Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและถูกต้องตามสิทธิในการนำมาใช้

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและถูกต้องตามสิทธิในการนำมาใช้

Published by ชนิตว์นันท์ พิษณุ, 2023-01-10 03:57:12

Description: การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและถูกต้องตามสิทธิในการนำมาใช้

Search

Read the Text Version

การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างปลอดภัยและถูก ต้องตามสิ ทธิในการนํามา ใช้การทําเทคโนโลยอี ยางคุมคา

กฎหมายเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ ถ้ายงั จํากันได้ถึงการผลักด้น พระราชบญั ญตั ิ (พ.ร.บ.) วา่ ด้วยการกระ ทําความผิดเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ.2560 ท่ีสภานิติบัญญตั ิแห่งชาติให้ ความเห็นชอบเมือ่ เดือนธันวาคม เมือ่ ปี 2559 และได้ประกาศลง ราชกิจจานุเบกษาเมอ่ื วนั ที่ 24 มกราคม 2560 มีผลบังคับใชแ้ ล้วในวนั ที่ 24 พ.ค.2560 เพื่อการใชอ้ อนไลน์อย่างถูกกฎหมาย สําหรับสาระสําคัญที่หลายคนควรพงึ ระวงั ใน พ.ร.บ.ว่าด้วยกระทําความผดิ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 หรือ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ฉบบั 2มีสาระสําคัญจําง่ายๆ ดังนี้ 1. การฝากร้านใน Facebook, IG ถือเป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท 2. ส่ง SMS โฆษณา โดยไม่รับความยนิ ยอม ให้ผู้รับสามารถปฏิเสธข้อมูล นั้นได้ ไม่เชน่ น้ันถือเปน็ สแปม ปรับ 200,000 บาท 3. ส่ง Email ขายของ ถือเป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท 4. กด Like ได้ไมผ่ ิด พ.ร.บ.คอมพ์ฯ ยกเวน้ การกดไลค์ เปน็ เร่ืองเก่ียวกับ สถาบนั เสี่ยงเขา้ ขา่ ยความผิดมาตรา 112 หรือมคี วามผิดร่วม 5. กด Share ถือเป็นการเผยแพร่ หากขอ้ มูลท่ีแชร์มีผลกระทบต่อผู้อื่น อาจเข้าข่ายความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพ์ฯ โดยเฉพาะที่กระทบต่อบุคคลท่ี 3 6. พบขอ้ มูลผิดกฎหมายอยูใ่ นระบบคอมพิวเตอร์ของเรา แต่ไม่ใชส่ ่ิงที่ เจา้ ของคอมพิวเตอร์กระทําเอง สามารถแจ้งไปยงั หน่วยงานที่รับผิดชอบ ได้ หากแจ้งแล้วลบขอ้ มูลออกเจ้าของก็จะไมม่ ีความผิดตามกฎหมาย เชน่ ความเห็นในเว็บไซต์ต่าง ๆ รวมไปถึงเฟซบุ๊ก ที่ให้แสดงความคิดเห็น หาก พบวา่ การแสดงความเห็นผิดกฎหมาย เมอื่ แจ้งไปที่หน่วยงานท่ี รับผดิ ชอบเพื่อลบได้ทันที เจ้าของระบบเวบ็ ไซต์จะไม่มีความผดิ 7.สําหรับ แอดมินเพจ ที่เปดิ ให้มีการแสดงความเห็น เม่อื พบข้อความท่ี ผิด พ.ร.บ.คอมพ์ฯ เม่อื ลบออกจากพ้ืนที่ท่ีตนดูแลแล้ว จะถือเป็นผูพ้ น้ ผดิ

8. ไมโ่ พสต์สิ่งลามกอนาจาร ที่ทําให้เกิดการเผยแพร่สู่ประชาชนได้ 9. การโพสเกี่ยวกับเด็ก เยาวชน ต้องปิดบงั ใบหน้า ยกเวน้ เม่ือเปน็ การ เชดิ ชู ชนื่ ชม อย่างให้เกียรติ 10. การให้ข้อมูลเก่ียวกับผูเ้ สียชวี ติ ต้องไมท่ ําให้เกิดความเส่ือมเสียเชอื่ เสียง หรือถกู ดูหมน่ิ เกลียดชงั ญาติสามารถฟ้องร้องได้ตามกฎหมาย 11. การโพสต์ด่าวา่ ผูอ้ ่ืน มกี ฏหมายอาญาอยูแ่ ล้ว ไม่มขี ้อมูลจริง หรือถกู ตัดต่อ ผู้ถกู กล่าวหา เอาผิดผูโ้ พสต์ได้ และมโี ทษจาํ คุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่ เกิน 200,000 บาท 12. ไม่ทําการละเมิดลิขสิทธ์ิผูใ้ ด ไมว่ ่าข้อความ เพลง รูปภาพ หรือวดิ ีโอ 13. ส่งรูปภาพแชร์ของผู้อื่น เชน่ สวัสดี อวยพร ไมผ่ ิด ถ้าไม่เอาภาพไปใช้ ในเชงิ พาณิชย์ หารายได้ น่ีเป็นเพยี งส่วนหน่ึงของ พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ ที่มผี ลบังคับใชแ้ ล้ว ซ่งึ ยงั มี อีกหลายประเด็นที่ส่งผลกระทบต่อการใชง้ านสื่อสังคมออนไลน์ ดังนั้น จึงควรรู้กฎกติกาการใชง้ านไวก้ ่อน ก็จะชว่ ยปอ้ งกันไมใ่ ห้เราเส่ียงต่อการ ทําผิดกฎหมายได้

ทรัพย์สินทางปญั ญา ทรัพยส์ ินทางปญั ญา หมายถึง สิทธิทางกฎหมายท่ีให้ เจา้ ของสิทธิ หรือ \"ผูท้ รงสิทธิ\" มอี ยู่เหนือสิ่งที่เกิดจากความคิด สร้างสรรค์ทางปัญญาของมนุษย์ โดยอาจแบ่งทรัพย์สินทางปญั ญาออกได้ 2 ประเภทหลัก คือ (1) ทรัพยส์ ินทางอุตสาหกรรมและ (2) ลิขสิทธิ์ สําหรับทรัพย์สินทางอุตสาหกรรมยังแบ่งออกได้อีก 6 ประเภท ได้แก่ (1) สิทธิบัตร (2) อนุสิทธิบัตร (3) เครื่องหมายการค้า (4) ความลับทางการค้า และ5) สิ่งบ่งชที้ างภมู ิศาสตร์ (6) ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน สิทธิในทรัพยส์ ินทางปญั ญาจัดเปน็ คนละสิทธิหรือการเป็นเจา้ ของในสิ่งท่ี เป็นผลผลิตทางทรัพยส์ ินทางปัญญาน้ัน เชน่ ลิขสิทธิ์ในหนังสือจะไม่ใชเ่ ป็นส่ิง เดียวกันกับความเปน็ เจา้ ของหนังสือซ่งึ จบั ต้องได้ สิทธิบตั รในเร่ือง อิเล็กทรอนิกส์จะแยกต่างหากจากความเปน็ เจา้ ของเครื่องมอื อิเล็กทรอนิกส์ ดังน้ัน เจา้ ของหนังสือหรือเคร่ืองมอื อิเล็กทรอนิกส์ จึงมีกรรมสิทธ์ิในการใชห้ รือ จดั การทรัพย์นั้นตามความประสงค์ แต่ไม่สามารถทําการใด ๆ ซ่งึ ละเมิดต่อสิทธิ แต่เพยี งผูเ้ ดียวของผูท้ รงสิทธิ์นั้น เชน่ เจา้ ของหนังสือจะไม่สามารถทําหนังสือ ข้นึ มาจาํ หน่ายเองโดยปราศจากความยนิ ยอมของเจ้าของลิขสิทธ์ิ เน่ืองจากสิทธิ ในการทําซาเปน็ สิทธิทางกฎหมายแต่เพยี งผูเ้ ดียวของผู้ทรงสิทธ์ินั้น หรือผู้ซอ้ื ซอฟต์แวร์จะเปน็ เจา้ ของสินค้านี้เพือ่ การนําไปใชป้ ระโยชน์ต่อ แต่จะไมไ่ ด้รับ อนุญาตให้ทําซอฟต์แวร์นั้นข้นึ มาจาํ หน่ายเอง เวน้ แต่ได้รับอนุญาตจากผูท้ รง สิ ทธิก่อนเท่านั้น ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม เป็นความคิดสร้างสรรค์ของมนุษยท์ ่ีเก่ียวกับ สินค้าอุตสาหกรรม โดยอาจเป็นความคิดในการประดิษฐ์คิดค้น การออกแบบ ผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม ซ่งึ เปน็ กระบวนการ หรือเทคนิคในการผลิตท่ีได้ ปรับปรุงหรือคิดค้นข้นึ ใหม่ หรือที่เกี่ยวขอ้ งกับตัวสินค้า หรือผลิตภัณฑ์ท่ีเป็น องค์ประกอบและรูปร่างสวยงามของตัวผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ยังรวมถึง เคร่ืองหมายการค้าหรือยห่ี ้อ ชอื่ และถ่ินท่ีอยูท่ างการค้า ท่ีรวมถึงแหล่งกําเนิด สินค้าและการปอ้ งกันการแข่งขนั ทางการค้าท่ีไม่เป็นธรรม

แนวทางปฏิบตั ิเมอื่ เจ้าของสิทธิในทรัพยส์ ิน ทางปัญญาถูกละเมิด 1.กรณีถกู ละเมดิ เคร่ืองหมายการค้า ● ร้องทกุ ข์ต่อเจา้ หน้าที่ตํารวจ หรือเจ้าหน้าท่ีกรมสอบสวนคดี พเิ ศษ ● หลักฐานประกอบการร้องทุกข์ เชน่ ทะเบียน เครื่องหมายการค้า หรือหนังสือรับรองรายการจดทะเบยี น เครื่องหมายการค้าซ่งึ นายทะเบียนรับรองความถกู ต้องที่ เป็นต้นฉบับมาแสดง (จดทะเบยี นแล้วในราชอาณาจักร) 2.กรณีถกู ละเมิดลิขสิทธ์ิลิขสิทธิ์ในประเทศ ● ร้องทกุ ข์ต่อเจา้ หน้าท่ีตํารวจ หรือเจา้ หน้าท่ีกรมสอบสวนคดี พเิ ศษ ● หลักฐานประกอบการร้องทกุ ข์ เชน่ หลักฐานการสร้างสรรค์ งาน หรือหลักฐานการได้มาซ่งึ ความเปน็ เจ้าของลิขสิทธิ์โดย เจา้ ของลิขสิทธิ์ 3.กรณีถกู ละเมดิ สิทธิบัตร และอนุสิทธิบตั ร ● ร้องทกุ ขต์ ่อเจา้ หน้าท่ีตํารวจ หรือเจ้าหน้าที่กรมสอบสวนคดี พเิ ศษ ● หลักฐานประกอบการร้องทุกข์ เชน่ ต้นฉบบั จริงของ สิทธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตร (ดูข้อถือสิทธิเป็นสําคัญ)

การใชเ้ ทคโนโลยีส่ือสาร และสารสนเทศกับการเผยแพร่ การเผยแพร่สารสนเทศ (Information dissemination) เป็นชอ่ งทางสําคัญ ในการสื่อเพอ่ื เผยแพร่สารสนเทศจากแหล่งหน่ึงไปยังอีกแหล่งหน่ึง เชน่ จาก ผูเ้ ขยี นไปยังผู้อ่าน จากสถาบันบริการสารสนเทศไปยงั ผูใ้ ช้ เป็นต้น สารสนเทศท่ีเผยแพร่อาจอยู่ในรูปของขอ้ ความ ตัวเลข เสียง ภาพ มลั ติมเิ ดีย และอาจบนั ทึกไว้บนกระดาษ ส่ือโสตทัศน์ สื่อแม่เหล็ก หรือส่ือออปติก เปน็ กิจกรรมสําคัญของสถาบันบริการสารสนเทศ เกี่ยวข้องกับงาน ประชาสัมพันธ์กิจกรรมและภารกิจของสถาบัน และการเผยแพร่สารสนเทศ ในรูปแบบท่ีสะดวกแก่ผูใ้ ชใ้ ห้มากที่สุด การเผยแพร่สารสนเทศที่สําคัญ คือ เปน็ การจดั ส่งสารสนเทศไปยงั ผูใ้ ช้ โดยอาจเปน็ การจดั ส่งไปยงั ผู้ใชท้ ่ีสถาบนั คาดว่าจะใชป้ ระโยชน์จากสารสนเทศนั้น หรือจัดส่งไปยงั ผู้ใชต้ ามท่ีร้องขอ ทั้งนี้สารสนเทศท่ีจดั ส่งอาจอยู่ในรูปเอกสาร บทความ จดหมายข่าว เอกสาร เวียน และท้ังที่เป็นกระดาษ หรืออิเล็กทรอนิกส์ การเผยแพร่สารสนเทศอย่างไมเ่ ป็นทางการ อาจมีลักษณะของการพูดคยุ ในระหว่างการประชุมสัมมนา การติดต่อทางโทรศัพท์ การีติดต่อทาง ไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์ การร่วมในกลุ่มสนทนาอิเล็กทรอนิกส์ (listserv)ใน หัวข้อต่างๆ เป็นต้น การเผยแพร่สารสนเทศอย่างเป็นทางการ นั้นมกี ารบันทึกสารสนเทศไวเ้ ปน็ หลักฐานในรูปลักษณ์ต่างๆ เชน่ เอกสารการบรรยายทางวชิ าการ หนังสือ ตํารา รายงานการประชุมทางประชุมวิชาการ เอกสารทางวชิ าการ วารสาร เปน็ ต้น ซ่งึ นิยมเรียกส่ิงพมิ พ์เหล่าน้ีอย่างกว้างๆว่า สิ่งพมิ พ์วิชาการ โดยถือ เป็นสื่อที่สําคัญย่งิ ในการเผยแพร่ความรู้และสารสนเทศใหม่และเปน็ ประโยชน์ต่อสาธารณะ ย่งิ กวา่ น้ันส่ิงพิมพท์ างวชิ าการที่มคี ณุ ภาพจะมี กระบวนการพิจารณาคุณภาพโดยผู้ทรงคณุ วฒุ ซิ ่งึ เป็นผู้ร่วมวชิ าชพี หรือนัก วชิ าการแขนงเดียวกัน (peer-review process)สถาบนั บริการสารสนเทศ ประเภทต่างๆล้วนมภี ารกิจสําคัญในการจัดบริการเผยแพร่นั้นมุง่ เน้น สารสนเทศที่ได้รับการบนั ทึกไว้เป็นหลักฐานสําคัญ

องคป ระกอบขัน้ พืน้ ฐานของระบบส่ือสาร องค์ประกอบข้ันพ้ืนฐานของระบบส่ื อสารโทรคมนาคม สามารถ จําแนกออกเป็นส่ วนประกอบได้ดังต่อไปน้ี 1. ผู้ส่งข่าวสารหรือแหล่งกําเนิดขา่ วสาร (source) อาจ จะเปน็ สัญญาณต่าง ๆ เชน่ สัญญาณภาพ ข้อมูล และเสียงเป็นต้น ในการติดต่อสื่อสารสมยั ก่อนอาจจะใชแ้ สงไฟ ควนั ไฟ หรือท่าทาง ต่าง ๆ ก็นับวา่ เป็นแหล่งกําเนิด ข่าวสาร จดั อยูใ่ นหมวดหมูน่ ี้เชน่ กัน 2. ผูร้ ับขา่ วสารหรือจดุ หมายปลายทางของขา่ วสาร (sink) ซ่งึ จะรับรู้จากส่ิงท่ีผูส้ ่งข่าวสาร หรือแหล่งกําเนิดขา่ วสาร ส่งผา่ นมาให้ตราบใดท่ีการติดต่อส่ือสารบรรลุวัตถุประสงค์ ผู้รับ สารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับขา่ วสารนั้นๆ ถ้าผู้รับสารหรือ จุดหมายปลายทางไมไ่ ด้รับขา่ วสาร ก็แสดงวา่ การ ส่ือสารน้ันไมป่ ระสบความสําเร็จ กล่าวคือไมม่ กี ารสื่อสาร เกิดข้นึ นั่นเอง 3. ชอ่ งสัญญาณ (channel) ในท่ีน้ีอาจจะหมายถึงส่ือกลางหรือ ตัวกลางท่ีขา่ วสารเดินทางผ่าน อาจจะเปน็ อา กาศ สายนําสัญญาณต่าง ๆ หรือแม้กระท่ังของเหลว เชน่ นา นามัน เป็นต้น เปรียบเสมอื นเป็นสะพานที่จะให้ขา่ วสารขา้ ม จากฝ่ งั หน่ึงไปยังอีกฝ่ งั หน่ึง

การทําธุรกิจออนไลน์ การทําธุรกรรม ออนไลน์ และความปลอดภัยในการใชง้ าน สํ าหรับผู้เรียกใช้ ก่อนหน้าใครท่ีมบี ัตรเครดิต หรือบัตรเครดิต คงเกิด ความกังวล หลังมกี ล่มุ มจิ ฉาชพี สุ่มข้อมูลบัตรและนําไป สวมรอยทําธุรกรรมผา่ นร้านค้าออนไลน์ต่างประเทศท่ี ไมม่ รี ะบบยนื ยันตัวตน จนเกิดความเสียหายกวา่ 130 ล้านบาท โดยท่ีผา่ นมาหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องได้พยายาม ยกระดับระบบความปลอดภัย และวางมาตรการปอ้ งกัน ปัญหาเชงิ รุก อย่างการแก้ไขกฎระเบยี บให้สอดคล้อง กับมาตรฐานท่ีสมาคมธนาคารไทยกําหนด

อยา่ งไรก็ตาม กล่มุ มจิ ฉาชพี ยังพยายามหาวธิ ิการใหม่ ๆ เพอื่ หลอกเอา เงนิ ของเรา ดังน้ัน มาดูกันว่า มแี นวทางใดบ้าง ที่จะทําให้เราธุรกรรม การเงินได้อยา่ งมัน่ ใจ 1. ทําธุรกรรมการเงินออนไลน์กับร้านค้าที่น่าเชอื่ ถือ 2. หลีกเล่ียงการทําธุรกรรมการเงิน หรือไมผ่ ูกข้อมูลบัตรเครดิตกับร้าน ค้าออนไลน์- แพลตฟอร์ม ที่ไม่มรี ะบบการยนื ยนั ตัวตนด้วย OTP หรือท่ี ไมใ่ ชเ้ ทคโนโลยี 3D Secure 3. ไมส่ ่งต่อ OTP ให้กับบุคคลอื่น ไมว่ า่ กรณีใดๆ 4. ต้ังรหัสผา่ นที่ยากต่อการคาดเดา 5. ไม่ใชร้ หัสผา่ นร่วมกันในการทําธุรกรรมการเงินออนไลน์ และร้านค้า ออนไลน์ 6. ไมเ่ ปดิ เผยข้อมูลส่วนตัว รวมถึงข้อมูลทางการเงิน เชน่ เลขบญั ชี หมายเลขบัตรเดบิต บัตรเครดิต เลขท้ายหลังบตั รเครดิต (CVV) แก่ บุคคลอ่ืน 7. ปรับวงเงนิ การชาํ ระสินค้าให้เหมาะสม หรือปรับเปน็ ศูนย์ชวั่ คราว หากยังไมม่ คี วามต้องการจะใชซ้ อื้ สินค้า 8. หม่นั สังเกตการแจ้งเตือนบญั ชี เงนิ เข้า-เงนิ ออก ยอดการใชจ้ า่ ยผ่าน บัตร อย่างสมาเสมอ 9. หากพบรายการบญั ชผี ดิ ปกติ ควรติดต่อธนาคารเจ้าของบตั รโดย ตรงทันที 10. ติดตามข่าวสารจาก TB-CERT และชอ่ งทางที่เปน็ ทางการของทาง ธนาคาร

ประเภทของข้อมูลท่ีมีการแชร์ หรือแบ่งปันในสั งคมออนไลน์ ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ มีด้วยกันหลายชนิด ข้นึ อยูก่ ับ ลักษณะของการนํามาใชโ้ ดยสามารถแบง่ เปน็ กลุ่ม หลักดังนี้ 1. Weblogs หรือเรียกส้ันๆ ว่า Blogs คือ ส่ือส่วนบุคคลบนอินเทอร์เน็ตที่ใชเ้ ผยแพร่ขอ้ มูล ข่าวสาร ความรู้ ขอ้ คิดเห็น บันทึกส่วนตัว โดยสามารถแบง่ ปนั ให้บุคคลอื่นๆ โดยผู้รับสาร สามารถเข้าไปอ่าน หรือแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติมได้ ซ่งึ การแสดงเน้ือหาของบล็อกน้ันจะ เรียงลําดับจากเนื้อหาใหมไ่ ปสู่เนื้อหาเก่า ผู้เขียนและผู้อ่านสามารถค้นหาเน้ือหาย้อนหลัง เพือ่ อ่านและแก้ไขเพมิ่ เติมได้ตลอดเวลา เชน่ Exteen, Bloggang, Wordpress,Blogger, Okanation 2. Social Networking หรือเครือข่ายทางสังคมในอินเทอร์เน็ต ซ่งึ เป็นเครือขา่ ยทางสังคม ท่ีใชส้ ําหรับเชอ่ื มต่อระหว่างบุคคล กล่มุ บุคคล เพอื่ ให้เกิดเปน็ กล่มุ สังคม (Social Community) เพื่อร่วมกันแลกเปลี่ยนและแบ่งปันข้อมูลระหว่างกันทั้งด้านธุรกิจ การเมอื ง การศึกษา เชน่ Facebook, Hi5, Ning, Linked in,MySpace, Youmeo, Friendste 3. Micro Blogging และ Micro Sharing หรือที่เรียกกันว่า “บล็อกจ๋ิว” ซ่งึ เปน็ เว็บเซอร์วสิ หรือเว็บไซต์ที่ให้บริการแก่บุคคลทั่วไป สําหรับให้ผูใ้ ชบ้ ริการเขียนขอ้ ความสั้นๆ ประมาณ 140 ตัวอักษร ที่เรียกว่า “Status” หรือ “Notice” เพอ่ื แสดงสถานะของตัวเองวา่ กําลังทํา อะไรอยู่ หรือแจ้งข่าวสารต่างๆ แก่กลุ่มเพ่ือนในสังคมออนไลน์ (Online Social Network) (Wikipedia,2010) ท้ังนี้การกําหนดให้ใชข้ อ้ มูลในรูปขอ้ ความส้ันๆ ก็เพอื่ ให้ผู้ใชท้ ่ีเปน็ ทั้งผู้ เขยี นและผู้อ่านเข้าใจงา่ ย ท่ีนิยมใชก้ ันอยา่ งแพร่หลายคือ Twitter 4. Online Video เป็นเวบ็ ไซต์ที่ให้บริการวดิ ีโอออนไลน์โดยไมเ่ สียค่าใชจ้ า่ ย ซ่งึ ปจั จบุ ันได้ รับความนิยมอย่างแพร่หลายและขยายตัวอย่างรวดเร็ว เน่ืองจากเน้ือหาท่ีนําเสนอในวิดีโอ ออนไลน์ไมถ่ ูกจํากัดโดยผงั รายการท่ีแน่นอนและตายตัว ทําให้ผูใ้ ชบ้ ริการสามารถติดตาม ชมได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่มีโฆษณาค่ัน รวมท้ังผูใ้ ชส้ ามารถเลือกชมเนื้อหาได้ตามความ ต้องการและยงั สามารถเชอื่ มโยงไปยงั เว็บวิดีโออื่นๆ ที่เก่ียวขอ้ งได้จํานวนมากอีกด้วย เชน่ Youtube, MSN, Yahoo 5. Poto Sharing เป็นเว็บไซต์ที่เน้นให้บริการฝากรูปภาพโดยผู้ใชบ้ ริการสามารถอัพโหลด และดาวน์โหลดรูปภาพเพอื่ นํามาใชง้ านได้ ที่สําคัญนอกเหนือจากผูใ้ ชบ้ ริการจะมีโอกาส แบง่ ปนั รูปภาพแล้ว ยังสามารถใชเ้ ปน็ พนื้ ที่เพ่อื เสนอขายภาพท่ีตนเองนําเข้าไปฝากได้อีก ด้วย เชน่ Flickr, Photobucket, Photoshop,Express, Zooom

6. Wikis เป็นเวบ็ ไซต์ท่ีมลี ักษณะเป็นแหล่งข้อมูลหรือความรู้ (Data/Knowledge) ซ่งึ ผู้ เขียนส่วนใหญ่อาจจะเปน็ นักวชิ าการ นักวิชาชพี หรือผูเ้ ชยี่ วชาญเฉพาะทางด้านต่างๆ ทั้ง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม ซ่งึ ผูใ้ ชส้ ามารถเขียนหรือแก้ไขข้อมูลได้อยา่ งอิสระ เชน่ Wikipedia, Google Earth,diggZy Favorites Online 7. Virtual Worlds คือการสร้างโลกจินตนาการโดยจาํ ลองส่วนหน่ึงของชวี ิตลงไป จดั เป็นสื่อสังคมออนไลน์ที่บรรดาผู้ท่องโลกไซเบอร์ใชเ้ พื่อสื่อสารระหว่างกันบนอินเทอร์เน็ต ในลักษณะโลกเสมือนจริง (Virtual Reality) ซ่งึ ผูท้ ่ีจะเขา้ ไปใชบ้ ริการอาจจะบริษัทหรือ องค์การด้านธุรกิจ ด้านการศึกษา รวมถึงองค์การด้านสื่อ เชน่ สํานักข่าวรอยเตอร์ สํานัก ข่าวซเี อ็นเอ็น ต้องเสียค่าใชจ้ า่ ยในการซอ้ื พน้ื ที่เพอ่ื ให้บุคคลในบริษัทหรือองค์กรได้มีชอ่ ง ทางในการนําเสนอเร่ืองราวต่างๆ ไปยงั กลุ่มเครือขา่ ยผูใ้ ชส้ ่ือออนไลน์ ซ่งึ อาจจะเป็นกลุ่ม ลกู ค้าท้ังหลัก และรองหรือ ผูท้ ี่เกี่ยวขอ้ งกับธุรกิจ ของบริษัท หรือองค์การก็ได้ ปัจจบุ ันเวบ็ ไซต์ท่ีใชห้ ลัก Virtual Worlds ท่ีประสบผลสําเร็จและมีชอ่ื เสียง คือ Second life 8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของคําสองคําคือ Crowd และ Outsourcing เปน็ หลักการขอความร่วมมือจากบุคคลในเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยสามารถจดั ทําในรูป ของเวบ็ ไซต์ท่ีมวี ตั ถปุ ระสงค์หลักเพ่ือค้นหาคําตอบและวธิ ีการแก้ปญั หาต่างๆทั้งทางธุรกิจ การศึกษา รวมท้ังการส่ือสาร โดยอาจจะเปน็ การดึงความร่วมมอื จากเครือขา่ ยทางสังคม มาชว่ ยตรวจสอบขอ้ มูลเสนอความคิดเห็นหรือให้ขอ้ เสนอแนะ กลุ่มคนท่ีเข้ามาให้ข้อมูล อาจจะเปน็ ประชาชนทั่วไปหรือผูม้ คี วามเชย่ี วชาญเฉพาะด้านท่ีอยู่ในภาคธุรกิจหรือแมแ้ ต่ ในสังคมนักข่าว ขอ้ ดีของการใชห้ ลัก Crowd souring คือ ทําให้เกิดความหลากหลายทาง ความคิดเพอ่ื นํา ไปสู่การแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพ ตลอดจนชว่ ยตรวจสอบหรือคัดกรอง ขอ้ มูลซ่งึ เปน็ ปญั หาสาธารณะร่วมกันได้ เชน่ Idea storm, Mystarbucks Idea 9. Podcasting หรือ Podcast มาจากการรวมตัวของสองคํา คือ “Pod” กับ “Broadcasting” ซ่งึ “POD” หรือ PersonalOn - Demand คือ อุปสงค์หรือความต้องการ ส่วนบุคคล ส่วน“Broadcasting” เป็นการนําสื่อต่างๆ มารวมกันในรูปของภาพและเสียง หรืออาจกล่าวง่ายๆ Podcast คือ การบันทึกภาพและเสียงแล้วนํามาไวใ้ นเว็บเพจ (Web Page) เพือ่ เผยแพร่ให้บุคคลภายนอก (The public in general) ท่ีสนใจดาวน์โหลดเพือ่ นํา ไปใชง้ าน เชน่ Dual Geek Podcast, Wiggly Podcast 10. Discuss / Review/ Opinion เปน็ เว็บบอร์ดท่ีผู้ใชอ้ ินเทอร์เน็ตสามารถแสดง ความคิดเห็น โดยอาจจะเก่ียวกับ สินค้าหรือบริการ ประเด็นสาธารณะทางการเมอื ง เศรษฐกิจ สังคม เชน่ Epinions, Moutshut, Yahoo!Answer, Pantip,Yelp