Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การแพ็คแบตเตอรี่ลิเธียมสำหรับมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า

การแพ็คแบตเตอรี่ลิเธียมสำหรับมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า

Published by นายณพลยศ ต้องกัลยา, 2021-06-25 07:38:50

Description: การแพ็คแบตเตอรี่ลิเธียมสำหรับมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า

Search

Read the Text Version

• การวดั แรงดนั เม่ือต้องการแรงดนั ไฟ ต้องทาการต่ออนุกรม เช่น แบตเตอร่ีลเิ ธียมไอออน 48V จะต้องต่ออนุกรม กนั 3.7×13S = 48V ลเิ ธียมฟอสเฟส 48V จะต้องต่ออนุกรม กนั 3.2V×15S = 48V เวลาซื้อ BMS เค้าจะบอกว่าต้องกี่ S คือช่องทส่ี ามารถต่ออนุกรมได้ เพ่ือจะได้แรงดนั (V) BMS จะทาการตรวจเช็คแรงดนั ในเวลาชาร์จ/ดสิ ชาร์จ เพื่อปรับ ความสมดุลของแต่ละเซลล์ของแบตเตอร่ี (S) 51

การเลือกใช้ BMS แบตลเิ ธียมแต่ละชนิดต้องใช้ BMS ทแี่ ตกต่างกนั (บางชนิด อาจใช้ด้วยกนั ได้เช่น NMC NCA) โดยเฉพาะแบตลเิ ธียม ฟอสเฟต ทคี่ นส่วนมากชอบคดิ ว่ามันคือแบตลเิ ธียม ซึ่งจริงๆ กใ็ ช่น่ันแหละ แต่คาแร็คเตอร์มนั แตกต่างกนั แบตลเิ ธียมฟอสเฟตจะมี voltage ทต่ี ่ากว่าไม่ว่าจะเป็ น Maximum voltage, Nominal voltage หรือ Cut-off voltage จะต่างจากแบตลเิ ธียมทวั่ ๆไป ซึ่งหากเอา BMS ของแบตลเิ ธียม ฟอสเฟตไปใช้ในแบตลเิ ธียมปกติ มันจะชาร์จได้ไม่เตม็ เพราะ มันจะตดั ก่อน และมนั จะไม่มสี ่วนช่วยในการป้องกนั แบตเตอร่ี 52

วธิ ีการเลือก BMS มาใช้กบั การแพค็ แบตเตอร่ี รถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าน้ัน ให้ดูทโ่ี หลดการใช้งานเราเผื่อ การพที ของโหลดใช้งานต้องเผ่ือไว้ถึง 3 เท่า เช่นหากโหลด 20A คือ เอา 20A x 3 =60A ให้เลือก BMS ที่ 60-80 A เพราะถ้าเรา เลือกแอมป์ น้อยกว่าการพที ในการใช้งานของ BMS จะทาให้ BMS ร้อนและเสียไว ย่ิงตวั ใหญ่ กย็ ิง่ ดี เพราะรองรับโหลดได้ มากขนึ้ แต่กจ็ ะแพงขึน้ ตามลาดบั และทส่ี าคญั ต้องเลือก BMS ให้ตรงตามชนิดของเซลล์แบตเตอรี่ทีไ่ ปแพค็ ให้ดูว่าแบตเตอร่ีท่ี เราแพค็ เป็ นชนิดไหน เช่น NMC หรือ LFP ด้วย 53

ตัวอย่างเลือก Bms การแพค็ แบตเตอร่ีให้รถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าในปัจจุบนั ทใ่ี ช้กนั อยู่มแี รงดนั ไฟเริ่มต้น 48 V 60V 72V ยง่ิ แรงดนั ไฟมาก รถมอเตอร์ไซค์ กแ็ รงตามไปด้วยและกระแสไฟทใ่ี ช้หรือแอมป์ (A) กส็ ามารถเลือกตามปริมาณการใช้งานได้ ยงิ่ แอมป์ มาก รถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้ากย็ งิ่ ได้ระยะทางทมี่ ากขนึ้ ด้วย แต่ราคาใน แพค็ กจ็ ะแพงขันเช่นกนั การแพค็ แบเตอร่ี 1. 48V 20AH (3.7 x 13=48V) ต้องใช้ Bms ขนาด 13S 60AH หรือมากกว่า 2. 60V 20AH (4.2 x 16 = 67V) ต้องใช้ Bms ขนาด 16S 60AH หรือมากกว่า 3. 72V 20AH ( 3.7 x 20 = 74 V) ต้องใช้ Bms ขนาด 20S 60AH หรือมากกว่า 54

ข้นั ตอนการแพค็ แบตเตอร่ี ข้นั ตอนที่ 1 การนาเซลล์แบตเตอรี่ลเิ ธียมทซ่ี ื้อจากผู้ขายทจี่ ะแพค็ ไปชาร์ทไฟให้เตม็ เพ่ือให้ได้แรงดนั ไฟ (V) และกระแสไฟ (A) เท่ากนั ทุกเซลล์ก่อนทจ่ี ะแพค็ เพื่อให้ได้คุณภาพทดี่ ขี องเซลล์ แบตเตอร่ีทจี่ ะนาไปใช้งานกบั รถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าทเี่ ราใช้งาน 55

ข้นั ตอนท่ี 2 การจดั กรุ๊ปเซลล์แบตเตอรี่ลเิ ธียมให้ได้ค่า ความต้านทานภายใน (IR) มหี น่วยเป็ นมลิ โิ อห์ม ทเ่ี ท่ากนั หรือให้ได้ใกล้เคยี งมากทสี่ ุด โดยการนาเอาค่า IR ในกรุ๊ปมาบวกกนั เพื่อให้ได้ผลรวมของแต่ละ กรุ๊ปทเี่ ท่ากนั หรือใกล้เคยี งกนั มากทสี่ ุด ข้นั ตอนนีเ้ ป็ นสิ่งสาคญั มากสาหรับการแพค็ แบตเตอรี่ใช้กบั มอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า 56

วธิ ีการทามดี งั นี้ 1. การนาเซลล์แบตเตอร่ีลเิ ธียมทชี่ าร์ทเตม็ แล้วท้งั หมดมาวดั หา ค่า IR แล้วทาการเขยี นค่า IR ไว้ทเี่ ซลล์แบตเตอร่ีทุกเซลล์ โดยใช้เครื่องวดั ค่าความต้านทานภายในแบตเตอร่ี เป็ นตวั วดั 2. การนาเซลล์แบตเตอร่ีทว่ี ดั ค่า IR ท้งั หมดทจ่ี ะแพค็ มาทาการ จดั กรุ๊ปเซลล์แบตเตอรี่ จากค่า IR ทวี่ ดั ได้ โดยใช้โฮลเดอร์ใน การจดั วางเซลล์แบตเตอรี่ โดยการจัดค่าความต้านทานภายใน แต่ละกรุ๊ปให้ได้เท่ากนั มากทส่ี ุดหรือให้ได้ใกล้เคยี งมากทส่ี ุด นาค่า IR ในกรุ๊ปมาบวกกนั ให้ได้ผลรวมทใ่ี นแต่ละกรุ๊ปเท่ากนั หรือใกล้เคยี งกนั มากทส่ี ุด ตามรูปตวั อย่างในตารางหน้าถดั ไป 57

ตัวอย่าง การจดั เรียงกรุ๊ปเซลล์แบตเตอรี่ - 48 V 20 AH ผลรวม 58

ตัวอย่าง การจดั เรียงกรุ๊ปเซลล์แบตเตอร่ีลเิ ธียม 60 V 20 AH ผลรวม 59

ตัวอย่าง การจดั เรียงกรุ๊ปเซลล์แบตเตอรี่ - 72 V 20 AH ผลรวม 60

ข้นั ตอนที่ 3 การเตรียมแผ่นนิเกลิ มาตัดให้ได้พอดกี บั เซลล์แบตเตอร่ี ทเี่ ราจะสปอตแผ่นนิเกลิ กบั ข้วั แบตเตอรี่ นิเกลิ ทที่ ้งั เป็ น เส้นเดยี วและเป็ นเส้นคู่ทใ่ี ช้ในการสปอต ต้องทาการวดั ช่วง ระยะของเซลล์แบตเตอรี่ เพื่อจะได้ตดั นิเกลิ ได้พอดกี บั การ สปอต ขนาดแผ่นนิเกลิ สาหรับการสปอตใช้ขนาด 0.15 มลิ 61

การตดั และวางแนวแผ่นนิเกลิ ในการสปอต ระบบแบตเตอร่ี 48 V 20 Ah + ด้านท่ี 1 - ด้านท่ี 2 62

การตดั และวางแนวแผ่นนิคเกลิ ในการสปอต ระบบแบตเตอร่ี 60V 20 Ah +- ด้านที่ 1 ด้านที่ 2 63

การตดั และวางแนวแผ่นนเิ กลิ ในการสปอต - ระบบแบตเตอรี่ 72 V 20Ah + ด้านที่ 1 ด้านที่ 2 64

ข้นั ตอนท่ี 4 การสปอตนิเกลิ กบั เซลล์แบตเตอร่ี โดยใช้เคร่ืองสปอต สาหรับแถบนิเกลิ 0.15 มม. ให้กดป่ มุ พลั ส์ 4P และปัจจุบัน เป็ น 4-5 ในทานองเดยี วกนั สาหรับแถบนิเกลิ 0.2 มม. ให้กด ป่ ุมพลั ส์ 4P, 6P และป่ ุมปัจจุบันเป็ น 7-8 ตรวจสอบให้แน่ใจว่า ปากกาเชื่อมถูกบีบอดั ด้วยป่ มุ แถบนิเกลิ และข้วั แบตเตอรี่จากน้ัน กดสวติ ช์เท้า คุณจะสังเกตเห็นประกายไฟเลก็ ๆ และทาสปอต จุด 2 คร้ังจะได้จุดบนแถบนิเกลิ 4 จุดเพ่ือให้แผ่นนิเกลิ ยดึ ตดิ แน่นกบั ข้วั เซลล์แบตเตอรี่ได้เป็ นอย่างดี 65

1. การสปอตแพค็ แบตเตอรี่ทแ่ี พค็ จะมี 2 ด้าน ด้านต่อไฟไปใช้ งานและด้านการต่อขนานเซลล์ท้งั หมด - การสปอตเราจะเริ่มจากด้านข้วั บวกก่อนที่แผ่นนิเกลิ เส้นเดย่ี ว จากน้ันไล่สปอตแผ่นนิเกลิ เส้นคู่เพื่อขนานเซลล์ให้ครบ ไปจบ การสปอตแผ่นนิเกลิ ทข่ี ้วั ลบ ของการแพค็ แบตเตอรี่ - ส่วนอกี ด้านกท็ าการสปอตแผ่นนิเกลิ เส้นคู่ เพื่อขนานเซลล์ แบตเตอรี่ท้งั หมดจนครบ 2. เช็คความถูกต้องการสปอต การยดึ ติดของแผ่นนิเกลิ ให้มี ความแน่นหนามากทสี่ ุด จากน้ันใช้มิตเตอร์วดั แรงดนั ไฟดูว่า มแี รงดนั ไฟออกมาตามทไี่ ด้แพค็ ใว้หรือไม่ 66

ข้นั ตอนที่ 5 การติดเทปกาวกนั ความร้อนให้กบั แพค็ แบตเตอร่ีทแ่ี พค็ เพ่ือป้องกนั ความร้อนสะสมภายในแพค็ แบตเตอร่ี ทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ ในระหว่างการใช้งาน 67

ข้นั ตอนที่ 6 การต่อ BMS ใช้ในการจดั เซลล์แบตเตอร่ีให้ทางานอย่าง มปี ระสิทธิภาพในการงาน สาย Bms ทใ่ี ช้งานจะเรียกการ ต่อก่ี S เช่น 13S ใช้สาย Bms ท้งั หมด 13 เส้น ในการต่อ ในระบบ จะเรียกกนั ดงั นี้ B+ B- B1 – B13 ข้วั ต่อไปงาน เรียกว่า B+ C- รูปด้านบนการใช้ bms แบบ 13S ระบบ 48v 1. เราต้องถอนสาย Bms ออกจากตวั วงจรก่อนต่อสาย bms ทาการปอกปลายสายทุกเส้นไว้ 1 ซ.ม. สาหรับการ บดั กรีกบั แผ่นนิเกลิ ทเ่ี ราได้สปอตใว้ 68

2. การบดั กรีสาย Bms เข้ากบั แพค็ แบตเตอรี่ทเ่ี ราได้แพค็ ใว้ เราทาการบัดกรีจุดเริ่มต้นทสี่ าย B-ก่อน ทฝ่ี ่ังข้วั ลบเป็ นเส้นแรก จากน้ันสายบัดกรี B1,B2,B3,B4,B5,B6,B7,B8,B9,B10 B11,B12,B+ จนครบทุกเส้นทฝ่ี ่ังข้วั บวกและทาการตรวจเช็ค สายทุกเส้นอกี คร้ังว่าเราบดั กรีมคี วามยดึ ตดิ แน่นดหี รือไม่และ ความถูกต้องของสายทต่ี ่อในระบบนาวงจร Bms มาต่อเข้ากบั สาย 69

+- C- Bms 13S 60Ah B- B+ B12 B11 B10 B9 B8 B7 B6 B5 B4 B3 B2 B1 B- B- B+ - + - + - + - + - + - + - +- - +-+- +-+ -+ การต่อสาย Bms เข้าแพคแบตเตอร่ี ระบบ 48V 20AH 70

+- C- B- B+ B15B14 B13 B12 B11B10 B9 B8 B7 B6 B5 B4 B3 B2 B1 B- B+ -+-+- +- +- +- +- + - B- + - +- - +-+- +-+ -+ - + การต่อสาย Bms เข้าแพคแบตเตอร่ี ระบบ 60v 20ah 71

+- C- BMS B- 20S 60AH B+ B19*B18B17 B16 B15B14B13B12 B11B10 B9 B8 B7 B6 B5 B4 B3 B2 B1 B- B+ B- + - + -+- +- +- +- +- +-+- +- -+ -+- - +-+- +-+ - +- +-+ การต่อสาย Bms เข้าแพคแบตเตอรี่ ระบบ 72V 20AH 72

3. ใช้มติ แตอร์ วดั แรงดนั ไฟทต่ี วั Bms ทขี่ ้วั B+,C- ดูว่ามี แรงดนั ไฟ V ออกตามทเี่ ราแพค็ หรือไม่ ในรูปด้านบนคือการ แพค็ ในระบบ 48V ถ้าวดั แล้วมีแรงดนั ไฟออก 48V แสดงว่า ต่อ Bms ถูกต้องแล้ว ถ้าวดั แล้วแรงดนั ไฟทข่ี ้วั B+,C- ไม่มี แรงดนั ไฟออกมาแสดงว่าเราต่อสาย Bms ผดิ ดงั น้ันต้อง ใช้มติ เตอร์ไปวดั ทข่ี ้วั +,- ของแพค็ แบตเตอร่ีโดยตรง วดั แล้ว แรงดนั ไฟออกแต่วดั ผ่าน Bms แรงดนั ไฟไม่ออก แสดงว่าเรา ต่อสาย Bms ผดิ ตาแหน่ง ต้องไปไล่ดูสายทเี่ ราต่อไว้ถูกต้อง หรือไม่ หรือบัดกรีสายจุดไดจุดหนึ่งไม่แน่น จนไม่สามารถ ทาให้ Bms จ่ายแรงดนั ไฟออกมาได้ควรเช็คให้ดี จนกว่าท่ี Bms จ่ายแรงดนั ไฟออกมาได้ พร้อมทจี่ ะนาไปใช้งาน 73

4. เกบ็ สาย Bms ให้ดูเป็ นระเบียบเรียบร้อยสวยงามและใช้ เทปกาวกนั ความร้อนตดิ อกี รอบเพ่ือความแน่นหนาของสาย 74

ข้นั ตอนที่ 7 การต่อสายไฟออกมาใช้งาน การต่อสายไฟออกมาใช้งานเราจะต่อจาก Bms จากข้วั B+,C- ก่อนต่อสายไฟออกมาใช้งาน เราต้องทาการเข้าปลกั๊ แอนดสิ ัน ก่อนโดยการบดั กรีข้วั ให้แน่นสาหรับการนาไปต่อใช้งาน หลงั จาก น้ันกน็ าปลายสายไฟข้ัวบวก ข้วั ลบ ไปต่อกบั B+,C- ของ Bms เพมิ่ การต่อสายชาร์ทไฟให้กบั แพคแบตเตอร่ี ท่านจะต่อเข้าพร้อม กบั ข้วั แอนดสิ ันด์เลยกไ็ ด้เพ่ือสะดวกต่อการนาไปชาร์ทไฟ 75

ข้นั ตอนที่ 8 การตดิ แผ่นอพี อ็ กซ่ีเพื่อป้องกนั การกระแทกและกนั ซ็อต กบั ตัวรถ เราจะติดแผ่นอพี อ็ กซี่ให้ครบด้านของแพค็ แบตเตอรี่ ทเ่ี ราทาการแพค็ โดยใช้เทปกาวใยสับปะรด เป็ นตวั ตดิ ทบั ให้เกดิ ความตดิ แน่นของแผ่นอพี อ็ กซี่กบั ตวั แบตเตอร่ี ให้ความแข็งแรง มากขนึ้ 76

ข้นั ตอนที่ 9 การหุ้มท่อหด PVC เพ่ือป้องกนั นา้ เข้าตัวแบตเตอรี่ทเี่ รา แพค็ การตดั ท่อหดให้ได้ตามขนาดของแพค็ แบตเตอร่ีทเี่ รา แพค็ ทาการสวมใส่กบั แบตเตอรี่แล้วใช้ความร้อนจากไดร์ทา ความร้อนเป่ าท่อหดให้เข้ารูปทรงของแบตเตอรี่และทาการ ยงิ ซิลโิ คลนตามช่องให้ปิ ดสนิทอกี รอบกนั นา้ เข้าเพื่อไม่ให้เกดิ ความเสียหายในการนาไปใช้งานกบั รถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า 77

ข้นั ตอนที่ 10 การนาแบตเตอรี่ทเ่ี ราแพค็ ไปทาการชาร์ทไฟให้เตม็ ก่อนท่ี จะนาแบตเตอรี่ไปใช้งานกบั รถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าของเราก็ เป็ นอนั เสร็จขบวนการแพค็ แบตเตอร่ีให้รถมอเตอร์ไซค์ฟฟ้า 78

ผู้จดั ทาหวงั เป็ นอย่างยง่ิ ว่า อบี ุ๊คเล่มนีจ้ ะเป็ นประโยชน์ กบั ใครหลายๆ คน ทม่ี คี วามสนใจในการแพค็ แบตเตอรี่ให้ รถมอเตอร์ไซค์ฟ้า อยากจะสร้างรถมอเตอร์ไซค์ฟ้าไว้ใช้เอง หรือจะนาสิ่งทไ่ี ด้เรียนรู้จากอบี ุ๊คเล่มนี้ ไปประกอบอาชีพ การแพค็ แบตเตอร่ีให้กบั รถมอเตอร์ไซค์ฟ้ากไ็ ด้ เนื่องจาก ตอนนีเ้ ทรนรถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้ากาลงั มาแรง ซึ่งหัวใจหลกั ของรถไฟฟ้าน่ันกค็ ือแบตเตอรี่

SPARK