ประวัติกีฬาปิงปอง (ข้อมูลจากการกีฬาแหง่ ประเทศไทย) เท่าท่ีมีหลักฐานบันทึกพอให้ค้นคว้า ทาให้เราได้ทราบว่ากีฬาเทเบิลเทนนิสได้เร่ิมขึ้นท่ี ประเทศองั กฤษ ในปี ค.ศ. 1890 ในครงั้ นัน้ อุปกรณ์ท่ีใชเ้ ล่นประกอบด้วย ไม้ หนงั สัตว์ ลักษณะ คล้ายกบั ไม้เทนนสิ ในปจั จุบันน้ี หากแต่วา่ แทนทจี่ ะขงึ ด้วยเสน้ เอ็นกใ็ ชแ้ ผน่ หนังสตั ว์หุ้มไวแ้ ทน ลูกท่ี ใช้ตีเป็นลูกเซลลูลอยด์ เวลาตีกระทบถูกพื้นโต๊ะและไม้ก็เกิดเสียง “ปิก-ป๊อก” ดังน้ัน กีฬาน้ีจึงถูก เรียกอีกชื่อหน่ึงตามเสียงทีได้ยินว่า “ปิงปอง” (PINGPONG) ต่อมาก็ได้มีการวิวัฒนาการข้ึนโดยไม้ หนังสตั วไ์ ด้ถกู เปลีย่ นเปน็ แผ่นไมแ้ ทน ซ่ึงไดเ้ ล่นแพร่หลายในกลมุ่ ประเทศยโุ รปก่อน วธิ ีการเลน่ ในสมัยยุโรปตอนตน้ นเ้ี ป็นการเล่นแบบยัน (BLOCKING) และแบบดันกด (PUSHING) ซึง่ ต่อมาได้พฒั นามาเปน็ การเล่นแบบ BLOCKING และ CROP การเล่นถกู ตดั ซ่ึงวธิ ีนีเ้ องเป็นวธิ กี าร เลน่ ท่สี ่วนใหญ่นยิ มกันมากในยุโรป และแพร่หลายมากในประเทศต่าง ๆ ทว่ั ยุโรป การจับไม้กม็ กี าร จับไม้อยู่ 2 ลักษณะ คือ จับไม้แบบจับมือ (SHAKEHAND) ซ่ึงเราเรียกกันว่า “จับแบบยุโรป” และการจับไม้แบบจบั ปากกา (PEN-HOLDER) ซงึ่ เราเรยี กกันวา่ “จับไมแ้ บบจีน” นนั่ เอง ในปี ค.ศ. 1900 เร่ิมปรากฏว่า มีไม้ปิงปองท่ีตดิ ยางเม็ดเขา้ มาใช้เล่นกัน ดังนั้นวิธีการเล่นแบบ รุกหรือแบบบุกโจมตี (ATTRACK หรือ OFFENSIVE) เริ่มมีบทบาทมากยิ่งขน้ึ และยคุ นีจ้ งึ เป็นยุคของ นายวิตเตอร์ บาร์น่า (VICTOR BARNA) อย่างแท้จริง เป็นชาวฮังการีได้ตาแหน่งแชมเป้ียนโลก ประเภททมี รวม 7 คร้งั และประเภทชายเดี่ยว 5 ครั้ง ในปี ค.ศ. 1929-1935 ยกเว้นปี 1931 ท่ี ได้ตาแหน่งรองเท่าน้ัน ในยุคน้ีอุปกรณ์การเล่น โดยเฉพาะไม้มีลักษณะคล้าย ๆ กับไม้ในปัจจุบันนี้ วิธีการเล่นก็เช่นเดียวกัน คือมีทั้งการรุก (ATTRACK) และการรับ (DEFENDIVE) ทั้งด้าน FOREHAND และ BACKHAND การ จับไม้ก็คงการจับแบบ SHAKEHAND เป็นหลัก ดังน้ันเมื่อ ส่วนใหญ่จับไมแ้ บบยุโรป แนวโนม้ การจบั ไม้แบบ PENHOLDER ซงึ่ เปล่ยี นแปลงไปมีนอ้ ยมากในยโุ ป ในระยะนน้ั ถือว่ายุโรปเปน็ ศนู ยร์ วมของกฬี าปิงปองอยา่ งแท้จริง ในปี ค.ศ. 1922 ได้มีบริษัทค้าเครื่องกีฬา ไปจดทะเบยี นเครื่องหมายการค้าว่า “PINGPONG” ด้วยเหตุน้ีกีฬาน้ีจึงเป็นช่ือมาเป็น “TABLE TENNIS” ไม่สามารถใช้ชื่อท่ีเขาจดทะเบียนได้ประการ หน่ึง และเพื่อไม่ใช่เป็นการโฆษณาสินค้าอีกประการหนึ่ง และแล้วในปี ค.ศ. 1926 จึงได้มีการ ประชุมก่อตั้งสหพันธ์เทเบิลเทนนิสนานาชาติ (INTERNATIONAL TABLETENNIS FEDERATION : ITTF) ขึ้นที่กรุงลอนดอนในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1926 ภายหลังจากการได้มีการปรึกษาหารือใน ขัน้ ตน้ โดย DR. GEORG LEHMANN แหง่ ประเทศเยอรมนั กรงุ เบอรล์ ิน เดอื นมกราคม ค.ศ. 1926 ในปีนี้เองการแข่งขนั เทเบิลเทนนสิ แห่งโลกครั้งท่ี 1 ก็ได้เริ่มขึ้น พร้อมกับการก่อตั้งสหพันธ์ฯ โดยมี
นายอวี อร์ มองตากู เป็นประธานคนแรก ในชว่ งปี ค.ศ. 1940 นี้ ยังมีการเลน่ และจับไม้พอจาแนก ออกเป็น 3 ลักษณะดงั น้ี 1. การจบั ไม้ เปน็ การจับแบบจบั มือ 2. ไมต้ ้องติดยางเม็ด 3. วิธีการเล่นเป็นวิธีพื้นฐาน คือ การรับเป็นส่วนใหญ่ ยุคน้ียังจัดได้ว่าเป็น “ยุคของยุโรป” อกี เช่นเคย ในปี ค.ศ. 1950 จึงเร่มิ เปน็ ยคุ ของญีป่ นุ่ ซ่งึ แท้จรงิ มลี กั ษณะพิเศษประจาดงั นี้คอื 1. การตบลกู แมน่ ยาและหนักหน่วง 2. การใชจ้ ังหวะเตน้ ของปลายเท้า ในปี ค.ศ. 1952 ญี่ปุ่นได้เข้าร่วมการแข่งขันเทเบิลเทนนิสโลกเป็นครั้งแรก ที่กรุงบอมเบย์ ประเทศอินเดยี และตอ่ มาปี ค.ศ. 1953 สาธารณรฐั ประชาชนจีน จงึ ได้เข้าร่วมการแข่งขันเป็นคร้ัง แรกท่ีกรงุ บูคาเรสต์ ประเทศรูมาเนยี จงึ นบั ได้ว่ากฬี าปงิ ปองเป็นกีฬาระดบั โลกทแ่ี ทจ้ รงิ ปีนี้น่นั เอง ในยุคน้ีญี่ปนุ่ ใช้การจับไม้แบบจับปากกา ใช้วิธีการเล่นแบบรุกโจมตีอยา่ งหนักหน่วงและรุนแรง โดยอาศัยอปุ กรณเ์ ข้าช่วย เปน็ ยางเม็ดสอดไสด้ ้วยฟองนา้ เพมิ่ เตมิ จากยางชนดิ เม็ดเดมิ ทใ่ี ช้กันท่ัวโลก การเล่นรุกของยุโรปใช้ความแม่นยาและช่วงตีวงสวิงส้ัน ๆ เท่าน้ัน ซ่ึงส่วนใหญ่จะใช้บ่า ข้อศอก และข้อมือเท่านั้น ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบกับญี่ปุ่นซ่ึงใช้ปลายเท้าเป็นศูนย์กลางของการตีลูก แบบรุกเป็นการเลน่ แบบ “รุกอย่างต่อเน่อื ง” ซ่งึ วธิ ีนีส้ ามารถเอาชนะวธิ กี ารเล่นของยุโรปได้ การเล่น โจมตีแบบนี้เป็นท่ีเกรงกลัวของชาวยุโรปมาก เปรียบเสมือนการโจมตีแบบ “KAMIKAZE” (การบิน โจมตีของฝูงบินหน่วยกล้าตายของญ่ีปุ่น) ซึ่งเป็นท่ีกล่าวขวัญในญี่ปุ่นกันว่า การเล่นแบบน้ีเป็นการ เล่นท่ีเสี่ยงและกล้าเกินไปจนดูแล้วรู้สึกว่าขาดความรอบคอบอยู่มาก แต่ญี่ปุ่นก็เล่นวิธีน้ีได้ดี โดย อาศัยความสุขุมและ Foot work ท่ีคล่องแคล่วจนสามารถครองตาแหน่งชนะเลิศถึง 7 คร้ัง โดยมี 5 ครงั้ ตดิ ตอ่ กัน ตง้ั แตป่ ี ค.ศ. 1953-1959 สาหรบั ในยุโรปนนั้ ยังจับไมแ้ บบ SHAKEHAND และรบั อยู่ จึงกล่าวได้ว่าในชว่ งแรก ๆ ของปี ค.ศ. 1960 ยังคงเปน็ จดุ มืดของนกั กีฬายโุ รปอย่นู น่ั เอง
ในปี ค.ศ. 1960 เร่ิมเป็นยุคของจีน ซ่ึงสามารถเอาชนะญี่ปุ่นได้โดยวิธีการเล่นที่โจมตีแบบ รวดเร็ว ผสมผสานกับการป้องกัน ในปี 1961 ได้จัดการแข่งขันเทเบิลเทนนิสชิงชนะเลิศ คร้ังที่ 26 ที่กรงุ ปกั กง่ิ ประเทศจนี จีนเอาชนะญี่ปุน่ ทง้ั นเี้ พราะญปี่ นุ่ ยังใช้นักกฬี าท่อี ายมุ าก สว่ นจีนได้ใช้ นกั กีฬาทีห่ นมุ่ สามารถเล่นได้อย่างรวดเร็วปานสายฟ้าท้ังรุกและรบั การจับไม้กเ็ ป็นการจบั แบบปากกา โดยจีนชนะท้ังประเภทเดี่ยวและทีม 3 คร้ังติดต่อกัน ทั้งนี้เพราะจีนได้ทุ่มเทกับการศึกษาการเล่น ของญี่ปุ่นท้ังภาพยนตร์ที่ได้บันทึกไว้และเอกสารต่าง ๆ โดยประยุกต์การเล่นของญี่ปุ่น เข้ากับการ เล่นแบบส้ัน ๆ แบบท่ีจนี ถนดั กลายเป็นวิธกี ารเล่นที่กลมกลนื ของจนี ดงั ทเ่ี ราเหน็ ในปัจจุบัน ยุโรปเริ่มฟ้ืนคืนชีพขึ้นมาอีกคร้ังหน่ึง โดยนาวิธีการเล่นของชาวอินเดียมาปรับปรุง นาโดย นักกีฬาชาวสวีเดนและประเทศอ่ืน ๆ ซ่ึงมีหัวก้าวหน้าไม่มัวแต่แต่คิดจะรักษาหน้าของตัวเองว่าไม่ เรียนแบบของชาติอื่นๆ ดังนั้นชายยุโรปจึงเร่ิมชนะชายคู่ ในปี 1967 และ 1969 ซ่ึงเป็นนักกีฬา จากสวเี ดน ในชว่ งนน้ั การเลน่ แบบรกุ ยังไมเ่ ป็นทีแ่ พร่หลายทั้งนีเ้ พราะวธิ กี ารเล่นแบบรับได้ฝังรากใน ยุโรป จนมีการพูดกันว่านักกีฬายุโรปจะเรียนแบบการเล่นลูกยาวแบบญ่ีปุ่นนั้นคงจะไม่มีทางสาเร็จ แต่การท่ีนักกีฬาของสวีเดนได้เปลี่ยนวิธีการเล่นแบบญ่ีปุ่นได้มีผลสะท้อนต่อการเปลี่ยนแปลงของ เยาวชนรุ่นหลังของยุโรปเป็นอย่างมาก และแล้วในปี 1970 จึงเป็นปีของการประจันหน้าระหว่างผู้ เล่นชาวยุโรปและผู้เลน่ ชาวเอเชยี ชว่ งระยะเวลาได้ผ่านไปประมาณ 10 ปี ตง้ั แต่ 1960-1970 นักกีฬาของญี่ปนุ่ ได้แก่ตัวลงใน ขณะทีน่ กั กฬี ารนุ่ ใหม่ของยโุ รปได้เร่มิ ฉายแสงเก่งขน้ึ และสามารถคว้าตาแหน่งชนะเลศิ ชายเดย่ี วของ โลกไปครองได้สาเรจ็ ในการแข่งขันเทเบิลเทนนิสเพ่ือความชนะเลิศแห่งโลก คร้ังท่ี 31 ณ กรงุ นาโก น่า ในปี 1971 โดยนักเทเบิลเทนนิส ชาวสวีเดน ช่ือ สเตลัง เบนค์สัน เป็นผู้เปิดศักราชให้กับ ชาวยุโรป ภายหลังจากท่ีนักกีฬาชาวยุโรปได้ตกอับไปถึง 18 ปี ในปี 1973 ทีมสวีเดนก็ได้คว้า แชมป์โลกไดจ้ งึ ทาใหช้ าวยุโรปมคี วามมนั่ ใจในวิธีการเล่นที่ตนได้ลอกเลียนแบบและปรังปรงุ มา ดงั น้นั นักกีฬาของยุโรปและนกั กฬี าของเอเชียจึงเป็นคู่แข่งท่ีสาคัญในขณะที่นักกีฬาในกลุ่มชาติอาหรับและ ลาตนิ อเมรกิ า ก็เร่ิมแรงขึน้ ก้าวหนา้ รวดเรว็ ข้ึน เริม่ มกี ารให้ความร่วมมอื ชว่ ยเหลอื ทางด้านเทคนิคซึ่ง กันและกนั การเล่นแบบตงั้ รับซ่งึ หมดยุคไปแล้วต้งั แต่ปี 1960 เรมิ่ จะมบี ทบาทมากย่ิงขนึ้ มาอีก โดย การใช้ความชานาญในการเปลี่ยนหน้าไม้ในขณะเล่นลกู หนา้ ไม้ซง่ึ ตดิ ด้วยยางปิงปอง ซึ่งมีความยาว ของเม็ดยางยาวกว่าปกติ การใช้ยาง ANTI – SPIN เพ่ือพยายามเปลี่ยนวิถีการหมนุ และทิศทางของ ลูกเข้าช่วย ซ่ึงอุปกรณ์ท่ีใช้น้ีมีส่วนช่วยอย่างมาก ในขณะน้ีกีฬาเทเบิลเทนนิสนับว่าเป็นกีฬาที่ แพรห่ ลายไปทวั่ โลก มวี ธิ ีการเล่นใหม่ ๆ เกิดขน้ึ ตลอดเวลา ซ่งึ ผเู้ ลน่ เยาวชนต่าง ๆ เหล่าน้ีจะเปน็ กาลัง
สาคัญในการพัฒนากีฬาเทเบิลเทนนิสต่อไปในอนาคตได้อย่างไม่มีที่วันสิ้นสุด และขณะน้ีกีฬานี้ก็ได้ เป็นกีฬาประเภทหน่ึงในกีฬาโอลิมปิก โดยเริ่มมีการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกในปี 1988 ที่กรุงโซล ประเทศสาธารณรฐั เกาหลเี ปน็ ครั้งแรก กติกาเทเบลิ เทนนสิ 1. โตะ๊ เทเบลิ เทนนสิ 1.1 พืน้ หน้าดา้ นบนของโต๊ะเรียกว่า “พื้นผวิ โต๊ะ” จะเป็นรปู สเี่ หล่ียมผนื ผ้ามคี วามยาว 2.74 เมตร ( 9 ฟุต) ความกวา้ ง 1.525 เมตร ( 5 ฟตุ ) และจะตอ้ งสงู ได้ระดบั โดยวัดจากพ้นื ทีต่ ้ังข้ึนมาถึงพ้ืนผวิ โต๊ะสูง 76 เซนติเมตร ( 2 ฟุต 6 น้วิ ) 1.2 พ้ืนผิวโต๊ะให้รวมถึงขอบบนสุดของโต๊ะ แต่ไม่รวมถึงด้านข้างของโต๊ะที่อยู่ต่ากว่าขอบบนสุดของ โต๊ะลงมา 1.3 พื้นผวิ โตะ๊ อาจทาด้วยวสั ดใุ ดๆ ก็ได้ แตจ่ ะต้องมีความกระดอนสม่าเสมอ เมื่อเอาลูกเทเบิลเทนนิส มาตรฐานทงิ้ ลงในระยะสงู 30 เซนตเิ มตร ลกู จะกระดอนข้นึ มาประมาณ 23 เซนติเมตร 1.4 พื้นผิวโตะ๊ จะต้องเปน็ สีเขม้ สม่าเสมอและเปน็ สดี ้านไมส่ ะทอ้ นแสง ขอบดา้ นบนของพ้ืนผวิ โตะ๊ ทงั้ 4 ด้านจะทางด้วยสีขาว มีความกว้าง 2 เซนติเมตร เส้นของพื้นผิวโต๊ะด้านยาว 2.74 เมตรท้ังสองข้าง เรยี กว่า “เสน้ ขา้ ง” เส้นของพนื้ ผิวโตะ๊ ด้านกว้าง 1.525 เมตร ทั้งสองขา้ งเรยี กวา่ “เส้นสกัด” 1.5 พ้ืนผิวโต๊ะจะถูกแบง่ ออกเปน็ สองแดนเทา่ ๆ กัน กั้นด้วยเนต็ ซง่ึ ขงึ ต้ังฉากกบั พ้ืนผิวโต๊ะ และขนาน กับเสน้ สกดั โดยตลอด 1.6 สาหรับประเภทคู่ ในแต่ละแดนจะถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนเท่าๆ กันด้วยเส้นสีขาวขนาดกว้าง 3 มิลลิเมตร โดยขดี ขนานกบั เสน้ ข้างเรียกว่า “เส้นกลาง” และใหถ้ อื วา่ เส้นกลางนี้เป็นส่วนหน่ึงของคอร์ ตดา้ นขวาของโตะ๊ ดว้ ย 1.7 ในการแข่งขนั ระดบั มาตรฐานสากลโต๊ะเทเบลิ เทนนิสท่ีใช้สาหรับแข่งขนั จะต้องเปน็ ย่ีห้อและชนิด ที่ได้รับการรับรองจากสหพันธ์เทเบิลเทนนสิ นานาชาติเท่านั้น และในการจัดการแข่งขันจะต้องระบุสี ของโตะ๊ ที่จะใชแ้ ข่งขนั ลงในระเบยี บการแขง่ ขันด้วยทุกครง้ั
2. ส่วนประกอบของเนต็ 2.1 ส่วนประกอบของเน็ตจะประกอบไปด้วย ตาข่าย ท่ีแขวนและเสาต้ัง รวมไปถึงท่ีจับยึดกับโต๊ะเท เบลิ เทนนสิ 2.2 ตาข่ายจะต้องขึงตึงและยึดด้วยเชือกซึ่งผูกติดปลายยอดเสา ซ่ึงต้ังตรงสูงจากพื้นผิวโต๊ะ15.25 เซนตเิ มตร ( 6 น้ิว) และยน่ื ออกไปจากเสน้ ข้างของโตะ๊ ถงึ ตัวเสาตา้ นละ 15.25 เซนติเมตร ( 6 นิ้ว) 2.3 สว่ นบนสดุ ของตาขา่ ยตลอดแนวยาว จะต้องสูงจากพืน้ ผวิ โต๊ะ 15.25 เซนติเมตร 2.4 ส่วนล่างสุดของตาข่ายตลอดแนวยาวจะต้องอยู่ชิดกับพื้นผิวโต๊ะและส่วนปลายสุดของตาข่ายท้ัง สองด้านจะต้องอย่ชู ิดกบั เสาให้มากที่สดุ เทา่ ท่เี ปน็ ไปได้ 2.5 ในการแข่งขันระดับมาตรฐานสากล เน็ตท่ีใช้สาหรับแข่งขันจะต้องเป็นยี่ห้อและชนิดท่ีได้รับการ รบั รองจากสหพันธเ์ ทเบลิ เทนนสิ นานาชาตเิ ท่านั้น และจะต้องเป็นสีเดยี วกันกบั โต๊ะที่ใชแ้ ขง่ ขนั 3. ลกู เทเบิลเทนนิส 3.1 ลกู เทเบลิ เทนนิสจะต้องกลมและมเี ส้นผ่าศูนยก์ ลาง 40 มลิ ลิเมตร 3.2 ลูกเทเบิลเทนนสิ จะตอ้ งมีนา้ หนัก 2.7 กรมั 3.3 ลกู เทเบิลเทนนิสจะตอ้ งทาด้วยเซลลลู อยดห์ รอื วัสดพุ ลาสติกอ่นื ใดทคี่ ล้ายคลึงกนั มีสขี าว สเี หลือง หรอื สสี ม้ และเปน็ สดี ้าน 3.4 ลกู เทเบิลเทนนสิ ท่ใี ช้สาหรบั แข่งขนั จะตอ้ งเปน็ ยี่ห้อและชนิดท่ีไดร้ ับการรบั รองจากสหพนั ธ์เทเบิล เทนนิสนานาชาติเทา่ นนั้ และจะต้องระบสุ ีของลูกท่ีจะใช้แขง่ ขนั ลงในระเบียบการแข่งขันทุกคร้ัง 4. ไม้เทเบลิ เทนนิส 4.1 ไมเ้ ทเบิลเทนนสิ จะมรี ูปร่าง ขนาด หรอื นา้ หนกั อยา่ งไรกไ็ ด้ แตห่ นา้ ไมจ้ ะตอ้ งแบนเรยี บและแขง็ 4.2 อย่างน้อยทสี่ ุด 85% ของความหนาของไม้ จะต้องทาด้วยไม้ธรรมชาติ ชั้นทอี่ ดั อยตู่ ิดภายในหน้า ไม้ ซ่ึงทาด้วยวัสดุอ่นื ใด เช่น คาร์บอนไฟเบอร์ , กลาสไฟเบอร์ หรือกระดาษอัดจะต้องมีความหนาไม่ เกิน 7.5 % ของความหนาทั้งหนา้ ไมห้ รอื ไม่เกิน 0.35 มิลลเิ มตร สุดแท้แต่กรณีใดจะมีคา่ นอ้ ยกวา่ 4.3 หน้าไม้เทเบลิ เทนนิสด้านท่ีใช้ในการตีลูกจะต้องมีวัสดุปดิ ทับ วัสดุน้ันจะเปน็ ยางเมด็ ธรรมดาแผ่น เดยี วกนั โดยหนั เอาเม็ดออกมาด้านนอกและไม่มีฟองน้ารองรับ แผน่ ยางชนิดนี้เม่ือปดิ ทบั หน้าไม้และ
รวมกับกาวแล้วจะตอ้ งมีความหน้าทัง้ ส้ินไม่เกิน 2 มิลลิเมตร หรือแผ่นยางแผ่นเดียวกันชนดิ มีฟองนา้ รองรับโดยจะหันเอาเม็ดอยู่ด้านในหรือเอาเม็ดอยู่ด้านนอกก็ได้ ยางชนิดน้ีเมื่อปิดทับหน้าไม้และรวม กับกาวแล้วจะตอ้ งมีความหนาท้งั สิน้ ไม่เกิน 4 มิลลเิ มตร 4.3.1) แผ่นยางเม็ดธรรมดา จะต้องเป็นช้ินเดียวและไม่มีฟองน้ารองรับจะทาด้วยย างหรือยาง สังเคราะห์ มีเม็ดกระจายอยอู่ ย่างสมา่ เสมอไม่น้อยกว่า 10 เมด็ ตอ่ 1 ตารางเซนติเมตร และไม่มากกวา่ 50 เมด็ ต่อ 1 ตารางเซนติเมตร 4.3.2) แผ่นยางชนิดมีฟองน้า ประกอบด้วยฟองนา้ ช้ินเดียวปิดคลุมด้วยแผ่นยางเม็ดธรรมดาช้ินเดยี ว ซ่งึ ความหนาของแผ่นยางธรรมดานจี้ ะต้องมีความหนาไม่เกนิ 4 มิลลิเมตร 4.4 วัสดุปิดทับหน้าไม้จะต้องปิดทับคลุมหน้าไม้ด้านน้ันๆ และจะต้องไม่เกินขอบของหน้าไม้ออกไป ยกเว้นส่วนที่ใกล้กับด้ามจับท่ีสุดและที่วางน้ิวอาจจะหุ้มหรือไม่หุ้มด้วยวัสดุใดๆ ก็ได้ ซ่ึงอาจจะถูก พิจารณาวา่ เป็นส่วนหน่งึ ของดา้ มจบั 4.5 หนา้ ไมเ้ ทเบิลเทนนสิ ชัน้ ภายในหน้าไมแ้ ละชัน้ ของวสั ดุปดิ ทบั ตา่ งๆ หรอื กาวจะต้องสมา่ เสมอและ มีความหนาเท่ากนั ตลอด 4.6 หน้าไมเ้ ทเบิลเทนนสิ ด้านหนึ่งจะต้องเปน็ สแี ดงสวา่ ง และอกี ดา้ นหนงึ่ จะต้องเป็นสีดา โดยไม่คานึง ว่าหน้าไม้นั้นจะใช้ตีลูกเทเบิลเทนนิสหรือไม่ และจะต้องมีสีกลมกลืนอย่างสม่าเสมอไม่สะท้อนแสง ตามขอบของไมเ้ ทเบลิ เทนนิสจะต้องไม่เป็นสสี ะทอ้ นแสงหรือมสี ว่ นหนึ่งสว่ นใดเป็นสขี าว 4.7 วัสดทุ ่ปี ดิ ทับหนา้ ไม้สาหรับตลี กู เทเบลิ เทนนิสจะต้องมีเครอ่ื งหมายการค้าของบรษิ ัทฯ ผู้ผลติ ยห่ี ้อ รุ่น และเคร่ืองหมาย ITTF แสดงไว้อย่างชัดเจนใกล้กับขอบของหน้าไม้ โดยจะต้องเป็นชื่อย่ีห้อและ ชนิด ที่ได้รบั การรับรองจากสหพันธ์เทเบลิ เทนนสิ นานาชาติ ครัง้ หลังสดุ เทา่ น้ัน 4.8 สาหรับกาวที่มีส่วนประกอบของสารพิษจะไม่อนุญาตให้ใช้ทาลงบนหน้าไม้เทเบิลเทนนิส ผู้เล่น จะต้องใชก้ าวแผ่นสาเรจ็ รูป หรือกาวทไี่ ด้รบั การรับรองจากสหพันธ์เทเบลิ เทนนสิ นานาชาตเิ ท่าน้ัน 4.9 การเปลี่ยนแปลงเลก็ น้อยของความสม่าเสมอของผิวหนา้ ไม้หรือวสั ดุปิดทับหรือความไม่สม่าเสมอ ของสีหรอื ขนาด เน่อื งจากการเสียหายจากอบุ ตั ิเหตุ การใช้งานหรอื สีจาง อาจจะอนุญาตให้ใช้ได้ โดย มเี งื่อนไขว่าเหตุเหลา่ น้นั ไม่ไดเ้ ปล่ียนแปลงอย่างสาคญั ตอ่ คณุ ลักษณะของผิวหนา้ ไม้หรอื ผิววสั ดุปิดทบั 4.10 เมื่อเริ่มการแข่งขันและเมื่อใดก็ตามที่ผู้เล่นเปลี่ยนไม้เทเบิลเทนนิสระหว่างการแข่งขัน ผู้เล่น จะต้องแสดงไม้เทเบิลเทนนสิ ทีเ่ ขาเปลี่ยนใหก้ บั คแู่ ขง่ ขนั และกรรมการผูต้ ดั สนิ ตรวจสอบกอ่ นทกุ ครัง้
4.11 เป็นความรับผิดชอบของผู้เล่นท่ีจะต้องม่ันใจว่าไม้เทเบิลเทนนิสน้ันถูกต้องตามระเบียบและ กติกา 4.12 ในกรณที ่มี ีปญั หาเกยี่ วกบั อปุ กรณก์ ารเล่นให้อยู่ในดุลยพนิ จิ ของผชู้ ้ขี าด 5. คาจากดั ความ 5.1 การตโี ต้ หมายถึง ระยะเวลาทล่ี ูกอยูใ่ นการเลน่ 5.2 ลกู อย่ใู นการเล่น หมายถงึ เมอ่ื ลูกเทเบิลเทนนิสได้หยุดนิ่งบนฝ่ามืออิสระก่อนการส่งลกู ในจังหวะ สดุ ทา้ ย จนกระทง่ั ลูกนน้ั ถูกสัง่ ให้เป็นเลท็ หรือได้คะแนน 5.3 การส่งใหม่ ( LET ) หมายถงึ การตีโตท้ ่ีไมม่ ผี ลได้คะแนน 5.4 การไดค้ ะแนน หมายถงึ การตโี ตท้ ี่มีผลได้คะแนน 5.5 มือทถ่ี ือไม้ หมายถึง มือในขณะทถี่ อื ไมเ้ ทเบลิ เทนนสิ 5.6 มอื อิสระ หมายถงึ มือในขณะที่ไมไ่ ด้ถือไม้เทเบลิ เทนนสิ 5.7 การตลี กู หมายถึง การท่ีผู้เล่นสัมผสั ลกู ด้วยไม้เทเบลิ เทนนสิ ขณะทีถ่ อื อย่หู รอื สมั ผัสลกู ตง้ั แต่ขอ้ มือ ของมอื ในขณะทถ่ี อื ไมล้ งไป 5.8 การขวางลูก หมายถึง ขณะที่ลูกกาลังอยู่ในการเล่น และฝ่ายตรงข้ามตีลูกมาโดยลูกนั้นยังไม่ได้ กระทบแดนของอีกฝ่ายหน่ึง ปรากฏว่าผู้เล่นหรือสิ่งใดๆ ที่เขาสวมใส่หรือถึออยู่ของผู้เล่นฝ่ายนั้นได้ สัมผัสถูกลูกขณะที่ลูกนั้นยังไม่ผ่านพื้นผิวโต๊ะและยังไม่พ้นเส้นสกัดหรือผ่านพื้นผิวโต๊ะแล้ว แต่ลูกน้ัน ยังอยใู่ นพ้ืนที่บนโตะ๊ 5.9 ผู้สง่ หมายถึง ผ้ทู ตี่ ีลกู เทเบลิ เทนนสิ เปน็ คร้ังแรกในการตีโต้ 5.10 ผูร้ ับ หมายถึง ผูท้ ต่ี ีลูกเทเบลิ เทนนิสเป็นคร้ังทีส่ องในการตโี ต้ 5.11 ผตู้ ัดสิน หมายถึง ผทู้ ถ่ี กู แตง่ ตง้ั ขน้ึ เพื่อควบคมุ การแข่งขัน 5.12 ผู้ชว่ ยผูต้ ัดสิน หมายถึง ผทู้ ่ีถกู แต่งต้งั ขึ้นเพ่ือช่วยผู้ตดั สนิ ในการตัดสนิ 5.13 ส่ิงใดๆ ท่ีผเู้ ลน่ สวมใส่หรือถืออยู่ หมายถงึ สงิ่ ใดๆ ก็ตามที่ผู้เลน่ สวมใส่หรอื ถืออยู่ตั้งแตเ่ ริม่ การตี โต้
5.14 ลูกเทเบลิ เทนนิสจะถูกพิจารณาว่าผ่านข้ามหรอื อ้อมหรือลอดส่วนประกอบของเน็ต ถ้าลูกนั้นได้ ข้ามผ่านเน็ตไปแล้วและกระดอนกลับด้วยแรงหมุนของมันเอง หรือผ่านด้านข้างหรือด้านใต้ของ สว่ นประกอบของเนต็ ดา้ นนอกโต๊ะ 5.15 เส้นสกัด หมายรวมถงึ เสน้ สมมุตทิ ่ีลากตอ่ ออกไปจากเส้นสกดั ทงั้ สองด้านด้วย 6. การส่งลกู ทถี่ ูกต้อง 6.1 เม่ือเริ่มส่งลูก ลูกเทเบิลเทนนิสต้องวางเป็นอิสระอยู่บนฝ่ามือของมืออิสระ โดยแบบฝ่ามือออก และลูกต้องหยดุ น่ิง โดยลูกนน้ั ต้องอยู่หลงั เส้นสกดั และอยเู่ หนือระดบั พืน้ ผวิ โต๊ะ 6.2 ในการสง่ ลูก ผสู้ ง่ จะตอ้ งโยนลูกขึน้ ข้างบนด้วยมอื ให้ใกลเ้ คียงกับเส้นต้ังฉากและให้สูงจากจุดท่ีลูก ออกจากฝ่ามือไม่น้อยกวา่ 16 เซนติเมตร โดยลูกท่ีโยนขึ้นไปน้ันจะต้องไม่เป็นลูกทถี่ ูกทาให้หมุนด้วย ความตง้ั ใจ 6.3 ผสู้ ง่ จะตีลกู ได้ขณะท่ีลูกเทเบิลเทนนสิ ไดล้ ดระดบั ลงจากจุดสูงสุดแล้ว เพอื่ ให้ลกู กระทบแดนของผู้ ส่งก่อนแลว้ ข้ามหรืออ้อมตาข่ายไปกระทบแดนของฝ่ายรับ สาหรับประเภทคู่ ลกู เทเบลิ เทนนิสจะต้อง กระทบครง่ึ แดนขวาของผสู้ ง่ ก่อนแลว้ ขา้ มตาขา่ ยไปกระทบครง่ึ แดนขวาของฝ่ายรับ 6.4 ท้ังลูกเทเบิลเทนนิสและไม้เทเบิลเทนนิสจะต้องอยู่เหรือพื้นผิวโต๊ะตลอดเวลาที่เร่ิมทาการส่งลูก จนกระท่ังไมไ้ ด้กระทบลูกแล้ว 6.5 ในการส่งลูก ขณะท่ีลกู กระทบหน้าไม้จะตอ้ งอยนู่ อกเสน้ สกัดทางด้านผู้ส่งหรือนอกอาณาเขตเส้น สมมุติท่ีต่อออกไปจากเส้นสกัด และต้องไม่เลยส่วนท่ีไกลที่สุดของลาตัวออกไปทางด้านหลังโดยวัด จากเสน้ สกดั ยกเว้น แขน ศรษี ะ หรอื ขา 6.6 เป็นความรับผดิ ชอบของเล่นทจี่ ะตอ้ งส่งลูกใหผ้ ู้ตดั สนิ หรือผู้ช่วยผู้ตดั สินเห็น และตรวจสอบถึงการ ส่งลกู นน้ั ว่าถกู ตอ้ งตามกตกิ าหรอื ไม่ 6.6.1) ถ้าผู้ตัดสินสงสัยในลักษณะการส่งลูก แต่ทั้งเขาและผู้ช่วยผู้ตัดสินไม่มั่นใจว่าผู้ส่งได้ส่งลูกถูก ตามกตกิ า ในโอกาสแรกของแมทซน์ ั้นจะเตือนผสู้ ่งโดยยงั ไมไ่ ดต้ ดั คะแนน 6.6.2) สาหรับในคร้ังต่อไปในแมทซ์เดียวกันน้ัน หากผู้ส่งคนเดิมยังคงส่งลูกที่เป็นข้อสงสัยในทานอง เดียวกนั หรือลักษณะน่าสงสัยอ่นื ๆ อกี ผสู้ ง่ จะเสียคะแนนทันทีโดยไม่มกี ารเตอื น 6.6.3) หากผ้สู ่งได้สง่ ลูกผิดกติกาอยา่ งชัดเจน ผสู้ ง่ จะเสียคะแนนทนั ทโี ดยไมม่ กี ารเตอื น
6.7 ผู้ส่งลูกอาจได้รับการอนุโลมได้บา้ ง หากผู้ส่งคนนั้นแจ้งให้ผู้ตัดสินทราบถึงการหย่อนสมรรถภาพ ทางร่างกาย จนเป็นเหตใุ ห้ไม่สามารถส่งลูกได้ถกู ตอ้ งตามกติกา ทง้ั นีต้ ้องแจ้งใหผ้ ู้ตดั สินทราบก่อนการ แข่งขันทกุ คร้ัง 7. การรับทีถ่ ูกตอ้ ง 7.1 เมื่อลูกเทเบิลเทนนิสได้ถูกส่งหรือตีโต้ไปตกลงในแดนฝ่ายครงข้ามถูกต้องแล้ว ฝ่ายรับตีลูกข้าม หรืออ้อมตาข่ายกลับไปเพือ่ ให้ลูกกระทบอีกแดนหน่ึงโดยตรง หรือสัมผัสส่วนใดส่วนหนึ่งของเน็ตแลว้ ตกลงในแดนฝ่ายตรงข้าม 8. ลาดับการเลน่ 8.1 ประเภทเดี่ยว ฝ่ายส่งได้ส่งลูกอย่างถูกต้อง ฝ่ายรับจะตีโต้กลับไป หลังจากนั้นฝ่ายส่งและฝ่ายรับ จะผลดั กนั ตีโต้ 8.2 ประเภทคู่ ผู้สง่ ลูกของฝา่ ยส่งจะส่งลกู ไปยังฝา่ ยรบั ผ้รู บั ของฝ่ายรบั จะต้องตีลูกกลบั แลว้ ค่ขู องฝ่าย ส่งจะตลี กู กลับไป จากน้นั ค่ขู องฝา่ ยรบั กจ็ ะตีลกู กลับไปเชน่ น้ีสลับกนั ในการโต้ลกู 9. ไดค้ ะแนน 9.1 นอกเหนอื จากการตโี ต้จะถกู สงั่ ให้เปน็ เลท็ LET ผูเ้ ล่นจะได้คะแนนจากกรณดี ังตอ่ ไปน้ี 9.1.1) ถ้าผเู้ ล่นฝ่ายตรงข้ามไมส่ ามารถส่งลูกได้อยา่ งถกู ต้อง 9.1.2) ถา้ ผู้เล่นฝา่ ยตรงขา้ มไม่สามารถรบั ลกู ไดอ้ ย่างถกู ต้อง 9.1.3) ถ้าผเู้ ลน่ ฝ่ายตรงข้ามตลี ูก สัมผสั ถูกส่งิ ใดๆ นอกเหนอื จากสว่ นประกอบของเน็ต 9.1.4) ถา้ ผู้เล่นฝ่ายตรงขา้ มตีลูกข้ามผ่านเสน้ สกดั ของเขาโดยไมไ่ ด้สัมผัสกบั พื้นผวิ โต๊ะ 9.1.5) ถ้าผู้เลน่ ฝา่ ยตรงขา้ มขวางลกู 9.1.6) ถา้ ผู้เล่นฝา่ ยตรงข้ามตีลูกตดิ ต่อกันสองคร้ัง 9.1.7) ถ้าผ้เู ลน่ ฝา่ ยตรงข้ามตลี ูกด้วยหน้าไม้ทไ่ี มถ่ กู ต้องตามกติกา 9.1.8) ถ้าผู้เล่นฝา่ ยตรงขา้ มหรอื สิ่งใดๆ ที่ผเู้ ล่นฝ่ายตรงขา้ มสวมใสห่ รือถอื อยู่ทาให้พืน้ ผวิ โต๊ะเคลอื่ นท่ี
9.1.9) ถ้าผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามหรือส่ิงใดๆ ท่ีผูเ้ ลน่ ฝา่ ยตรงข้ามสวมใส่หรอื ถอื อยู่สัมผัสถูกสว่ นต่างๆ ของ เนต็ 9.1.9) ถ้ามืออสิ ระของผ้เู ลน่ ฝ่ายตรงข้ามสมั ผัสถูกพ้ืนผิวโตะ๊ 9.1.11) ในประเภทคู่ ถา้ ผ้เู ล่นฝา่ ยตรงข้ามตีลกู ผดิ ลาดับ 9.1.12) ในระบบการแข่งขนั แบบเรง่ เวลา ถา้ เขาหรอื คขู่ องเขาสามารถตโี ต้กลบั ไปได้อย่างถกู ต้องครบ 13 คร้ัง ประโยชนข์ องกฬี าปิงปอง กีฬาเทเบิลเทนนิส หรือ ปิงปอง ที่เรารู้จักกันน้ัน ถือเป็นกีฬาที่มีความยากในการเล่น เป็น อันดับต้นๆ ของโลก เนอื่ งจากธรรมชาตขิ องกีฬาประเภทนีน้ ั้น ถูกจากัดใหต้ ลี ูกปิงปองลงบนโต๊ะของคู่ ต่อสู้ ซ่ึงพื้นทบ่ี นฝง่ั ตรงขา้ มมเี พียง พ้นื ที่ แค่ 4.5 ฟตุ X 5 ฟุตเท่าน้ัน และลกู ปงิ ปองยังมีความเบามาก เพียง 2.7 กรัม เท่านั้น และความเร็วในการเคลื่อนท่ีจากฝ่ังหน่ึง ไปยังอีกฝั่งหนึ่ง ยังใช้เวลาไม่ถึง 1 วินาทีอีกต่างหาก แถมลูกปิงปองท่ีลอยอยู่ในอากาศนั้น ยังมีความหมุนรอบตัวเองอีกด้วย ซ่ึงลูก ปงิ ปองทกี่ าลงั เคลอื่ นท่มี าหาเรานัน้ เราจะต้องตกี ลบั ไปอีกด้วย เพราะไมต่ ี หรือ ตีไมไ่ ด้ กห็ มายถงึ การ เสียคะแนนทันที แต่ในความยากนน้ั ก็ย่อมมีประโยชน์สาหรบั ผู้เล่นเหมือนกัน เพราะ เป็นกีฬาท่ตี อ้ ง ใชท้ กุ ส่วนของรา่ งกายร่วมกันทง้ั หมด ซง่ึ ส่วนต่างๆ ท่ตี ้องใช้ มดี ังน้ี 1. สายตา สายตาจะต้องจ้องมองลูกอยู่ตลอดเวลา แต่การจ้องลูกอย่างเดียวก็ยังไม่เพียงพอ เพราะจะต้องจ้อง มองและสังเกตหน้าไมข้ องคู่ต่อสอู้ กี ด้วยวา่ ตลี ูกความหมุนลักษณะใดมาหาเรา 2. สมอง ปงิ ปอง เปน็ กีฬาท่ีต้องใชส้ มองในการคิดเปน็ อย่างมาก เพราะจะต้องคิดอยตู่ ลอดเวลา รวมถึงตอ้ งวาง แผนการเล่นอีกด้วย 3. มอื มือทีใ่ ชจ้ ับไมป้ ิงปอง จะต้องคลอ่ งแคลว่ และว่องไว รวมถึงต้องร้สู ึกไดเ้ มือ่ ลูกปิงปองสมั ผัสถูกหนา้ ไม้
4. ขอ้ มือ ในการตีบางลกั ษณะ จาเป็นตอ้ งใชข้ ้อมือเขา้ ช่วย ลกู จงึ จะมคี วามหมุนมากยง่ิ ขน้ึ 5. แขน ต้องมีพลกาลังและมคี วามอดทนในการฝึกซ้อมทีต่ อ้ งซ้อมแบบซา้ และซ้าอีก 6. ลาตวั การตลี ูกปิงปองในบางจงั หวะ ต้องใช้ลาตวั เขา้ ช่วย 7. ตน้ ขา แน่นอนว่าเมื่อกีฬาปิงปองเป็นกีฬาที่มีความเร็วสูง ต้นขาจึงต้องแข็งแรง และเตรียมพร้อมในการ เคลอ่ื นทีต่ ลอดเวลา 8. หวั เข่า ตอ้ งยอ่ เข่า เพอ่ื เตรยี มพรอ้ มในการเคลอื่ นที่ 9. เทา้ ต้องเคล่ือนท่ีเข้าหาลูกปงิ ปองตลอดเวลา หากเท้าไม่เคล่ือนทเ่ี ข้าหาลูกปิงปอง ก็จะทาให้ไม่มฟี ุตเวริ ์ด และตามตลี ูกปิงปองไมท่ นั จะเห็นได้ว่า กีฬาเทเบิลเทนนิสจะใช้ทุกส่วนของร่างกายในการเล่น เนื่องจากเป็นกีฬาที่มี ความรวดเร็วนั่นเอง และยังไม่รวมถึงจิตใจที่จะต้องมีความเข้มแข็ง อดทน ท้ังในการฝึกซ้อม และ จิตใจท่ีจะต้องเปน็ นักสู้เมอ่ื ลงทาการแข่งขัน เพราะเปน็ กีฬาประเภทบคุ คลท่ีจะต้องพึ่งความสามารถ ของตนเองมากกวา่ ทีจ่ ะต้องอาศยั เพอื่ นรว่ มทมี ดังเชน่ กบั กฬี าประเภททีมอนื่ ๆ สาหรบั ส่งิ ทเี่ ปน็ ประโยชน์อน่ื ๆ ทจ่ี ะได้รับตดิ ตามมากค็ ือ การมจี ิตใจและมนี ้าใจเป็นนกั กฬี า รู้ แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย , การได้มีโอกาสมากกว่าผู้ที่ไม่ได้เล่นกีฬาในการเข้าศึกษาในสถาบันหรือโรงเรียน ต่างๆ หรือ หากได้มีโอกาสรับใช้ชาติได้ ก็จะเป็นเกียรติต่อทั้งวงศ์ตระกูลรวมท้ังประโยชน์ต่อตนเอง ท้งั ช่อื เสยี ง , ประสบการณใ์ นการเดินทางไปแขง่ ขันในดินแดนต่างๆ หรือ อาจจะสามารถประกอบเป็น อาชีพในประเทศทม่ี ีการเลน่ กฬี าปิงปองเป็นอาชพี ได้
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: