัสรูเองโดยชอบ ทรง สมบูรณดวยความรูและความประพฤติ เสด็จไปดีแลว ทรงรูแจงโลก ทรงยอดเย่ียมหาผูอ่ืนเสมอเหมือน มิได ทรงฝกบุรุษที่ควรฝก ทรงเปนครูของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย ทรงต่ืนแลวและทรงเปนที่พึ่งแหง ๑๒ มีนัยยะวา จักทรงประทานพระธรรมเทศนาโดยมิลําเอียงหรือแบงแยกบุคคลประเภทใด ประเภทหน่ึงเทานั้น แตจักทรงเทศนาตาม ระดบั ปญ ญาของแตละบุคคลในทุกประเภททีจ่ ะสามารถหย่งั ใจใหเชอ่ื และนอมรับเพื่อปฏบิ ัตไิ ด ๑๓ มนี ัยยะวา การกลาวความจรงิ แทท่มี ีหน่ึงเดยี วใหกลายเปนสองเพ่อื บดิ เบือนความจริง เชนการกลับผดิ เปนถูก *** พระสตู รมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลขิ สิทธใิ์ นการแกไข ดัดแปลง จําหนาย 12

๑๔ โลกท้ังมวลไดอุบัติข้ึนในโลก ในสมัยน้ันทรงมีพระพุทธชนมพรรษายาวนานถึง แปดหมื่นนยุตะ ป เพ่ือ ประทานพระธรรมเทศนาแกเ วไนย 爾時無垢焰稱起王如來法中。有一比丘名曰淨命。總持諸經十四億 部大乘經典六百萬部為大法師。言辭清美辯才無礙。利益無量無邊眾生示 教利喜。 ครั้งนั้น ในระหวางธรรมสมัยแหงพระวิมลมริจีสรรเสริญราชาตถาคตเจา ยังมีภิกษุรูปหน่ึงช่ือวา “วิสุทธายุ” สามารถทรงไวซ่ึงพระสูตรท้ังปวงจํานวนสิบสี่โกฏิปกรณ มหายานสูตรจํานวนหกรอย หมื่นปกรณ โดยเปนมหาธรรมาจารย มีวจนะไพเราะจับใจ บริสุทธ์ิสวยงาม ถึงพรอมดวยปฏิภาณอันไร อุปสรรคของขัด ทั้งสอนส่ังใหสรรพสัตวจํานวนหาประมาณมิได กําหนดหาขอบเขตมิได ไดลุถึงประโยชน อนั อุดม 爾時無垢焰稱起王如來。臨涅槃時告彼比丘淨命言。未來世中汝當 護持我正法眼。爾時淨命受佛教已。於佛滅後千萬歲中。守護流通諸佛祕 藏。於此方廣總持法門受持讀誦深解義趣。於彼世界八萬城中所有眾生。 隨其願樂廣為宣說。 สมัยนั้น พระวิมลมริจีสรรเสริญราชาตถาคต ใกลจะเสด็จสูหวงมหาปรินิรวาณแลว ไดรับส่ังกับวิ สุทธายภุ ิกษุน้ันวา “ในอนาคตกาลเบ้ืองหนา เธอจงพิทักษรักษาพระสัทธรรมจักษุของเราดวย” คร้ัน เมื่อวิสุทธายุรับสนองพระพุทโธวาทแลว หลังจากท่ีพระพุทธปรินิรวาณแลวในระหวางน้ันหนึ่งพันหมื่นป(วิ สุทธายุภิกษุ)ไดอภิบาลปกปองแลเผยแผความลึกลับแหงพระพุทธเจาทั้งปวงที่ซอนเรนไว ดวยการยึดมั่น ๑๕ อานทอง สาธยาย จําแนกอรรถาธิบายในความลึกซ้ึงแหงไวปุลยธารณีธรรมทวารนี้ ดวยในโลกธาตุแหง ๑๔ นยุตะ,นิยุต,นหุต(บาลี) สังขยา(จํานวนนับ)จํานวนหนึ่งแสน หรือหน่ึงลาน เปนหลักนับอยางหน่ึงคือ หน่ึงรอยโกฏิเปนหน่ึงอยุตะ หน่ึงรอยอยุตะเปนหนึ่งนิยุตะ สวนนยุตะน้ันเทากับเลขหน่ึงตอทายดวยศูนยยี่สิบสองตัว พจนานุกรมบาลี-อังกฤษ ของสมาคมบาลี ปกรณกลาววา นหุต หมายถึงสังขยาจํานวนมาก คือหนึ่งหมื่น แตพจนานุกรมสันสกฤต-อังกฤษของเซอรมอเนียวิลเล่ียมและปราชญ อ่ืนๆ วา ไดแก จาํ นวนหน่งึ ลาน ๑๕ มีนัยยะหมายถึง ผูท่ียึดมั่น อานทอง สาธยาย และอรรถาธิบายในความลึกซึ้งของพระสูตรนี้ จะทรงไวซึ่งคุณธรรม คือการไมละเมิด กลา วรายตอ พระรตั นตรยั กจ็ ะมกี าย วาจา ใจทบี่ รสิ ุทธิ์ และเมื่อไตรทวารบริสทุ ธแิ์ ลว ก็เสมือนเปนการปกปองและเผยแผความลึกลับของ พระพุทธะ เพราะพระพทุ ธะทง้ั ปวงทรงมคี วามบรสิ ุทธ์ทิ ้งั ไตรทวารเปนปกตธิ รรมชาติ แตในยุคหลังพุทธกาล มีการกลาวรายพระรัตนตรัย และพระธรรมาจารยมาก ทําใหพ ระธรรมแทถกู บิดเบือนมาก ดงั น้นั พระธรรมแทจึงเปนความลึกลบั ทีจ่ ะคนหาพบไดยากยิง่ ในปจจุบัน *** พระสตู รมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลิขสิทธใ์ิ นการแกไ ข ดัดแปลง จําหนา ย 13

นั้นมีเมืองนครจํานวนแปดหมื่นแหง ลวนมีสรรพสัตวอาศัยท้ังสิ้น ดวยอนุโลมตามความยินดีแหงปณิธาน นน้ั จงึ กลา วแสดง(ธรรม)ไปอยา งไพศาล 爾時有一大城名曰跋陀。往彼城中為八十億家。隨其所樂而為說 法。是時城中八十億人獲淨信心。一億人眾住菩提道。七十九億人住聲聞 乘而得調伏。 คร้ังนั้น มีมหานครหนึ่งช่ือวา “ภัททา” (วิสุทธายุภิกษุ)ไดจาริกยังนครน้ัน เพื่อแสดงธรรม อนุโลมตามความยินดีของชนทั้งแปดสิบโกฏิครัวเรือน เพลาน้ันมนุษยจํานวนแปดสิบโกฏิภายในนครแหง น้ัน ไดรับในศรัทธาจิตที่บริสุทธ์ิ หมูชนหนึ่งโกฏิไดดํารงในพระโพธิมหามรรค เจ็ดสิบเกาโกฏิไดดํารงใน สาวกยานลุถึงความสงบระงับ 爾時淨命法師復與十千比丘眾。相隨俱往修菩提行。爾時跋陀城中 復有比丘名曰達摩。於大乘經方廣正典。受持千部獲得四禪。唯以方廣空 法化彼城中一切眾生。不能以善方便隨欲而說。作如是言。一切諸法悉皆 空寂我所說者真是佛說。彼淨命比丘所說雜穢不淨。此比丘實非淨命而稱 淨命。何以故。而此比丘所受諸華。不持供養而自受用。塗香末香亦復如 是。淨命比丘愚癡無智。不能知我久修梵行。 คร้ังนั้น วิสุทธายุธรรมาจารย พรอมดวยคณะภิกษุหมูใหญจํานวนสิบพัน ไดประพฤติบําเพ็ญใน โพธิจริยาดวยกัน เม่ือนั้น ภายในภัททานครยังมีภิกษุชื่อวา “ธัมมา” เปนผูซึ่งดํารงในมหายานสูตร และไวปุลยสูตร สมาทานยึดถือไวจํานวนหน่ึงพันปกรณ ไดบรรลุถึงจตุถฌาน ดวยใชเพียงศูนยตาธรรม อันไพบูลยสอนส่ังสรรพสัตวในนครแหงนั้น แตมิอาจกลาวแสดงดวยอุบายโกศล อนุโลมตามความ ตองการ(ของสรรพสัตว) แลวแลจึงกลาววา “สรรพธรรมท้ังปวง ลวนแตศูนยตาวางเปลา สิ่งท่ีเราได กลาวท้ังสิ้นแลวนั้น ก็คือพระพุทธวจนะโดยแท วิสุทธายุภิกษุผูน้ันลวนกลาวดวยสิ่งท่ีเจือปนแปดเปอนมิ บริสุทธ์ิ อันภิกษุผูน้ันแทจริงแลวมิใชทานวิสุทธายุ แตยกยองวาคือ ทานวิสุทธายุ ดวยเหตุใดฤๅ เหตุดวย ภิกษุผูน้ีเปนผูสองเสพในลาภยศท้ังปวง มิไดรับเคร่ืองสักการะเพ่ือใชเฉพาะตน รวมทั้งเคร่ืองทาหอม ผง หอมก็ดุจเดียวกัน วิสุทธายุภิกษุเปนผูมากดวยโมหะ ไรซึ่งสติปญญาท่ีมิอาจรูวาเรา(ธัมมาภิกษุ)ได ประพฤตพิ รหมจรรยมานานแลว” 彼既年少出家未久。我慢無信多諸放逸。是諸人等無所知曉。謂是 淨命持戒比丘。 *** พระสูตรมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลขิ สิทธใิ์ นการแกไ ข ดัดแปลง จําหนาย 14

ซึ่งทั้งที่(ธัมมา)ภิกษุนั้นยังดอยพรรษาแลออกบวชไดยังมิชานาน อีกยังมีอัสมิมานะแรงกลา ปราศจากศรัทธามากดวยความประมาทท้ังปวง ดวยวาบุคคลท้ังหลายน้ันมิรูความจริง วาก็คือวิสุทธายุผู สมาทานแลวซึง่ ภกิ ษุศลี 爾時達摩以其惡心謗持法者。身壞命終墮於地獄。經七十劫具受眾 苦。滿七十劫已墮畜生中。過六十劫後值遇香寶光佛。於彼法中發菩提 心。於九萬世猶生畜生中。過九萬世已得生人中。於六萬世貧窮下賤恒無 舌根。 บัดนั้น เม่ือธัมมาภิกษุเกิดจิตอกุศลหยาบชา กลาวครหาใหรายผูประพฤติธรรม เมื่อสังขารแตก ชีวาดับแลว จึงไดถืออุบัติยังนรกภูมิ ผานกาลเวลาไปเจ็ดสิบกัลปในการรับทุกขทรมานตางๆ เม่ือครบเจ็ด สิบกัลปแลวจึงถืออุบัติยังเดรัจฉานภูมิ ผานอีกหกสิบกัลปลวงแลวจึงมีโอกาสพบกับ “พระสุคนธรัตน ประภาพทุ ธเจา ” และในธรรมสมยั นั้นแลจงึ ไดบ ังเกิดพระอนตุ รสมั มาสมั โพธจิ ิต ผานไปอีกเกาหม่ืนชาติ แลวก็ยังอุบัติในเดรัจฉานภูมิอีก ผานไปเกาหม่ืนชาติแลวจึงไดถือกําเนิดเปนมนุษยผูทุคตเข็ญใจ ขัดสน ยากไร เปนโจรและไรซ่งึ ชิวหาตินทรีย(ไมมลี ้ิน หรอื เปนใบ) อีกหกหม่นื ป 其淨命比丘於諸法中得淨信心為人說法。彼於後時得值六十三那由 他佛。恒為法師具足五通。勸請彼佛轉妙法輪。 อันวิสุทธายุภิกษุผูน้ัน ดวยอาศัยการต้ังมั่นในสรรพธรรมจึงสําเร็จศรัทธาจิตท่ีบริสุทธ์ิ แลวแสดง พระธรรมเทศนาแกมวลมนุษย ตอมาภายหลังจึงไดประสบกับพระพุทธเจาจํานวนหกสิบสามนยุตะ ๑๖ พระองค อีกยังเปนธรรมาจารยผูสมบูรณดวยเบญจอภิญญา แลเปนผูอาราธนาพระพุทธเจาเหลานั้นให ทรงหมุนเคลื่อนพระธรรมจกั รอนั วเิ ศษ 阿逸多。汝今當知。過去淨命比丘者豈異人乎莫作異觀。今阿彌陀 佛是。阿逸多。汝今當知。過去達摩比丘者豈異人乎莫作異觀。今我身 是。 ดูกอน อชิตะ เธอพึงทราบไว วิสุทธายุภิกษุในอดีต ท่ีเห็นเปนคนละคนนั่นหรือ มิควรพิจารณา เปนใครอ่ืน(เพราะวา) ก็คือพระอมิตาภะพุทธเจาในบัดน้ี อชิตะ เธอพึงทราบไว ธัมมาภิกษุในอดีตท่ีเห็น เปน คนละคนนั่นหรือ มคิ วรพจิ ารณาเปน ใครอนื่ (เพราะวา ) กค็ ือเราตถาคตในวารนี้ ๑๖ ฤทธิ์ ๕ ประการ มี ๑)อิทธิวิธี แสดงฤทธิ์ได ๒)ทิพยจักษุ ตาทิพย ๓)ทิพยโสต หูทิพย ๔)เจโตปริยญาณ ญาณท่ีกําหนดรูใจผูอื่น ได ๕) บุพเพนิวาสานุสสติญาณ การระลึกชาติได *** พระสูตรมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลขิ สิทธใ์ิ นการแกไ ข ดัดแปลง จําหนา ย 15

由我過去愚癡無智毀謗他故受苦如是。我以此業因緣故。處五濁世 成等正覺。是故阿逸多。若有菩薩於諸法中作二說者。以是因緣後五濁世 成於佛道。其佛國中有諸魔等。於說法時恒作障難。 เหตุที่ในอดีตกาลตถาคตไดโมหะลุมหลง ไรซึ่งปญญาญาน ทําลายแลใหรายผูอื่น สงผลใหตอง เสวยทุกขทรมานเชนนี้ ดวยอาศัยเหตุปจจัยแหงกรรมนี้เปนเหตุ ทําใหไดตรัสรูพระอนุตรสัมมาสัมโพธิ ญาณในโลกแหงความเส่ือม ๕ ประการแหงนี้ ดวยเหตุฉะนแี้ ล อชิตะ หากมีโพธิสัตวท่ีดํารงในสรรพธรรม ไดกลาวแสดงซ่ึงทวิวาทะน้ี ดวยเหตุปจจัยน้ีแล ในภายหลังยอมจักไดสําเร็จซึ่งพระพุทธมรรคยังโลกแหง ความเส่ือมทั้ง ๕ ประการนี้ ภายในพุทธประเทศจักประกอบดวยเหลามารทั้งหลาย เม่ือคราแสดงธรรมก็ ใหก ระทําเปนอุปสรรคกดี ขวาง ยากลาํ บากอยูเนอื งนติ ย 爾時大眾聞佛說已。皆悉悲泣涕淚交流俱發是言。願於佛法莫作二 說如達摩比丘。 ครั้งน้ัน เมื่อมหาชนไดสดับยลยินซ่ึงพระพุทธวจนะแลว ใหลวนเกิดโศกาลัยในดวงมาลย รันทด สะเทือนจิตสะทานใจใหหล่ังไหลชลเนตรพร่ังพรูมิรูหยุด แลวแลกลาววา ขอใหในพระพุทธธรรม อยาได กระทาํ ซึง่ ทวิวาทะดจุ ธมั มาภิกษเุ ลย 爾時會中有百菩薩。即從座起右膝著地悲號墮淚。爾時世尊知而故 問彼菩薩言。善男子。汝等何為悲號如是。爾時諸菩薩等異口同音俱白佛 言。世尊。我等自觀亦應有此諸惡業障。 ในกาลคร้ังน้ันแล ทามกลางธรรมสโมสรมีพระโพธิสัตวจํานวน ๑๐๐ องค ตางลุกข้ึนจากอาสนะ แหงตนยอกายลงคุกพระชานุเบ้ืองขวาลงกับผืนธรณิน ดวยความโศกาดูรหมองเศรายิ่งนัก โดยยังหลั่งชล เนตรอยมู ิหยดุ ครั้งน้ันพระโลกนาถเจาผูแจงโลก ทรงทราบแลว จึงเปนเหตุใหตรัสถามพระโพธิสัตวเหลานั้นวา ดกู อ นพุทธบตุ ร เหตุไฉนพวกเธอทง้ั หลายจึงไดปรเิ วทนาถึงปานน้ี บรรดาพระโพธิสัตวตางกราบทูลเปนสําเนียงเดียวกันวา ขาแตพระโลกนาถเจา ขาพระองค ท้งั หลายลว นพิจารณาในตนแลว วา จักพึงมีอกศุ ลวิบากตางๆเชนน้ีดวย พระพุทธเจาขา 爾時世尊作如是言。如是如是。汝亦曾於過去然燈佛所。在彼法中 出家修道。是然燈佛滅度之後。時有比丘名曰智積。汝等爾時謗是比丘。 *** พระสตู รมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลิขสทิ ธ์ิในการแกไ ข ดัดแปลง จําหนาย 16

因是已來不得見佛。不能發菩提心。不得陀羅尼及諸三昧。後共汝等同時 安住菩提之道。 เม่ือน้ัน พระบรมศาสดาจารย จึงประทานพระโอวาทดังนี้ เปนเชนนั้น เปนเชนน้ัน เธอท้ังหลาย ๑๗ เคยไดออกบวชบําเพ็ญมรรคในธรรมสมัยแหงพระทีปงกรพุทธเจาเม่ือครั้งอดีต ตอมาภายหลังจากที่ พระทีปงกรพุทธเจาไดเสด็จสูหวงมหาปรินิรวาณแลว คร้ังน้ันมีภิกษุชื่อวา “ปรัชญากูฏ” ซึ่งเธอ ทั้งหลายในสมัยน้ันไดใหรายแกภิกษุน้ี อันเปนเหตุใหท่ีผานมามิไดประสบพระพุทธะ มิอาจบังเกิดพระ อนุตรสัมโพธิจิต มิบรรลุในธารณีและสมาธิท้ังปวง ภายหลังพวกเธอทั้งหลายจึงไดดํารงในพระบรมโพธิ มรรคในคราวเดียวกัน 汝等善男子。此賢劫最後佛所當獲無生法忍。復於後時過三阿僧祇 劫行菩薩道。當得阿耨多羅三藐三菩提。是故善男子。若菩薩見餘菩薩。 不應生於彼此之心。當如塔想如見佛想。是故菩薩見餘菩薩。莫作異念謂 非佛想。若起異念為自侵欺。當受持此莫作異想共相和合。 ดูกอนกุลบุตร ๑๘ (พวกเธอ) เธอทั้งหลายในธรรมสมัยแหงพระพุทธเจาองคสุดทายในภัทรกัลปน้ี ๑๙ จักไดบรรลุในอนุตปตติก ธรรมกษานติ แลจากน้ันผานเวลาไปสามอสงไขยกัลปจักไดบําเพ็ญโพธิสัต วมรรคจนไดบรรลุในพระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ ดวยเหตุฉะน้ี กุลบุตร หากโพธิสัตวพบโพธิสัตวอ่ืน มิ พึงเกิดจิต(แบงแยก)วาน้ันและน้ี พึงกระทําประดุจ(วาโพธิสัตวอ่ืนนั้นเปนด่ัง)พระสถูป ประดุจพระพุทธ องค ดวยเหตุน้ีเมื่อโพธิสัตวพบโพธิสัตวอ่ืน อยาพึงมีมติเปนอ่ืนวามิใชพระพุทธลักษณ หากแมนเกิดมติ ท่ีแตกตางดวยเพราะตนเองลวงลอตนทีละนอย พึงปฏิบัติยึดถือวา อยากระทําสัญญาวาแตกตาง พึงรวม ลกั ษณะใหเปนหนง่ึ เดยี ว ๑๗ พระทีปงกรพุทธเจา คือพระพุทธเจาองคท่ี ๒๔ กอนหนาพระศากยมุนีพุทธเจา ครั้งนั้นพระพุทธเจาของเราเสวยพระชาติเปนสุเมธ ดาบส และไดทอดกายเปนสะพานใหพระทีปงกรพุทธเจาพรอมดวยพระอรหันตสาวกเดินขามไป จึงไดรับพุทธพยากรณวา จักไดตรัสรู เปน พระโคดมในปจจุบัน จึงทาํ ใหส เุ มธดาบสต้ังปณิธานและบาํ เพ็ญบารมีจนไดตรัสรูในปจจุบัน ๑๘ ภัทรกัลป คือกัลปท่ีเจริญ ตามคติของมหายานวา จะมีพระพุทธเจาอุบัติข้ึนถึงหน่ึงพันพระองค โดยมีพระศากยมุนีเปนองคท่ี ๔ พระ เมตไตรยเปนองคท่ี ๕ และจะมีอีก ๙๙๕ พระองค โดยมีพระรุจิพุทธเจาเปนพระองคสุดทาย และวาพระรุจิพุทธเจาในอนาคต ก็คือพระ เวทโพธิสตั วใ นปจจบุ นั ๑๙ ความอดทน ๓ ประการ มี ๑)โฆษานคต-ธรม-กษานติ คือ ความอดทนตอเสียงดังตางๆ โดยพิจารณาวาเปนของไมเที่ยงแทถาวร ๒)อนโุ ลมิก-ี ธรม-กษานติ คือ ความอดทนทจี่ ะปฏบิ ัติอนุโลมตามธรรม ๓) อนุตปตติก-ธรม-กษานติ คือ ความอดทนในความปลงใจ เชื่อในธรรมที่ไมเกดิ อกี ตอ ไป *** พระสูตรมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลขิ สทิ ธ์ิในการแกไ ข ดัดแปลง จําหนาย 17

我今觀初發心菩薩不如佛想者。我便欺誑十方現在一切無量阿僧祇 諸佛。是故善男子。菩薩未來於五濁世中。得陀羅尼三昧者。一切皆是佛 之威力。是故善男子。若有誹謗其法師者。即為謗佛等無有異。 ดวยตถาคตไดพิจารณาโพธิสัตวผูเริ่มบังเกิดพระบรมโพธิจิตวามิประดุจพระพุทธะ ตถาคตจึงโป ปดและสาเถยยะโออวดถือดีตอพระพุทธเจาจํานวนอสงไขยในทศทิศที่ดํารงอยูในกาลปจจุบันจํานวนมิอาจ ประมาณ ดวยเหตุฉะนี้แล กุลบุตร โพธิสัตวในอนาคตยอมบรรลุธารณีแลสมาธิ ภายในโลกแหงความ เส่ือม ๕ ประการ ซึ่งทั้งหลายท้ังปวงลวนคือพระพุทธพละบันดาลดลใหเปนไป ดวยเหตุฉะน้ี กุลบุตร หากครหานนิ ทา ใหรายตฉิ นิ ตอพระธรรมาจารยน นั้ ยอมคือการใหรา ยพระพทุ ธเจาดวยมติ า งกันเลย 善男子。佛滅度後若有法師。善隨樂欲為人說法。能令菩薩學大乘 者。及諸大眾有發一毛歡喜之心乃至暫下一渧淚者。當知皆是佛之神力。 若有愚人實非菩薩假稱菩薩。謗真菩薩及所行法。復作是言。彼何所知彼 何所解。 ดูกอน กุลบุตร เมื่อตถาคตดับขันธลวงแลว หากแมนจักมีธรรมาจารยท่ีสามารถสําแดงธรรมแก มนุษยโดยอนุโลมตามความปติยินดีไดอยางชํ่าชอง สามารถยังใหบรรดาโพธิสัตวศึกษาในมหายาน๒๐ และ ยังใหมหาชนทั้งปวงบังเกิดจิตปติยินดีเพียงโลมาชาติเสนเดียว จนถึงการหลั่งชลเนตรเพียงครั้ง พึงทราบ เถดิ วา ลวนคือพระพุทธพละบันดาลดลใหเปนไป โดยอาจมีโมหบุรุษซ่ึงที่แทหาใชโพธิสัตวไม แตลวงหลอก สรรเสริญวาเปนโพธิสัตว ใสไคลโพธิสัตวแทและธรรมจริยาท้ังปวง ทั้งยังกลาววา “น่ันจะรูไดอยางไร นนั้ จะแยกแยะไดอยางไร 彌勒。我憶過去於閻浮提學菩薩時。愛重法故為一句一偈。棄捨所 愛頭目妻子及捨王位。何以故。以求法故。如彼愚人專為名聞耽著利養。 自恃少能不往如來傳法人所聽受正法。 ดูกอน เมตไตรย เราตถาคตระลึกยอนไปในอดีตเม่ือคราที่ไดศึกษา(การเปน)โพธิสัตวในชมพู ทวีป ดวยเหตุท่ีมีความใครธรรมย่ิงนัก แมนเพื่อธรรมคาถาเพียง ๑ บาท ๑ บท ก็ยังสละไดโดยมิยินดี แมนในศีรษะ ดวงเนตร มเหสี ราชบุตรและสละราชศักด์ิ ดวยเหตุใดฤๅ ก็ดวยเหตุที่ปรารถนาในธรรมย่ิง นัก ประดุจโมหบุรุษน้ัน ท่ีมุงมั่นตั้งใจแสวงช่ือเสียงมัวเมายึดติดในลาภสักการะ อาศัยท่ีตนเองขวนขวาย นอ ย มิไดสดบั ตถาคตแสดงธรรม ๒๐ คําวา ศึกษาในมหายาน โดยนยั ยะของพระสตู รมหายาน คอื การศึกษาการเปนพระโพธสิ ตั ว เพอื่ ชวยเหลอื สรรพสัตวและเพื่อเปน สาํ เรจ็ พระพุทธญาณ *** พระสตู รมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลขิ สิทธใ์ิ นการแกไข ดัดแปลง จําหนาย 18

彌勒。若彼此和合則能住持流通我法。若彼此違諍則正法不行。阿 逸多。汝可觀此謗法之人。成就如是極大罪業。墮三惡道難可出離。 เมตไตรย หาก(บุคคล)นั้นและ(บุคคล)น้ีสมัครสมานกันยอมจักทรงไวแลยังใหธรรมแหงเรา ตถาคตแผไพศาล แตหาก(บุคคล)นั้นและ(บุคคล)น้ีวิวาทแกกันยอมจักมิอาจดําเนินในพระสัทธรรมได อชติ ะ เธอพึงพิจารณาบคุ คลท่ที าํ ลายพระธรรมน้ี วาจักสําเร็จในมหาวิบากกรรมท่ีใหญหลวงเชนนี้ ยอมตก สูอบายภูมสิ ามยากท่จี ักหลุดพน 復次彌勒。我初成佛以妙智慧廣為眾生宣說正法。若有愚人於佛所 說而不信受如彼達摩比丘。雖復讀誦千部大乘為人解說獲得四禪。以謗他 故七十劫中受大苦惱。況彼愚癡下劣之人。實無所知而作是言。我是法師 明解大乘能廣流布。謗正法師言無所解。亦謗佛法而自貢高。 ดูกอน เมตไตรย ในคราแรกที่ตถาคตสําเร็จพระพุทธญาณ ดวยอาศัยปญญาญาณอันวิเศษ แสดงพระสทั ธรรมแกสรรพสัตวอ ยา งไพศาล หากมีโมหบุรุษที่มิอาจศรัทธานอมรับพระพุทธพจนทั้งปวงได ประดจุ ธมั มาภกิ ษผุ นู ั้น ท่ีแมนวาจักไดอานทอง สาธยายมหายานธรรมนับพันปกรณ แลแสดงอรรถาธิบาย แกมนุษยจน(ตนเอง)ไดบรรลุถึงจตุถฌาน แตดวยการกลาวใหรายผูอ่ืนเปนเหตุ ยังใหตองเสวย ทุกขเวทนาใหญหลวง(ในนรก)เปนเวลาเจ็ดสิบกัลป แลวจักประสาใดกับบุคคลผูประกอบดวยโมหะ ลุม หลง สามานยเลา โดยแทจริงแลว(ตน)มิไดรูแจงใดเลยกลับยังกลาววา “เราคือธรรมาจารยผูแตกฉาน แจงในมหายาน สามารถ(เผยแผธรรม)ไปใหกวางขวางไพบูลย” ไดทําการใหรายธรรมาจารยแท กลาว วาจาทีม่ ิอาจเขาใจ โดยใหร า ยพระพุทธธรรมแตกลับเทิดทูนตนเองไวสงู สง 若彼愚人於佛大乘。乃至誹謗一四句偈。當知是業定墮地獄。何以 故。毀謗佛法及法師故。以是因緣常處惡道永不見佛。以曾誹謗佛法僧 故。亦於初發菩提心者。能作障礙令退正道。當知是人以大罪業而自莊 嚴。於無量劫身墮地獄受大苦報。以惡眼視發菩提心人故得無眼報。以惡 口謗發菩提心人故得無舌報。 หากวาโมหบุรษุ นนั้ ไดใสไ คลพ ุทธมหายาน แมน กระท่ัง(พระธรรม)เพียงหนึ่งประโยค หรือหน่ึงบท พึงทราบเถิดวากรรมนั้นยอมยังใหตกสูนรกภูมิเปนแมนม่ัน ดวยเหตุไฉนฤๅ เพราะเหตุท่ีไดทําลายโดยการ ใหรายพระพุทธธรรมและพระธรรมาจารย ดวยอาศัยเหตุปจจัยนี้ยังใหมุงสูอบายมรรคอยูเปนนิจ มิไดพบ *** พระสตู รมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลิขสทิ ธิ์ในการแกไ ข ดัดแปลง จําหนา ย 19

พระพุทธเจา ดวยอาศัยเหตทุ ี่เคยไดค รหาใสความพระพทุ ธ พระธรรมและพระสงฆ อีกทัง้ ผูเร่ิมบงั เกิดพระ บรมโพธิจิต ยอ มใหเกิดเปนอปุ สรรคขวางกัน้ ยงั ใหเ สอื่ มถอยจากสัมมามรรค พึงทราบเถิดวา บุคคลน้ีดวย อาศัยบาปกรรมของตนที่ใหญหลวง ยังผลใหตนตกสูนรกภูมิเสวยมหาทุกขวิบากกรรมเปนเวลาประมาณ กัลปมิได ดวยอาศัยอกุศลจักษุแลมองผูบังเกิดพระบรมโพธิจิตเปนเหตุ ยังผลใหปราศจากซึ่งดวงเนตร ดว ยอาศยั อกุศลโอษฐใหรา ยผูบังเกดิ มพี ระบรมโพธจิ ิตเปน เหตุ ยงั ผลใหป ราศจากซ่งึ ชิวหา 阿逸多。我更不見有一惡法能過毀破發菩提心罪之重也。以此罪故 墮於惡道。況復毀謗餘菩薩等。 ดูกอน อชิตะ เราตถาคตยังมิพบอกุศลธรรมหน่ึงใดท่ีสามารถสาหัสยิ่งไปกวาบาปจากการทํารายผู บังเกิดมีพระบรมโพธิจิตเลย ดวยอาศัยบาปนี้เปนเหตุ ยังใหสูอบายมรรค แลวจักประสาอันใดกับการทํา รา ยโดยการครหากลา วตโู พธสิ ัตวอ ่ืนๆ อกี เลา 若有菩薩為諸眾生。能如實說不起斷常。言諸眾生定有定無。亦不 專執諸法有無。 หากแมนจักมีโพธิสัตวท่ีเพื่อสรรพสัตวท้ังปวงแลวสามารถกลาวแสดง(ธรรม)โดยสัตยตถตาจริง แทอยางมิขาดชวง มีวจีแกสรรพสัตววาน่ีมีอยูอยางแนแท หรือนี้ปราศจากอยางแนแท อีกมิไดจําเพาะใน สรรพธรรมวา มีหรือไร(การแสดงธรรมโดยมัชฌิมาปฏปิ ทา ไกลจากมตสิ ุดโตง ทง้ั ๒ ประการ) 阿逸多。學菩薩者應如是住。如是住者是諸菩薩清淨善業。凡所修 集皆不取著。若有眾生起執著者。當知是人生五濁世。復有菩薩善隨根 欲。能為眾生種種說法。 ดูกอน อชิตะ เสกขโพธิสัตว๒๑บังควรดํารงตนอยูดวยประการเชนนี้ อันวาผูดํารงน้ี ก็คือบรรดา โพธิสตั วผ มู ีกุศลกรรมบรสิ ทุ ธิ์ สรรพส่งิ ที่บาํ เพ็ญสั่งสมนั้นลว นมไิ ดยึดมั่นถอื ม่นั หากมสี รรพสตั วเ กิดความ ยดึ ถอื ไวคงม่ันแลวไซร พึงทราบเถิดวา บุคคลน้ันยอมจักถือกําเนิดยังโลกแหงความเส่ือม ๕ ประการท่ียัง มโี พธสิ ัตวผูอนุโลมตามอินทรียทป่ี รารถนาไดโ ดยกศุ ล สามารถเทศนาธรรมนานาประการแกส รรพสัตว ๒๑ เสกขโพธิสตั ว คือ พระโพธิสัตวที่ยังตองศึกษา , ผูที่ศกึ ษาการเปนโพธิสัตว *** พระสตู รมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลขิ สิทธ์ใิ นการแกไ ข ดัดแปลง จําหนา ย 20

阿逸多。菩薩如是具足修行六波羅蜜。乃能成就無上菩提。彼愚癡 人信己自執作如是說。菩薩惟學般若波羅蜜。勿學餘波羅蜜。以般若波羅 蜜最殊勝故。作是說者是義不然。何以故。阿逸多。往昔迦尸迦王學菩薩 時。捨所愛身頭目髓惱。爾時此王豈無智慧。 ดูกอน อชิตะ โพธิสัตวเปนผูสมบูรณในการบําเพ็ญบารมีจริยาทั้ง ๖ ประการอยูเชนน้ี กระทั่ง สามารถสําเร็จพระอนุตรสัมโพธิญาณได อันโมหบุรุษน้ันเช่ือมั่นในตนเองเปนที่ยิ่ง ไดกลาววาจาเชนน้ีวา “โพธิสัตวเพียงศึกษาในปญญาบารมี มิพึงตองศึกษาในบารมีอื่นใดดอก เหตุดวยปญญาบารมีน้ันมี ความวิเศษยอดเย่ียมเปนท่ีสุด ผูท่ีกลาววาจาเชนนี้ อันมิใชอรรถแหงตถตา ดวยเหตุไฉนฤๅ อชิตะ เม่ือ คร้ังท่ีกาศีมหาราช ทรงศึกษา(การเปน)โพธิสัตวนั้น ไดทรงอุเบกขาในสิ่งอันเปนท่ีรักที่หวงแหน มีกาย สงั ขาร ศีรษะ นัยเนตร ไขกระดกู ทีเ่ ปน เคร่อื งกงั วล ครั้งน้ันมหาราชผนู ไ้ี รซ ึง่ ปญ ญาญาณฤๅ 彌勒白佛言。世尊。誠如聖說實有智慧。佛告阿逸多。我從昔來經 無量時。具足修行六波羅蜜。若不具修六波羅蜜。終不得成無上菩提。如 是世尊。 พระเมตไตรย กราบทูลวา ขาแตพระโลกนาถเจาผูเจริญ เปนความสัตยจริงดั่งพระองคตรัสแลว ๒๒ วามีปญญาญาณอยางจริงแท พระพุทธองคไดรับสั่งกับพระอชิตะวา ตถาคตแตคร้ังกระโนนลวงเวลามา หาประมาณกาลมิได ไดบําเพ็ญบารมีทั้ง ๖ สมบูรณมาแลว หากบําเพ็ญบารมีท้ัง ๖ มิพรอมถวนแลวไซร ทส่ี ุดยอมมิสาํ เร็จพระอนุตรสมั โพธญิ าณเปน พระโลกนาถเจาเชนน้ี 佛告阿逸多。如汝所說。我曾往昔於六十劫。行檀波羅蜜 尸羅波羅 蜜 羼提波羅蜜 毘梨耶波羅蜜 禪那波羅蜜 般若波羅蜜各六十劫。彼愚癡 人妄作是說。唯修一般若波羅蜜得成菩提。無有是處。彼懷空見故作如是 不淨說法。作此說者身口意業與法相違。雖解空法為人宣說。而於空法不 如說行。以無行故去空義遠。心懷嫉妬深著利養踰於親戚。 พระพุทธองครับสั่งกับพระอชิตะวา เปนด่ังที่เธอกลาวแลว เปนเวลาหกสิบกัลปลวงแลว ตถาคต ไดบําเพ็ญทานบารมี ศีลบารมี ขันติบารมี วีริยะบารมี ฌานบารมีและปญญาบารมีเปนเวลาอยางละหกสิบ กัลป อันโมหบุรุษผูนั้น จักกลาวโปปดเชนนี้วา “เพียงการบําเพ็ญปญญาบารมีหนึ่งเดียวก็จักสําเร็จพระ ๒๒ กลา วคือ มปี ญ ญาญาณท่ีทําใหทราบถึงวธิ ีการและประโยชนในการบําเพ็ญในทานบารมี ทานอุปบารมี และปรมตั ถบารมี เพราะถา ปราศจากปญญาที่เหน็ ประโยชนในการบาํ เพ็ญบารมีประเภทตา งๆ ใหถ งึ พรอ มแลว กจ็ ะมิอาจสาํ เรจ็ พระพทุ ธญาณไดน่ันเอง *** พระสูตรมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลขิ สทิ ธใิ์ นการแกไ ข ดัดแปลง จําหนาย 21

โพธญิ าณได” ซงึ่ จักเปน ไปมิได ๒๓ จงึ กลาวแสดงพระสัทธรรมดวยความมิ ดวยเหตุทใ่ี ฝใจในศนู ยตาทฐิ ิ ๒๔ บริสุทธ์ิเชนน้ี ผูกลาววาจาน้ีเปนผูมีกายกรรม วจีกรรมและมโนกรรมขัดแยงจากธรรมลักษณ โดยสิ้นเชิง แมนจักวิภาคแจกแจงศูนยตาธรรมแกผูคนก็ตาม แตทวาศูนยตาธรรมก็มิเหมือนที่กลาวมา เพราะดวย มิไดประพฤติจริยาบําเพ็ญตนเปนเหตุ จึงออกหางจากศูนยตาอรรถเสียไกล ในจิตเบื้องลึกแฝงเรนดวย ความอจิ ฉารษิ ยา เคลือบยอ มดวยลาภสกั การะเพอ่ื เออ้ื แกญาติบรวิ าร 阿逸多。我於往昔作轉輪王。捨諸珍寶頭目手足。猶不得成無上菩 提。況彼愚人為飲食故。緣歷他家有所宣說。唯讚空法言己所說。是菩提 道是菩薩行。唯此法是餘法皆非。復作是言。而我所解無量法師悉皆證 知。彼為名聞自讚己能憎妬明解。 ดูกอน อชิตะ ตถาคตเม่ือคร้ังกระโนนไดกระทําซ่ึงความเปนพระเจาจักรพรรดิราช ไดวางเฉยใน รัตนสมบัติอันสูงคาท้ังปวง รวมถึงศีรษะ ดวงเนตร หัตถและบาทา ก็ยังมิไดบรรลุซึ่งพระอนุตรสัมมา สัมโพธิญาณ อันจักประสาใดดวยโมหบุรุษท่ีมีแตเหตุเพียงเพ่ือการดื่มกินเลา เหตุเพราะเคหาสนของผูน้ัน มีบรรดาถอยแถลงท่ีสรรเสริญแตศูนยตาธรรมตามวจีท่ีตนกลาวไวทั้งส้ินวา “นี่แลคือพระโพธิมรรค นี่ แลคือพระโพธสิ ตั วจรยิ า มีเพยี งธรรมน้แี หละทคี่ ือธรรม นอกเสยี จากธรรมน้ีหาใชไม” อีกกลาววา “ ตามท่ีเราไดเขาใจนี้ บรรดาธรรมาจารยจํานวนมากมายไมมีประมาณลวนแตรับรองเห็นชอบ” ผูน้ันเพ่ือ ชอ่ื เสยี งและสรรเสริญของตนแลว จงึ สาํ แดงความชิงชังแลความอิจฉาโดยชดั แจง 阿逸多。我見彼心規求利養以自活命。雖有善行經於百劫。尚不能 得少法忍心。何況能成無上菩提。 ดูกอน อชิตะ เราตถาคตพบวาในจิตของบุคคลน้ันวางแผนและปรารถนาใหไดมาซ่ึงลาภสักการะ เพื่อบํารุงชีวิตตน ถึงแมนจะบําเพ็ญกุศลจริยาผานไปรอยกัลป ก็มิอาจบรรลุจิตแหงธรรมกษานติไดแมแต นอย แลว จักประสาอนั ใดกบั การสําเร็จพระอนุตรสมั มาสัมโพธญิ าณท่ีสดุ ประเสริฐเลา 阿逸多。我不為心口相違誑惑之人而說菩提。不為嫉妬之人而說菩 提。不為傲慢不敬之人而說菩提。不為無信之人而說菩提。不為不調伏人 而說菩提。不為邪婬之人而說菩提。不為自是非他之人而說菩提。 ๒๓ มคี วามเห็นผิด ต้ังม่นั ถอื มนั่ วา ทุกสิ่งคอื ความวา ง(ศูนยตา) ๒๔ ธรรมลกั ษณ หรอื ลกั ษณะของธรรม หรอื ลักษณะท่ีเหมาะแกธรรม หรอื กฎแหงไตรลกั ษณ( ทกุ ขัง อนจิ จงั อนตั ตา *** พระสูตรมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลิขสิทธใ์ิ นการแกไ ข ดัดแปลง จําหนา ย 22

ดูกอน อชิตะ ตถาคตมิใชเพ่ือผูมีจิตและวาจาขัดแยงแกกัน และผูอวดโอแลวจึงเทศนาพระโพธิ ธรรม มิใชเพ่ือผูอิจฉาริษยาแลวจึงเทศนาพระโพธิธรรม มิใชเพ่ือผูโอหังอวดดีแลวจึงเทศนาพระโพธิธรรม มใิ ชเ พ่ือผูไรศรัทธาแลวจึงเทศนาพระโพธธิ รรม มิใชผ ูมตี นยังมบิ ําราบสงบแลวจึงเทศนาพระโพธิธรรม มิใช เพ่ือผูประพฤติช่ัวในกามแลวจึงเทศนาพระโพธิธรรม แลมิใชเพ่ือตนเอง มิใชเพ่ือผูอื่นแลวจึงเทศนาพระ ๒๕ โพธิธรรม 阿逸多。彼愚癡人以我慢故自謂勝佛。謗佛所說大乘經典。言是聲 聞小乘所說。 ดูกอน อชิตะ โมหบุรุษนั้นอาศัยอัสมิมานะเปนเหตุให ทําตนยอดเยี่ยมด่ังพระพุทธะ ใหราย มหายานสตู รทง้ั ปวงบรรดาทพ่ี ระพุทธเจาตรัสแสดง โดยตูวาเปนการกลาวแสดงของสาวกยาน 爾時佛告尊者須菩提。不應為二見人說般若波羅蜜。 กาลคร้ังน้ัน สมเด็จพระผูมีพระภาคเจา ทรงมีพุทธฎีกาแก พระสุภูติอรหันตเจาความวา มิพึง กลาวแสดงปญญาบารมแี กผ มู ที วิทิฐิ มีมตเิ ห็นเปน สอง 須菩提白佛言。唯然世尊。如佛所說。 พระสภุ ตู กิ ราบทลู วา เปนเชน น้นั โดยแทพระโลกนาถเจา ดจุ ทีพ่ ระองคต รสั ดแี ลวพระพุทธเจา ขา 佛言。如是須菩提。以無著心施是名菩提。 พระพุทธองคตรัสวา เชนน้ันแล สุภูติ ดวยจิตอันมิเคลือบยอมยึดม่ัน จึงสงเคราะหเรียกวาโพธิ (ความรแู จง ) 須菩提言。如是世尊。 กราบทลู วา เปน เชน น้ัน พระพทุ ธเจาขา 佛言。須菩提。不自讚毀他施是名菩提。須菩提言。如是世尊。 ๒๕ มีนัยยะวา พระพุทธองคมไิ ดทรงปฏิเสธการแสดงธรรมแกบคุ คลขา งตน แตทรงเทศนาธรรมสั่งสอนธรรมทเี่ หมาะสมแกบ คุ คลน้นั ๆ ตามสมควร *** พระสตู รมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลขิ สทิ ธ์ใิ นการแกไข ดัดแปลง จําหนา ย 23

ตรัสวา ดูกอน สุภูติ มิพึงสงเคราะหเรียกผูยกยอตนเองใหรายผูอื่นวา โพธิ พระสุภูติทูลวา เปน เชน นน้ั พระพุทธเจาขา 佛言。須菩提。汝觀愚人起我我見。無慚無愧為愛親戚。貪求活命 好受他施。當知是人專造惡業。 ๒๖ ตรสั วา เธอพิจารณาโมหบุรุษผูเกิดอัตตาแลมยทฤษฏี ปราศจากหิริและโอตตัปปะ ดวยเห็นแก ญาติวงศา ละโมบโลภมากในทานท่ีผูอ่ืนกระทําแลว เพ่ือนํามาเล้ียงดูชีวิตตนใหอยูดี พึงทราบเถิดวา อันผู น้นั ไดม เี จตนากอ อกุศลกรรมใหเกิดขึ้นแลว 復次阿逸多。菩薩於一切法於一切菩薩法莫生恐怖。於一切辟支佛 法亦莫恐怖。於一切聲聞法亦莫恐怖。於一切凡夫法亦莫恐怖。於一切煩 惱法亦莫恐怖。於一切盡法亦莫恐怖。於難精進亦莫恐怖。於是於非亦莫 恐怖。於作不作亦莫恐怖。於畏不畏亦莫恐怖。於有於無亦莫恐怖。於心 非心亦莫恐怖。於覺不覺亦莫恐怖。於業非業亦莫恐怖。於善不善亦莫恐 怖。於安不安亦莫恐怖。於解脫不解脫亦莫恐怖。於修不修亦莫恐怖。於 法非法亦莫恐怖。於靜於亂亦莫恐怖。於假於實亦莫恐怖。於信不信亦莫 恐怖。於善念不善念亦莫恐怖。於住不住亦莫恐怖。如是菩薩於一切法莫 生恐怖。 ดูกอน อชิตะ โพธิสัตวในสรรพธรรมแลในสรรพโพธิสัตวธรรมจงอยาหวั่นเกรง ในสรรพปจเจก พุทธธรรมก็จงอยาไดหว่ันเกรง ในสรรพสาวกธรรมก็จงอยาไดหว่ันเกรง ในสรรพปุถุชนธรรมก็จงอยาได หว่นั เกรง ในสรรพกิเลสธรรมก็จงอยาไดหวั่นเกรง ในปวงธรรมท่ีสิ้นสุดก็จงอยาไดหว่ันเกรง ในความยาก แหงความเพียรก็จงอยาไดหว่ันเกรง ในความใชฤๅมิใชก็จงอยาไดหว่ันเกรง ในความกระทําฤๅความมิ กระทําก็จงอยาไดหว่ันเกรง ในความหวาดกลัวฤๅมิหวาดกลัวก็จงอยาไดหว่ันเกรง ในความมีฤๅความไรก็ จงอยาไดหว่ันเกรง ดวยใจฤๅมิดวยใจก็จงอยาไดหวั่นเกรง ดวยความรูสึกฤๅมิรูสึกก็จงอยาไดหวั่นเกรง ในกรรมฤๅอกรรมก็จงอยาไดหวั่นเกรง ในกุศลฤๅอกุศลก็จงอยาไดหวั่นเกรง ในความสงบฤามิสงบก็จง อยาไดหวั่นเกรง ในวิมุตติฤๅอวิมุตติก็จงอยาไดหวั่นเกรง ในการบําเพ็ญฤๅมิบําเพ็ญก็จงอยาไดหว่ันเกรง ในธรรมฤๅอธรรมก็จงอยาไดหว่ันเกรง ในความนิ่งฤๅซัดสายก็จงอยาไดหวั่นเกรง ในความโปปดในความ สัตยแทก็จงอยาไดหวั่นเกรง ในศรัทธาฤๅมิศรัทธาก็จงอยาไดหว่ันเกรง ในความระลึกโดยชอบฤๅระลึกมิ ๒๖ ความเห็นวาเปนตวั ตน *** พระสตู รมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลขิ สทิ ธิ์ในการแกไข ดัดแปลง จําหนา ย 24

ชอบก็จงอยาไดหว่ันเกรง ในความต้ังอยูฤๅมิตั้งอยูก็จงอยาไดหว่ันเกรง โพธิสัตวท่ีดํารงในสรรพธรรมทั้ง ปวงจงอยาไดห วาดหว่นั พร่นั พรงึ ดวยประการเชน นี้ 阿逸多。我於往昔修如是等無畏法故得成正覺。悉能了知一切眾生 心之境界。而於所知不起知相。以我所證隨機演說。能令聞法諸菩薩等獲 得光明陀羅尼印。得法印故永不退轉。若於此法不如實知言無善巧。終不 得成無上菩提。 ดกู อน อชิตะ ตถาคตดวยอาศัยการบําเพ็ญซ่ึงความมิหว่ันเกรงตางๆ เม่ือคร้ังกระโนนมาแลวดังน้ี จึงใหไดบรรลุซึ่งพระสัมมาสัมโพธิญาณ มีความสามารถรูแจงแทงตลอดในวิสัยแหงจิตของสรรพสัตวทั้ง ปวง ในความรูทั้งปวงนั้นก็มิเกิดสัญญากําหนดยึดมั่นในความรู ตถาคตไดเทศนาธรรมอันเหมาะแกกาละ ๒๗ และเทศะ สามารถยังใหโพธิสัตวทั้งหลายที่สดับพระธรรมแลวไดสําเร็จซ่ึงธารณีประภา เมื่อบรรลุธรรม ธารณีเปนเหตุ จึงมิตองเสื่อมถอยยอยกลับอีก หากมิไดรูแจงแทจริงในธรรมน้ีแลวไซร ก็ยอมปราศจากอุ ปายโกศลทีช่ าญฉลาด ทส่ี ุดยอ มมิอาจบรรลุพระอนุตรบรมสมั โพธญิ าณ 阿逸多。我為四天下眾生說此法時。是諸眾生以佛神力。各自見釋 迦如來為我說法。如是次第乃至阿迦尼吒天。彼諸眾生亦謂如來唯為我 說。如一四天下乃至三千大千世界亦復如是。此諸眾生咸作是念。釋迦如 來獨生我國。唯為於我轉大法輪。 ๒๘ ดูกอน อชิตะ เพลาท่ีตถาคตแสดงธรรมเทศนานี้แกสรรพสัตวทั้งจตุรทวีป บรรดาสรรพสัตว ยอมอาศัยฤทธาพละแหงพระพุทธะ ใหแลเห็นพระศากยตถาคตแสดงธรรมแกตนเองอยูเฉพาะตน เปน ๒๙ ลําดับๆไปเชนน้ี จนถึงอกนิษฐพรหมภูมิ สรรพสัตวนั้นๆจะสําคัญวาพระตถาคตแสดงธรรมโปรดอยู เฉพาะตนเทานั้น ดุจทวีปหน่ึงตลอดถึงตรีสหัสมหาสหัสโลกธาตุก็เปนดุจฉะน้ี สรรพสัตวนี้ยอมจักมี มนสิการรวมกันวา “พระศากยตถาคต ทรงมาถืออุบัติยังประเทศของเราเทานั้น ทรงหมุนเคลื่อนกงลอ แหงพระมหาธรรมจกั รแกเ ราเทานั้น”๓๐ ๒๗ ปญญา คอื ความรแู จง ๒๘ ทวีปท้ัง ๔ มี ๑)ชมพูทวปี ตง้ั อยูทางทิศใตข องภูเขาสเุ มรุ ๒)ปรู ววเิ ทหทวีป ตง้ั อยทู างทิศตะวนั ออกของภูเขาสเุ มรุ ๓)อมรโคยาน ทวีป ตั้งอยทู างทิศตะวนั ตกของภเู ขาสเุ มรุ ๔)อตุ ตรกรุ ทุ วปี ตง้ั อยูทางทศิ เหนือของภูเขาสเุ มรุ ๒๙ พรหมช้นั สงู สุด มความหมายโดยนัยยะวา พระพทุ ธเจาท้ังปวงทรงมีความเสมอภาคเชนเดียวกันกับพระศากยมุนีพุทธเจา และพระศากยมุนีพุทธเจาก็ทรง มีความเสมอภาคเชน เดยี วกนั กับพระพทุ ธเจาทงั้ ปวง ทรงนิรมาณกายไปโปรดและประทานพระธรรมเทศนาแกสรรพสัตวทั่วจักรวาล หรือ *** พระสตู รมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลิขสทิ ธใิ์ นการแกไข ดัดแปลง จําหนาย 25

阿逸多。我以如是大方便力。能於無量無邊世界。常於晨朝遍觀眾 生所應化者而為說法。於中及暮恒以法眼等觀眾生。於彼世界而為眾生說 一切法。如是無量諸佛境界。所有眾生學菩薩者應如是修。若彼愚人於佛 所說謗誹正法。妄執自解用為真實。若謗法者則不信佛。以此惡業墮於地 獄。具受眾苦永不聞法。 ดูกอน อชิตะ ตถาคตอาศัยอํานาจแหงมหาอุปายเชนนี้ ในโลกธาตุที่มีจํานวนพนประมาณมิอาจ กําหนดซึ่งขอบเขตนั้น เม่ือคราอรุโณทัยสามารถสอดสองพุทธญาณวิถีสํารวจตรวจดูสรรพสัตวท่ีสมควร ไดรับการสั่งสอน แลวจึงประทานพระธรรมเทศนา ในเพลาเท่ียงวันแลพลบคํ่าก็ยังใชธรรมจักษุสอดสอง สรรพสัตวท งั้ ปวงอยตู ลอดเวลา ไดเ ทศนาธรรมท้ังปวงแกสรรพสัตวในโลกธาตุเหลานั้นดวยพุทธวิสัยนานา ที่จักประมาณหยั่งวัดมิได สรรพสัตวผูศึกษา(การเปน)โพธิสัตวพึงบําเพ็ญอยูเชนน้ี หากวาโมหบุรุษน้ันได ใหรายแกสัมมาธรรมท่ีพระพุทธเจาตรัสไวดีแลวทั้งมวล หลงลืมแลยึดถือเอาการวิภาคของตนวาเปนสัตย ธรรมจริงแท หากใหรายพระธรรมแลวยอมมิศรัทธาในพระพุทธะ ดวยอาศัยอกุศลกรรมน้ีจักยังใหสูหวง นรกภูมริ ับทกุ ขเวทนานานปั การ มิไดส ดับฟงพระธรรมเปน เวลาแสนนาน 復次阿逸多。汝當受持如來密教以善方便廣為人說。 ดูกอน อชิตะ เธอพึงนอมรับแลทรงไวซ่ึงการสั่งสอนอันลึกลับของพระตถาคต และจงอาศัยอุปา ยโกศลกลาวแสดงแกม วลมนษุ ยอ ยา งกวา งขวางเถดิ 爾時文殊師利童子。福光平等菩薩。無疑惑菩薩。定發心菩薩。妙 心開意菩薩。光明菩薩。歡喜王菩薩。無畏菩薩。心念遍到無邊佛剎菩 薩。觀世音菩薩。香象菩薩。滅一切惡業菩薩。住定菩薩。百千功德莊嚴 菩薩。妙音遠聞菩薩。一切智不忘菩薩。大名遠震寶幢莊嚴菩薩。求一切 法菩薩。住佛境界菩薩。月光莊嚴菩薩。一切世間大眾莊嚴菩薩。 อาศัยนัยยะตามประโยคท่วี า “ใหตางแลเหน็ พระศากยตถาคตอยูเฉพาะตน” อาจหมายความวา สรรพสัตวท่ัวจักรวาลสามารถรับฟงพระ ธรรมเทศนา จากพระศากยตถาคตเจา ไดด วยสภาวะแหงใจเฉพาะตน *** พระสูตรมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลิขสทิ ธ์ใิ นการแกไ ข ดัดแปลง จําหนาย 26

๓๑ ก็โดยกาลครั้งน้ันแล มัญชุศรีกุมารภูตะ ปุญญประภาสมภาพโพธิสัตว อวิจิกิจฉาโพธิสัตว สมาธิจิตโพธิสัตว มัญชุจิตเกษมโพธิสัตว ประภาโพธิสัตว ปติราชาโพธิสัตว อเภตริโพธิสัตว หทัยบริบูรณ อนันตพุทธเกษตรโพธิสัตว อวโลกิเตศวรโพธิสัตว คันธหัสดีโพธิสัตว นิโรธสรวอบายกรรมโพธิสัตว สถิตยสมาธิโพธิสัตว ศตสหัสรกุศลอลังการโพธิสัตว สุรสวรโพธิสัตว สรวปญญาธารณีโพธิสัตว มหานาม รัตนธวัชอลังการโพธิสัตว รติสรวธรรมโพธิสัตว สถิตยพุทธวิสัยโพธิสัตว จันทรประภาอลังการโพธิสัตว สรวโลกธาตุมหาชนาลงั การโพธสิ ัตว 如是等菩薩摩訶薩白佛言。世尊。如是如是誠如聖說。我等於此東 方過六十恒河沙佛剎。於諸佛所恭敬禮拜。一一佛剎唯見釋迦如來出現於 世。我等於其七日之中遍遊十方。亦見釋迦如來出現於世。不覩餘佛。遍 遊歷已還歸本土聽受正法。 อันบรรดาโพธิสัตวมหาสัตวเหลานี้ไดกราบทูลพระพุทธองควา ขาแตพระโลกนาถเจา เปนเชนน้ัน เปนเชนนั้น จริงด่ังพระองคตรัสแลว พระพุทธเจาขา เมื่อคราท่ีขาพระองคทั้งหลายไดดํารงอยูทางดาน บูรพาทิศของโลกธาตุแหงน้ี ผานพุทธเกษตรตางๆจํานวนคณนาเทากับเมล็ดทรายในคงคานทีหกสิบสาย รวมกันนั้น ก็ไดถวายสักการะพระพุทธเจาผูประเสริฐเหลาน้ันดวย ในพุทธเกษตรหนึ่งๆน้ัน พบเพียงพระ ศากยตถาคตที่ทรงบังเกิดมีขึ้นในโลก ขาพระองคท้ังหลายในเจ็ดวารจึงไดเท่ียวไปอีกในทศทิศ ก็พบเพียง พระศากยตถาคตที่บังเกิดอยูในโลก มิไดพบพระพุทธะอ่ืนใดเลย เม่ือเท่ียวไปโดยทั่วแลวจึงนิวัติมาสู โลกธาตแุ หงน้ี เพือ่ สดับพระสทั ธรรม พระพทุ ธเจาขา 爾時佛告文殊師利童子。汝今諦觀。如來智慧不可思議。如來境界 亦不可思議。如是無等等是如來法。彼愚癡人作如是說。唯一般若波羅 蜜。是如來行是菩薩行是甘露行。 คร้ังนั้นแล พระอรหันตสัมพุทธเจา ทรงมีพุทธบรรหารแกพระมัญชุศรีกุมารภูตะความวา เธอพึง พิจารณาโดยดีเถิดวา อันปญญาญาณของพระตถาคตเจานั้นเปนอจินไตย มิอาจนึกคิดคาดการณไดโดย แท พระตถาคตวิสัยก็เปนอจินไตยดุจกันฉะนี้ จักหาสิ่งมาเทียบเทาเคียงเสมอหาไมมี อันคือพระตถาคต ๓๑ พระนามหนึ่งของพระมญั ชุศรีโพธิสัตว บางก็เรยี ก มญั ชโุ ฆษ ซึง่ เปน โพธสิ ัตวที่มากดว ยปญญา เปนองคแทนของพระปญ ญาคุณของ พระพุทธเจาทงั้ ปวง เชนเดียวกับพระอวโลกิเตศวรโพธสิ ัตวท่เี ปนองคแทนของพระมหากรณุ าธิคณุ พระวัชรปาณีโพธิสัตวเปนองคแ ทน ของพระเดชานุภาพ และพระมหาจุนเทโพธสิ ตั วท่ีเปน องคแ ทนในพระบริสทุ ธคิ ุณของพระพุทธเจา ทัง้ ปวง *** พระสตู รมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลขิ สทิ ธิใ์ นการแกไข ดัดแปลง จําหนา ย 27

ธรรมน้ี ที่โมหบุรุษนั้นไดกระทําซ่ึงวาจาเชนน้ีวา “เพียงปญญาบารมีหนึ่งเดียว ที่คือตถาคตจริยา คือ โพธสิ ัตวจรยิ า คืออมฤตจรยิ า” 佛告文殊師利。作此說者與法相違。何以故菩薩行法具足甚難。無 著行是菩薩行。無我我行是菩薩行。空行是菩薩行。無相行是菩薩行。 พระพุทธองค รับส่ังกับพระมัญชุศรีวา ผูกระทําวาจาเชนน้ี กับธรรมลักษณนั้นไกลหางกันนัก ดวยเหตใุ ดฤๅ อนั โพธสิ ัตวจริยาธรรม จักทําใหสมบูรณไดน้ันมีความยากย่ิง ดวยจริยาที่มิยึดมั่นถือมั่นคือ โพธิสัตวจริยา จริยาท่ีปราศจากซึ่งมยทฤษฏีคือโพธิสัตวจริยา จริยาแหงศูนยตาคือโพธิสัตวจริยา อนิมิต จริยาทมี่ ยิ ดึ ในสญั ลักษณใ ดๆคือโพธิสตั วจริยา 文殊師利。如是等行是菩薩行。學菩薩者如是受持。若彼愚人心懷 邪見。當知是人不了我法。 มัญชุศรี ดังปวงจริยานี้ที่คือโพธิสัตวจริยา เสกขโพธิสัตว บังควรนอมรับแลยึดถือไวเชนนี้ หาก แมน จิตของโมหบรุ ษุ ผูนนั้ จักแฝงเรนดว ยมจิ ฉาทฐิ ิ พงึ ทราบไวเถิดวา บคุ คลน้ีมเิ ขาใจธรรมแหง เราตถาคต 文殊師利。汝等諸菩薩守護身口。於不善法勿令放逸。堅固其心使 不退轉。為諸眾生具足說法。亦當自身住於法中。我從久遠阿僧祇劫。具 足成就無上菩提。以善方便廣為人說。令諸眾生遠離惡趣。 มัญชุศรี พวกเธอบรรดาโพธิสัตวท้ังหลายพึงระวังรักษากายและวาจาใหจงดี ในอกุศลธรรมมิควร ประมาท พึงมีจิตท่ีแกรงกลาอยาไดเส่ือมถอย แสดงธรรมแกสรรพสัตวดวยความสมบูรณ อีกพึงยังกาย ตนใหดํารงมั่นในธรรม นับแตอสงไขยกัลปอันแสนนานลวงมาแลว ตถาคตไดสําเร็จพรอมบริบูรณซ่ึงพระ อนุตรสัมโพธิญาณ แลวใชอุปายโกศลในการแสดง(ธรรม)แกมนุษยอยางไพบูลย ยังสรรพสัตวท้ังมวลให ๓๒ ไกลหา งจากหนทางแหง อบาย 文殊師利。若有愚人謗微妙法。即是謗佛亦名謗僧。又作是說。此 法是彼法非。如是說者亦名謗法。此法為菩薩說此法為聲聞說。作是說者 ๓๒ มีความหมายโดยนยั วา พระศากยมนุ ีพุทธเจาทรงไดตรัสรนู านมาแลว แตด ว ยอาศัยอุบายโกศลจงึ แสดงวาไดมาอุบัตยิ ังโลกแหง นี้ ทรงตรัสรู แสดงธรรมและเสดจ็ ดบั ขันธปรนิ ิพพาน เพอื่ แสดงใหสรรพสัตวเห็นวา การเกดิ ขึน้ ของพระพุทธเจา น้นั ยากย่ิงนกั และใหสรรพ สัตวไ มประมาทในการแสวงหาโมกขธรรม รูแจงในความไมเที่ยงของสรรพส่ิง โดยตามอรรถน้จี งึ ใหท ราบวาพระศากยตถาคตยงั ทรงอยู แมนปจ จุบนั ซ่ึงการเสดจ็ ดบั ขนั ธน้ัน คอื พระอุบายโกศลทไี่ ดก ลาวแลวขา งตน *** พระสูตรมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลขิ สทิ ธิใ์ นการแกไ ข ดัดแปลง จําหนา ย 28

亦名謗法。此是菩薩學此非菩薩學。作是說者亦名謗法。復作是言。過去 佛已滅。未來佛未至。現在佛無住。唯我獲得陀羅尼法。作此說者亦名謗 法。以謗法故言得陀羅尼者是不淨法。於真法師毀謗所修。復謗法師雖有 解慧不如說行。復謗法師行違於道。復謗法師身不持戒。復謗法師心無智 慧。復謗法師意無明解。復謗法師言無辯了。復於如來所說文字心無信 受。復作是言。此修多羅是此修多羅非。此偈經是此偈經非。此法可信此 法不可信。見正說者妄作異論。於聽正法者為作留礙。此是行此非行。此 成就此非成就。此是時此非時。諸如此說皆名謗法。 มัญชุศรี หากมีโมหบุรุษใหรายพระสัทธรรม ยอมคือการใหรายพระพุทธและช่ือวาใหรายพระสงฆ อีกกลาววา “อันน้ีคือธรรม อันนั้นหาใชธรรมไม” ผูกลาวเชนน้ีก็ไดช่ือวาใหรายพระธรรม “อัน ธรรมนี้คือโพธิสัตวกลาว อันธรรมน้ีคือสาวกกลาว” ผูกระทําซ่ึงวาจาเชนนี้ก็ไดชื่อวาใหรายพระธรรม “นี้คือ(ธรรมท่ี)โพธิสัตวศึกษา นี้คือ(ธรรมท่ี)ผูมิใชโพธิสัตวศึกษา” ผูกระทําซ่ึงวาจาน้ียอมไดชื่อวา ใหรายพระธรรม อีกยังกลาววา “พระพุทธะในอดีตดับขันธลวงแลว พระพุทธะในอนาคตยังมามิถึง พระพุทธะในปจจุบันก็มิสถิตอยู มีเพียงเราเทาน้ันท่ีบรรลุในธารณีธรรม” ผูกระทําซึ่งวาจาน้ียอมไดชื่อ วาใหรายพระธรรม ดวยอาศัยการใหรายพระธรรมเปนเหตุ จึงกลาววาไดบรรลุธารณี อันเปนธรรมมิ บริสุทธ์ิ ทําลายและปายสีการบําเพ็ญของธรรมาจารยแท ผูใหรายธรรมาจารยแมนจักมีปญญาจําแนกแจง อรรถแตก็มิอาจทําตามที่กลาว ผูใหรายธรรมาจารยยอมดําเนินไกลจากมรรค ผูใหรายธรรมาจารยมีกายที่ มิสมาทานศีล ผูใหรายธรรมาจารยมีจิตท่ีไรซ่ึงปญญาญาณ ผูใหรายธรรมาจารยในมโนระลึกไรซึ่งวิชชารู แจง ผูใหรา ยธรรมาจารยมวี าจาอันไรปฏิภาณอยางสิ้นเชิง แลในอักษรบรรดาที่พระตถาคตตรัสจิตใจมิอาจ ศรัทธานอมรับได ท้ังยังกลาววา “น่ีคือการบําเพ็ญบารมี นี่หาใชการบําเพ็ญบารมีไม อันพระธรรมบทนี้ ใช พระธรรมบทน้ีมิใช ธรรมนี้พึงศรัทธาได ธรรมน้ีมิพึงไดศรัทธา” เมื่อพบผูมีสัมมาวาจาก็โปปดดวย วาทะท่ีหลอกลวง เหนี่ยวรั้งขัดขวางแกผูจักสดับสัมมาธรรมวา “นี้แลคือจริยา น้ีมิใชจริยา อันน้ีคือการ สําเร็จ อันน้ีมิใชการสําเร็จ เชนนี้คือกาละ นี้คืออกาละ” บุคคลท้ังหลายท่ีกลาวเชนน้ียอมช่ือวาใหราย พระธรรม 復次文殊師利。若聲聞說法若菩薩說法。當知皆是如來威神護念力 故。令諸菩薩等作如是說。 ดูกอน มัญชุศรี หากแมนสาวกแสดงธรรม ฤๅหากโพธิสัตวแสดงธรรม พึงทราบเถิดวาลวนมีเหตุ คือเดชพลานภุ าพของพระตถาคตท่ปี กปอ ง ยังใหโ พธิสตั วท ง้ั หลายกระทําซ่ึงวาจา(ทใ่ี ชแ สดงธรรม)เชนน้ี *** พระสูตรมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลขิ สิทธใิ์ นการแกไ ข ดัดแปลง จําหนาย 29

文殊師利。如彼愚人於佛現在猶生誹謗。況我滅後受持我法諸法師 等而不被謗。何以故。魔眷屬故。當知是人墮於惡道。如彼愚人貪求利養 以活親屬。於如來法心無信念。而復破壞如來教法。彼人親戚以朋黨心。 往婆羅門家及長者所。作如是說讚彼愚人。於法於義能知能解。明達根欲 善為人說。受他信施曾無慚愧。以謗法故身及眷屬俱墮地獄。 มัญชุศรี ดุจโมหบุรุษนั้น ท่ีถึงแมนปจจุบันพระพุทธะยังดํารงอยูก็ยังใหราย แลวจักประสาใดใน สมัยท่ีตถาคตดับขันธลวงแลว ที่บรรดาธรรมาจารยผูนอมรับและทรงไวซ่ึงธรรมแหงตถาคต จะมิตองถูก ใสรายปายสอี ีกเลา เพราะเหตุใดฤๅ เพราะมารบริษัทเปนเหตุ พึงทราบเถิดวาบุคคลนี้ยอมตกสูอบายมรรค ประดจุ โมหบุรุษผนู ้นั ทล่ี ะโมบในลาภสกั การะเพ่ือเลยี้ งดูครอบครัวบริวารของตน ในธรรมของตถาคต จิตก็ มินอมศรัทธาระลึกถึง ทั้งทําลายศาสนธรรมของตถาคตใหเสื่อมเสีย อันญาติของโมหบุรุษน้ัน ดวยอาศัย ไมตรีของสหายจึงไดอาศัยในเคหาสนของพราหมณ และเรือนของคฤหบดี แลวแลจึงกลาววาจาเยินยอแก โมหบุรุษ(ผูเปนญาติหรืออาจารยตน)น้ันวา “อันธรรมแลอรรถ ทานผูนั้นเขาใจและจําแนกแลวโดย สามารถ ประกอบดวยพีชะแหงการรูแจง อีกกลาวแสดงแกหมูชนไดเปนอยางดี” แลวจึงไดรับสนอง ๓๓ ศรัทธาและทานของผูอ่ืนอยางมิเกรงกลัวและละอายตอบาป ดวยอาศัยเหตุแหงการใหรายพระธรรม ตนเองและครอบครัวพรอมบริวารจกั ตกสูนรกภูมทิ ัง้ สิ้น 文殊師利。我終不為無信之人說菩薩行。亦不為貪著在家之人說清 淨法。不為二見之人說解脫法。不為一見之人說出苦法。不為樂世之人說 真淨法。 ดูกอน มัญชุศรี จนถึงท่ีสุดน้ีตถาคตยังมิไดแสดงโพธิสัตวจริยาแกผูไรศรัทธา มิไดกลาววิสุทธิ ธรรมแกผูครองเรือนที่ละโมบแลถือม่ัน มิไดกลาววิมุตติธรรมแกผูมีทวิทิฐิ มิไดกลาวธรรมอันพาออกจาก ทุกขแกผมู เี อกทิฐิ มิไดก ลาวแสดงสัตยธรรมแกผ ยู ินดใี นโลกียสุข 文殊師利。我於恒河沙等法門。以無著心為人演說。又於恒河沙等 法門。以有著心為眾生說。若有樂空眾生為說空法。若有樂智眾生為說智 法。若有樂無相眾生為說無相法。若有樂有相眾生說有相法。若有樂慈眾 生為說慈法。若有樂因緣眾生說因緣法。若有樂無因緣眾生說無因緣法。 มัญชุศรี ตถาคตอาศัยธรรมทวารจํานวนเทากับเมล็ดทรายในคงคาชล กลาวแสดงแกผูมีจิตมิยึด ม่ัน อีกดวยอาศัยธรรมทวารจํานวนประดุจเมล็ดทรายในคงคาชลนั้น กลาวแสดงแกสรรพสัตวผูมีจิตยึด ๓๓ การเยนิ ยอผูอน่ื ในส่งิ ที่ไมเปน จรงิ เพอ่ื มงุ หวังในลาภสักการะ *** พระสูตรมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลิขสิทธใ์ิ นการแกไข ดัดแปลง จําหนา ย 30

๓๔ มั่นถือมั่นดวย หากมีสรรพสัตวท่ียินดีในความวางจึงแสดงศูนยตาธรรม ที่ยินดีในปญญาจึงแสดง ปญญาธรรม ท่ียินดีในอลักษณะจึงแสดงอลักษณธรรม ที่ยินดีในลักษณะจึงแสดงลักษณธรรม ท่ียินดีใน เมตตาจึงแสดงเมตตาธรรม ที่ยินดีในเหตุปจจัยจึงแสดงเหตุปจจยธรรม ท่ียินดีในอเหตุปจจัยจึงแสดงอ เหตุปจ จยธรรม 此是有威儀法此是無威儀法。此是空法此是有法。此是有為法此是 無為法。此是攝受法此是覆蓋法。此是凡夫法此是聖人法。此是色法此是 不善法。此是愚人法。此是定法。 นี้แลคืออิริยาบทธรรมนี่แลคือออิริยาบทธรรม น้ีแลคือศูนยตาธรรมน่ีแลคือภวธรรม นี้แลคือ สังขตธรรมน่ีแลคืออสังขตธรรม น้ีแลคือธรรมท่ีสงเคราะหน่ีแลคือธรรมท่ีปกปด นี้แลคือปุถุชนธรรมนี่แล คืออรยิ ชนธรรม น้ีแลคอื รูปธรรม นี้แลคอื อกศุ ลธรรม น้แี ลคือโมหบรุ ุษธรรม นีแ้ ลคือสมาธิธรรม 佛告文殊師利。如是等一切法是般若波羅蜜道。彼愚癡人在所言 說。不依如來真淨教法謗佛正法。 พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา มีพุทธดํารัสตอพระมัญชุศรีวา ดังเชนสรรพธรรมทั้งหลายเหลาน้ีท่ี คือ มรรควิถีแหงปญญาบารมี อันโมหบุรุษน้ันก็ยังจักกลาววา“การมิยึดสรณะมั่นในพระธรรมคําสอนที่ บรสิ ทุ ธจิ์ ริงแทข องพระตถาคต ถือเปน การใหร า ยพระพุทธสมั มาธรรม” 爾時文殊師利童子白佛言。世尊。如佛所說。如是愚人以近惡友現 身起謗。如是世尊。以何因緣能免斯咎。 โดยสมัยนั้น พระมัญชุศรีกุมารภูตะ ทูลวา ขาแตพระโลกนาถเจา เปนด่ังพระองคตรัสไวแลวทุก ประการ โมหบุรุษผูอยูใกลชิดมิตรช่ัว กระทําการจาบจวงใหรายในชาตินี้ พระโลกนาถเจาอาศัยเหตุปจจัย อันใด จึงสามารถเวน จากโทษภยั นไี้ ดหนอ พระพทุ ธเจาขา 佛告文殊師利。我於往昔七年之中。晝夜六時懺悔身口及與意業所 作重罪。從是已後乃得清淨。經十劫已獲得法忍。 ๓๔ แสดงใหทราบวา พระตถาคตเจา ทรงเทศนาธรรมดวยพระมหาเมตตาคุณและพระมหาปญญาคณุ แกผ มู ีและไมมจี ิตทย่ี ดึ มั่นถอื มั่น โดยมทิ รงแบง แยก หากแตทรงมธี รรมทวาร(วิธกี ารสอน,อบุ ายโกศล)มากมายอุปมาเม็ดทรายในแมนํ้าคงคา ทจ่ี ักใชสง่ั สอนตามแตความ เหมาะสมแตละบุคคล *** พระสูตรมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลิขสิทธใ์ิ นการแกไข ดัดแปลง จําหนาย 31

พระพุทธองคด ํารสั ตอบวา ตถาคตในกาลกระโนนเปน เวลา ๗ ปต ลอดทิวาราตรี ๖ เพลา ตถาคต ไดสํานึกผิดในกรรมท่ีหนักหนาอันไดกระทํามาแตตน จนไดบรรลุถึงความบริสุทธิ์ ผานเวลาไปสิบกัลปจึง สาํ เร็จอนุตปตติ ธรรมกษานติ 文殊師利。當知此經是菩薩乘。未覺悟者能令覺悟。聞說此經若不 信受。以此謗因墮於惡道。是諸菩薩明受我法。然後乃可為人宣說。如是 受持能遠惡趣。 มัญชุศรี พึงทราบไวเ ถดิ วาพระธรรมสูตรนค้ี อื โพธิสตั วยาน ผยู งั มไิ ดสติรูตื่นสามารถยังใหมีสติฟน คืนได ผไู ดส ดับซงึ่ การกลา วแสดงพระสตู รนี้ หากมิศรทั ธานอ มรับ ดวยอาศัยการกลาวรายเปนเหตุใหตกสู อบายมรรค บรรดาโพธิสตั วท ี่รแู จง นอ มรบั ในธรรมแหงตถาคต ภายหลังจึงจักกลาวแสดงแกมวลมนุษยได ด่งั ผูท่ีนอ มรับแลทรงไวน้ียอมสามารถหางไกลจากอบายภูมิ 佛告文殊師利。有四平等法。菩薩當學。云何為四。一者菩薩於一 切眾生平等。二者於一切法平等。三者於菩提平等。四者於說法平等。如 是等四法。菩薩當知是四種法。菩薩知已為眾生說。若有信者遠離惡趣。 若不信者當墮惡道。若善男子善女人住此四法。當知是人不墮惡趣。 พระพุทธองครับสั่งกับพระมัญชุศรีวา มีสมตาธรรม ๔ ประการ โพธิสัตวพึงไดศึกษา อันมี ๑. โพธิสัตวตอสรรพสัตวแลวใหเสมอกัน ๒.ตอสรรพธรรมแลวใหเสมอกัน ๓.ตอพระโพธิญาณแลวให เสมอกัน ๔.ตอการแสดงธรรมแลวใหเสมอกัน นี้แลคือจตุรสมตาธรรม โพธิสัตวพึงรับทราบในจตุรธรรม ๓๕ น้ี เมื่อโพธิสตั วเ ขาใจแลว จึงคอยแสดงธรรมแกส รรพสัตว หากมผี ูศรทั ธาๆจึงไกลจากอบายภูมิ ฤๅหากมี ๓๖ ผูมิศรัทธาๆพึงตกสูอบายมรรค หากวากุลบุตร กุลธิดาดํารงในจตุรธรรมน้ี พึงทราบเถิดวาบุคคลนี้ยอม เวน เสียจากอบายภมู ิ 復有四法。云何為四。一者於諸眾生心無退轉。二者於諸法師而不 輕毀。三者於諸智人心不生謗。四者於諸如來一切所說恒生尊重。如是四 法若有善男子善女人能善修學。終不墮於諸惡趣中。 ยังมีบรมธรรมอีก ๔ ประการ มี ๑.ในบรรดาสรรพสัตวแลวจิตพึงมิทอถอยเสื่อมสูญ ๒.ใน บรรดาธรรมาจารยมิพึงดูเบาแลทําลาย ๓.ในบรรดาผูทรงปญญาจิตมิพึงเกิดครหา ๔.ในบรรดาวจนะ ๓๕ มีนยั ยะวา หากศรัทธา จงึ ปฏิบัติตามดวยความไมละเมดิ และเม่อื ไมละเมิดกรรมอันนาํ ไปสูอ บายจึงไมเ กดิ ๓๖ มีนัยยะวาหากมิศรทั ธาแลว กจ็ ะละเมิดไมป ฏิบตั ติ าม และเมอ่ื ละเมดิ แลวจงึ เกดิ เปนกรรมชกั นําไปสูอบายภูมิ *** พระสูตรมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลิขสทิ ธ์ใิ นการแกไ ข ดัดแปลง จําหนาย 32

แหงพระตถาคตทั้งปวงพึงเคารพยําเกรงโดยนิตย ในจตุรธรรมน้ี หากมีกุลบุตรกุลธิดาสามารถศึกษา บําเพญ็ ไดอ ยา งดีแลวไซร ทีส่ ดุ จงึ มติ องสทู ามกลางอบายภูมิท้ังปวง 復次文殊師利。菩薩以恒河沙等諸佛剎土滿中七寶。於恒河沙劫日 日奉施恒河沙等諸佛世尊。若有善男子善女人。能於如是大乘方廣微妙經 典乃至一句一偈。讀誦三遍所獲功德。勝前布施所得功德。 ดูกอน มัญชุศรี โพธิสัตวแมนจักนําเอาสัปตรัตนะบรรจุใหเต็มเปยมพุทธเกษตรท้ังปวงอันมี จํานวนเทากับเมล็ดทรายในคงคานที แลไดนํารัตนะน้ันถวายเปนทานแดบรรดาพระพุทธโลกนาถเจาที่มี จํานวนเทากับเมล็ดทรายในคงคาน้ัน เปนเวลาทุกวันหลายกัลปเทากับเมล็ดทรายในคงคาก็ตาม หากมี กุลบตุ ร กลุ ธิดา สามารถดาํ รงในมหายานไวปุลยคมั ภีรธรรมสตู ร ตลอดถึงแคเ พยี งหน่งึ บาทฤๅหนึ่งบท ได อา นทองสาธยาย ๓ ครงั้ แลว ไซร ผลานิสงคท ่ีไดรับนั้น ยอมวเิ ศษกวา กศุ ลแหงทานขางตน นน้ั 若有誦持此經典者。所獲功德倍多於彼。設復有人修行布施持戒忍 辱精進禪定智慧。六波羅蜜所得功德亦不能及。 หากสาธยาย ยึดถือพระสูตรนี้ ยอมไดเสวยกุศลกวาน้ันหลายเทานัก แมนมีผูบําเพ็ญจริยาในทาน ๓๗ ศีล ขนั ติ วริ ยิ ะ ฌานและปญ ญาก็ตาม แตก ุศลแหง การบําเพ็ญบารมีทัง้ ๖ ก็ยังมอิ าจเทียบเทา 文殊師利。如此經典名義廣大無與等者。汝諸菩薩摩訶薩應善修學 受持讀誦廣為眾生分別解說。 มญั ชุศรี ดังเชนพระสูตรนี้ที่มีอรรถะแหงนามกวางใหญไพศาลหาส่ิงอื่นใดมาเสมอมิได เธอบรรดา โพธิสัตวมหาสัตวทั้งหลายพึงไดศึกษา บําเพ็ญ นอมรับ ทรงไว สาธยาย อานทองแลจงแสดงซึ่ง อรรถาธิบายจาํ แนกความอยา งไพบูลยแ กส รรพสตั วโ ดยดเี ถิด 爾時一切大眾乃至十方諸來菩薩摩訶薩等俱白佛言。世尊。如是如 是。如佛所說我等受持。 ๓๗ มีนยั ยะวา หากยึดถอื (ปฏบิ ตั ิตาม)ในพระธรรมสูตรน้ี ยอ มจักมีกุศลมากมายมากกวาการบาํ เพญ็ บารมี๖ เพราะการกลาวรายพระรัตน ไตรและธรรมาจารยแลว จะเกดิ มหาอกุศลกรรมขัดขวางมิใหการบาํ เพ็ญบารมชี นิดอ่ืนๆสมบรู ณได เชน จะตอ งไปรบั ทุกขเวทนากอน ทํา ใหตองมาอุบตั ิยังโลกแหงความเสอื่ มทัง้ ๕ ประการเปน ตน แตห ากยึดถอื ปฏิบตั ใิ นพระธรรมน้ี ก็จักยังใหบาํ เพญ็ บารมสี มบูรณอยา ง รวดเรว็ ไรอ ุปสรรค *** พระสตู รมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลิขสทิ ธใ์ิ นการแกไ ข ดัดแปลง จําหนา ย 33

กาลสมัยน้ัน บรรดามหาชนท้ังปวงจนถึงบรรดาพระโพธิสัตวมหาสัตวในทศทิศท่ีไดมารวมอยูนั้น ตางกราบทูลตอพระบรมศาสดาวา ขาแตพระโลกนาถ เปนเชนนั้นๆ เปนดั่งพระพุทธวจนะทุกประการวา พวกขา พระองคล วนจกั นอมรับแลทรงไว พระพุทธเจา ขา 說此法時三十恒河沙諸菩薩等得無生法忍。七十恒河沙諸菩薩等於 阿耨多羅三藐三菩提得不退轉。復有六十三億百千那由他三千大千世界一 切大眾。聞佛所說心生歡喜。於八十劫度生死流。復於阿耨多羅三藐三菩 提不退轉。經六十三劫已具足成就無上菩提。 คร้ังธรรมสมัยท่ีทรงแสดงพระธรรมเทศนาอยูนี้ พระโพธิสัตวจํานวนปริมาณเทากับเมล็ดทรายใน คงคานทีจํานวนสามสิบสายรวมกันไดบรรลุอนุตปตติก ธรรมกษานติ บรรดาพระโพธิสัตวจํานวนเทากับ เมล็ดทรายในคงคานทีเจ็ดสิบสายรวมกันไดบรรลุถึงความมิเสื่อมถอยในพระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ มี บรรดามหาชนจํานวนหกสิบสามโกฏิรอ ยพนั นยุตะในตรีสหัสมหาสหัสโลกธาตุ เมื่อไดสดับยลยินพระพุทโธ วาทแลวในจิตเกิดปติยินดีเปนที่สุด ยังใหกาวลวงโอฆะคือการเกิดดับไปแปดสิบกัลป ท้ังยังต้ังมั่นในพระ อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณอันมิยอนกลับ เม่ือกาลเวลาหกสิบสามกัลปลวงแลวจักไดสําเร็จพระอนุตรบรม สมั โพธญิ าณ 彼諸菩薩及一切大眾。天。龍。夜叉。乾闥婆。阿修羅。迦樓羅。 緊那羅。摩睺羅伽。人。非人等。聞佛所說皆大歡喜作禮奉行。 บรรดาพระโพธิสัตวและมหาชน เทพเจา นาค ยักษ คนธรรพ อสุร ครุฑ กินนร มโหราค มนุษย และอมษุ ยท ้ังปวงเหลา นัน้ เมื่อไดสดบั พระพุทธอนศุ าสนียแลว ใหลว นบงั เกดิ มหาปติเกษมโสมนัสเปนที่ย่ิง ไดกระทาํ ศริ าภิวาทเบ้อื งพระพุทธยคุ ลบาทแลว นอ มรบั ใสเ กลา เพ่ือปฏบิ ัติสืบไป. *** พระสตู รมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลิขสิทธิใ์ นการแกไ ข ดัดแปลง จําหนาย 34

ขาแตพระผมู ีพระภาคเจา ผทู รงมหาเมตตาการุญ ขาพเจาพรอมดวยพุทธบรษิ ัทหมสู ่ี ขอถวายอภิวาทแดพระองคด วยเศยี รเกลา ดว ยในหทัยไดรสู กึ สาํ นกึ และละอายย่งิ นัก ละอายท่มี ิอาจยงั ธรรมใหรงุ เรอื งดังปจ ฉมิ โอวาทของพระองค ละอายท่ไี รซ งึ่ แรงกาํ ลงั ฉุดชวยสรรพสัตวจ ากทะเลทกุ ข ละอายท่มี อิ าจยังสขุ ศานตใิ หแ ผข ยายไปทั่วโลก ละอายท่ใี หปญ ญาอันนอยนิดปรามาสและวจิ ารณพระรตั นตรัย ดจุ ที่พระองคท รงประทานความหลุดพน และอิสราภาพแทจ รงิ แกผูศรัทธา ดุจทีพ่ ระองคท รงประทานกุศลปจจัยและความโชคดีแกสรรพสตั ว ดจุ ทพ่ี ระองคท รงประทานมงคลและความเกษมยนิ ดีแกมวลมนุษย ดจุ ทพ่ี ระองคท รงประทานรศั มที ่บี ริสทุ ธิ์สะอาดแกโลกแหง น้ี ขา พเจา มิตองการวอนขอทรพั ยสินหรอื ความรา่ํ รวย หวงั เพียงพระพทุ ธองคจ ะโปรดประทาน จติ ศรัทธาท่มี ิเสื่อมถอยในพระพุทธธรรม บัดนี้ ขอนอมกายคกุ เขา ขอสวุ รรณโอษฐข องพระองค โปรดแสดงพระธรรมเทศนาแกโลก ขอประณมกรท้งั สอง เพือ่ ขอพระองคโ ปรดดแู ลปกปอ งสรรพสตั ว อยา ไดล ะท้งิ วางเฉยแมชวั่ ขณะเลย *** พระสูตรมหายานแปลไทย จาก www..mahaparamita.com สงวนลิขสทิ ธ์ิในการแกไข ดัดแปลง จําหนาย 35


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook