Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ม.3 ปีการศึกษา 2565

รายงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ม.3 ปีการศึกษา 2565

Published by Teacher Ya Channel, 2023-04-11 14:49:52

Description: รายงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ม.3 ปีการศึกษา 2565
โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)

Keywords: ประกันคุณภาพภายใน

Search

Read the Text Version

รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกันคณุ ภาพการศึกษา ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ประจาปีการศกึ ษา 2565 นางสาวกิตตยิ า กมิ าวหา ตาแหนง่ ครู ค.ศ.2 โรงเรยี นบ้านพลวง (พรหมบารงุ ราษฎร์) สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทรเ์ ขต 3 สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกนั คุณภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร)์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2565

บันทึกขอ้ ความ สว่ นราชการ โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบารุงราษฎร)์ ต.บา้ นพลวง อ.ปราสาท จ.สรุ นิ ทร์ ท่ี พิเศษ/2566 วนั ที่ 31 มีนาคม 2566 เรื่อง รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา เพ่อื การประกนั คุณภาพการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 ประจาปีการศกึ ษา 2565 เรยี น ผอู้ ำนวยกำรโรงเรยี นบ้ำนพลวง(พรหมบำรงุ รำษฎร)์ ด้วยข้ำพเจ้ำ นำงสำวกิตติยำ กิมำวหำ ตำแหน่ง ครู วิทยฐำนะ ครูชำนำญกำร ได้รับมอบหมำย ให้ปฏิบัติรำชกำรงำนสอนและงำนพิเศษอ่ืนๆ ใน ปีกำรศึกษำ 256๕ และรำยงำนผลกำรประเมินคุณภำพ ภำยในสถำนศึกษำรำยห้องเรียน เพ่ือกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำตำมกฎกระทรวง กำรประกันคุณภำพ กำรศึกษำพ.ศ. 2561 ข้อ 3 ระบุให้สถำนศึกษำจัดส่งรำยงำนผลกำรประเมินตนเองให้แก่หน่วยงำนต้นสังกดั หรอื หน่วยงำนท่กี ำกับดูแลสถำนศึกษำเป็นประจำทกุ ปเี พ่ือรำยงำนผลกำรดำเนินงำนตำมมำตรฐำนกำรศึกษำที่ สะทอ้ นผลกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ ซ่งึ เปน็ ผลสำเร็จจำกกำรบริหำรจัดกำรศึกษำที่สอดคล้องกับมำตรฐำน กำรศึกษำในระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน 3 มำตรฐำน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการบริหารและการ จดั การ และ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั รำยงำนนี้ โรงเรียนสำมำรถนำผลกำรดำเนินงำนไปจัดทำกำรประเมินคุณภำพภำยในสถำนศึกษำ ระดับสถำนศึกษำ และสรุปรำยงำนให้ผู้บังคับบัญชำตำมลำดับสำยงำน ตลอดจนเผยแพร่ให้กับผู้ปกครอง นักเรียน ชุมชนในสังคมได้ทรำบผลกำรปฏิบัติงำนของบุคลำกร โรงเรียนบ้ำนพลวง(พรหมบำรุงรำษฎร์) สำนกั งำนเขตพนื้ ท่ีกำรศกึ ษำประถมศกึ ษำสุรินทร์ เขต 3 จงึ เรยี นมำเพื่อทรำบ ลงช่อื ............................................... ( นำงสำวกติ ตยิ ำ กิมำวหำ ) ตำแหนง่ ครู วิทยฐำนะ ครชู ำนำญกำร ความคดิ เหน็ ของรองผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์) ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................. (นำงสำวสรุ ตั ยำ ลลี ะพัฒน)์ ตำแหน่ง รองผู้อำนวยกำรโรงเรียนบำ้ นพลวง(พรหมบำรงุ รำษฎร)์

ความคิดเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์) .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ................................................. (นำยศกั ดิ์ชัย เลศิ อรณุ รตั น์) ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยกำรโรงเรียนบำ้ นพลวง(พรหมบำรุงรำษฎร์)

คานา รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา จัดทาข้ึนตาม กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ระบุให้สถานศึกษาจัดส่งรายงานผลการ ประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกากับดูแลสถานศึกษาเป็นประจาทุกปี เพื่อรายงานผล การดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาที่สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นผลสาเร็จจากการ บริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรียนกระบวนการบริหาร และการจัดการกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคญั รายงานน้ี โรงเรียนสามารถนาผลการดาเนินงานไปจัดทาการประเมินคุณภาพภายในและสรุป รายงานให้ผู้บังคับบัญชาตามลาดับสายงาน ตลอดจนเผยแพร่ให้กับผู้ปกครอง นักเรียน ชุมชนในสังคมได้ ทราบผลการปฏิบัติงานของบุคลากร โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารุงราษฎร์) สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 3 ข้อมูลท่ีได้จากการรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพ การศึกษาในคร้ังนี้ ข้าพเจ้าจะได้นาไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงเพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานที่ได้รับ มอบหมาย เพอ่ื ส่งเสริมและพฒั นาศักยภาพของผู้เรียนใหส้ ูงข้นึ ในทุก ๆ ด้านต่อไป กิตติยา กมิ าวหา 31 มนี าคม 2566 รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่อื การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร)์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2565

สารบญั หนา้ เร่ือง 1 3 มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พ.ศ. 2561 มจี านวน 3 มาตรฐาน 3 สรปุ ผลการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาในรอบปี 3 14 สรปุ ผลการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในรอบปีสาหรับครูผู้สอน 24 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้เู รียน 33 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา 34 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ 35 สรุปผลการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาภาพรวม 48 แบบประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานเพ่ือการประกันคณุ ภาพภายในรายห้องเรียน 52 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้เู รียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั ภาคผนวก เอกสารที่เกี่ยวข้อง รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา เพ่ือการประกนั คุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์)ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565

1 มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน แนบท้ายประกาศโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารุงราษฎร์) เร่อื ง ให้ใช้มาตรฐานการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน เพือ่ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันที่ 31 สงิ หาคม พ.ศ. 2561 มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. 2561 มจี านวน 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รียน 1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผ้เู รียนเป็นสาคญั แตล่ ะมาตรฐานมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผูเ้ รียน 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่ือสาร และการคิดคานวณ 2) มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลยี่ น ความคดิ เหน็ และแก้ปัญหา 3) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม 4) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร 5) มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา 6) มคี วามรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ 1.2 คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผเู้ รียน 1) การมีคุณลกั ษณะและคา่ นิยมท่ีดีตามที่สถานศึกษากาหนด 2) ความภูมใิ จในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย 3) การยอมรบั ที่จะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย 4) สขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสงั คม รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา เพ่ือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์)ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2565

2 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 2.1 มีเปา้ หมายวสิ ยั ทัศน์และพนั ธกิจที่สถานศึกษากาหนดชดั เจน 2.2 มีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา 2.3 ดาเนนิ งานพัฒนาวิชาการทเ่ี น้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศึกษา และทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย 2.4 พฒั นาครูและบุคลากรให้มีความเชีย่ วชาญทางวิชาชพี 2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี ออ้ื ตอ่ การจดั การเรียนรอู้ ย่างมคี ุณภาพ 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการจัดการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั 3.1 จดั การเรียนร้ผู ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตได้ 3.2 ใช้ส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่เี อื้อต่อการเรียนรู้ 3.3 มกี ารบรหิ ารจดั การชั้นเรียนเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพฒั นาผู้เรียน 3.5 มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้และใหข้ ้อมูลสะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู้ รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่ือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์)ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2565

3 สรุปผลการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในรอบปีการศึกษา 2565 ตามมาตรฐานการศึกษา สรุปผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรอบปี สาหรับครูผู้สอน คาช้ีแจง 1. ศึกษาเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษาของโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์) มาตรฐานท่ี 1-3 2. มาตรฐานท่ี 1-3 ประเมินผลแล้วจะไดผ้ ลระดับคุณภาพตวั บ่งชี้/มาตรฐาน แล้วทาเคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ งระดับคุณภาพ 3. เกณฑ์การตดั สิน 5 หมายถึง มีผลการปฏิบตั อิ ยูใ่ นระดบั ยอดเย่ียม 4 หมายถึง มีผลการปฏิบัตอิ ยใู่ นระดับดีเลศิ 3 หมายถงึ มผี ลการปฏิบัติอย่ใู นระดับดี 2 หมายถึง มีผลการปฏิบัติอยูใ่ นระดับปานกลาง 1 หมายถงึ มีผลการปฏิบตั ิอยใู่ นระดับกาลังพฒั นา มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน ระดบั คุณภาพตัวบ่งชี้/ ตัวบ่งช้ี มาตรฐาน 54321 1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผเู้ รยี น 1) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสอื่ สารและการคิด  คานวณ 2) มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอย่างมวี ิจารณญาณ  อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และแก้ปัญหา 3) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม  4) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร  5) มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา  6) มีความรู้ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ่ดี ตี ่องานอาชพี  รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกนั คุณภาพการศึกษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร)์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2565

ตัวบง่ ชี้ 4 1.2 คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผู้เรียน ระดบั คณุ ภาพตัวบ่งช/้ี 1) การมีคุณลกั ษณะและค่านยิ มทดี่ ีตามทสี่ ถานศึกษากาหนด มาตรฐาน 2) ความภมู ใิ จในท้องถน่ิ และความเป็นไทย 3) การยอมรบั ทจ่ี ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย 54321 4) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม  สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 1  (คะแนนรวมทง้ั หมด/10)  ระดบั คณุ ภาพ  5.00 ยอดเยี่ยม กิจกรรม/โครงการ/หลักฐานรอ่ งรอยทด่ี าเนนิ การ ผลการดาเนนิ งาน 1.โครงการ ปลกู ฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม และ จดุ เดน่ คา่ นยิ มที่พงึ ประสงค์ของนักเรียน นักเรียนร้อยละ 90.57 มีความสามารถในการอ่าน 2.โครงการสรา้ งเสริมพัฒนาทักษะการเรยี นรู้และ ออกเขียนได้ในระดับดี ข้ึนไป นักเรียนมีการพัฒนา พัฒนาตนเองของนกั เรียน ในการจดจาคาศัพท์ได้ดีขึ้นจากการพัฒนาผ่าน -กิจกรรมสง่ เสรมิ นสิ ัยรกั การอ่าน กิจกรรมเล่มเลก็ เด็กหรรษา ตามโครงการ 1 โรงเรยี น -กจิ กรรมพฒนาทกั ษะไอซีที 1 นวัตกรรม รวมท้ังสามารถใช้เทคโนโลยีในการ 3.โครงการพฒั นางานวชิ าการ แสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ผู้เรียนมีสุขภาพ 4. โครงการเสรมิ ทกั ษะกระบวนการในการทางาน ร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและน้าหนัก 5. โครงการพัฒนาหลักสตู รกระบวนการเรียนรู้ ส่วนสูงตามเกณฑ์ แต่งกายตามระเบียบของโรงเรียน และกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น บ้านพลวง(พรหมบารุงราษฎร์) ครูจัดการเรียนรู้โดย 6. โครงการสรา้ งเสรมิ สถานศึกษาแหง่ การเรยี นรู้ ส่งเสริมวัฒนธรรมไทย เช่น ครูนานักเรียนไปสืบสาน 7. โครงการสง่ เสรมิ ความเป็นเลิศวิชาการ วันสาคัญทางศาสนา วันสาคัญของชาติ ประเพณี 8. โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ลอยกระทง และสง่ เสริมกิจกรรมอบรมคุณธรรมและ -แบบรายงานอ่านเขียนเรยี นคดิ เลข ตามโครงการ จรยิ ธรรมในวดั ในวันสาคัญทางศาสนาตา่ ง ๆ 1 โรงเรยี น 1 นวัตกรรม จดุ ควรพัฒนา -แบบบนั ทกึ ผลการพฒั นาคุณภาพผู้เรียน (ปพ.5) จัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดแทรก -แบบรายงานผลการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น คุณธรรมและจริยธรรมลงไปในกิจกรรม ส่งเสริม รายบคุ คล (ปพ.6) กิจกรรมท่ีให้โอกาสนักเรียนได้แสดงความคิดเห็น -แบบรายงานผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึง บ่อย ๆ เพ่ือเสริมสร้างทักษะกระบวนการคิดของ ประสงค์ นักเรียน ส่งเสริมภาวะการเป็นผู้นาให้นักเรียนใน รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา เพื่อการประกนั คณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบารุงราษฎร์)ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2565

5 กจิ กรรม/โครงการ/หลักฐานรอ่ งรอยที่ดาเนนิ การ ผลการดาเนินงาน -แบบรายงานผลการประเมินสรรถนะสาคญั ของ สถานการณ์ทหี่ ลากหลายให้รจู้ ักเป็นผูน้ าและผู้ตามท่ี ผเู้ รยี น ดี สง่ เสรมิ กิจกรรมท่ฝี ึกวนิ ัยใหก้ บั นักเรยี นมากยิ่งขึ้น -แบบรายงานผลการประเมินอ่านคิดวิเคราะหเ์ ขียน -แบบรายงานผลการประเมินค่านิยม 12 ประการ ของคนไทย -รายงานกิจกรรมต่าง ๆ สรุปมาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน ระดบั คณุ ภาพ : ยอดเยีย่ ม 1. กระบวนการพัฒนา การจัดการเรียนการสอนในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารุง ราษฎร์) ครูผู้สอนมีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย ครูจัดการเรียนรู้ให้เป็นไป ตามศักยภาพของผู้เรียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสูตร มีการออกแบบการ จัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน โดยเน้นการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ท้ังรูปแบบ กระบวนการทางานกลุ่ม แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกันเรียนรู้ โดยอาศัยพื้นฐานปรัชญา การศึกษา Progressivism และยึดหลักทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) ใช้ กระบวนการคิด กระบวนการใชป้ ญั หาเป็นหลัก และเน้นกจิ กรรมการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนทุกคน มีความสามารถในการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนรู้ ซึ่งครูผู้สอน เองได้พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ และเทคนิควิธีการสอนให้ตรงตามศักยภาพของผู้เรียน ใช้ ส่ือเทคโนโลยีที่หลากหลายในการจัดการเรียนการสอน เช่น การใช้ Education App ได้แก่ Kahoot, Quizizz, socrative, E-book เปน็ ต้น ใช้สื่อท่สี รา้ งขนึ้ เอง ไดแ้ ก่ Microsoft PowerPoint เป็นต้น การใช้สื่อจากเครือข่ายออนไลน์ ได้แก่ YouTube , กลุ่มเครือข่ายการเรียนรู้ Fan page Facebook, Line เว็บไซต์ทางการศึกษาต่าง ๆ ที่มีความน่าเชื่อถือ ทั้งในและต่างประเทศ เช่น www.englishclub.com เป็นต้น มีการนาแหล่งเรียนรู้และแหล่งสืบค้นข้อมูล ได้แก่ หอ้ งปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ เป็นต้น ครผู ้สู อนชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 มีการวางแผนร่วมกันกาหนดแผนการจัดการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผลแบบบูรณาการเป็น ระยะ ๆ เพ่ือพัฒนาสู่เป้าหมาย ครูผู้สอนเน้นการใช้คาถามเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดการแก้ปัญหา เพ่ือพัฒนาผู้เรียนสู่ศตวรรษท่ี 21 โดยใช้รูปแบบการพัฒนาผู้เรียนโดยใช้วัฒนธรรมการวิจัยสู่การ สร้างความยงั่ ยนื ในการเรยี นรู้ รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกันคณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบารุงราษฎร์)ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2565

6 1.1 วเิ คราะหผ์ ู้เรียน ในการปฏิบัติหน้าท่ีการสอนผู้สอนได้ดาเนินการวิเคราะห์ผู้เรียนตามแบบ วิเคราะหผ์ ู้เรียนท่จี ดั ทาข้นึ และมกี ารประเมนิ พฤตกิ รรมนักเรียนเพ่ือคัดกรอง เพื่อ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน และเป็นการ ส่งเสริมพัฒนาการของผเู้ รียนทุกดา้ น โดยศึกษาข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล จัดผู้เรียน กลุ่มเก่ง กลาง อ่อน โดยวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย เป็นรายบุคคล นามาสู่การวาง แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ นาเสนอผู้บริหารเพื่อตรวจพิจารณา อีกครั้งก่อนนามาจัดกิจกรรมการสอน ทาให้กิจกรรมการเรียนรู้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ โดยได้มีการวางแผนอย่างเป็นระบบและมีขั้นตอน เช่น ศึกษา วิเคราะห์หลกั สตู ร จดั ทาหนว่ ยเรียนรู้ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่มีรูปแบบและเทคนิค การสอน ตลอดจนการวัดประเมินผลตามสภาพจริง สื่อและแหล่งเรียนรู้ท่ี หลากหลายทั้งในโรงเรียนและท้องถ่ิน สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด ความตอ้ งการของนักเรียน 1.2 วเิ คราะหห์ ลกั สตู รสถานศึกษา ได้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ เพ่ือกาหนดหน่วยการ เรียนรู้ ออกแบบการเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผลใหส้ อดคล้องกบั ตัวชว้ี ัดทั้งด้าน ความรู้ ทกั ษะกระบวนการและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ตามหลักสตู รแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้อย่างเหมาะสมนาไปเป็นแนวทางใน การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีองค์ประกอบครบถ้วน มีการ ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ก่อนนาไปสอน และในการสอนแต่ละครั้งได้ใช้ กิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียน พร้อมทั้ง สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ สามารถแสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ท่ี หลากหลาย และนาวิธีการเรียนรู้ไปใช้ในชีวิตจริงได้ นอกจากนี้ยังได้จัดการเรียน การสอนในลักษณะบูรณาการโดยมุ่งให้ผู้เรียนเชื่อมโยงความรู้ ความคิด ทักษะ และประสบการณ์ที่มีความหลากหลายและสัมพันธ์กันเป็นองค์รวม เพ่ือให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้จริงในสิ่งที่ศึกษาสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้โดยมีการ กาหนดเป้าหมายและวางแผนขั้นตอนการดาเนินงานการจัดการอย่างเป็นระบบ มี การใช้เอกสารอ้างอิงหรือแหล่งค้นคว้าต่าง ๆ เพื่อให้การดาเนินการจัดการเรียน การสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเมื่อสิ้นปีการศึกษา มีการวัดและ ประเมินผล เพือ่ นามาพัฒนาและปรับปรุงต่อไป 1.3 วิเคราะหค์ วามพรอ้ มของสื่ออปุ กรณ์ ครูผู้สอนต้องตรวจสอบดูส่ืออุปกรณ์ว่ามีความพร้อม เพียงพอ และเหมาะสมกับรายวิชาและ ผเู้ รยี นหรือไมอ่ ยา่ งไร เช่น เคร่อื งใช้ไฟฟ้า โทรทัศน์ เครอื่ งเสียง คอมพวิ เตอร์ใช้สอน อุปกรณ์ทใ่ี ช้สอนตา่ ง ๆ รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกนั คุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร)์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2565

7 ตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขเม่ือมีการชารุด เสียหาย หากพบว่าไมเ่ พียงพอ ตอ่ ความต้องการกบ็ ันทึกเสนอขอเพมิ่ และควรมีการทาแฟม้ รวบรวมสื่อ ท้ังนี้ เ พ่ื อ อา น ว ย ค ว า ม ส ะด ว ก แ ก่ ค รู ผู้ ส อ น แ ล ะเ พื่ อ ใ ห้ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น เ กิ ด ประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนั้นครูผู้สอนต้องรู้จักพัฒนา จัดหาและ ประยุกต์ใช้ส่ือ นวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ โดยได้มีการพัฒนาส่ือ นวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ขึ้นเอง ได้แก่ หนังสือเล่มเล็ก แผ่นพับ ภาพ ตาราง แผนภูมิ แบบฝึกทักษะ ใบงาน ใบความรู้ สื่อ ICT ตลอดจนมีการ จัดหาสื่อนวัตกรรมจากท่ีอ่ืนมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ได้อย่าง เหมาะสม 1.4 ออกแบบการเรียนรทู้ ่เี นน้ การบรู ณาการ เริ่มจากวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารุงราษฎร์) ที่ได้ปรับปรุงตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 2551 มาตรฐาน/ตัวชี้วัดในรายวิชาท่ีสอน ศึกษาโครงสร้างรายวิชา แล้วจึงนามาจัดทาเป็นหน่วยการเรียนรู้/แผนการจัดการเรียนรู้แล้วทบทวนภาระงาน ชิ้นงาน ของแต่ละ รายวิชา วิเคราะห์และสังเคราะห์ แล้วร่วมกันออกแบบการเรียนรู้แบบบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ จัดการเรียนรู้ เช่ือมโยงหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล และหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการติดตามประเมินผลอย่างเป็น รูปธรรม รวมทั้งถอดบทเรียนเม่ือเสร็จส้ินกระบวนการเรียนรู้ และจัด แสดงเผยแพร่ผลงานต่อสาธารณะชน มุ่งเน้นให้ผู้เรียนพัฒนา พฤติกรรมด้านความรู้ เจตคติ ทักษะค่านิยมและคุณธรรม การนา ความรู้สู่การปฏิบัติ สามารถนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตมีการ เช่ือมโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนา ความคิดท้ังความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะท่ีสาคัญท้ังทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะในศตวรรษที่ 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรดู้ ้วย กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจ โดยใช้ข้อมูลหลากหลายและประจักษ์พยานท่ี ตรวจสอบได้ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการเทคโนโลยี สารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ เน้นการปฏิบัติจริงด้วยการเรียนรู้ แบบเผชิญสถานการณ์จริงในสังคม ร่วมกับรูปแบบการจัดการ เ รี ย น รู้ โ ด ย ใ ช้ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ผ น ว ก กั บ กระบวนการพัฒนาผู้เรียนสู่มาตรฐานสากล สร้างความตระหนักรู้ อีกทั้งสร้างเสริมทักษะชีวิต ทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 และ ทักษะการใช้เทคโนโลยี ท่ีมุ่งเน้นการรับรู้ผ่านประสบการณ์ตรง กระบวนการสังเกต การทดลอง การลงมือปฏิบัติ นากระบวนการ รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่ือการประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร)์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2565

8 กลุ่มมาช่วยขับเคลื่อนกระบวนการเรียนรู้ให้เกิดความคิดรวบยอด จนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ซึ่งข้าพเจ้าได้นามาเป็นหัวใจสาคัญของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จากแนวทางและรูปแบบท่ีกล่าวมา นามา สังเคราะห์ พัฒนากระบวนการเรียนรใู้ นรายวิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 กระตุ้นให้ผู้เรียนคดิ วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดข้ึน สอนวิธีการจัดลาดับความสาคัญและแนวทางในการสร้างทางเลือกของแต่ละบุคคล เพื่อให้ ผู้เรียนมีเจตคติและทักษะชีวิตท่ีดี สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ สามารถสร้างองคค์ วามรู้ไดด้ ้วยตนเองจนประสบความสาเร็จท้ังด้านการเรียน เม่ือผู้เรยี นมีความสุขก็มีความพรอ้ ม ท่ีจะเรียนรู้ สามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตได้ 1.5 ออกแบบการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนน้ัน ผู้สอนได้เอาใจใส่ผู้เรียนอย่างสม่าเสมอ โดยการ จัดแบ่งผู้เรียนตามระดับความสามารถตามท่ีได้มีการศึกษาข้อมูลนักเรียนรายบุคคล แล้วจัดกิจกรรมที่ สอดคล้องและเหมาะสมกบั ผู้เรยี นโดยเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นได้เรียนรจู้ ากประสบการณ์จรงิ โดยนากระบวนการ Active Learning เข้ามาประยุกต์ใช้ในการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ กระตุ้นให้เกิดกระบวนการคิด วิเคราะห์ การ แก้ปัญหา ลงมือปฏิบัติได้จริง นากิจกรรมในวิถีชีวิตจริงมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ให้เกิดทักษะชีวิต สรุปเป็นความรู้ฝังแน่น ซ่ึงครูต้องเปลี่ยนจากการบรรยายเป็นการผู้สร้างบรรยากาศเชิงบวกแทน และมีการ จัดทาสื่อและนวัตกรรมในการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยวิธีการท่ีหลากหลายและเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพอ่ื ใหผ้ ้เู รยี นได้รบั ความรู้อยา่ งเตม็ ท่ี และรู้จกั การแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองได้ 1.6 จดั กระบวนการเรยี นรตู้ ามธรรมชาตขิ องวชิ า ได้มีการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามธรรมชาติของแต่ละวิชา การเรียนรู้ของนักเรียนสามารถ เรียนรู้ได้รอบตัว โดยมุ่งเน้นใหผ้ ู้เรียนพัฒนาพฤติกรรมด้านความรู้ เจตคติ ทักษะค่านิยมและคุณธรรม การนา ความรู้สู่การปฏิบัติสามารถนาความรู้น้ีไปใช้ในการดารงชีวิตมีการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ สง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รยี นพัฒนาความคิดท้งั ความคิดเป็นเหตเุ ปน็ ผล คิดสร้างสรรค์ คิดวเิ คราะห์วิจารณ์ มีทักษะทส่ี าคัญ ท้ังทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษท่ี 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วย รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา เพื่อการประกนั คุณภาพการศึกษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบารุงราษฎร)์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2565

9 กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจ โดยใช้ข้อมูลหลากหลาย และประจกั ษพ์ ยานที่ตรวจสอบได้ 1.7 จัดกิจกรรมให้ครบถ้วนตามธรรมชาติของวิชา และความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล โดยเน้นใหฝ้ ึก ทักษะและกระบวนการคดิ ข้าพเจ้าได้ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ที่เน้นเพ่ือส่งเสริมกระบวนการเสาะแสวงหาความรู้ สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เกิดความคิดสร้างสรรค์และการสอนแบบเน้นการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ส่งเสริม ให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ ผู้เรียนที่มีความโดดเด่นทางด้านความคิดสร้างสรรค์ และมีใจ รกั การสบื ค้นหาคาตอบและนาไปแก้ไขปญั หาในสังคมและชุมชนของตนเองได้ ผูเ้ รียนได้รบั การสง่ เสริม เนน้ ให้ ฝกึ ทกั ษะกระบวนการคิด และออกแบบ สามารถวเิ คราะหแ์ กไ้ ขเหตุการณเ์ ฉพาะหน้าได้ดว้ ยตนเองโดยใช้ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรร์ ว่ มกับการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรียนรไู้ ด้ รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อการประกนั คุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์)ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2565

10 1.8 จดั กจิ กรรมหลากหลายวิธี และเหมาะสมกบั ผเู้ รยี น ข้าพเจ้าได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เหมาะสมกับสาระการเรียนรู้ เพ่ือให้ ผู้เรียนเกิดมีความสุขในการเรียน และเกิดทักษะตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ แนวทางการส่งเสรมิ การเรยี นรู้ มดี ังนี้ 1) การส่งเสริมนิสัยการสืบค้นข้อมูล เสาะ แสวงหาความรู้ และสรา้ งองคค์ วามรู้ด้วยตนเอง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้ลง มือกระทา และได้ใช้กระบวนการคิด เพ่ือพัฒนาศักยภาพด้านการ คิด แก้ปัญหา และการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ สามารถสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง ผู้สอนทาหน้าที่อานวยความสะดวกในการจัดการ เรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเอง ความรู้เกิดจาก ประสบการณ์ การนาองค์ความรู้ และการสรุปทบทวนของผู้เรียน มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาทักษะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผเู้ รียนในการเรยี นรู้ 2) การสง่ เสรมิ ความคดิ สร้างสรรค์ ข้าพเจ้าได้จัดกิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ โดยให้ผู้เรียนได้เลง็ เห็นถึงความสาคัญของ เทคโนโลยีสารสนเทศ มีความตระหนักและทัศนคติที่ดีต่อการคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ ๆ ส่งเสริมให้นักเรียนนา ความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน และนาเทคโนโลยีมาใช้เป็นเคร่ืองมือสาคัญในการสร้างองค์ ความรู้ท่ีย่ังยืน และเพ่ือส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ให้กับผู้เรียน ได้ฝึกออกแบบชิ้นงานต่างๆ เพื่อใช้แก้ปัญหา ในชุมชนและสังคมของตน ด้วยการดาเนินการการทดลองจากสิ่งใกล้ตัวตามจิตนาการความคิดสร้างสรรค์ของ ตนเอง เพ่ือท่ีจะนาความรู้ที่ได้จากการสืบค้น สร้างองค์ความรู้ของตนเองน้ันไปช่วยสร้างและอานวยความ สะดวกและแกป้ ัญหาท่ีเกดิ ขึน้ ในชีวิตประจาวันได้ 1.9 ใชส้ ือ่ การเรยี นรู้เหมาะสมกบั เนือ้ หา และผเู้ รียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ ข้าพเจ้าได้นาส่ือ นวัตกรรมท่ีมีความ สอดคล้องกับความจาเป็น ความต้องการของนักเรียน และนักเรียนมีส่วนร่วมในการผลิตส่ือ มาใช้ในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย มีท้ังสื่อที่ผลิตขึ้นมาใช้เอง ได้ผ่านการหาคุณภาพแล้วจึงนามาใช้ในการ รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา เพ่ือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร)์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2565

11 สอน และส่อื ที่จดั หานามาใชด้ ้วยตนเอง ขน้ั ตอน และผลของการปฏิบัตใิ นการพฒั นา จดั หา ประยุกตใ์ ช้ส่ือ เพ่ือ นามาจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ มีดงั น้ี - จัดหาสื่อ นวัตกรรมที่จาเป็นเพิ่มเติม โดยการสืบค้นสื่อ ข้อมูลออนไลน์ และผลิตขึ้นเอง นักเรียนมีสว่ นรว่ มในการผลิตสอ่ื นวตั กรรม ทสี่ รา้ งขึน้ ด้วยความภาคภูมิใจในผลสาเรจ็ เปน็ ผลงานทีม่ คี ุณคา่ - จัดเตรียมส่ือ นวัตกรรม ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด และกิจกรรมการ เรียนรู้ ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ในลักษณะบูรณาการร่วมกับเร่ืองราวในชีวิต ประจาวนั และส่งิ ใกลต้ ัว -นาสื่อ นวัตกรรม ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหาสาระการเรียนรู้ ในระหว่างจัด กิจกรรมการเรียนรู้ ไดเ้ ปิดโอกาสใหน้ ักเรียนไดฝ้ กึ ทกั ษะกระบวนการกล่มุ ช่วยกนั สบื คน้ ขอ้ มูล สร้างองค์ความรู้ ดว้ ยตนเอง จนกระท่ังสามารถถา่ ยทอดใหก้ บั ผู้อ่นื ได้ และเกิดองคค์ วามรู้ทีค่ งทน - มีการประเมินผล การใช้สื่อ นวัตกรรม ในการจัดการเรียนรู้นักเรียนมีส่วนร่วมในการ ประเมินผล การใช้สือ่ และนวัตกรรม โดยขอคาปรกึ ษาจากเพอ่ื นครู ฝา่ ยวชิ าการ และผู้บรหิ าร - นาผลการประเมินการใช้ส่ือ นวัตกรรมไปปรับปรุงแก้ไข สาหรับใช้จัดกิจกรรมการเรยี นรใู้ น ครัง้ ตอ่ ไป รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกันคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์)ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2565

12 1.10 ใชเ้ ครอ่ื งมือประเมนิ ผลเหมาะสม สร้างและพัฒนาเคร่ืองมือวัดและประเมินผลในรายวิชาที่รับผิดชอบด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เช่น Education App ชุดแบบทดสอบออนไลน์ เป็นต้น วัดผลโดยยึดระเบียบวา่ ด้วยการประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ยึดความแตกต่าง ระหว่างบุคคล เป็นการ ประเมินผลการเรียนตามรายวิชา กลุ่มสาระฯ ด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ การเขียนและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ และผลการเรียนรู้ที่เกิดจากการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีการวัดผลระหว่างเรียน หลังเรียน โดย ประเมินจากสภาพจริง การสังเกตพฤติกรรม การปฏิบัติ การตรวจผลงาน ครูเป็นผู้ประเมิน นักเรียนประเมิน ตนเอง เพ่ือนประเมิน และฝ่ายพัฒนาผู้เรียนเป็นผู้ประเมิน มีวิธีการและเครื่องมือวัดและประเมินผลมีความ เหมาะสม โดยข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาการเรียนร้ขู องผู้เรยี นเป็นรายบุคคล ชว่ ยให้ผสู้ อนเขา้ ใจ พฤติกรรมของผู้เรยี นได้อย่างลึกซึ้ง และเปน็ วธิ ีการท่ยี ืดหยุ่นตามสถานการณ์ โดยมีการประเมนิ ผลตามสภาพ จริง (Rubrics) กาหนดระดับคุณภาพผู้เรียนเพ่ือใช้ประโยชน์โดยใช้ใบงาน/ช้ินงาน และสามารถเก็บในแฟ้ม สะสมงาน (Portfolio) เพื่อหาจุดอ่อนที่ควรแก้ไข นาผลไปปรับปรุงพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ทาให้ ผเู้ รยี นมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนสูงขน้ึ 2. ผลการดาเนินงาน ในดา้ นผลการประเมนิ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดี ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีความสามารถอ่านคล่อง เขียนคล่อง ตามมาตรฐานในระดับชั้นของตนเอง สามารถเขียนสื่อสารได้ดี รู้จักการวางแผน สามารถทางาน ร่วมกับผู้อ่ืนได้ดีตามหลักประชาธิปไตย กล้าแสดงออก และแสดงความคิดเห็น หรือวิพากษ์ได้อย่างสร้างสรรค์ สืบค้นข้อมูลหรือแสวงหาความรู้จากส่ือ เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ จาแนกแยกแยะได้ ว่าส่ิงไหนดี สาคัญ จาเป็น รวมทั้งรู้เท่าทันส่ือและสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้เรียนรู้และตระหนักถึง โทษและพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ เลือกรับประทานอาหารท่ีสะอาด และมีประโยชน์ รักการออกกาลังกาย นักเรียนทุกคนสามารถเล่นกีฬาได้อย่างน้อยคนละ 1 ประเภท ยอมรับในกฎกติกาของกลุ่ม ของโรงเรียน ของ สังคม มีทัศนคติท่ีดีต่ออาชีพสุจริต รวมถึงมีความเข้าใจเร่ืองความแตกต่างระหว่างบุคคลและระหว่างวัย มี คุณลักษณะทพี่ ึงประสงคต์ ามหลกั สูตร สามารถสรา้ งแบบอยา่ งทดี่ ีใหแ้ กร่ ุ่นนอ้ ง ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา เพ่ือการประกันคณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร)์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2565

13 3.ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม 1. ส่งเสริมให้นักเรียนกลา้ แสดงออกตามความถนัด ความสนใจ 2. นักเรียนมีความสขุ ในการร่วมกจิ กรรม 3. นักเรยี นเขา้ ร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา ตามเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้ 4. นักเรียนได้เรียนรู้ตามความสนใจและมีความสุข 5. จดั วทิ ยากรทอ้ งถิน่ ให้ความร้ใู นเรอ่ื ง ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน 6. จดั โครงการแนะแนว ระบบชว่ ยเหลอื นกั เรยี นใหเ้ ป็นระบบอย่างชดั เจน 7. จดั ระบบการอา่ น การเขียน การสื่อสารและการคิดคานวณ ของนักเรยี นให้ชัดเจน 8. ครูผู้สอนได้สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนหรือในเวลาทเ่ี หมาะสม 9. นานักเรยี นเข้าร่วมกจิ กรรมในวนั สาคญั ทางศาสนา รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกนั คุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร)์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2565

14 10. ดาเนินการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้นักเรียนในการทางานหรือการดาเนินการจัด กิจกรรมตา่ งๆ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ ระดบั คุณภาพตวั บง่ ชี/้ มาตรฐาน 2.1 มีเปา้ หมายวิสยั ทัศนแ์ ละพนั ธกจิ ทส่ี ถานศกึ ษากาหนดชัดเจน 2.2 มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา 5 4 3 21 2.3 ดาเนินงานพฒั นาวิชาการท่เี นน้ คณุ ภาพผู้เรยี นรอบดา้ น ตาม  หลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุม่ เป้าหมาย 2.4 พฒั นาครูและบคุ ลากรให้มีความเชยี่ วชาญทางวิชาชพี  2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ีเอื้อต่อการจดั การเรยี นรู้ อย่างมีคุณภาพ  2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบริหารจดั การและ การจัดการเรียนรู้  สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 2  (คะแนนรวมท้งั หมด/6) ระดับคุณภาพ  5.00 ยอดเยี่ยม กจิ กรรม/โครงการ/หลักฐานรอ่ งรอย ผลการดาเนนิ งาน ทดี่ าเนนิ การ 1. โครงการสง่ เสรมิ ความเปน็ เลิศ จุดเด่น วิชาการ มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ โดยครูประจาวิชาประสาน 2. โครงการพฒั นาระบบดแู ลช่วยเหลอื ความร่วมมือกับผู้ปกครองเพ่ือทราบจุดมุ่งหมายในการพัฒนา นกั เรียนอย่างยั่งยืนรอบด้าน ร่วมกัน ในเร่ืองการเรียนการสอนและการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น 3. โครงการสรา้ งเสรมิ สถานศึกษาแห่ง เสนอต่อทป่ี ระชุมของคณะกรรมการบริหารโรงเรยี นในทกุ คร้ังที่มี การเรียนรู้ การจัดประชุม โดยการประชุมจะดาเนินการได้หลากหลายวิธี 4. โครงการพฒั นาหลกั สูตร เช่น การประชุมแบบมสี ว่ นร่วม การประชมุ ระดมสมอง กระบวนการเรยี นรู้ และกิจกรรม การประชุมกลุ่ม เพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกาหนดแนว พฒั นาผูเ้ รยี น ทางแก้ไขปัญหาและร่วมกันปฏิรูปการศึกษา ท่ีมุ่งเน้นการพัฒนา 5. โครงการพฒั นางานวิชาการ ให้ผู้เรียน มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตร 6. โครงการปรับปรงุ ภมู ิทัศน์และ โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารุงราษฎร์) ครูประจาวิชาสามารถ พฒั นาแหลง่ เรียนรู้ จัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีการดาเนินการนิเทศ กากับ รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์)ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565

15 กิจกรรม/โครงการ/หลกั ฐานรอ่ งรอย ผลการดาเนินงาน ทด่ี าเนนิ การ 7.โครงการพฒั นาระบบบรหิ าร ติดตาม ประเมินผล การดาเนินงาน และการจัดทารายงานผล สถานศกึ ษาโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน การจัดการศึกษา และโรงเรียนได้ใช้กระบวนการวิจัยในการ 8.โครงการพฒั นาการบรหิ ารจดั การ รวบรวมขอ้ มลู เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการวางแผนพฒั นาคุณภาพ ดา้ นทรพั ยากรทางการศึกษา สถานศึกษา ครูประจาวิชาดาเนินการสร้างเครือข่ายความ 9.โครงการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร ร่วมมือของผู้มีส่วนเกย่ี วข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มี -เอกสารงานประจาช้นั ความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และ -รายงานการประชมุ การขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษาโดยผา่ นระบบเทคโนโลยี -รายงาน PLC ที่ทันสมัย ทั้ง เว็บไซต์การเรียนการสอน , Facebook , LINE -รายงานการนเิ ทศชั้นเรียน เปน็ ตน้ -รายงานผลการจดั การศึกษา -รายงานประชุมผปู้ กครองชัน้ เรยี น จุดควรพฒั นา -รายงานการอบรมตา่ งๆ การสร้างเครือข่ายทางวิชาการให้มีความเข้มแข็งมากย่ิงข้ึน ด้วย -แผนปฏิบัติการ การดาเนินการ PLC และการสร้างเครือข่ายของผู้ปกครอง -แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา เครือข่ายในสายชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และห้องอื่นๆ ตลอดจน -แผนการนิเทศภายใน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานของโรงเรียน และผู้มีส่วน -ภาพถา่ ย และเอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง ร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียนบ้านพลวงฯ ได้มีส่วนร่วมใน การเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้ มากข้นึ และมกี ารกากบั นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลอยา่ ง ตอ่ เน่ือง มีการนาเสนอผลลัพธ์ของการดาเนนิ การอย่าตอ่ เน่ืองทุก ภาคเรียนและมีการสะท้อนผลกลับเพื่อนาไปสู่การพัฒนาอย่าง ยงั่ ยืนต่อไป รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกันคณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบารุงราษฎร์)ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2565

16 สรุปมาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ระดับคณุ ภาพ : ยอดเยีย่ ม 1. กระบวนการพฒั นา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบารุงราษฎร)์ ได้ดาเนินการวิเคราะหส์ ภาพปญั หาของในแต่ละสายชั้น ผลการ จดั การศึกษาทีผ่ ่านมาโดยการศกึ ษา ข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตาม นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ผลสอบแข่งขันสนามสอบท่ี น่าเช่ือถือต่าง ๆ ท้ังในระดับจังหวัด ระดับภาคและระดับประเทศ ตลอดจนข้อคิดเห็นระหว่างปีการศึกษาที่ผ่านมาจากผู้มีส่วน เก่ียวข้องและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และเป้าหมายท่ีมุ่งหวังในอนาคต มาเป็นข้อมูลในการประชุมระดมความคิดเห็น เช่น การประชุม ผู้ปกครองของโรงเรียนภาคเรียนละ 1 ครั้ง การประชุมผู้ปกครอง ชั้นเรียนภาคเรียนละ 1 คร้ังโดยคุณครูประจาชั้น จากบุคลากรใน สถานศึกษาเพื่อวางแผนร่วมกันกาหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กาหนดพนั ธกจิ กลยุทธ์ ในการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนบา้ นพลวง (พรหมบารุงราษฎร์) เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการประจาปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาพร้อมท้ังจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดาเนินการพัฒนาตามแผนงานเพ่ือให้บรรลุ เป้าหมายที่กาหนดให้ มีการดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมิน ผลการ ดาเนินงาน และสรุปผลการดาเนินงาน ซ่ึงโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารุง ราษฎร)์ ได้ใชแ้ นวทางการบริหารโรงเรียนแบบโรงเรียนเล็กในโรงเรียนใหญ่ โดย ใช้รูปแบบการบริหาร “Pluangprom Team” ในการขับเคลื่อนกระบวนการ บริหารภายในโรงเรียน ตามวงจรการควบคุมคุณภาพ PDCA โดยแนวทางใน การบริหารจดั การชน้ั เรยี นนนั้ ไดด้ าเนนิ การดงั นี้ 1.1 ติดตามพฤตกิ รรมของนักเรยี นและแก้ไขสถานการณ์ได้ เหมาะสม โดยการเช็คเวลาเรียนอย่างสม่าเสมอ ตรวจสอบและติดตาม พฤติกรรมอย่างต่อเน่ือง โดยมีการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล การออกติดตามเย่ียมบ้าน การคัดกรองนักเรียนรายบุคคล การวัดและ ประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในระดับช้ันของตนเอง พร้อมให้คาแนะนา ปรึกษาและแก้ไขปัญหาใหก้ ับนักเรยี นทม่ี ีปญั หา โดยได้ดาเนินการตามกระบวน การและข้ันตอนของระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ท่ีมีองค์ประกอบ 5 ประการ คอื รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เพ่ือการประกนั คณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์)ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2565

17 1.1.1 การรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล โดยจัดเก็บ ข้อมูลผู้เรียนทุกคนเป็นสารสนเทศ และนาข้อมูลไปใช้ในการ วางแผนดูแลผู้เรียน ด้านการเรียนและการปรับพฤติกรรม ดูแล ความปลอดภยั ของผู้เรียน มีกิจกรรมป้องกัน และแกป้ ัญหายาเสพ ติด ส่งเสริมให้ผู้เรียนปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับค่านิยมอันดีงาม และมีการดูแลอย่างท่ัวถึง ทันเหตุการณ์ เช่น จัดทาเอกสาร ประจาชั้นเรียนเพ่ือการรู้จักผู้เรียน เช่น ประวัติของผู้เรียนเกี่ยวกับ สภาพทางเศรษฐกิจ สุขภาพ การเรียน ฯลฯ อีกทั้งรับผิดชอบ เป็นครูประจาชั้นของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยให้ คาแนะนาแก่ผู้เรียนในด้านการเรียนและการปฏิบัติตนที่เหมาะสม ร่วมประชุมผู้ปกครองเพื่อช่วยเหลือผู้เรียนท้ังด้านการเรียน ด้าน พฤติกรรม โดยจัดต้ังเป็นผู้ปกครองเครือข่ายประสานงานระหว่าง ผู้ปกครอง ครู โรงเรียนนาข้อมูลไปใช้ในการชว่ ยเหลอื ผู้เรียนด้าน การเรียนและการปรับพฤติกรรม เช่น การเย่ียมบ้าน การแนะ แนว ดูแลควบคุมห้องเรียนให้ผู้เรียนมีระเบียบวินัย ไม่เกิดการ ทะเลาะวิวาทท้ังในชั้นเรียนและนอกช้ันเรียน เม่ือพบเห็นผู้เรียนก่อการทะเลาะวิวาทได้ห้ามปรามและแจ้งต่อ ครูท่ปี รกึ ษา และฝ่ายพัฒนาผ้เู รียน เพือ่ สอบหาขอ้ เทจ็ จริง แกไ้ ขพฤตกิ รรมทไ่ี มเ่ หมาะสม 1.1.2 การคดั กรองผู้เรียน ผูเ้ รียนในปกครองเป็นผู้เรยี นกลุ่มปกติ ทัง้ หมด 1.1.3 การป้องกันและแก้ไขปัญหา ได้ให้การดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ด้วยความเอาใจใส่กับการ ดูแลช่วยเหลอื ผเู้ รยี นเอาใจใส่กับผู้เรยี นทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน แต่สาหรบั ผู้เรียนกลุม่ เส่ยี ง/มีปัญหานนั้ จะเอา ใจใส่อย่างใกลช้ ิดและหาวิธกี ารช่วยเหลือท้ังการป้องกัน และการแก้ไขปญั หา โดยไม่ปล่อยปละละเลยผเู้ รยี นจน กลายเป็นปัญหาของสังคม สร้างภูมิคุ้มกัน ป้องกันและแก้ไขปัญหาของผู้เรียน เพราะเป็นส่ิงที่ยิ่งใหญ่และมี คณุ ค่าอย่างมากในการพฒั นาให้ผเู้ รียนเติบโตเปน็ บุคคลทม่ี คี ุณภาพของสงั คม 1.1.4 การพัฒนาและส่งเสริมผู้เรียน กิจกรรมหลักสาคัญ ท่ีโรงเรียนต้องดาเนินการ คือ กิจกรรมโฮมรูม กิจกรรมPLC การเย่ียมบ้าน การจัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน (Classroom Meeting) ซึ่งมี การพบปะกับผู้ปกครองผู้เรียนภาคเรียนละ 1 คร้ัง และการจัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตและ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียนด้วยการนาผ้เู รยี นไปชว่ ยเหลอื สังคม 1.1.5 การส่งต่อไมม่ ีการดาเนินการเนื่องจากผ้เู รียนอยู่ในกลุ่มปกติและมที ักษะชวี ิตอยู่ในเกณฑ์ ดี ซึ่งข้าพเจ้าได้จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะชีวิตให้กับผู้เรียน ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ให้ ผู้เรียนมีภูมิคุ้มกันท่ีดีให้กับตนเอง โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมเสริมทักษะของผู้เรียนใน ปกครอง เพราะการทางานร่วมกับผู้อื่นในสถานการณ์จริง จะเป็นการปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตยให้กับ ผู้เรียน เช่น จะคอยให้คาปรึกษา และดูแลผู้เรียนช้ันอย่างใกล้ชิด เพราะเป็นผู้บริหารจัดการในกลุ่มสขี องตนเอง ท้ังหมด ครูคอยให้คาชี้แนะอยู่เคียงข้างผู้เรียนทางานคอยเฝ้ามองและแก้ปัญหาและให้กาลังใจรวมทั้งการดู นิทรรศการ การช่วยงานชมุ ชนรอบโรงเรียน การร่วมงานสาธารณประโยชน์ เช่น งานวัด ข้าพเจ้าจะใช้วิธกี าร ปฏิบัติให้ดูเป็นแบบอย่าง และขออาสาสมัครจากผู้เรียนท่ีสนใจ ซ่ึงกิจกรรมเหล่านี้ ส่งผลให้ผู้เรียนได้มีการ รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกันคุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์)ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2565

18 พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม กิจกรรมเสริมทักษะช่วยกล่อมเกลาจิตใจผู้เรียน ให้มีความอ่อนโยน เอื้ออาทร ไม่ หยาบกระด้างมีพฤติกรรมในเชิงบวก เป็นการพัฒนาตนเองให้เกิดทักษะการเรียนรู้ท่ีจะอยู่กับผู้อื่น สามารถ สร้างงาน คน้ พบตนเอง เกดิ ความเชือ่ และศรัทธาในตนเอง เห็นคณุ คา่ ของตนเอง อกี ทั้งเป็นการสรา้ งค่านิยมท่ี ดีงาม ก่อใหเ้ กิดความเห็นอกเหน็ ใจผู้อ่นื สง่ ผลให้อยูร่ ว่ มกันในสังคมอย่างมีความสุข นอกจากนี้ข้าพเจ้าได้เฝ้า ระวังสอดส่อง กากับดแู ลผเู้ รยี นอยา่ งใกลช้ ดิ ทงั้ ในและนอกเวลาเรียน 1.2 จดั ชัน้ เรียนใหเ้ ปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย จัดบรรยากาศภายในหอ้ งเรียนใหส้ ะอาดปลอดภัย มีเทคโนโลยีท่จี าเป็นตอ่ การสืบค้นข้อมูลและใช้ เป็นสอ่ื การเรียนรู้ ส่งเสรมิ สภาพแวดล้อมและแหล่งเรียนรภู้ ายในหอ้ งเรียนใหเ้ ออ้ื ต่อการเรยี นรู้ ฝึกให้ผูเ้ รียน รับผิดชอบสว่ นรวม เช่น การดแู ลความสะอาดห้องเรยี น โต๊ะเกา้ อ้ีให้เป็นระเบยี บ และรักษาสาธารณะสมบตั ิ ของสว่ นรวม จดั วางสว่ นต่าง ๆ ของห้องเรียนให้เหมาะสมเปน็ ระเบียบสวยงามเออื้ ต่อการเรยี นรู้ 1.3 กาหนดระเบยี บวนิ ัยในการเรยี นรแู้ ละการอยรู่ ่วมกนั ในช้นั เรียนอย่างตอ่ เนื่อง ในการกาหนดระเบียบวินัยการอยู่ร่วมกัน ระบบการจัดการห้องเรียน เป็นการสอนให้นักเรียน จัดการตนเองและจัดการกับสิ่งท่ีอยู่รอบๆตัว ผู้เรียนรู้สึกอบอุ่น เคารพกฎ กติกา ในการเรียนร่วมกับเพ่ือน ๆ โดยข้าพเจ้าจะสร้างข้อตกลงร่วมกับนักเรียน ๆ เพราะข้อตกลงมีความสาคัญอยา่ งย่ิงควรจะต้องมีการพิจารณา ร่วมกัน เพ่ือให้ทุกคนปฏิบัติตาม โดยมีการจะสอดแทรกตัวอย่าง ท่ีเก่ียวกับระเบียบวินัยและให้ผู้เรียนได้ พจิ ารณา โดยเริม่ จาก - การสร้างระเบียบวินัย ระเบียบวินัยส่ิงแรกคือระเบียบวนิ ัยในตนเอง ในเรื่องของการเดิน เข้า ชั้นเรียน การนั่งประจากลุ่มของตนเอง การสร้างความตระหนักรักและหวงแหนดูแลรักษาวัสดุอุปกรณ์ใน ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ จากนั้นจึงนามาสู่ระเบียบวินัยส่วนรวมในเรื่องของการอยู่ร่วมกันกับเพ่ือน เคารพกฎกติกาของห้องเรียน อย่างเช่น ไม่ส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่น ไม่ก่อเหตุทะเลาะวิวาท ตั้งใจปฏิบัติงานที่ ได้รับมอบหมายให้สาเร็จโดย ไม่ออกนอกลู่นอกทาง กฎกติกาของการเข้าห้องเรียนให้ตรงต่อเวลา การช่วยกนั รักษาความสะอาดของห้องเรียน และเก็บวัสดุอุปกรณ์ให้เป็นระเบียบก่อนออกจากห้อง ซ่ึงระเบียบวินัยเหลา่ นี้ จะปลูกฝังผู้เรยี นให้นาไปใช้ในทกุ สถานที่ รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร)์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2565

19 - กาหนดข้อตกลงร่วมกันในหอ้ งเรียน เช่น หลังเลิกเรยี นทุกวันครูและนักเรยี นจะต้องร่วมกนั ทาความสะอาด เพราะเป็นการฝกึ ความรบั ผิดชอบรว่ มกนั ไม่เสียงดัง ไม่ออกนอกห้องเรียนก่อนไดร้ ับอนุญาต ไม่ใช้เคร่ืองมืออุปกรณ์สื่อสาร (ยกเว้นครูอนุญาตสาหรับสืบค้นข้อมูล) ไม่ทิ้งขยะ ถอดรองเท้าให้เป็นระเบียบ และตอ้ งตั้งใจเรยี น จดั โต๊ะเก้าอใ้ี หเ้ ป็นระเบียบ มกี ารจดั ปา้ ยนเิ ทศในห้องเรียนสาหรับใหค้ วามรู้และแจ้งข้อมูล ข่าวสาร มที าเนียบสมาชิกในหอ้ งเรยี น เป็นตน้ - การมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผเู้ รียน โดยข้าพเจ้าจะจัดการชน้ั เรยี นให้เรียบร้อยโดยการมุ่งเสรมิ แรง ใหค้ าชมเชยเม่ือนักเรยี นเดินเขา้ ห้องเรียนอย่างเป็นระเบียบ อีกท้ังการที่ข้าพเจ้าให้ความสาคัญกับผู้เรียนทุกคน อย่างเท่าเทียม เพื่อทาให้รู้สึกถึงความสาคัญในตนเองและรู้สึกรักและเป็นเจ้าของสาธารณสมบัติของโรงเรียน รว่ มกัน 1.4 สร้างบรรยากาศใหผ้ ูเ้ รียนไดเ้ กดิ การเรยี นรู้ ในห้องเรียนมีอุปกรณ์สาหรับการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องและครบตามตัวชี้วัด และมีเครื่องมือที่มี ประสิทธิภาพสูงให้นักเรียนได้เรียนรู้เพ่ิมเติมในระดับท่ีสูงขึ้น ภายในห้องมีความกว้างขวาง และได้มีการ ออกแบบบรรยากาศในห้องเรียนให้น่าเรียน มีการจัดหาโต๊ะหน้ากว้างสาหรับทาการทดลองและเรียนรู้ท่ี เหมาะสมกับจานวนนักเรยี นในแต่ละกลุ่ม มีเก้าอี้ที่มีความแข็งแรง สามารถน่ังเรียนและทาการทดลองได้อย่าง สะดวกสบาย มีความสงู เหมาะสมกบั ผู้เรยี น ผนังโดยรอบมีการตกแตง่ มุมความรู้เพ่อื เปน็ การกระต้นุ ให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้เพ่ิมเติม นอกจากนี้ห้องปฏิบัติการฯ มีสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย คอมพิวเตอร์ความเร็วสูง มีมุมสืบค้น ความรู้ทางอนิ เตอรเ์ นต็ ความเรว็ สูงให้นักเรียนไดส้ ืบค้นหาคาตอบและสร้างองค์ความรู้ มแี สงสวา่ งที่เพียงพอ มี ระบบเคร่อื งเสยี งที่ทนั สมยั มีเครือ่ งปรบั อากาศและพดั ลมปรับอณุ หภมู ิห้องใหน้ ่าเรียนอยเู่ สมอ กิจกรรมการเรียนการสอน ปรับเปล่ียนกระบวนการจัดการเรียนการสอนจากเดิมที่ผู้สอนทา หน้าที่สอนอยู่หน้าห้องเรียน และผู้เรียนมีหน้าที่นั่งฟังและปฏิบัติตาม มาเป็นให้ผู้เรียนอยู่ในตาแหน่งหน้าช้ัน เรียนทาหน้าที่สอนแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ให้เพื่อน ๆ ศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองจาก สถานการณ์ท่ีครูกาหนดให้ หรือจากสิ่งที่ตนเองสนใจต้ังคาถามเพอ่ื ค้นหาคาตอบ และครูทาหน้าที่คอยอานวยความสะดวกในการ เรียนรู้ และคอยชี้แนะให้คาปรึกษาเพิ่มเติมในสงิ่ ท่ีนกั เรียนต้องการ เรียนรู้ เพ่ือให้นักเรียนทุกคนน้ันสามารถเรียนรู้ให้เป็นไปในทิศทาง ทีถ่ กู ตอ้ งไม่หลงทาง 1.5 มีทักษะในการดงึ ความสนใจผูเ้ รียน ข้าพเจ้าได้นาเอาเทคนิคการจัดกระบวนการเรยี น การสอนท่ีหลากหลาย มาใช้ดึงดูดความสนใจผู้เรียน เพ่ือกระตุ้น ผู้เรยี นใหเ้ กิดการเรยี นรู้ เชน่ ส่อื วีดีโอจาก YouTube เพลง การ์ตนู เกม กิจกรรมต่าง ๆก่อนเรียน การเล่าเร่ืองสร้างแรงบันดาลใจ การนาข้อมูลข่าวสารและเหตุการณ์ปัจจุบันมาตั้งเป็นประเด็น คาถามให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ การใช้คาถามกระตุ้นความคิด นิทาน เป็นต้น เปล่ียนสถานท่ีเรียนรู้ให้สอดคล้องกับกิจกรรมการ เรียนรู้ เช่นห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ห้องคอมพิวเตอร์ เป็น รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่ือการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์)ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2565

20 ตน้ สื่อทุกอย่างนอกจากจะทาใหผ้ ู้เรียนสนุกสนานและอยากเรียนแลว้ ต้องเปน็ ไปในลักษณะในเชงิ สร้างสรรค์ และมีประโยชน์นักเรยี นสามารถนาไปปรับใช้ไดจ้ ริง นอกจากน้ีมีการกล่าวยกย่องชมเชยเพ่ือเสริมแรงใหผ้ ู้เรียน รู้สึกภาคภมู ิใจในความคดิ ของตนเองและให้ความรว่ มมือ กบั กิจกรรมการเรยี นการสอนเปน็ อยา่ งดี นอกจากนั้น ตัวข้าพเจ้าเองก็มีความสุขทุกครั้งในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยข้าพเจ้าจะยิ้มแย้มอยู่เสมอ พูดจาไพเราะ ทกั ทายดว้ ยคาชมเชย เปน็ กลั ยาณมิตร และมมี ุขตลก หยอกล้อใหผ้ เู้ รียน ได้หวั เราะ และรู้สึกผอ่ นคลาย ไม่รู้สกึ กดดนั ในการทากิจกรรมตา่ ง ๆ 1.6 มอบหมายงานตามความสามารถนักเรียน ในด้านการฝึกทักษะปฏิบัติงานของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้น้ัน พ้ืนฐานทางด้านความรู้และ ทักษะที่มีอยู่เดิมของผู้เรียน หรือการรับรู้ของผู้เรียนแต่ละคนย่อมมีความแตกต่าง มีความถนัดที่ไม่เหมือนกัน ผู้เรียนบางคนถนัดทาการทดลอง ค้นหาคาตอบ จากการปฏิบัติ บางคนถนัดการใช้งานอินเทอรเ์ น็ต การสืบคน้ ข้อมูล หรือใช้ส่ือออนไลน์ ในขณะที่เรียน ข้าพเจ้าได้เล็งเห็นถึงความสาคัญในจุดน้ี จึงได้นากิจกรรมกลุ่มมาใช้ ในการจดั การเรยี นการสอนเพ่ือปรับความแตกต่างกนั ของผ้เู รยี นให้สามารถทางานรว่ มกันได้เป็นอย่างดี โดยมี จุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนได้จดั ทาผลงานตามความสามารถและความถนัดของตนเอง ซึ่งการมอบภาระงานจะต้อง เปน็ ไปตามความสามารถของผเู้ รยี น โดยครูคอยทาหนา้ ทีใ่ ห้คาแนะนา กระตุ้นและเสรมิ แรงเชงิ บวกให้นกั เรียน เกิดความเชื่อมั่นในศักยภาพและความสามารถของตนเองจนสามารถทางานได้สาเร็จ อันจะนามาซ่ึงการเห็น คุณคา่ และภาคภูมใิ จในตนเอง รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกันคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบารุงราษฎร)์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2565

21 2. ผลการดาเนนิ งาน 1) การจัดการเรียนการสอนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน บ้านพลวง(พรหมบารุงราษฎร)์ มีดาเนินการตามเปา้ หมาย วสิ ยั ทัศนแ์ ละ พนั ธกิจของโรงเรยี นสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความตอ้ งการพฒั นาของ โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารุงราษฎร์) นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูป ตามแผนการศึกษาชาติ 2) การดาเนินกิจกรรมต่างๆ ของการจัดการเรียนการสอน ใน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีการดาเนินการตามแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ ประจาปี สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียน ทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ตาม มาตรฐานตาแหน่ง ข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นาไปประยุกต์ใช้ได้ ดาเนินการอย่างเป็นระบบ และมีกิจกรรมจัด สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทก่ี ระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนใหใ้ ฝ่เรียนรู้ 3) ผเู้ กยี่ วข้องทกุ ฝา่ ย มสี ว่ นรว่ มในการร่วมวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา และรับทราบ รบั ผดิ ชอบ ตอ่ ผลการจัดการศกึ ษา 4) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ได้รับการนิเทศ กากับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัด การศึกษาที่เหมาะสม เป็นระบบและต่อเนื่อง จากผู้บริหารและคณะครู เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษา 5) การจดั การเรยี นการสอนช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบารุงราษฎร์)มีรูปแบบการ บริหารโดยใช้รูปแบบการบริหาร “Pluangprom Team” และการจัดการเชิงระบบ โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึด หลักธรรมาภิบาล และแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางการปฏิรูป การศึกษา 6) การพัฒนาครูตามโครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาในรปู แบบออนไลน์และออฟไลน์ ปี การศึกษา 2565 รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อการประกนั คุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร)์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2565

22 รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่ือการประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร)์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2565

23 2.7 การมีสว่ นรว่ มของเครอื ข่ายในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารุงราษฎร์)ได้ขับเคลื่อน วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ แผนงาน/ โครงการ เพ่ือมุ่งสู่สมรรถนะหลักทั้ง 3 ระบบ ได้แก่ ระบบการจัดการเรียนรู้ ระบบสนับสนุน และระบบเฝ้า ระวัง (Well Care) ภายใต้การบริหารองค์กรสู่ความเป็นเลิศ ใช้การบริหารจัดการด้วยรปู แบบ “Pluangprom Team” โรงเรียนได้ใช้ข้อมูลความต้องการจาเป็นของผู้มีส่วนได้ สว่ นเสยี มีตอ่ หลกั สตู ร และกระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้อมลู ปัจจัย สาคัญประกอบการวางแผนกลยุทธ์ การพฒั นาระบบดูแลชว่ ยเหลือ นักเรียนได้กาหนดความรับผิดชอบใหท้ ุกฝ่ายงานปฏบิ ัติงานอย่างมี ความสัมพนั ธ์กัน โรงเรียนได้สนับสนุน ช่วยเหลือ และร่วมมือกับองค์กร ต่างๆ เช่น สมาคมผู้ปกครองและครู องค์การบริการส่วนตาบล บ้านพลวง ให้ความร่วมมือกับสานักงานคุรุสภาในการตรวจสุขภาพประจาปีและจากสานักงานสาธารณสุข โรงพยาบาลปราสาท การใหค้ วามรว่ มมอื กับสถานีตารวจภธู รอาเภอปราสาท ในการจดั โครงการการศกึ ษาเพ่ือ ต่อต้านการใชย้ าเสพตดิ ในเดก็ นักเรียน (D.A.R.E.) และการอบรมคณุ ธรรมและจริยธรรมจากองคก์ รทางศาสนา 2.8 การนเิ ทศ กากบั ตดิ ตามและประเมินผล คณะกรรมการบริหารโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารุงราษฎร์) ได้แต่งต้ังคณะกรรมการสายช้ันให้ ดาเนินการ ดงั นี้ 1) รวบรวมประเดน็ ปัญหา 2) จัดลาดบั ความสาคัญของปัญหา 3) มีคณะกรรมการกลั่นกรอง โดยกรรมการท่ีปรึกษาในประเดน็ ปัญหาตา่ งๆ โรงเรียนได้ มอบหมายให้ครูประจาช้ันและครูพิเศษ จัดประชุมชี้แจง ประเด็นปัญหาให้กับคณะกรรมการสายชั้นเพื่อ ดาเนินการ โดยได้มอบหมายให้งานวิชาการดาเนินการ ดังนี้ - การดาเนินการในกรณีที่มผี ลกระทบเชงิ ลบต่อสังคม เช่น ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นไม่เป็นไปตามความ คาดหวัง คณะกรรมการบริหารโรงเรียนได้ร่วมประชุมเพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุและแนวทางการพัฒนาร่วมกัน และเชิญผู้ปกครองและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี มาร่วมประชุมเพื่อชีแ้ จงทาความเข้าใจ - การคาดการณ์ล่วงหนา้ ถงึ ความกังวลของสาธารณะที่มีต่อหลักสตู รและการคาดการณ์ในอนาคต ทาง โรงเรียนได้พัฒนาหลักสูตรโดยประเมินผลการใช้หลักสูตรและสารวจความต้องการของชุมชนและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียเพ่ือทราบความต้องการผลผลิตที่เกิดจากโรงเรียน สารวจความคิดเห็นจากครูเพ่ือวิเคราะห์หาความ พร้อมจุดอ่อน จุดแข็ง และนาข้อมูลไปพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการและนโยบายจาก หนว่ ยงานตน้ สงั กัด - การเตรียมการเชิงรุกต่อผลกระทบ โดยการทาความเข้าใจกับผู้ปกครองและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียถึง วัตถุประสงค์และเป้าหมายของหลักสูตร มีการประชาสัมพันธ์โครงสร้างหลักสูตร รูปแบบการจัดการเรียนการ สอนและคา่ ใช้จ่ายทีจ่ ะเกิดขึน้ เพอ่ื ให้ผปู้ กครองทราบประกอบการตัดสนิ ใจในการสง่ บตุ รหลานเข้าเรยี น คณะกรรมการฝ่ายวชิ าการดาเนินการประชุมครู บุคลากรทุกฝ่ายรับทราบและดาเนินการตามขน้ั ตอน มีการประเมินผลการปฏบิ ัติ นาเสนอผลต่อคณะกรรมการบริหารโรงเรียนประกอบดว้ ยหวั หน้ากลุ่มงาน หวั หน้า รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา เพ่ือการประกันคุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์)ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2565

24 สายช้ัน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ คณะครูในสายช้ัน คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน เพ่ือขอ ขอ้ เสนอแนะแนวทางในการดาเนนิ การต่อไป เพื่อนาไปปรบั ปรุงแกไ้ ข 3.ข้อเสนอแนะเพ่ิมเตมิ โรงเรียนควรกาหนดแผนพัฒนาโครงการ/กิจกรรม การสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาอย่างต่อเน่ือง พัฒนากระบวนการดาเนินการและบริหารจัดการมุ่งพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา พัฒนา โครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนอย่างรอบด้านพัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ครู บุคลากรใน ชุมชนและองค์กรภายนอกพัฒนาการนิเทศ กากับ ติดตาม การปฏิบัติตามกลยุทธ์โครงการกิจกรรมท่ี สถานศึกษากาหนดอยา่ งครบถ้วน โรงเรียนควรกาหนดแผนพัฒนาโครงการกิจกรรมพิเศษอย่างต่อเน่ือง สถานศึกษาศึกษาวเิ คราะห์ และ ใช้ข้อมูลสารสนเทศด้านนโยบายของต้นสังกัด จุดเน้นตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา กาหนดแนวทางการ พัฒนารว่ มกันช้แี นะป้องกันและแก้ไขปัญหาสงั คมตามนโยบาย จุดเนน้ และแนวทางการปฏิรูปการศึกษาของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสถานศกึ ษา ผู้ปกครอง ชุมชน และสังคมมสี ว่ นร่วมในการกาหนดมาตรการสง่ เสรมิ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ ตัวบ่งชี้ ระดบั คณุ ภาพตวั บ่งชี/้ มาตรฐาน 3.1 จดั การเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ ริง และสามารถ นาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตได้ 5 4 3 21 3.2 ใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ท่เี อื้อต่อการเรยี นรู้ 3.3 มีการบรหิ ารจัดการชนั้ เรียนเชงิ บวก  3.4 ตรวจสอบและประเมินผ้เู รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนาผลมา  พฒั นาผู้เรียน  3.5 มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรู้และใหข้ ้อมลู สะท้อนกลบั  เพ่ือพฒั นาและปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้  สรปุ ผลการประเมินมาตรฐานท่ี 3 (คะแนนรวมทงั้ หมด/5) 5.00 ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่ือการประกันคณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบารุงราษฎร)์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2565

25 กิจกรรม/โครงการ/หลักฐานรอ่ งรอยที่ ผลการดาเนินงาน ดาเนินการ 1.โครงการโรงเรียนส่งเสริมสขุ ภาพ จดุ เด่น 2.โครงการ ปลกู ฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม ครูผู้สอนมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และทุ่มเทในการจัด และคา่ นยิ มที่พงึ ประสงค์ของนักเรยี น กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนสู่ศตวรรษท่ี 21 โดย 3.โครงการสรา้ งเสริมพัฒนาทักษะการ ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning พัฒนาการ เรยี นร้แู ละพฒั นาตนเองของนักเรียน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนได้เรียนรู้ โดยการคิด 4. โครงการพฒั นางานวชิ าการ วิเคราะห์ คดิ สงั เคราะห์ คดิ สร้างสรรค์ ได้ลงปฏิบตั จิ ริง มี 5. โครงการเสริมทกั ษะกระบวนการในการ การแนะนาวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้ ทางาน นักเรียนแสวงหาความรจู้ ากสอ่ื เทคโนโลยีด้วยตนเองอย่าง 6. โครงการพฒั นาหลักสูตรกระบวนการ ต่อเน่ือง นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยาก าศ เรยี นรู้ และกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น สภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ และผลงานวิจัยในชั้น 7. โครงการสง่ เสริมความเปน็ เลิศวิชาการ เรียนของครู ได้รับการตรวจประเมินพร้อมท้ังให้ 8. โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการ คาแนะนาจากผู้เชี่ยวชาญ จากสานักงานเขตพ้ืน ศกึ ษา การศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 - แบบรายงานการอา่ นออกเขียนได้ ของ สพฐ. จุดควรพัฒนา -แบบรายงานอ่านเขียนเรยี นคิดเลข ตาม ควรนานกั เรยี นไปศกึ ษาแหล่งเรียนภายนอกโรงเรียน โครงการ 1 โรงเรยี น 1 นวตั กรรม ท่ีอยู่ในท้องถ่ินที่สาคัญใหส้ ม่าเสมอ เช่น ปราสาทหนิ บา้ น - รายงานผมสัมฤทธทิ์ างการศึกษา O-Net พลวง ศูนย์คชศึกษา พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติสุรินทร์ -แบบบันทึกผลการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น เป็นต้น รวมถึงการนาวัฒนธรรมทางท้องถิ่น ภูมิปัญญา (ปพ.5) ท้องถ่ินให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียน -แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน ได้เรียนรู้ และการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียนทันทีเพ่ือ รายบุคคล (ปพ.6) นกั เรยี นนาไปใชใ้ นการพัฒนาตนเอง -แบบรายงานผลการประเมินคณุ ลักษณะ อันพึงประสงค์ -แบบรายงานผลการประเมินสรรถนะ สาคญั ของผเู้ รยี น -แบบรายงานผลการประเมินอ่านคดิ วิเคราะห์เขยี น -แบบรายงานผลการประเมินคา่ นิยม 12 ประการของคนไทย -รายงานการวิจัยในชนั้ เรยี น -รายงานผลการจัดการเรยี นรู้ -รายงานผลการจัดโครงการกิจกรรมตา่ งๆ รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกันคณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร)์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565

26 สรุปมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ระดบั คุณภาพ : ยอดเยีย่ ม 1. กระบวนการพฒั นา จากนโยบายและวสิ ัยทัศนข์ องโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบารุงราษฎร)์ ไดน้ าปรชั ญาการศึกษา และใช้ ทฤษฎกี ารเรยี นรูก้ ารสรา้ งองค์ความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism) มาใช้เปน็ แนวทางในการพฒั นาผู้เรยี น และ ใช้วธิ ีการจดั การเรียนร้โู ดยใชร้ ูปแบบบันได 5 ขั้นของการพัฒนาผู้เรียนสู่มาตรฐานสากล นาไปใชท้ ง้ั ระบบ และ ในฐานะ ครูประจาช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ได้ยดึ กระบวนการดงั กล่าวมาใชก้ ารจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรียน เป็นสาคัญ โดยการดาเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ การพัฒนางานหลักสูตร มีการประชุม ปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาในโรงเรียน พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนในระดับชั้น มธั ยมศึกษาปีที่ 3 มีการบรู ณาการ ภาระงาน ชิน้ งาน โดย จัดหนว่ ยบรู ณาการ STEM เศรษฐกิจพอเพียง ปรับ โครงสร้างรายวชิ า หน่วยการเรยี นรู้ ลดเวลาเรยี น - เพิม่ เวลารู้ สดั ส่วนคะแนนแตล่ ะหน่วย กาหนดคณุ ลักษณะ อันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนท่ีสอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ ครูจัดการเรียนการสอนที่สร้าง โอกาสให้นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียนเพื่อพัฒนาให้นักเรียนเป็นบุคคลในศตวรรษท่ี 21 ได้ดาเนินการสอนท่ีเน้นทักษะการคิด การใช้ เทคโนโลยี การแก้ปัญหา และครูประจาชั้นมีการมอบหมายหน้าที่ให้นักเรียนบริหารจัดการชั้นเรียน ร่วมคิด วางแผน และออกแบบให้น่าอยู่ น่าเรียน สะอาด และน่าสนใจ เช่น จัดป้ายนิเทศ สื่อต่างๆ เปิดโอกาสให้ นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมท่ีครูเป็นผู้นาในการทา การเปล่ียนหน้าท่ีการเป็นหัวหน้าช้ันและทาหน้าที่ในชั้น เรียนหน้าท่ีต่างๆของนักเรียน รวมถึงการจัดบรรยากาศตามสถานท่ีต่างๆ ทั้งภายในห้องเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 และนอกห้องเรียน ครูใช้ส่ือการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ภูมิปัญญาท้องถิน่ มีการประเมินคุณภาพและประสิทธภิ าพของส่อื การสอน ครูในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ใช้กระบวนการวิจัย ในชนั้ เรียนปกี ารศกึ ษาละ 2 เรื่อง 1. จดั การเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั ิจรงิ และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในการดาเนนิ ชวี ิต ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติหน้าที่การสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาระการ เรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ ได้มีการวางแผนเตรียมการสอนก่อนล่วงหน้า เร่ิมจากมีการศึกษาข้อมูล/วิเคราะห์ มาตรฐานการการเรียนรู้ ตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จัดทา หลักสูตรรายวิชา โครงสร้างรายวิชาแล้วจึงนามาจัดทาเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ ได้มีการกาหนดเป้าหมาย ผลการเรยี นรู้ จดั สร้างเครอื่ งมอื สื่อ นวัตกรรมและกจิ กรรม การวดั ผลประเมินผล ครอบคลุมทงั้ ทางด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จากน้ันจึงทาแผนการจัดการเรียนรูด้ ังกลา่ วไปสู่การปฏิบตั ิ ตามที่กาหนดไว้เพ่ือให้การปฏิบัติงานมีคุณภาพ มีผลสัมฤทธิ์และมีมาตรฐานตามท่ีกาหนดไว้ เพ่ือให้ผู้เรียน ได้รับความรู้อย่างเต็มท่ี และรู้จักการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้ เอาใจใส่ผู้เรียนอย่างสม่าเสมอ โดยการ จัดแบง่ ผเู้ รยี นตามระดับความสามารถท่ีได้ข้อมลู ทเ่ี กิดจากการวิเคราะหผ์ ู้เรยี นเปน็ รายบุคคล แลว้ จดั กิจกรรมที่ สอดคล้องและเหมาะสมกับผู้เรียนโดยใช้สื่อการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย การสอนด้วยเทคนิคและวิธีการท่ี เหมาะสมกับผู้เรียนนั้น จะสามารถทาให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้อย่างเต็มตามศักยภาพ ทั้งนี้ครูผู้สอนต้องมี รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์)ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2565

27 เทคนิค วิธีการหรือกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีหลากหลายและเน้นผู้เรียนเปน็ ศูนย์กลาง เพื่อให้ผู้เรียน เกดิ ความสนใจใฝ่เรยี นรู้ โดยใช้กระบวนการเรยี นรู้ Active Learning ท่เี นน้ ใหผ้ เู้ รียนไดล้ งมือกระทาและได้ใช้ กระบวนการความคิด เพ่ือพัฒนาศักยภาพทางด้านการคิดแก้ปัญหา และการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ มีการ เชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิดทั้ง ความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่สาคัญท้ังทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรแ์ ละทักษะในศตวรรษท่ี 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปญั หาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจ โดยใช้ข้อมลู หลากหลายและประจักษ์พยานทตี่ รวจสอบได้ เมื่อผู้เรียนได้รับการฝึกฝนตามกระบวนการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เช่น การปฏิบัติการ ทดลอง การฝึกให้นักเรียนรู้จักสร้างแบบจาลองด้วยตนเอง การสอนด้วยกระบวนการกลุ่ม การสอนด้วยเกม การสอนด้วยส่ือมัลติมิเดีย การสอนนอกห้องเรียน การสาธิต การจาลองสถานการณ์ การสร้างสิ่งประดิษฐ์ การสร้างแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ เป็นต้น เพือ่ ให้เกิดประสิทธภิ าพสูงสดุ ในการพัฒนาผู้เรียน โดยใช้เทคนิคและ ทักษะการสอนที่สาคัญคือ บูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ การสอนแบบเผชิญ สถานการณ์จริง การสร้างความตระหนัก การมีส่วนร่วม การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ทักษะการคิดและการแก้ปัญหา เป็นต้น ซง่ึ สรุปเทคนคิ และทักษะการสอนที่เหมาะสมน้นั จะต้องมีองค์ประกอบ ดงั นี้ - จะตอ้ งตอบสนองพฤตกิ รรมของผู้เรียน โดยใช้เทคนิคการเสริมแรงที่เหมาะสม - จะต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงออกท้ังด้านความคิดและการกระทา นักเรียนเห็นคุณค่าและ เกิดความภูมใิ จในตนเอง และตอ้ งรับฟังความคิดเหน็ ของผู้เรียนอย่างเข้าใจ - จะต้องมีการฝึกให้รู้จักการทางานเป็นระบบกลุ่ม เพ่ือสร้างมนุษยสัมพันธ์ ใช้ความคิดร่วมกัน ยอมรับความคดิ เห็นคนอน่ื มีจิตอาสา ร้จู กั การทางานร่วมกบั คนอืน่ และแก้ไขปัญหาร่วมกนั - จะต้องมีเทคนิควิธีการสอนที่ไม่ทาให้เกิดความเบ่ือหน่าย เช่น การปรับวิธีเรียน เปล่ียนวิธีสอน ตามความเหมาะสมของผู้เรียนและรายวิชา ท้ังน้ี เพ่ือให้นักเรียนเกิดความรู้ เจตคติ และทักษะตามที่ หลักสตู รกาหนดไว้ จากการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคต่าง ๆ ท่ีผ่านมาสามารถนาไปประยุกต์ใช้เพ่ือบริหาร จัดการเรียนรู้บูรณาการแบบครบวงจรร่วมกับรายวิชาอื่น ๆ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และบูรณาการ ร่วมกับฝา่ ยกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น และกิจกรรมลดเวลาเรยี น เพมิ่ เวลารู้ มกี ารนิเทศและติดตามการจัดกิจกรรม บรู ณาการอยา่ งเป็นระบบ สง่ ผลใหค้ รูจดั การเรียนการสอนบรรลุตามจุดหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พืน้ ฐานได้ พรอ้ มท้งั สามารถขับเคล่ือนรูปแบบการบูรณาการให้เหมาะสมกับรายวิชาทส่ี อน บรบิ ทและความ ต้องการของชุมชน/ผูเ้ รียน อกี ทงั้ มีการประเมินแผนการจดั การเรียนรู้ซ่งึ มีฐานข้อมูลจากการนาลงส่ชู ั้นเรยี น มี การนิเทศการสอน ซึ่งเป็นผลดีทั้งทางตรงและทางอ้อมในการบริหารจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิผล ผลดีจงึ เกิดข้นึ กบั ผเู้ รียนทาใหก้ ารจัดการเรียนรเู้ ปน็ ไปอย่างมีประสิทธภิ าพ รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา เพื่อการประกนั คุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์)ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2565

28 2. ใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูท้ เี่ ออ้ื ต่อการเรยี นรู้ ในห้องเรียนมีอุปกรณ์สาหรับการเรียนรู้ท่ีสอดคล้อง และครบตามตัวชี้วัด และมีเครื่องมือท่ีมีประสิทธิภาพสูงให้ นักเรียนได้เรียนรู้เพิ่มเติมในระดับที่สูงขึ้น ภายในห้องมีความ กว้างขวาง และได้มีการออกแบบบรรยากาศในห้องเรียนให้น่า เรยี น มผี ้าม่านปรับแสงมีการจัดหาโตะ๊ หน้ากว้างสาหรับทาการ ทดลองและเรียนรู้ที่เหมาะสมกับจานวนนักเรียนในแต่ละกลุ่ม มีเก้าอ้ีที่มีความแข็งแรง สามารถน่ังเรียนและทาการทดลองได้ อย่างสะดวกสบาย มีความสูงเหมาะสมกับผู้เรียน ผนังโดยรอบ มีการตกแต่งมุมความรู้เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ เพ่ิมเติม นอกจากน้ีห้องปฏิบัติการฯ มีส่ือเทคโนโลยีท่ีทันสมัย เช่น คอมพิวเตอร์ความเร็วสูง มีมุมสืบค้นความรู้ทาง อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงให้นักเรียนได้สืบค้นหาคาตอบและ สร้างองค์ความรู้ มีแสงสว่างที่เพียงพอ มีระบบเคร่ืองเสียงที่ ทนั สมัย และพัดลมปรบั อณุ หภมู หิ อ้ งให้นา่ เรยี นอยู่เสมอ การจัดส่ือและอุปกรณ์จะเป็นไปตามหน่วยการเรียนรู้นั้น ข้าพเจ้ามีการจัดหาส่ือมาใช้ โดยยึดหลักการ เช่อื มโยงจากรปู ธรรมไปสนู่ ามธรรม มีการสาธิตและการทาการทดลอง การฝึกปฏบิ ัติจรงิ ด้วยตนเอง หรอื การใช้ สื่อวีดีโอจาก YouTube การใช้เพลง การ์ตูน เกม กิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนการใช้คาถามกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิด กระบวนการคิดขณะทากจิ กรรมอยเู่ สมอ จัดแหลง่ ความรู้สอดคล้องกับกิจกรรม และความสนใจของผู้เรยี น ขา้ พเจ้าได้สร้างช่อง YouTube เพื่อ การเรียนรู้เป็นแหล่งให้นักเรียนได้นาผลงานมาใช้ในการนาเสนอผลงาน ให้ผู้เรียนได้ใช้เป็นสื่อในการติดตาม ขอ้ มลู ข่าวสาร ความเคลอ่ื นไหวของเทคโนโลยีสารสนเทศ ทมี่ กี ารพฒั นาอยูต่ ลอดเวลา มีการขยายผลการเรียนร้ดู ว้ ยการใชก้ ลุม่ เครือขา่ ยสงั คมออนไลน์ ใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อการพัฒนาการ จัดการเรียนรู้ เช่น การแจ้งข้อมูลข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ การแลกเปล่ียนประสบการณ์การเรียนรู้ การติดตาม ความคบื หนา้ และการส่งงานผ่านระบบออนไลน์ นอกจากนี้เพ่ือให้ผู้เรียนตระหนักในการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี21 ครูผู้สอนได้มีการใช้โปรแกรม Education App แอพพลิเคชัน สาหรบั ใช้ในการให้คะแนนและติดตามการทางานของผู้เรียนผ่านมือถือ เพื่อให เป็นการเชอ่ื มการเรียนรู้ ระหว่าง ครู นักเรยี น และผูป้ กครอง 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ในการปกครองช้ันเรียน ถือเป็นพ้ืนฐานของการอยู่ร่วมกันของคนในสังคม ดังน้ัน จะต้องมีกฎเกณฑ์ ระเบียบ แบบแผนร่วมกนั ทง้ั นเ้ี พ่อื ความเปน็ ระเบียบเรยี บร้อย และเกดิ ความสขุ ในการอย่รู ่วมกันในสังคมนั้น ๆ ครูนอกจากการจัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ พื่อให้ผูเ้ รยี นบรรลุตามจุดประสงคก์ ารเรียนรทู้ ่กี าหนดแลว้ ยงั มีหนา้ ท่ี สาคัญคือการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ทั้งทางด้านวิชาการ ความเป็นอยู่ สภาพครอบครัว เศรษฐกิจ และ พฤติกรรม สอนให้รู้จักกฎกติกามารยาทท่ีถูกต้องเหมาะสม โดยถือว่านักเรียนก็คือลูกหลานของเรา รักและ ปรารถนาดีต่อผู้เรียนโดยเท่าเทียมกัน มีการจัดระเบียบในชั้นเรียน เช่น การทางานกลุ่ม การใช้โทรศัพท์ใน รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา เพ่ือการประกันคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร)์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2565

29 ห้องเรียน การเข้า-ออกห้องเรียน การวางรองเท้าหน้าห้องเรียน การแต่งกาย การรักษาความสะอาด ความ รับผิดชอบการจัดป้ายนิเทศในห้องเรียน มารยาทในห้องเรียน เป็นต้น เพ่ือให้การจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ข้าพเจ้าได้วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลเพื่อจัดแบ่งนักเรียนตามกลุ่ม ความสามารถ แล้วเลือกส่ือและนวัตกรรมท่ีเหมาะสมกับผ้เู รยี น เพ่ือให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด อีกท้ังยังช่วยเหลือในด้านการศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมทั้งจากการสืบค้นผ่าน ทาง อนิ เทอรเ์ นต็ การศึกษาข้อมูลจาก หอ้ งสมุดและแหล่งเรียนรอู้ น่ื ๆ มกี ารสะท้อนผลการทางาน และผลงานของ นักเรยี นเพอ่ื พฒั นาตลอดจนการใหก้ าลงั ใจและเสรมิ แรง กบั ผู้เรียนเปน็ ระยะ ครูและนักเรียนมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน ครู ไม่ได้มีหน้าที่เพียงแค่สอน แต่ครูเป็นทุกอย่างของ นักเรียน ไม่ใช่จบแค่ในห้องเรียน อยู่ที่ไหนก็เป็นครูผู้หวังดีและคอยแนะนาพร่าสอนในส่ิงที่ดีงามถูกต้อง ตลอดเวลา ครูจึงต้องให้ความรัก ความปรารถนาดีและเป็นกันเองกับนักเรียน เติมเต็มส่วนท่ีขาด สร้างแรง บันดาลใจให้กับนักเรียน การให้ความเป็นกันเองแต่ทาให้นักเรยี นเกรงใจมากกว่ากลัว ซึ่งหมายความว่าครกู บั นักเรียนจะต้องสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน โดยอาจใช้วิธตี า่ ง ๆ เช่น ครูตอ้ งรจู้ กั ขอ้ มลู นักเรียนรายบุคคล การจัดตั้ง Line กลุ่มห้องเรียนเพื่อส่ือสารข้อมูลข่าวสารให้สะดวกรวดเร็ว ครูต้องให้ความสนใจไถ่ถามถึงความเป็นอยู่ ตลอดเวลา ครูต้องอุทิศเวลาของตนแก่นักเรียนนอกเหนือจากเวลาราชการและนอกเวลาเรียน เป็นผู้คอย แนะนาใหค้ าปรึกษาท้ังด้านวิชาการและความประพฤติแกน่ ักเรียน มอบทนุ การศึกษาให้กับศิษย์ผปู้ ระพฤติดีแต่ ยากจน แนะแนวการศึกษาต่อ แนะแนวการจัดทาแฟม้ ผลงานและการสอบสัมภาษณ์ ในระดับช้ันทีส่ ูงขึ้น ให้ คาแนะนาการใช้ชีวิต และส่งเสริมสนับสนุนให้ศิษย์ได้พัฒนาตนเองท้ังด้านสังคม อารมณ์ และสติปัญญา ตลอดจนมุ่งส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้ศิษยเ์ ตม็ ศักยภาพทุกคนอย่างท่ัวถึง ยกย่องชมเชยแก่ศิษยต์ ามโอกาส อันควรตลอดมา ตลอดจนมีกิจกรรมท่ีดี ๆ อันแสดงออกถึงความรักความผูกพันและความเคารพร่วมกัน เช่น พิธีไหว้ครู กิจกรรมพี่น้องสัมพันธ์ การนานักเรียนจัดกิจกรรมความดี กิจกรรมรักการออม กิจกรรมจิตอาสา นานักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมงานประเพณีของชุมชน การจัดกิจกรรมวันข้ึนปีใหม่ การออกเยี่ยมบ้านนักเรียน เป็นต้น ความสัมพันธ์อันดีระหว่างครูกับนักเรียนไม่ได้ส้ินสุดในช่วงระยะเวลาของการเป็นนักเรียนในโรงเรียน แต่เมื่อนักเรียนจบการศึกษาจากโรงเรียนไปแล้ว ความเป็นครูกับศิษย์ไม่ได้จบตามไปด้วย ทาให้ศิษย์เก่ารุ่น แล้วรุ่นเล่าได้หวนกลับมาเย่ียมครู เข้ามาแนะแนวการศึกษาต่อให้กับรุ่นน้อง กลับมาจัดกิจกรรมติวความรู้ ใหก้ บั รุน่ น้อง เป็นสมาชกิ ของสมาคมศิษยโ์ รงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบารุงราษฎร์)เป็นต้น จงึ เป็นท่ีประจักษ์ชัด ว่านักเรียนกบั ครูมคี วามผูกพนั ทีด่ ตี ่อกันไม่มีทสี่ ้นิ สุด 4. ตรวจสอบและประเมินผ้เู รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผูเ้ รยี น 4.1 มีการศึกษาเคร่ืองมือวัดผลประเมินผลด้านการจัดการช้ันเรียนอย่างเหมาะสม วัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย และนาผลไปใช้ในการพัฒนานักเรียนในการจัดกระบวนการจัดการ เรียนรู้ ส่ิงทีท่ าให้ครผู ู้สอนทราบว่า การจัดการเรียนรขู้ องตนเอง ประสบความสาเร็จหรือไม่ เพยี งใด สง่ิ นน้ั คือ ครูต้องมีการวัดผลและประเมินผลนักเรียนด้วยวิธีการท่ีหลากหลายอย่างต่อเน่ือง และประเมินจากสภาพจริง ขา้ พเจ้าขอนาเสนอวิธีการที่ปฏิบัตใิ นการวัดผลและประเมนิ ผลนักเรียน ดังนี้ 1) ศึกษาวิธีการวัดและประเมินผลท่ีหลากหลายรูปแบบ นาความรู้ความเข้าใจไปดาเนินการ ได้ ถกู ตอ้ ง กาหนดรายละเอียดการวัดผลและประเมนิ ผลใหค้ รอบคลมุ ทั้งด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติ รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกันคณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบารุงราษฎร์)ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2565

30 2) กาหนดวิธีการวัดและประเมินผล ออกแบบ สร้างเครื่องมือวัดผลในรูปแบบต่าง ๆ ท่ีสอดคล้อง กบั มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชีว้ ัด และกิจกรรมการเรียนรู้ 3) ออกแบบ สรา้ งเครือ่ งมือ และวธิ กี ารวดั และประเมนิ ผล 4) นาผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนานักเรียนต่อไป 5) รายงานผลต่อนักเรียน ผู้ปกครอง และผบู้ ริหารอย่างถกู ตอ้ ง สม่าเสมอ 4.2 ใช้วธิ กี ารวัดและประเมินผลอย่างหลากหลาย 1) มีการศกึ ษาเครื่องมอื วัดผลประเมนิ ผล ดา้ นการจัดช้นั เรียนอยา่ งเหมาะสม การศึกษาเครื่องมอื วัดผลและการประเมนิ ผลด้านการจดั การชัน้ เรียนนนั้ ไดว้ เิ คราะหห์ ลักสูตร สถานศึกษา การจัดทาตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางของหลักสูตร การจัดทาหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ทีเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญและบรู ณาการ และศึกษาจากงานวจิ ัยต่าง ๆ นามาวิเคราะห์เพื่อ หารูปแบบจัดทาเคร่ืองมือวัดประเมินผล การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของนักเรยี นรว่ มกันกับครูผู้สอนใน รายวชิ าเดียวกัน เช่น การประเมนิ ชิ้นงาน ผลงาน การทางานเป็นทมี การทาแบบฝกึ หัด ประเมนิ พฤตกิ รรม ประเมินความรู้ และทักษะต่าง ๆเป็นต้น โดยมีการประเมินผลตามสภาพจริง และใช้เคร่ืองมือที่เหมาะสม เช่น แบบสังเกต แบบสอบถาม แบบตรวจเช็ครายการ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน แบบประเมิน ความพึงพอใจ เป็นต้น โดยมขี น้ั ตอนดังน้ี 1.1) ศึกษาหลกั สูตรของโรงเรยี น ศึกษาเอกสารประกอบหลกั สูตรและวิเคราะห์หลักสตู ร 1.2) ออกแบบหน่วยการเรียนรู้และจัดทาแผนการ เรียนรู้อย่างชัดเจน ซ่ึงในแผนการจัดการเรียนรู้นอกจากจะ กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแล้ว จะกาหนด จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านพุทธิ พิสัย ด้านจิตพสิ ัยและด้านทกั ษะพิสัย 1.3) ระบุเทคนิควิธีการในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ ระบุใช้สื่อ/นวัตกรรมท่ีใช้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี เหมาะสมสอดคลอ้ งกับเนอื้ หาสาระและผเู้ รยี น 1.4) กาหนดวิธีการวัดและประเมินผลพร้อม เครอ่ื งมือการวดั และประเมนิ ผลไวอ้ ยา่ งชดั เจน 1.5) จากนั้นนาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้จัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ ใช้สื่อ/นวัตกรรม อย่างหลากหลายประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รวมทั้ง ออกแบบและสร้างเคร่ืองมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ให้ ครอบคลุมตามตวั ชวี้ ดั และมาตรฐานการเรียนรู้ 2) ใช้วธิ ีการวัดและประเมินผลอยา่ งหลากหลาย รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่ือการประกันคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์)ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2565

31 ได้มีการกาหนดรูปแบบการวัดและประเมินผล ในรายวิชาท่ีรับผิดชอบด้วยวิธีการท่ีหลากหลายวัดผลโดยยึด ระเบียบว่าด้วยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ยึดความแตกต่าง ระหว่างบุคคล การวัดผลระหว่างเรียน หลังเรียน โดยประเมิน จากสภาพจริง การสังเกตพฤติกรรม การปฏิบัติ การตรวจผลงาน การจดั ทารายงานสรุปบทเรยี น เพอื่ หาจุดอ่อนที่ควรแกไ้ ข นาผล ไปปรับปรุงพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง ทาให้นักเรียนมี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึน้ ทั้งน้ี ข้าพเจ้ามีการวัดและประเมินผลคือ การ ประเมินการปฏิบัติ (Authentic Assessment) และการประเมิน สภาพจริง (Performance Assessment) โดยผ่านการปฏิบัติของ ผู้เรียน โดยการวดั และประเมินผลดว้ ยวธิ ีการดังกลา่ วต้องวดั และประเมนิ ได้ครอบคลุม ครบถ้วนพฤตกิ รรมของ ผเู้ รียนทง้ั 3 ดา้ น ดงั น้ี ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) การประเมินความรู้ในรายวิชา เป็นการให้ผู้เรียนได้รับ ความรู้ ความเข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้ ท้ังเนื้อหาด้านทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิ ซงึ่ ความรู้ในเนอ้ื หาสาระนส้ี ามารถ ประเมินโดยการใช้แบบทดสอบ ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) เป็นการประเมินการแสดงออกของผู้เรียนทั้งหมด ตลอดจน การทางานรว่ มกันและคณุ ลักษณะต่างๆ ซึ่งสามารถประเมนิ ด้วยวิธกี ารสังเกตไดอ้ ยา่ งชดั เจน ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) การประเมินทักษะในรายวิชาตามทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทักษะท่ีสาคัญของนักเรียนในศตวรรษที่ 21 4.3 นาผลการประเมนิ มาพัฒนาการจัดการชนั้ เรยี น ข้าพเจ้ามีวิธีการประเมินผลการจัดกิจกรรมการจัดการ เรียนการสอนของตนเองเป็นประจาทุกปี โดยการจัดทาเป็นรายงาน ผลการปฏิบัติงานตนเอง และนาผลจากการประเมินการจัดกิจกรรม การเรยี นการสอนมาพัฒนารูปแบบการสอนใหม่ ๆ เชน่ การใช้ส่ือท่ี ทันสมัย การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการร่วมกับรายวิชาอื่น ๆ ใน ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 การจัดการเรียนนอกห้องเรียน การให้ นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าแหล่งเรียนรู้ใหม่ ๆ เพ่ิมเติม และการจัดทา สื่อประกอบการสอนเพ่ิมเติม นอกจากนี้ ได้นาเทคโนโลยีสารสนเทศ ใชเ้ ปน็ ส่วนหนงึ่ ในการขบั เคล่ือนกจิ กรรมการเรยี รู้ของนกั เรียนในทุกๆ ด้าน เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียนสามารถเลือกใช้เป็นเครื่องมือสาคัญอีก ช้ินหนึ่งในการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง เพอื่ เสรมิ สรา้ งคุณลักษณะนักเรยี นใหม้ ีคุณลักษณะ รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกนั คุณภาพการศึกษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบารุงราษฎร์)ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2565

32 ทพี่ งึ ประสงค์ รคู้ ดิ รทู้ า มีเหตผุ ล สรา้ งภูมคิ ้มุ กนั ที่ดี มคี วามพอเพยี ง ท่ขี ับเคล่ือนด้วยคุณธรรมนาความรู้ 5. มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้และให้ข้อมูลป้อนกลับเพอ่ื ปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ 5.1 เผยแพร่ผลการพฒั นาการจดั การชน้ั เรยี น จากผลการพัฒนาตนเองทาให้ข้าพเจ้าเกิดองค์ความรู้ที่ เป็นกระบวนการ สามารออกแบบการพัฒนาผู้เรียนอย่างมีระบบ และขั้นตอนตามหลักวิชาการ กล่าวคือ เร่ิมตั้งแต่การวิเคราะห์ หลักสูตร ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ จัดทาแผนการเรียนรู้ การใช้ ส่ือ/นวัตกรรม ตลอดจนการวัดและประเมินผลอย่างมีประสิทธิภาพ ตามสภาพจรงิ และจัดทาวิจัยชนั้ เรยี นซงึ่ ไดเ้ ผยแพร่ ดังนี้ 1) เผยแพร่เปน็ เอกสารให้กับครูในโรงเรยี น โรงเรยี นใน ศนู ยเ์ ครอื ข่าย และโรงเรยี นอ่ืนๆ 2) เผยแพร่ผา่ นส่อื ออนไลน์ Facebook Ya Kimawaha ,YouTube ห้องครยู า, Facebook page ห้องครูยา 3) เผยแพรใ่ นการประชุม สัมมนา ครใู นโรงเรียน 4) เผยแพรใ่ นการรจัดนิทรรศการและนาเสนอผลงาน กิจกรรม Open House 2. ผลการดาเนินงาน จากการดาเนนิ งาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพ่ือพัฒนาใหค้ รจู ดั การเรียนการสอนโดยเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ ส่งผลให้ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ 3 อยู่ในระดับยอดเยี่ยม นักเรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สามารถนาความรู้ท่ีได้เรียนรู้ในห้องเรียนไปต่อยอด ขยายความรู้ของตนเองได้ สามารถนาความรู้ไปอธบิ ายธรรมชาติและปรากฏการณ์รอบตัว ของตนเอง ได้อย่าง เหมาะสม มีความรู้ความเข้าใจความเป็นมาของชุมชนและสังคมโดยอาศัยทักษะการเรียนรู้ที่ตนเองได้ผ่านการ เรียนรู้ จนส่งผลให้นักเรียนในประจาช้ันประสบผลสาเร็จ ตามความถนัดและความสนใจของตนเอง นักเรียนมี ผลสาเร็จในด้านความรู้ ด้านทักษะนักเรียนมีความสามารถในการส่ือสารนาเสนอ ตลอดจนมีคุณลักษณะท่ีพึง ประสงค์ นักเรยี นมจี ิตอาสา เป็นนกั เรียนดีศรีพลวงพรหม ของโรงเรียน 3. ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ โรงเรียนควรกาหนดแผนพัฒนาความรู้และทักษะท่ีจาเป็นตามหลักสูตร อย่างต่อเนื่องพัฒนาการ นิเทศ กากับ ติดตาม และประเมินผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การรายงานผลการ พัฒนานักเรียนอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง โรงเรียนควรกาหนดแผนพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็น ระบบ คดิ สรา้ งสรรค์ ตดั สินใจแก้ปญั หาได้อย่างมีสตสิ มเหตุผลอยา่ งต่อเนื่องพัฒนาการนิเทศ กากบั ติดตาม และประเมินผลโรงเรียนควรจัดโครงการเสริมสร้างการมีส่วนร่วม/พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการสถานศึกษา ข้ันพืน้ ฐาน ผปู้ กครองนกั เรยี น รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพ่ือการประกนั คณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารุงราษฎร์)ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2565

33 สรปุ ผลการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาภาพรวม ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาอยู่ในระดับ 5 คอื ยอดเยย่ี ม จากผลการดาเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่างๆ ส่งผลให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารุงราษฎร์) จัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประสบผลสาเร็จ ตามท่ีตั้งเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปได้ว่าอยู่ในระดับยอดเย่ียม ท้ังนี้ เพราะ มาตรฐานที่ 1 ผลการจัดการศึกษา อยู่ในระดับยอดเย่ียม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัด การศกึ ษา อยใู่ นระดับยอดเย่ยี ม มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั อยใู่ น ระดบั ยอดเย่ียม ท้งั น้ีการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนในชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารุงราษฎร์) การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายที่เป็นไปตามปัญหาและความต้องการพัฒนาตามสภาพ ของผู้เรียน สอดคล้องกับจุดเน้นของโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบารุงราษฎร์) และสภาพของชุมชนท้องถิ่น จน เกิดการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอยู่ในระดับยอดเยย่ี ม ผูเ้ รียนมคี วามสามารถในการอ่านและเขียน การส่อื สาร ทงั้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ความสามารถในการคิดคานวณ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารได้ดี และมีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะตามท่ีสถานศึกษากาหนดปรากฏอย่าง ชัดเจน ดังทปี่ รากฏผลการประเมินในมาตรฐานที่ 1 ในดา้ นกระบวนการบรหิ ารจัดการของผบู้ ริหารสถานศึกษา มีผลการประเมนิ รายมาตรฐานอยู่ในระดับยอดเย่ียม ครูจดั กระบวนการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ มี ผลการประเมินอยู่ในระดับดีเลิศ วิเคราะห์ ออกแบบและจัดการเรียนรู้เป็นไปตามความต้องการของหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ ใช้ส่ือการเรียนรู้ ติดตาม ตรวจสอบและช่วยเหลือ นักเรียนเพ่ือพัฒนาและแก้ปัญหารายบุคคล และการประเมินผลจากสภาพจริงทุกขั้นตอน และดาเนินงาน ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นอย่างดี และผู้มีส่วนเก่ียวข้องมีความมั่นใจต่อระบบการบริหารและ การจดั การของสถานศึกษาในระดับสงู สืบไป รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อการประกนั คณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร)์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2565

34 แบบประเมินมาตรฐานการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เพื่อการประกนั คณุ ภาพภายใน รายห้องเรยี น รายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อการประกนั คุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบารุงราษฎร์)ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565

35 แบบประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานเพอ่ื การประกันคุณภาพภายใน ระดบั ชัน้ ท่ี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ชื่อโรงเรียน บา้ นพลวง(พรหมบารุงราษฎร์) ตาบล บา้ นพลวง อาเภอ ปราสาท จังหวดั สุรินทร์ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา สุรินทร์ เขต 3 ปกี ารศึกษา 2565 มาตรฐานท่ี 1 มาตราฐานการศกึ ษาชั้นพืน้ ฐาน คะแนน คณุ ภาพของผเู้ รียน 45 25 ตวั บง่ ชี้ที่ 1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รียน(25 คะแนน ) 4 4 1.มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การสอ่ื สาร และการคดิ คานวณ(4 คะแนน) 4 4 2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลย่ี นความคิดเห็นและแกป้ ญั หา(4 คะแนน) 4 5 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม(4 คะแนน) 20 5 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร(4 คะแนน) 5 5 5. มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา(4 คะแนน) 5 6. มีความรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ งานอาชีพ(5 คะแนน) ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.1 คณุ ลกั ษะทพ่ี ึงประสงคข์ องผเู้ รียน ( 20 คะแนน) 1. การมีคณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มทด่ี ตี ามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด(5 คะแนน) 2. ความภูมิใจในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย(5 คะแนน) 3. การยอมรับทจ่ี ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย(5 คะแนน) 4. สขุ ภาวะทางร่างกายและจติ สงั คม(5 คะแนน) ระดบั คุณภาพ ระดบั คะแนน ความหมาย 5 ยอดเย่ียม 4 ดเี ลิศ 3 ดี 2 ปำนกลำง 1 กำลงั พฒั นำ รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อการประกนั คุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบารงุ ราษฎร์)ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2565