รายงาน เร่อื ง เซปักตะกรอ้ เสนอ นางสาวกติ ติยา กิมาวหา โดย เดก็ ชาย....................................................ชน้ั ม.1 รายงานเลม่ น้ีเปน็ สว่ นหนงึ่ ของวชิ าพลศกึ ษา (เซปกั ตะกรอ้ ) กลุม่ สาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศกึ ษาภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์) สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3
คานา รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหน่ึงของรายวิชาพลศึกษา (เซปักตะกร้อ) ซึ่งได้รวบรวมประวัติ ตะกร้อ ประวัติตะกร้อในประเทศไทย วิวัฒนาการการเล่น กติกาตะกร้อไทยสมัยก่อน กติกา ตะกรอ้ ของมาเลเซยี ประวตั ิสมาคมตะกร้อแห่งประเทศไทย ประเภทของกฬี าตะกร้อ มารยาทใน การเลน่ ตะกรอ้ ที่ดี มารยาทของผชู้ มตะกรอ้ ทด่ี ี ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านไม่มากก็น้อย หากมี ขอ้ ผิดพลาดประการใดทางผจู้ ดั ทาต้องขออภัยมา ณ ทน่ี ด้ี ว้ ย เดก็ ชาย............................................ ผจู้ ัดทา
สารบญั หน้า เรื่อง ประวัติตะกร้อ ประวตั ิตะกรอ้ ในประเทศไทย ววิ ัฒนาการการเลน่ กตกิ าตะกรอ้ ไทยสมยั ก่อน กติกาตะกรอ้ ของมาเลเซีย ประวัติสมาคมตะกรอ้ แห่งประเทศไทย ประเภทของกฬี าตะกร้อ มารยาทในการเลน่ ตะกรอ้ ท่ีดี มารยาทของผ้ชู มตะกร้อทีด่ ี
ประวัตติ ะกร้อ ในการคน้ คว้าหาหลกั ฐานเกี่ยวกับแหลง่ กาเนิดการกฬี าตะกร้อในอดีตน้นั ยงั ไม่สามารถหา ขอ้ สรุปได้อย่างชัดเจนวา่ กฬี าตะกรอ้ น้ันกาเนดิ จากทใ่ี ดจากการสันนษิ ฐานคงจะไดห้ ลายเหตผุ ล ดังนี้ ประเทศพม่า เมอื่ ประมาณ พ.ศ. 2310 พม่ามาต้ังค่ายอยู่ทโ่ี พธ์ิสามต้น กเ็ ลยเลน่ กีฬา ตะกร้อกัน ซึ่งทางพมา่ เรียกว่า “ชิงลง” ทางมาเลเซยี ก็ประกาศวา่ ตะกร้อเป็นกีฬาของประเทศมาลายูเดมิ เรียกว่า ซปี กั รากา (Sepak Raga) คาวา่ Raga หมายถงึ ตะกรา้ ทางฟิลปิ ปนิ ส์ กน็ ิยมเลน่ กันมานานแลว้ แตเ่ รยี กวา่ Sipak ทางประเทศจนี กม็ กี ฬี าทคี่ ล้ายกฬี าตะกร้อแตเ่ ป็นการเตะตะกรอ้ ชนดิ ท่ีเป็นลกู หนงั ปกั ขน ไก่ ซง่ึ จะศึกษาจากภาพเขียนและพงศาวดารจีน ชาวจีนกวางตุ้งท่ีเดนิ ทางไปตั้งรกรากในอเมรกิ าได้ นาการเลน่ ตะกร้อขนไก่น้ีไปเผยแพร่ แต่เรียกว่าเตกโก (Tek K’au) ซ่งึ หมายถึงการเตะลูกขนไก่ ประเทศเกาหลี ก็มีลักษณะคล้ายกับของจีน แตล่ ักษณะของลูกตะกร้อแตกต่างไป คือใช้ดนิ เหนียว หอ่ ด้วยผา้ สาลเี อาหางไกฟ่ ้าปัก ประเทศไทยกน็ ิยมเลน่ กฬี าตะกรอ้ มายาวนาน และประยุกต์จนเขา้ กับประเพณีของชน ชาตไิ ทยอย่างกลมกลนื และสวยงามทง้ั ด้านทกั ษะและความคิด ประวัติตะกร้อในประเทศไทย ในสมยั โบราณนนั้ ประเทศไทยเรามกี ฎหมายและวิธีการลงโทษผู้กระทาความผดิ โดยการ นาเอานกั โทษใสล่ งไปในสิง่ กลมๆท่สี านด้วยหวายให้ช้างเตะ แต่ส่ิงท่ีช่วยสนับสนุนประวตั ขิ อง ตะกร้อไดด้ ี คือ ในพระราชนพิ นธ์เรือ่ งอเิ หนาของรัชกาลที่ 2 ในเรื่องมีบางตอนทกี่ ล่าวถึงการเลน่ ตะกรอ้ และท่รี ะเบยี งพระอโุ บสถวัดพระศรีรตั นศาสดาราม ซง่ึ เขยี นเรอ่ื งรามเกยี รติ์ ก็มภี าพการ เล่นตะกร้อแสดงไวใ้ ห้อนุชนรนุ่ หลงั ไดร้ บั รู้ โดยภูมิศาสตรข์ องไทยเองก็สง่ เสรมิ สนับสนุนใหเ้ ราได้ ทราบประวัตขิ องตะกร้อ คอื ประเทศของเราอุดมไปด้วยไมไ้ ผ่ หวายคนไทยนิยมนาเอาหวายมา สานเป็นสงิ่ ของเครอ่ื งใช้ รวมถงึ การละเล่นพื้นบา้ นดว้ ย อกี ทัง้ ประเภทของกีฬาตะกร้อในประเทศ ไทยก็มหี ลายประเภท เช่น ตะกร้อวง ตะกร้อลอดหว่ ง ตะกรอ้ ชงิ ธงและการแสดงตะกร้อพลกิ แพลงต่างๆ ซ่ึงการเลน่ ตะกรอ้ ของประเทศอื่นๆนน้ั มีการเล่นไม่หลายแบบหลายวิธีเชน่ ของไทยเรา การเลน่ ตะกรอ้ มีววิ ฒั นาการอย่างต่อเนอื่ งมาตามลาดับทง้ั ด้านรปู แบบและวัตถดุ บิ ในการทาจาก สมัยแรกเปน็ ผ้า , หนงั สัตว์ , หวาย , จนถึงประเภทสังเคราะห์ ( พลาสตกิ ) ความหมาย คาว่าตะกรอ้ ตามพจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ สถาน พ . ศ . 2525 ไดใ้ หค้ าจากัด ความเอาไวว้ ่า” ลกู กลมสานดว้ ยหวายเปน็ ตา สาหรับเตะ”
ววิ ฒั นาการการเลน่ การเล่นตะกร้อไดม้ ีวิวัฒนาการในการเล่นมาอยา่ งต่อเน่ือง ในสมยั แรกๆ ก็เป็นเพียงการ ชว่ ยกนั เตะลกู ไมใ่ ห้ตกถึงพ้ืนต่อมาเม่ือเกิดความชานาญและหลกี หนีความจาเจ ก็คงมีการเรมิ่ เล่น ด้วยศรี ษะ เข่า ศอก ไหล่ มีการจัดเพิ่มท่าให้ยากและสวยงามข้นึ ตามลาดับ จากน้ันกต็ กลงวาง กตกิ าการเลน่ โดยเอ้ืออานวยต่อผู้เล่นเป็นส่วนรวม อาจแตกตา่ งไปตามสภาพภมู ปิ ระเทศของแตล่ ะ พ้นื ท่ี แตค่ งมีความใกล้เคยี งกนั มากพอสมควร กตกิ าตะกร้อไทยสมัยก่อน เรยี กวา่ ตะกรอ้ ขา้ มตาข่าย สาระสาคัญของกติกาพอสังเขป ดังน้ี 1. สนามแขง่ ขันและตาข่ายคล้ายกันกับ กฬี าแบดมินตนั (ความยาวสนามส้ันกวา่ ) 2. จานวนผเู้ ลน่ และคะแนนการแข่งขัน 2.1 การเลน่ 3 คน แต่ละเซท จบเกมที่ 21 คะแนน (แขง่ ขัน 2 ใน 3 เซท) 2.2 การเลน่ 2 คน (ค่)ู แตล่ ะเซท จบเกมที่ 15 คะแนน (แข่งขนั 2 ใน 3 เซท) 2.3 การเลน่ 1 คน (เดี่ยว) แต่ละเซท จบเกมที่ 11 คะแนน (แข่งขัน 2 ใน 3 เซท) 3. ผเู้ ล่นแต่ละคน-แตล่ ะทมี สามารถเลน่ ได้ไม่เกิน 2 ครงั้ (2 จงั หวะ) 4. ผเู้ ลน่ แต่ละคน-แตล่ ะทมี ชว่ ยกันไมไ่ ด้ หากผู้ใดถูกลูกตะกรอ้ จงั หวะแรก ผู้น้ันต้องเลน่ ลูกใหข้ ้ามตาข่ายต่อไป 5. การเสิร์ฟ แตล่ ะคนต้องโยนและเตะลกู ด้วยตนเองตามลาดับกบั มอื ซึ่งเรยี กว่ามอื 1, มือ 2 และมือ 3 มลี กู สัน้ -ลกู ยาว กติกาตะกร้อของมาเลเซีย เล่นแบบ ขา้ มตาขา่ ย เช่นเดียวกัน ซง่ึ เรยี กว่า เซปัก รากา จาริง ดังท่กี ล่าวมาแล้ววา่ ดัดแปลงการเล่นมาจาก กฬี าวอลเลย์บอล โดยมีนกั กีฬาฝา่ ยละ 3 คน แตล่ ะคนสามารถเล่นลกู ตะกร้อไดค้ นละ ไมเ่ กิน 3 ครั้ง/จังหวะ และสามารถช่วยกันได้ ตอ้ งให้ลกู ตะกรอ้ ขา้ มตาขา่ ย ซึ่ง เมื่อก่อน เซปกั รากา จารงิ แตล่ ะเซทจบเกมที่ 15 คะแนน แข่งขนั 2 ใน 3 เซท เช่นเดียวกนั การ สาธิตกฬี าตะกร้อระหวา่ งไทย กับ มาเลเซีย วันแรก เลน่ กตกิ าของไทย ปรากฏว่าไทยชนะดว้ ย 21 ต่อ 0 คะแนน นักกีฬาไทย ประกอบด้วย 1. จ.ส.ต.เจริญ ศรจี ามร 2. ร.อ.จาเนยี ร แสงสม 3. นายชาญ ธรรมวงษ์ (ซ่ึงทงั้ 3 คนได้เสียชวี ิตแล้ว) วนั ท่ีสอง เล่นกติกาของมาเลเซีย ปรากฏว่ามาเลเซีย ชนะด้วย 15 ตอ่ 1 คะแนน นกั กฬี า ไทยประกอบดว้ ย 1. ส.อ.สวัลย์ วงศ์พิพัฒน์ 2. นายประเสริฐ น่ิมงามศรี 3. นายสาเริง หวังวชิ า (ซึง่ ทงั้ 3 คนไดเ้ สยี ชีวติ แล้ว)
จากผลของการสาธติ แสดงให้เห็นวา่ ต่างฝ่ายต่างถนัดหรอื มีความสามารถการเลน่ ในกตกิ า ของตน จึงไดม้ ีการประชมุ พิจารณารว่ มกัน กาหนดกติกาการเล่นตะกร้อขนึ้ ใหม่ เพือ่ นาเสนอเขา้ แข่งขันใน กฬี าเซียพเกมส์ ตอ่ ไป ข้อตกลงสรปุ ไดด้ งั นี้ – วธิ กี ารเลน่ และรูปแบบสนามแข่งขนั ใหถ้ ือเอารปู แบบของประเทศ มาเลเซีย – อุปกรณก์ ารแขง่ ขนั (ลกู ตะกรอ้ -เน็ต) และขนาดความสงู ของเน็ต ใหถ้ ือเอารูปแบบของ ประเทศไทย ประวัตสิ มาคมตะกร้อแหง่ ประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2524 คณะกรรมการบรหิ ารสมาคมกฬี าไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้มมี ติ และอนุมัตใิ ห้ พ.อ.(พิเศษ) เดชา กุลบตุ ร ขณะทท่ี ่านเปน็ เลขาธกิ ารสมาคมกฬี าไทยในพระบรม ราชูปถัมภ์ และกรรมการบรหิ ารสมาคมกฬี าไทยกลุ่มหนงึ่ ไปกอ่ ตง้ั และขอจดทะเบยี นตงั้ สมาคม ขึน้ มาอกี 1 สมาคม เพอ่ื บรหิ ารกจิ กรรมกฬี าตะกรอ้ โดยเฉพาะ ใช้ชอ่ื ว่า สมาคมตะกรอ้ โดยทา การยนื่ ขอจดทะเบยี นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 ในขณะท่ีกาลงั ดาเนินการจดทะเบียน ทปี่ ระชุมได้มมี ติ ให้ พ.อ.(พิเศษ) เดชา กุลบุตร รกั ษาการเปน็ นายกสมาคมตะกรอ้ โดยมนี ายนพชยั วุฒิกมลชยั ผ้ทู าหน้าทีเ่ ปน็ เลขาธิการสมาคมฯ ตอ่ มาเม่ือวนั ท่ี 17 เมษายน 2526 สมาคมได้รบั ใบอนญุ าต จดั ตัง้ สมาคม ตามเลขทอ่ี นุญาต ท่ี ต.204/2526 เลขคาขอท่ี 204/2526 โดยมวี ัตถุประสงคเ์ พอื่ 1. เป็นการสง่ เสริมความสัมพันธ์ไมตรรี ะหวา่ งประเทศให้ดยี ่ิงขึ้น 2. เป็นการสง่ เสริม และสนับสนนุ กฬี าตะกรอ้ ให้แพร่หลายยงิ่ ข้ึน 3. จดั การแข่งขันภายในประเทศ และนอกประเทศ 4. เผยแพร่ใหเ้ ยาวชน สถาบันการศึกษา โรงเรียน และรัฐวิสาหกิจ ให้มกี ารแข่งขันมากขึ้น 5. จดั ให้มกี ารควบคุมใหอ้ ยู่ในขอบขา่ ย และจดั ให้มีการแข่งขันในระดบั ต่างๆ มากย่ิงขึ้น 6. ตัง้ ศนู ย์อบรม เผยแพร่ให้แก่เยาวชน และประชาชนทั่วไป 7. ไม่เกยี่ วขอ้ งกับการเมือง มที ี่ตั้งสานกั งานแหง่ ใหญ่ ณ เลขท่ี 179 ซอยเจริญพร ถนนประดพิ ทั ธ์ แขวงสามเสนใน เขตพญา ไท กรุงเทพมหานคร ต่อมาเมอ่ื วันท่ี 20 สงิ หาคม 2526 พ.อ.(พิเศษ) เดชา กลุ บตุ ร และ คณะกรรมการบริหาร (ชุดรักษาการ) และสโมสรสมาชิกในขณะน้นั ได้มีการประชมุ ใหญ่สามัญ โดยมีวาระท่สี าคญั คือใหม้ กี ารเลอื กตั้งคณะกรรมการบริหารชุดใหม่ เม่ือถงึ วาระสาคญั พ.อ. (พเิ ศษ) เดชา กุลบุตร ทา่ นไดแ้ จ้งใหท้ ่ปี ระชุมทราบวา่ ท่านภมู ิใจในการที่ไดร้ ่วมกนั ก่อตั้งสมาคมฯ นขี้ ้ึนมา แตข่ ณะนท้ี ่านไดช้ รามากแล้ว จึงเห็นควรท่ีจะมอบหมายหรอื เลอื กต้ังบคุ คลอน่ื มาทา หน้าท่ีแทนทา่ น และทา่ นไดเ้ ปน็ ผูเ้ สนอชอื่ พ.อ. จารกึ อารรี าชการัณย์ (ยศในขณะน้นั ) เป็นนายก สมาคมฯ ดว้ ยตัวทา่ นเอง ทีป่ ระชุมไม่มผี ใู้ ดคัดคา้ นเหน็ ชอบตามเสนอ พ.อ. จารกึ อารีราชการัณย์ จงึ ไดร้ ับตาแหน่งนายกสมาคมตะกร้อแห่งประเทศไทย มาตง้ั แต่บัดน้นั จนถงึ ปจั จุบนั
ประเภทของกีฬาตะกรอ้ 1. เซปกั ตะกรอ้ การแข่งขันตะกรอ้ ในระดับนานาชาติ เรียกเกมกีฬาชนิดน้ีว่าเซปกั ตะกร้อ โดยเปน็ การแขง่ ขนั ของผ้เู ลน่ 2 ทมี ทาการโตล้ ูกตะกร้อข้ามตาข่ายเพอื่ ใหล้ งในแดนของคู่ต่อสู้ กติกา เซปกั ตะกร้อ สาหรบั การรบั ชม โดยสงั เขป ผเู้ ล่น ประเภทเดี่ยว มีผูเ้ ลน่ ตัวจรงิ 3 คน สารอง 1 คน ประเภททมี ประกอบดว้ ย 3 ทมี มี ผ้เู ลน่ 9 คน และผู้เลน่ สารอง 3 คน เมอื่ เร่ิมเล่นทั้ง 2 ทีมพรอ้ มในแดนของตนเอง ผเู้ ลน่ ฝ่ายเสิร์ฟจะตอ้ งอยใู่ นวงกลมของ ตนเอง เมอื่ เสริ ์ฟแลว้ จึงเคล่ือนท่ไี ด้ สว่ นผเู้ ล่นฝา่ ยรับจะยืนที่ใดกไ็ ด้ เสิรฟ์ ลูกสมั ผัสเนต็ ไมถ่ ือว่าฟาลว์ แต่จะเสียคะแนนถา้ ลูกไม่ข้ามไปฝั่งตรงข้าม หรือขา้ ม และลกู ออก หลงั จากทเี่ สริ ฟ์ แลว้ ฝ่ายรบั จะมโี อกาสเล่นบอลไดไ้ ม่เกิน 3 คร้ัง โดยมีเปา้ หมายเพอื่ ส่งลูก กลบั มาอกี ฝงั่ และพยายามใหล้ งสัมผัสกับพนื้ ทสี่ นามของฝา่ ยตรงข้ามให้ได้ โดยเกมจะ แบ่งเปน็ กรณีดังตอ่ ไปนี้ กรณที ี่ ฝ่ายเสริ ฟ์ จะได้คะแนน – เสริ ์ฟลงสัมผสั กบั พ้นื สนามของฝ่ายรับ – เสิร์ฟลูกโดนตาขา่ ย แต่ลกู พลิกไปลงสมั ผัสกบั พื้นสนามของฝ่ายรับ – เสิร์ฟลูกแลว้ ฝ่ายรับสมั ผัสบอลแลว้ บอลตกในฝัง่ ของฝา่ ยรับเอง หรอื สมั ผสั แล้วทาลกู สมั ผสั พืน้ ในส่วนนอกสนาม – เสริ ์ฟลูกแล้วฝ่ายรบั เลน่ บอลเกนิ 3 คร้ัง – เสริ ์ฟลูกแล้วฝ่ายรับเลน่ บอลไม่เกิน 3 คร้ัง แต่ไม่สามารถส่งลกู ไปยังสนามของฝ่ายตรงขา้ มได้ ไม่ ว่าจะเปน็ ติดตาขา่ ย ทาลกู หลน่ สมั ผสั พืน้ ในแดนตนเอง หรอื ส่งขา้ มไปแลว้ ลกู สัมผสั พนื้ นอกพ้นื ท่ี การเลน่ กรณที ่ี ฝา่ ยรับจะไดค้ ะแนน – ฝ่ายเสิร์ฟ เสิร์ฟติดตาข่าย และลูกไมข่ ้ามมาลงพืน้ ทส่ี นามของฝ่ายรับ หรอื เสิร์ฟออก – ฝ่ายรับสามารถเตะบอลลงสัมผัสพนื้ สนามของฝา่ ยเสิร์ฟได้ – ฝ่ายรับเตะบอลสมั ผสั ถูกผู้เลน่ ของฝ่ายเสิร์ฟ และลูกตกสัมผัสพ้นื ในแดนของฝ่ายเสริ ์ฟ – ฝ่ายรับเตะบอลสมั ผัสถูกผเู้ ลน่ ของฝ่ายเสริ ์ฟ และลกู สมั ผัสพน้ื ทนี่ อกสนาม – ฝ่ายเสิรฟ์ สัมผสั ถูกตาข่ายระหว่างการเล่น
หากฝา่ ยรบั เล่นบอลส่งไปฝั่งตรงข้ามและฝ่ายเสิร์ฟรบั ได้ ให้ใช้กฎเดียวกันคอื ฝา่ ยเสิร์ฟมี โอกาสเลน่ บอลไดไ้ ม่เกนิ 3 ครั้ง เพื่อส่งลกู กลบั ไป เกมจะดาเนนิ ไปจนกว่าจะมฝี ั่งใดได้ คะแนน อนุญาตให้ฝ่ายทีไ่ ม่ไดเ้ ล่นบอล กระโดดบลอ็ กการเลน่ ทไ่ี ม่ใชล่ ูกเสิรฟ์ ได้ ฝ่ายที่ไดค้ ะแนนจะเปน็ ผู้ได้สิทธ์ิในการเสิรฟ์ การแข่งขันใชแ้ บบ 2 ใน 3 เซต ในเซตที่ 1 และเซตที่ 2 จะมีคะแนนสูงสดุ 15 คะแนน ทีม ใดได้ 15 คะแนนก่อน จะเปน็ ผู้ชนะในเซตน้ันๆ ทั้ง 2 เซต จะไมม่ ีดิวส์ หากทั้งสองทีมได้ 13 ก่อน หรือ 14 เท่ากนั พักระหว่างเซต 2 นาที ถ้าเสมอกนั 1:1 เซต ให้ทาการแข่งขนั เซตท่ี 3 ด้วยไทเบรก โดยเริม่ ด้วยการเสี่ยงใหม่ โดยใชค้ ะแนน 6 คะแนน ทมี ใดได้ 6 คะแนนก่อนเปน็ ผ้ชู นะ แตจ่ ะต้องแพ้ชนะอย่างนอ้ ย 2 คะแนน ถ้ายังไมแ่ พ้กันไมน่ ้อยกว่า 2 คะแนน กใ็ ห้ทาการแข่งขนั อีก 2 คะแนน แตไ่ ม่เกิน 8 คะแนน เชน่ 8:6 หรือ 8:7 ถอื เปน็ การยตุ ิการแขง่ ขันระบบไทเบรก เมื่อฝ่ายใดก็ตามได้ 3 คะแนน และขอเวลานอกไดเ้ ซ ตละ 1 คร้ัง คร้งั ละ 1 นาที สาหรับไทเบรก ขอเวลาได้ 1 คร้ัง ครั้งละ 30 วนิ าที 2. ตะกร้อทเ่ี ล่นเป็นทีมโดยไมม่ ีฝา่ ยตรงข้าม เช่น ตะกรอ้ วง | ผู้เลน่ จะลอ้ มเปน็ วง ผู้ เริม่ ตน้ จะใชเ้ ท้าเตะลูกตะกร้อไปให้อีกผ้รู ับหนึ่ง ผรู้ ับจะตอ้ งมคี วามวอ่ งไวในการใช้เท้ารบั และเตะ สง่ ไปยังอกี ผู้หน่งึ จึงเรียกวธิ เี ล่นนว้ี า่ “เตะตะกรอ้ ” ความสนุกอยทู่ ก่ี ารหลอกลอ่ ทจ่ี ะเตะไปยงั ผู้ใด ถา้ ผู้เตะทัง้ วงมคี วามสามารถเสมอกนั จะโยนและรบั ไมใ่ หต้ ะกร้อถงึ พืน้ ไดเ้ ปน็ เวลานานมาก กลา่ ว กนั วา่ ทั้งวนั หรือทั้งคืนก็ยังมี แต่ผูเ้ ลน่ ยงั ไมช่ านาญกโ็ ยนรับได้ไม่กี่คร้ัง ลกู ตะกร้อกต็ กถงึ พ้ืน 3. การติดตะกรอ้ (เล่นเด่ยี ว) เป็นศลิ ปะการเลน่ ตะกรอ้ คอื เตะตะกรอ้ ให้ไปติดอย่ทู ส่ี ่วน ใดสว่ นหนงึ่ ของร่างกาย และต้องถว่ งน้าหนกั ใหอ้ ยู่นาน แลว้ ใชอ้ วัยวะส่วนนัน้ สง่ ไปยงั ส่วนอืน่ โดย ไมใ่ ห้ตกถงึ พน้ื เชน่ การตดิ ตะกรอ้ ท่ีหลงั มอื ข้อศอก หนา้ ผาก จมูก เป็นตน้ ผู้เล่นต้องฝึกฝนอยา่ ง มาก 4. ตะกร้อติดบว่ ง การเตะตะกรอ้ ตดิ บว่ ง ใช้บว่ งกลมๆแขวนไวใ้ หส้ งู สุด แตผ่ ู้เลน่ จะ สามารถเตะใหล้ อดบว่ งไปยงั ผอู้ น่ื ได้ กล่าวกันว่าบ่วงที่เลน่ เคยสูงสดุ ถึง 7 เมตร และย่ิงเข้าบว่ ง จานวนมากเทา่ ไรย่ิงแสดงถึงความสามารถ ถือเป็นการฝกึ ฝนได้ดี มารยาทในการเลน่ ตะกร้อที่ดี การเล่นกีฬาทุกชนดิ ผ้เู ล่นจะต้องมมี ารยาทในการเล่นและการแข่งขนั ประพฤตปิ ฏบิ ัตติ น ใหเ้ ป็นไปตามขั้นตอนของการเลน่ กฬี าแต่ละประเภท จึงจะนับว่าเป็นผเู้ ล่นท่ีดีและมีมารยาท ผูเ้ ลน่ ควรต้องมมี ารยาทดงั น้ี คอื
1. การแสดงความยนิ ดี ชมเชยดว้ ยการปรบมือหรอื จับมือเมอ่ื เพอื่ นเล่นไดด้ ี แสดงความเสียใจ เม่ือตนเอง หรอื เพือ่ นรว่ มทีมเลน่ ผิดพลาดและพยามปลอบใจเพ่ือน ตลอดจนปรบั ปรงุ การ เลน่ ของตวั เองให้ดขี ้นึ 2. การเลน่ อยา่ งสุภาพและเลน่ อยา่ งนกั กฬี า การแสดงกริ ิยาทา่ ทางการเลน่ ต้องใหเ้ หมาะสม กบั การเปน็ นกั กีฬาท่ดี ี 3. ผเู้ ลน่ ทด่ี ีต้องไมห่ ยิบอุปกรณข์ องผู้อ่ืนมาเล่นโดยพลการ 4. ไม่ว่าจะชนะหรือแพ้ต้องไมแ่ สดงอาการดใี จหรือเสยี ใจจนเกินไป 5. ผู้เล่นต้องเชื่อฟงั คาตัดสนิ ของกรรมการ หากไมพ่ อใจคาตัดสินก็ยืน่ ประท้วงตามกติกา 6. ผเู้ ลน่ ต้องควบคุมอารมณใ์ ห้สุขมุ อยูต่ ลอดเวลา 7. ก่อนการแข่งขนั หรอื หลังการแข่งขัน ไม่ว่าจะเปน็ ฝา่ ยแพห้ รือชนะก็ตาม ควรจะตอ้ งจับมือ แสดงความยนิ ดี 8. หากมีการเล่นผิดพลาด จะต้องกลา่ วคาขอโทษทนั ทีและต้องกลา่ วใหอ้ ภยั เมือ่ ฝ่ายตรงข้าม กลา่ วขอโทษด้วยความยม้ิ แยม้ แจ่มใส 9. ต้องแตง่ กายรัดกุม สุภาพ ถูกต้องตามกตกิ าท่กี าหนดไว้ 10. ไม่สง่ เสียงเอะอะในขณะเล่นหรือแข่งขันจนทาใหผ้ เู้ ลน่ อื่นเกดิ ความราคาญ 11. ต้องปฏิบตั ิตามกฎข้อบังคับตามกติกาอย่างเครง่ ครัด 12. มคี วามอดทนตอ่ การฝึกซอ้ มและการเล่น 13. หลงั จากฝกึ ซ้อมแล้วต้องเกบ็ อปุ กรณใ์ หเ้ รียบรอ้ ย 14. เล่นและแขง่ ขันด้วยชัน้ เชิงของนกั กฬี า รแู้ พ้ รชู้ นะ รูอ้ ภยั ในการเลน่ กฬี า มารยาทของผู้ชมตะกร้อท่ีดี 1. ปรบมอื ใหน้ ักกฬี าและผูต้ ัดสนิ เมอ่ื เขาดินลงสนาม 2. ปรบมอื แสดงความยินดีเมอื่ ผู้เล่นเล่นไดด้ ี หรือชนะการแข่งขัน 3. น่งั ชมดว้ ยความสงบเรียบร้อยไม่สง่ เสยี งเอะอะ 4. ไมแ่ สดงทา่ ทางยัว่ ยใุ ห้ผเู้ ล่นขาดสมาธิ 5. ไมใ่ ชเ้ สยี งเพลงท่มี ีเนอื้ หาหยาบคาย สรา้ งความแตกแยก 6. อย่าแสดงกริ ยิ าไม่สุภาพหรอื ใช้วัสดุส่ิงของขว้างปาลงสนาม นกั กีฬา หรือกรรมการ 7. ผู้ดตู อ้ งยอมรับการตัดสนิ ของผ้ตู ัดสิน 8. ไมส่ ง่ เสยี งโห่รอ้ งหรือแสดงกริ ิยาเย้ยหยนั เม่ือผเู้ ล่นเลน่ ผดิ พลาดหรอื ผู้ตดั สนิ ผิดพลาด 9. ผดู้ ูควรเรยี นรูก้ ติกาการแข่งขันกีฬาชนิดนั้นๆ พอสมควร 10. ให้ความรว่ มมือกบั เจ้าหน้าที่ เม่อื เกดิ เหตกุ ารณว์ นุ่ วายขึน้ ในสนามแข่งขัน 11. สนบั สนุนให้กาลังใจและให้เกยี รตนิ กั กีฬาทกุ ประเภทเพื่อเป็นการส่งเสริมการกฬี าของชาติ
บรรณานุกรม https://www.educatepark.com/story/history-of-sepak-takraw/ (5 กนั ยายน 2564)
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: