Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานกรีฑา

รายงานกรีฑา

Published by Teacher Ya Channel, 2021-09-16 03:03:56

Description: รายงานกรีฑา

Search

Read the Text Version

รายงาน เร่ือง กรฑี า เสนอ นางสาวกติ ติยา กมิ าวหา โดย เดก็ ชาย....................................................ชน้ั ม.2 รายงานเลม่ น้ีเป็นสว่ นหนงึ่ ของวชิ าพลศกึ ษา (กรฑี า) กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศกึ ษาภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบารุงราษฎร)์ สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 3

คำนำ รายงานเลม่ นเี้ ป็นสว่ นหนึ่งของรายวชิ าพลศึกษา (กรีฑา) ซงึ่ ไดร้ วบรวมประวตั ิความเปน็ มา ของกรีฑา ความหมายของกรีฑา ประเภทของกรีฑา ประโยชน์ของกรีฑา และมารยาทที่ดีในการ เล่นและชมกรฑี า ผ้จู ัดทาหวงั เป็นอย่างยิง่ ว่ารายงานฉบบั น้ีจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผอู้ ่านไม่มากก็น้อย หากมีข้อผดิ พลาดประการใดทางผู้จดั ทาต้องขออภัยมา ณ ท่ีนี้ด้วย เด็กชาย............................................ ผูจ้ ัดทา

สำรบญั เรื่อง หนำ้ ประวัติและความเปน็ มาของกรฑี า ประวตั ิกรีฑาไทย ประเภทของกรฑี า ประโยชน์ของกรีฑา มารยาททด่ี ีในการเลน่ และชมกรีฑา

ประวัตแิ ละควำมเปน็ มำของกรีฑำ เป็นท่ีเช่ือกันว่าชาวกรีกสมัยโบราณเป็นผู้ริเริ่มการแข่งขันกีฬาและกรีฑาเกิดข้ึนเม่ือ ประมาณ 776 ปีก่อนคริสตกาล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมพลเมืองของกรีกให้มีสุขภาพ สมบรู ณแ์ ขง็ แรงทัง้ รา่ งกายและจิตใจ พรอ้ มท่จี ะรบั ใชป้ ระเทศชาตไิ ด้อยา่ งเตม็ ที่ อีกเหตผุ ลหน่ึงคือ ชาวกรกี ในสมยั โบราณนับถือเทพเจา้ อยู่หลายองค์ และเช่ือว่ามเี ทพเจา้ สถติ อยบู่ นเขาโอลมิ ปัสเทพ เจ้าทัง้ หลายเปน็ ผู้บนั ดาลความสขุ หรอื ความทกุ ขใ์ หแ้ ก่ผูน้ บั ถอื คล้ายกับเป็นผชู้ ี้ชะตาของ ชาวกรีก ดังนั้นชาวกรีกจึงพยายามที่จะประพฤติตนให้เป็นท่ีโปรดปราน ทาความเข้าใจและสนิทสนมกับ เทพเจา้ เปน็ เหตใุ ห้มพี ธิ ีบวงสรวงหรอื ทาพิธีกรรม ตา่ ง ๆ เม่อื เสร็จการบวงสรวงตามพธิ ีทางศาสนา แล้วจะต้องมีการเล่นกีฬาถวาย ณ ลานเชิงเขาโอลิมปัสแค้วนอีลิสเพ่ือเป็นการเฉลิมฉลองพระ เกียรติของเทพเจ้า การเล่นกีฬาท่ีบันทึกเป็นประวัติศาสตร์สืบต่อกันมา คือ การเล่นกีฬา 5 ประเภท ได้แก่ การวง่ิ แข่ง การกระโดด มวยปล้า พงุ่ แหลน และขว้างจกั ร โดยผูเ้ ลน่ แตล่ ะคนจะต้องเล่นให้ครบทั้ง 5 ประเภท สังเกตไดว้ ่านอกจากมวยปล้าแล้วอีก 4 ประเภท เป็นการเล่นกรีฑาทงั้ สิ้นการเล่นกีฬา ดังกล่าวได้ดาเนินมาเป็นเวลา 1200 ปี จนกระทั่งกรีกเสื่อมอานาจลงและตกอยู่ภายใต้ อานาจ ของชาวโรมัน การกฬี าของกรีกก็เสือ่ มลงตามลาดับ ในค.ศ. 393 จักรพรรดิธโี อดซอี ุส แห่งโรมันมี คาสงั่ ใหย้ กเลกิ การ เลน่ กีฬา ทงั้ 5 ประเภท เพราะเหน็ วา่ การแข่งขนั ในตอนปลายกอ่ นทจ่ี ะยกเลิก ไปนั้น มีจุดมุ่งหมายต่างไปจากเดิม โดยที่ผู้เล่นและผู้ชมหวงั สินจ้างรางวัล มีการพนันเพื่อเงนิ ทอง ไม่ใช่เล่นกีฬาเพ่ือสุขภาพอย่างทีเ่ คยปฏิบตั ิกันมา เป็นอันว่าโอลิมปกิ สมัยโบราณได้ยุติลงตง้ั แตน่ น้ั มาเป็นระยะเวลานาน 15 ศตวรรษ เปน็ ผลใหก้ ารเลน่ กฬี าตอ้ งหยุดชะงัก ไปดว้ ย จนกระท่ัง โอลิมปิกสมัยใหม่ ได้เร่ิมข้ึนอีกครั้งหลังจากโอลิมปิกสมัยโบราณยุติไป 15 ศตวรรษ ได้มีบคุ คลสาคัญเป็นผู้รเิ ร่มิ กีฬาโอลิมปิกใหก้ ลับฟื้นคืนมาใหมท่ า่ นผ้นู ้ันคอื บารอน ปแี อร์ เดอ คแู บรแ์ ตง (BaronPierredeCoubertin) ชาวฝรัง่ เศสเป็นผู้ชกั ชวนบุคคลสาคัญ ของชาติ ต่าง ๆ ให้เข้าร่วมประชุม ตกลง เปิดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยปัจจุบันข้ึนใหม่ โดยจัดให้มีการ แข่งขัน 4 ปี ต่อ 1 คร้ัง ในข้อตกลงให้บรรจุการเล่นกรีฑาเป็นกีฬาหลักของการแข่งขัน เพื่อเป็น เกียรติและเป็นอนุสรณ์ แก่ชนชาติกรีกท่ีเป็นผู้ริเริ่ม จึงลงมติเห็นชอบโดยพร้อมเพรียงกันให้ ประเทศกรีกจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกเป็นประเทศแรก ใน ค.ศ. 1896 (พ.ศ. 2439) ณ กรุง เอเธนส์ นอกจากนยี้ งั มนี ักวชิ าการท่ไี ดศ้ ึกษา ประวัติกรฑี า ไว้ดังน้ี  คณุ สภุ ำรตั น์ วรทอง (2537 : 1-4) ไดเ้ รียบเรียงถงึ ประวตั แิ ละววิ ฒั นาการของกรีฑาไว้ เป็นลาดับ ต้งั แต่สมัยแรกถงึ ปัจจุบันไวว้ ่า กรีฑานบั วา่ เปน็ กฬี าที่เกา่ แก่ท่สี ุดท่เี กดิ ขน้ึ มา พรอ้ มกบั มนุษย์เพราะในสมัยโบราณมนุษยต์ อ้ งต่อสูก้ ับภัยธรรมชาติ และเผชิญกับความดุ

รา้ ยของสตั ว์ปา่ นานาชนดิ และต้องใช้ถา้ เปน็ ท่ีอยู่อาศยั การทม่ี นษุ ย์ออกไปหาอาหารมา เล้ยี งชีพต้องป้องกนั ตนเองจากสัตว์ร้าย บางครั้งต้องวิ่งหนอี ยา่ งรวดเร็วเพอื่ หนสี ตั วร์ า้ ย ถ้า เทยี บกบั ปัจจุบนั กเ็ ป็นการวิง่ ระยะสนั้ หากว่ิงหนหี รอื วิ่งไล่ตดิ ตามจับสตั วม์ าเปน็ อาหาร โดยวง่ิ เปน็ เวลานาน ๆเทยี บได้กับ การวิ่งระยะไกลหรือว่งิ ทนนัน่ เอง ในบางคร้ังขณะทว่ี ง่ิ เมอื่ มีตน้ ไม้ กิ่งไมห้ รอื หนิ ขวางหนา้ ก็ตอ้ งกระโดดข้ามไป ปจั จบุ นั จึงกลายเปน็ การว่ิง กระโดดข้ามรั้วและวงิ่ กระโดดสูงการว่งิ กระโดดข้ามลาธารเล็กๆ แคบๆ เป็นช่วงติดต่อกัน ได้กลายมาเปน็ การวิง่ กระโดดไกลและการเขย่งก้าวกระโดด แตถ่ ้าลาธารหรือเหวนั้นกว้าง ไมส่ ามารถกระโดดอย่างธรรมดาได้ จาเป็นต้องหาไมย้ าวๆ มาปักกลางลาธารหรือแง่หนิ แล้วโหนตัวข้ามไปยังอกี ฝัง่ หนงึ่ ก็กลายมาเป็นการกระโดดค้า การใชห้ อกหรือหลาวทที่ า ด้วยไมย้ าวๆ เปน็ อาวธุ พุ่งฆา่ สตั ว์ ปัจจุบนั ไดก้ ลายมาเปน็ พุ่งแหลน เป็นต้น ประวตั กิ รีฑำไทย การแขง่ ขันกรีฑาในประเทศไทยนัน้ กระทรวงธรรมการ (กระทรวงศกึ ษาธิการในปจั จบุ นั ) ได้จดั ใหม้ ีการแข่งขนั กรฑี านกั เรียนขนึ้ เป็นครงั้ แรก ในวนั ท่ี 11 มกราคม พ.ศ. 2440 ที่ท้อง สนามหลวง ในพิธีเปดิ การแข่งขันครัง้ นัน้ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์พระ จุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั และสมเด็จพระนางเจา้ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดาเนนิ มาทรงเป็น ประธานเปดิ การแข่งขนั และทอดพระเนตรการแข่งขัน นบั ตั้งแตน่ ัน้ เป็นตน้ มา กระทรวงธรรมการ ได้จดั ใหม้ กี ารแข่งขันกรฑี านักเรียนประจาทกุ ปีตลอดมา ประวัตกิ รีฑำ ประวตั กิ รีฑำไทย  ปี พ.ศ. 2476 รัฐบาลได้จดั ตง้ั กรมพลศึกษาขนึ้ โดยมนี โยบายส่งเสริมการกฬี าของชาติให้ เจริญก้าวหน้าย่งิ ข้นึ หลังจากก่อต้ังกรมพลศึกษาแลว้ กีฬาและกรฑี าก็ไดร้ บั การสนบั สนุน มากยิ่งขน้ึ โดยจัดให้มกี ารแขง่ ขนั กรีฑาระหว่างโรงเรยี น ระหวา่ งมหาวทิ ยาลยั และกรีฑา ประชาชน  ปี พ.ศ. 2484 การแขง่ ขนั กรีฑานกั เรยี นประจาปี ไดย้ ้ายมาแข่งขันในกรีฑาสถาน (สนาม ศุภชลาศัย) เป็นคร้ังแรก โดยไดป้ รบั ปรงุ สนามและดา้ นอานวยการแข่งขนั ให้เปน็ ไปตาม กติกากรีฑาระหว่างประเทศมากท่ีสุด เชน่ ใช้เครอ่ื งวดั กาลงั ลม เคร่ืองตรวจทิศทางลม เครือ่ งกดนาฬกิ าด้วยไฟฟ้า เปลย่ี นการแต่งกายเครอื่ งแบบของกรรมการตดั สินมาเปน็ ชุด ขาวลว้ นเรมิ่ มีการบนั ทกึ และรบั รองสถิติทีน่ ักกีฬาทาข้นึ ในสนามมาตรฐานแห่งน้ี  ปี พ.ศ. 2494 ได้มีการจดั ต้ังสมาคมกรีฑาสมคั รเล่นแห่งประเทศไทยขนึ้ ซง่ึ อยู่ในความ อุปการะของกรมพลศกึ ษา มีหน้าทรี่ ับผิดชอบแทนกรมพลศึกษาจัดดาเนนิ การแขง่ ขนั กรีฑามหาวทิ ยาลัยและประชาชน และในปีเดียวกนั น้ีประเทศไทยยงั ส่งนกั กฬี าเขา้ รว่ ม แข่งขนั กีฬาเอเช่ยี นเกมส์ ครั้งท่ี 1 ท่กี รุงนวิ เดลี ประเทศอินเดยี ต่อมาประเทศไทยยงั

ไดร้ บั เกยี รตเิ ปน็ เจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาเอเช่ยี นเกมสถ์ งึ 4 คร้ัง คอื เอเช่ยี นเกมส์ ครั้ง ท่ี 5 ในปี พ.ศ. 2509 ครั้งท่ี 6 ในปี พ.ศ. 2513 คร้ังท่ี 8 ในปี พ.ศ. 2521 และคร้ังท่ี 13 ในปี พ.ศ. 2541  ปี พ.ศ. 2495 ประเทศไทยไดส้ ่งนักกีฬาเข้าร่วมการแขง่ ขนั กีฬาโอลมิ ปิคเกมส์ เป็นครงั้ แรก ในการแข่งขันโอลมิ ปคิ คร้ังที่ 5 ณ กรุงเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ โดยมีนักกีฬา กรฑี า เข้ารว่ มการแข่งขนั 8 คน และเจ้าหน้าท่ี 5 คน รวม 13 คน  ปี พ.ศ. 2507 ได้จัดต้ังองค์การส่งเสรมิ กีฬาแหง่ ประเทศไทยขนึ้ มีหน้าที่รับผิดชอบใน การส่งเสริมกฬี าประชาชน โดยจัดให้มีการแข่งขนั กรฑี าและกฬี าต่างๆ เปน็ ประจาทกุ ปี ซ่ึง เรียกกนั โดยทว่ั ไปว่า “กีฬาชาต”ิ และถือว่ากรฑี าเปน็ กฬี าหลักที่ต้องจดั ใหม้ กี ารแข่งขนั ทุก ครั้ง  ปี พ.ศ. 2508 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รัชกาลปัจจบุ นั ไดท้ รงพระกรุณา โปรดเกลา้ ฯ รบั สมาคมกรฑี าสมัครเลน่ แห่งประเทศไทย เขา้ อย่ใู นพระบรมราชูปถมั ภ์  ปี พ.ศ. 2510 องคก์ ารสง่ เสรมิ กีฬาแห่งประเทศไทย ไดเ้ รม่ิ จดั การแข่งขันกีฬาเขตขน้ึ (กฬี าแห่งชาติ ในปัจจุบนั ) มกี ารแข่งขนั ทุกปี หมุนเวยี นไปตามจังหวัดต่างๆ เพ่ือขยายการ กฬี าใหค้ รอบคลมุ ท่วั ทุกภาค และคัดเลอื กนักกฬี าดเี ด่นไวแ้ ข่งขันกฬี าระหว่างชาติต่อไป  ปี พ.ศ. 2528 เปล่ยี นช่อื จาก องค์การส่งเสรมิ กีฬาแหง่ ประเทศไทย เปน็ “การกีฬาแหง่ ประเทศไทย”  ปี พ.ศ. 2540 การกีฬาแห่งประเทศไทย ได้ปรับปรุงรูปแบบการแข่งขันกีฬาแหง่ ชาติใน ระบบใหม่ เปน็ การแขง่ ขันระดับตัวแทนจงั หวดั สูก่ ารเป็นตัวแทนระดบั ภาคโดยมกี าร จัดการแขง่ ขนั 2 ปตี อ่ ครั้ง ระบบใหมน่ เี้ ริ่มใชค้ ร้งั แรกในกฬี าแห่งชาติ ครงั้ ที่ 32 ในปี พ.ศ. 2543 ทก่ี รุงเทพมหานคร ควำมหมำยของกรฑี ำ กรีฑำ (Athletics) หมายถงึ เฉพาะรายการแข่งขนั กีฬาทเี่ ก่ยี วข้องกบั การว่ิงแข่ง การ กระโดด การขว้างและการเดนิ ประเภทการแข่งขันกรฑี าทพี่ บแพรห่ ลายท่ีสุด คอื ลแู่ ละลาน ว่ิง ทางเรยี บ วิ่งวบิ าก และเดินแข่ง ดว้ ยความเรียบง่ายของการแข่งขนั และไม่จาเป็นตอ้ งใช้อปุ กรณ์ ราคาแพง ทาให้กรีฑาเป็นหนึง่ ในกีฬาทีม่ กี ารแข่งขนั กันมากทส่ี ดุ ในโลก กรีฑา เป็นกฬี าท่เี กา่ แกท่ ่สี ดุ เกดิ ข้นึ มาพรอ้ มกบั มนุษย์เพราะในสมัยโบราณมนษุ ย์ยงั ไม่ร้จู ัก การทามาหากินทเ่ี ป็นหลักแหล่งมักเรร่ ่อนไม่มีเครือ่ งนุ่งหม่ และทอี่ ยูอ่ าศยั จึงต้องต่อสู้กับภัย ธรรมชาตเิ ผชญิ กบั ความดรุ ้ายของสัตว์ปา่ ใช้ถา้ เปน็ อยอู่ าศยั จงึ กล่าวไดว้ ่ามนุษย์เปน็ ต้นกาเนดิ ของ กรฑี า เพราะการทม่ี นษุ ยอ์ อกไปหาอาหารในการดารงชีวิต บางคร้ังต้องเดิน บางคร้ังต้องวง่ิ เพื่อ ความอยรู่ อด เชน่ อดีตใช้ก้อนหนิ ขว้างปา หรอื ทมุ่ ใสส่ ัตว์ แต่ปจั จุบนั กลายมาเป็นขวา้ งจักร ท่มุ ลกู นา้ หนกั เป็นต้น

ประเภทของกรีฑำ ประเภทของกำรแขง่ ขนั กรีฑำ กรฑี าถอื เป็นกีฬาพนื้ ฐานในการสร้างสมรรถภาพทางดา้ นรา่ งกาย และเปน็ กฬี าหลักทน่ี ยิ ม เลน่ และแขง่ ขนั ทงั้ ในและระหว่างประเทศ จากรายละเอยี ดกติกากรีฑาของสหพนั ธก์ รฑี าสมัครเล่น นานาชาติ สามารถแบ่งประเภทของกรฑี า ไดเ้ ปน็ 5 ประเภท ดงั นี้ 1. กรฑี าประเภทลู่ (Track Events) 2. กรฑี าประเภทลาน (Field Events) 3. กรีฑาประเภทเดนิ (Walking Events) 4. กรฑี าประเภทถนน (Road Races) 5. กรฑี าประเภทว่ิงข้ามทงุ่ (Cross Country Races) 1. กรฑี ำประเภทลู่ (Track Events) กรฑี าประเภทลู่ ประกอบดว้ ยการวิ่งในลวู่ ่ิง ซึ่งการวิง่ ระยะสน้ั การวง่ิ ผลดั และการวิ่งข้าม รว้ั แตล่ ะรายการมจี ดุ เดน่ ทีแ่ ตกตา่ งกันออกไป โดยการวิง่ ระยะสนั้ ให้ความตนื่ เต้น สนุกสนาน การ วง่ิ ผลัดแสดงให้เหน็ ถงึ การประสานงานกนั เปน็ ทมี การว่งิ ข้ามร้ัวเปน็ ความสมั พันธ์ระหว่างการวิง่ และการกระโดดแตก่ ารทบ่ี คุ คลหนึ่งจะทาการแขง่ ขัน กรีฑาประเภทลไู่ ด้ จาเปน็ ต้องมที ักษะ เฉพาะตวั เบ้ืองต้น ต้องใช้ความอดทนในการฝึกซอ้ มทถ่ี กู วิธี และส่งิ สาคญั ตอ้ งมใี จรกั ในการวิ่งด้วย กรฑี าประเภทลสู่ ามารถแบง่ การแข่งขันได้ ดังน้ี 1.1 กำรวง่ิ ระยะสนั้ ประกอบด้วยการว่งิ ระยะทาง 60, 80, 100, 200 และ 400 เมตร 1.2 กำรวิ่งระยะกลำง ประกอบดว้ ยการวิ่งระยะทาง 800 เมตร 1,500 เมตรและ 3,000 เมตร 1.3 กำรว่งิ ระยะไกล ประกอบด้วยการวิง่ ระยะทางตงั้ แต่ 5,000 เมตร ขึน้ ไป 1.4 กำรวิ่งผลดั ประกอบดว้ ยการว่ิงผลดั 4 x 100 เมตร วง่ิ ผลดั 4 x 400 เมตร 1.5 กำรวงิ่ ขำ้ มรว้ั ประเภทหญิงระยะทาง 100 เมตร 400 เมตร ประเภทชาย ระยะทาง 110 เมตร 400 เมตร 2. กรฑี ำประเภทลำน (Field Events) กรีฑาประเภทลาน ประกอบด้วยการวง่ิ กระโดดไกล การวิ่งกระโดดสูง การทุ่มนา้ หนัก การ ขว้างจกั ร และการพงุ่ แหลน แต่ละประเภทต้องอาศัยทกั ษะทีแ่ ตกต่างกนั โดยการว่ิงกระโดดไกล ระบบการทางานของร่างกายระหวา่ งประสาทและกล้ามเนื้อตอ้ งมคี วามสมั พันธก์ นั จะช่วยให้ สามารถบังคับสว่ นต่าง ๆ ของร่างกายไดอ้ ยา่ งน่ิมนวลและถูกต้องตามจังหวะทีต่ อ้ งการ การวง่ิ กระโดดสงู ต้องรจู้ ักจงั หวะการกระโดด การสปริงตวั ขึน้ การลอยตัวในอากาศ และการลงสู่พืน้ ได้

อย่างปลอดภัย การทุม่ ลกู น้าหนักต้องรู้จักการทรงตัว การกระโดดได้อยา่ งคลอ่ งแคลว่ ว่องไว และ การใชแ้ รงสง่ ลูกน้าหนกั ให้ไปไกลท่สี ดุ การขว้างจกั รต้องอาศยั การเหวยี่ งตัว และจงั หวะท่ีดีในการ เหวี่ยงจกั ร รวมทั้งตอ้ งมีความรวดเรว็ วอ่ งไว ประสาทและทกั ษะในการเคล่อื นไหวดี การพ่งุ ปล่อย แหลนออกไปในทา่ ทถ่ี ูกต้องรจู้ กั จังหวะการวิง่ การบังคบั แหลนควรเรยี นร้ทู าความเข้าใจ และฝกึ ปฏิบตั อิ ยา่ งสมา่ เสมอ กรีฑาประเภทลานสามารถแบง่ ได้เป็น 2 ประเภท ประเภทละ 4 รายการ ดังน้ี 2.1 ประเภทกระโดด (Jumping Events) 2.1.1 กระโดดสูง (High Jump) 2.1.2 กระโดดไกล (Long Jump) 2.1.3 เขยง่ ก้าวกระโดด (Triple Jump) 2.1.4 กระโดดค้า (Pole Vault) 2.2 ประเภทขว้ำง (Throwing Events) 2.2.1 ทมุ่ ลกู น้าหนกั (Putting The Shot) 2.2.2 ขวา้ งจักร (Discus) 2.2.3 พุ่งแหลน (Javelin) 2.2.4 ขวา้ งค้อน (Hammer) 3. กรีฑำประเภทเดนิ (Walking Events) กรีฑาประเภทเดินเปน็ การแขง่ ขันท่ตี อ้ งใช้ทักษะการเดิน ซ่งึ สามารถจัดการแขง่ ขนั ได้ทั้ง ภายในสนามและบนถนน ประกอบดว้ ยการแข่งขนั เดินภายในสนาม ระยะทาง 10,000 เมตร และ 20,000 เมตร ส่วนการแข่งขนั เดินบนถนน ระยะทาง 20 กิโลเมตร และ 50 กโิ ลเมตร 4. กรีฑำประเภทถนน (Road Races) เปน็ การแขง่ ขันวิง่ บนถนน เส้นเรมิ่ และเส้นชัยอาจอย่ใู นสนามกรีฑาก็ได้ มี ระยะทาง มาตรฐานในการจดั การแข่งขันสาหรบั ชายและหญงิ ดังน้ี 4.1 วง่ิ 15 กิโลเมตร 4.2 วิ่ง 20 กโิ ลเมตร 4.3 ว่งิ ครึง่ มาราธอน (Half Marathon) 25 กิโลเมตรและ 30 กโิ ลเมตร 4.4 ว่ิงมาราธอน (Marathon) 42.195 กโิ ลเมตรและ 100 กโิ ลเมตร 5. กรีฑำประเภทว่งิ ข้ำมทุ่ง (Cross Country Races) กรฑี าประเภทว่งิ ข้ามทุง่ เป็นการว่ิงท่มี ักจดั ขึ้นในสวนสาธารณะขนาดใหญ่ หรอื นอกเมอื ง เสน้ ทางว่ิงจะเป็นสนามหญ้า เนนิ เขา ทางเดิน หรือท่งุ นาทไี่ ถแล้ว นกั ว่ิงอาจจะพบส่ิงกีดขวาง ต่างๆ ในธรรมชาติ ซึ่งในระดับนานาชาตมิ ีการจดั การแขง่ ขัน ดังนี้ 5.1 ประเภททมี แบ่งรายการแขง่ ขนั เปน็ ชาย ระยะทาง 12 กิโลเมตร เยาวชน ชาย ระยะทาง 8 กโิ ลเมตร หญิง ระยะทาง 6 กิโลเมตร เยาวชนหญิง ระยะทาง 4 กโิ ลเมตร

5.2 กำรวงิ่ ข้นึ เขำเปน็ สว่ นใหญ่ ทวั่ ไปชาย ระยะทาง 12 กโิ ลเมตร ระดบั ความ สูง 1,200 เมตร ท่ัวไปหญิง ระยะทาง 7 กิโลเมตร ระดบั ความสงู 550 เมตร เยาวชนชาย ระยะทาง 7 กิโลเมตร ระดบั ความสูง 550 เมตร ถ้าจุดปล่อยตวั และเสน้ ชัยอยใู่ นระดับเดยี วกัน ทั่วไปชาย ระยะทาง 12 กิโลเมตร ระดับความสงู 700 เมตร ทั่วไปหญิง ระยะทาง 7 กิโลเมตร ระดบั ความสูง 400 เมตร เยาวชนชาย ระยะทาง 7 กโิ ลเมตร ระดับความสูง 400 เมตร นอกจากการแขง่ ขนั ประเภทลแู่ ละลานแล้ว ยงั มกี ารแข่งขันประเภทรวมชายและรวมหญิง ซ่ึงผู้เลน่ คนหน่ึงๆ ตอ้ งแข่งขันทงั้ ประเภทลูแ่ ละลาน มีการแขง่ ขนั ดังต่อไปน้ี ทศกรฑี ำ เปน็ การแข่งขนั ประเภทรวมชาย ประกอบดว้ ยการแข่งขัน 10 ประเภท ซง่ึ ตอ้ งทาการแขง่ ขนั 2 วนั ติดตอ่ กันเรียงตามลาดับ ดังนี้ วันแรก – วิง่ 100 เมตร – กระโดดไกล – ทุ่มลูกน้าหนัก – กระโดดสงู – วิง่ 400 เมตร วนั ทสี่ อง – ว่งิ ข้ามรวั้ 110 เมตร – ขว้างจกั ร – กระโดดค้า – พุ่งแหลน – ว่ิง 1,500 เมตร สัตตกรีฑำ เป็นการแขง่ ขนั ประเภทรวมหญิง มกี ารแข่งขนั ทั้งหมด 7 ประเภท แข่งขัน 2 วนั ตดิ ตอ่ กัน ตามลาดับดงั น้ี วนั แรก – วง่ิ ข้ามรวั้ 100 เมตร – กระโดดสูง – ทุ่มลูกนา้ หนกั – วิง่ 200 เมตร วนั ที่สอง – กระโดดไกล – พุ่งแหลน – วง่ิ 800 เมตร

ประโยชนข์ องกรีฑำ – ประวตั ิกรฑี ำ การเลน่ กรีฑาเหมอื นกบั การเลน่ กีฬาชนดิ อนื่ ๆ ที่ผูเ้ ลน่ จะไดร้ ับประโยชน์จากการเล่น ดังนี้ มีอารมณ์ร่าเริง แจ่มใส กล้ามเนื้อสมบูรณ์แข็งแรง รูปร่างได้สัดส่วน มีบุคลิภาพที่ดี ร่างกาย แข็งแรง มีความต้านทานโรคดี เป็นวิธีช่วยลดไขมันในรา่ งกายได้ดีวิธหี น่ึง ระบบประสาททางานดี ข้ึน ทาให้นอนหลับสนิท ระบบการหายใจดีข้ึน ทรวงอกมีการขยายตัวมากข้ึน ระบบย่อยอาหาร และระบบการขับถา่ ยทางานได้ดีขึ้น รา่ งกายมคี วามอดทนต่อการทางาน ทาให้เหนื่อยช้าและหาย เหน่ือยเร็วขึ้นเส้นเลือดขยายตัวส่งผลให้การไหลเวียนเลือดดี ทาให้ร่างกายได้รับออกซิเจนอย่าง เพียงพอ มำรยำททดี่ ีในกำรเลน่ และชมกรีฑำ กรีฑาเหมือนกบั กีฬาชนิดอ่นื ๆตรงท่ี ผู้เลน่ ต้องมมี ารยาทในการเล่น และผ้ชู มต้องมี มารยาทในการชม เชน่ เดยี วกันนอกจากทาใหก้ ารแขง่ ขันดาเนินไปด้วยดแี ล้ว ยังเป็นการปลูกฝงั คุณธรรม ใหก้ บั ผเู้ ล่น และผชู้ มสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กบั การดารงชีวติ ในสงั คมได้เป็นอยา่ งดี ผู้ เลน่ และผชู้ มกรีฑาทด่ี จี ึงควรปฏบิ ัตติ น ดังนี้ 1) มำรยำทของผเู้ ลน่ ท่ดี ี ควรปฏบิ ตั ดิ งั นี้ แตง่ กายดว้ ยชุดทีเ่ หมาะสมกบั การลน่ กรฑี า มกี ิรยิ าวาจาสุภาพเรยี บร้อย มีใจ เออ้ื เฟื้อเผอ่ื แผ่ ชว่ ยเหลอื เพือ่ นร่วมทมี และผู้เลน่ ฝ่ายตรงข้าม เคารพเชอื่ ฟังและปฏบิ ตั ิตามคาส่ัง ของผู้สอน เคารพเช่ือฟังคาตัดสินของกรรมการผู้ตดั สนิ ตลอดเวลา ปฏิบัติตามกฎ กตกิ าอยา่ ง เครง่ ครัด ไม่แสดงกิรยิ าอาการไม่พอใจ หากเพ่อื นร่วมทมี เลน่ ผดิ พลาด เมอื่ ชนะหรอื แพ้ไม่ควร แสดงความดใี จหรือเสยี ใจจนเกินไป ก่อนและหลงั การแข่งขันควรแสดงความเปน็ มิตรกบั ผู้เล่นฝ่าย ตรงขา้ มด้วยการทักทายหรือจบั มือแสดงความยินดี ไม่ควรยมื อปุ กรณ์การเล่นของคนอ่นื มาใช้ ฝึกซอ้ ม 2) มำรยำทของผ้ชู มทดี่ ี ควรปฏบิ ตั ดิ งั น้ี ไม่กลา่ วถ้อยคาหรอื แสดงกริ ยิ าเยาะเยย้ ถากถางผเู้ ล่นทเี่ ลน่ ผดิ พลาด แสดงความยินดกี ับผู้ เลน่ ทีเ่ ล่นดี เช่น การปรบมอื เป็นต้น ไมก่ ระทาตวั เป็นผ้ตู ัดสินเสยี เอง เช่น ตะโกนแยง้ คาตัดสิน เป็นตน้ ไม่เชยี รใ์ นส่งิ ที่เป็นการสอ่ เสยี ดในทางไม่ดตี ่อผ้เู ลน่ ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด ไมก่ ระทาสิง่ ใด ๆ ท่ีทา ใหผ้ ูต้ ดิ สนิ หรอื เจา้ หน้าท่อี ื่น ๆ ปฏบิ ัติงานไม่สะดวก ไม่กระทาส่ิงใด ๆ อันเป็นการกีดขวางการเล่น ของผเู้ ล่น กระทาตนให้เป็นประโยชน์

บรรณำนกุ รม https://www.educatepark.com/story/history-of-running/(ONLINE)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook