2100-1006 งานไฟฟา และอิเลก็ ทรอนกิ สเ บ้อื งตน 1-3-2คําอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏบิ ตั ิงานเกี่ยวกับหลกั ความปลอดภยั ในการปฏิบตั งิ านไฟฟาและอิเลก็ ทรอนิกสแหลง กําเนิดไฟฟา กฎของโอหม พลงั งานไฟฟา วงจรไฟฟาเบอื้ งตน วงจรไฟฟาแสงสวา ง การควบคมุ มอเตอรเบ้ืองตน อุปกรณปองกันไฟฟาและการตอสายดิน อุปกรณอิเล็กทรอนกิ ส R L C หมอแปลงไฟฟา รเี ลยไมโครโฟน ลาํ โพง อุปกรณสารกง่ึ ตัวนํา การบัดกรี การใชมัลตมิ ิเตอร เคร่ืองกําเนิดสญั ญาณ ออสซิลโลสโคปการประกอบวงจรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเ บื้องตนวเิ คราะหคําอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาเกย่ี วกับบทที่ 1 ความรเู บอ้ื งตน เกี่ยวกับไฟฟา - ความปลอดภัยในการปฏบิ ตั ิงานไฟฟา และอเิ ล็กทรอนกิ ส - การใชไฟฟา อยางปลอดภัยในบานอยอู าศยั - อะตอมและอเิ ล็กตรอน - แหลงกาํ เนิดไฟฟา - กฎของโอหม - กําลงั งานไฟฟา - พลังงานไฟฟาบทที่ 2 วงจรไฟฟา เบื้องตน - สว นประกอบของวงจรไฟฟา - วงจรไฟฟาแสงสวาง การตอ หลอดฟลอู อเรสเซนต - การควบคุมมอเตอรเบอ้ื งตนบทท่ี 3 อปุ กรณปองกนั วงจรไฟฟา - ฟว ส - เซอรก ิตเบรคเกอร - การตอสายดินบทท่ี 4 เครื่องวัดไฟฟาเบ้อื งตน
- มัลตมิ เิ ตอร *ความรเู บอ้ื งตน เกยี่ วกบั มัลติมิเตอร *ฝกใชมลั ติมิเตอรวดั ความตา นทาน - เคร่อื งกําเนิดสญั ญาณ - ออสซลิ โลสโคปบทท่ี 5 อปุ กรณไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส - ตัวตา นทาน * การอานคาความตา นทาน - ตวั เหน่ียวนาํ - ตัวเกบ็ ประจุ - หมอ แปลงไฟฟา - รเี ลย - ไมโครโฟน - ลาํ โพง - ไดโอด - ทรานซสิ เตอร - แบบทดสอบอปุ กรณไ ฟฟา และอิเล็กทรอนกิ สบทที่ 6 การประกอบวงจรไฟฟาและอเิ ลก็ ทรอนิกสเ บื้องตน - การบัดกรี - การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส - ฝกประกอบวงจรบนแผน ปรนิ้
จากทฤษฎีของอะตอมและอเิ ลก็ ตรอน เราสามารถสรุปไดวา อะตอมเปน สวนทเ่ี ลก็ ทส่ี ดุ ของสสาร ประกอบดว ยสวนสาํ คัญ 2 สว น คอื 1. สวนท่ีอยูกับท่ี เรียกวา นวิ เคลียส (Nucleus) 2. สวนทีเ่ คลอ่ื นท่ี ซง่ึ จะเคลื่อนท่ีอยรู อบๆ นวิ เคลียส เรยี กวา อเิ ล็กตรอน (Electron) มปี ระจุไฟฟาเปน ลบ สวนทีอ่ ยกู ับท่ี หรอื นิวเคลียส ยังประกอบไปดวย โปรตอน (Proton) ซ่งึ จะมีประจไุ ฟฟาเปน บวก และนิวตรอน(Neutron) ซงึ่ จะมีประจไุ ฟฟา เปน กลาง สวนทเ่ี คล่ือนท่ี หรอื อิเลก็ ตรอน จะเคลื่อนทร่ี อบนวิ เคลยี ส โดยจะแบง เปน ชน้ั ๆ แตล ะช้ันจะมีจํานวนอเิ ลก็ ตรอนเทา กบั 2n2 โดย n คือช้นั ทข่ี องอิเล็กตรอน เชน ช้นั ท่ี 2 จะมอี เิ ลก็ ตรอนเทา กับ 2 x 22 = 2 x 4 = 8 ตวั ช้นั ท่ี 3 จะมีอเิ ลก็ ตรอนเทา กบั 2 x 32 = 2 x 9 = 18 ตัวแตช้ันนอกสดุ เราเรยี กวา วงวาเลนซจะมีอเิ ล็กตรอนไดไ มเ กิน 8 ตวั สวนอเิ ลก็ ตรอนท่อี ยูชน้ั นอกสุดเราเรยี กวา วาเลนซอเิ ล็กตรอน หรืออเิ ล็กตรอนอสิ ระ ( Free Electron) ภาพท่ี 1 แสดงสวนประกอบของอะตอม
โดยธรรมชาติของอะตอมของสารทกุ ชนดิ จะมีจาํ นวนโปรตอนและอเิ ลก็ ตรอนเทา กัน จงึ จบั คูแ ละดงึ ดดู ซ่งึ กนั และกนั แตอิเล็กตรอนจะไมสามารถเขา มาหาโปรตอนไดเนื่องจากมแี รงเหวย่ี งจากการหมุนรอบนวิ เคลยี สท่ีมคี วามสมดุลกันอยู มลี ักษณะคลายกับระบบสุริยะจักรวาลท่ีดาวเคราะหหมุนรอบดวงอาทิตย ดงั น้ันในธรรมชาตอิ เิ ลก็ ตรอนจะไมสามารถเหวี่ยงตวั เองใหห ลดุ ออกมาจากอะตอมของมนั ได แตเราสามารถทาํ ใหอเิ ลก็ ตรอนในชน้ั นอกสดุ หลดุ ออกมาจากวงโคจรของมนั ได เพราะมันจะมแี รงดึงดูดจากโปรตอนนอ ยทีส่ ดุ โดยการจา ยแรงดนั ไฟฟาใหก ับมัน เมอื่ อิเล็กตรอนหลดุ จากอะตอมหนง่ึ โปรตอนของมันจะไปดดูอเิ ลก็ ตรอนจากอะตอมอื่นมาแทนท่ี และอะตอมที่ขาดอิเลก็ ตรอนก็จะไปดดู อเิ ลก็ ตรอนจากอะตอมอื่นๆ อกี เปน ไปตามลําดบั การที่อเิ ลก็ ตรอนถกู ดดู ไปเร่ือยๆ นีเ้ อง เราเรยี กวาเกดิ กระแสไฟฟาไหล อะตอมของสารท่มี จี ํานวนอเิ ล็กตรอนวงนอกสดุ 1 - 3 ตัว จะสามารถทาํ ใหหลุดจากวงไดง า ย เราเรยี กวา พวกตวั นาํ ไดแ กอ ะตอมของโลหะตา งๆ อะตอมของสารทมี่ จี ํานวนอิเลก็ ตรอนวงนอกสดุ 4 ตวั จะสามารถทาํ ใหหลุดจากวงไดป านกลาง เราเรียกวา พวกสารกงึ่ ตวั นําซงึ่ จะนาํ มาทาํ อุปกรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส เชน ทรานซิสเตอร ไดโอด เปนตน อะตอมของสารทมี่ ีจํานวนอิเลก็ ตรอนวงนอกสดุ 5 - 7 ตวั จะสามารถทาํ ใหห ลดุ จากวงไดย าก เราเรยี กวา พวกฉนวน ในทางไฟฟา เราจะนํามาทาํ เปน ฉนวนหุมตัวนาํ อะตอมของสารทมี่ จี าํ นวนอิเลก็ ตรอนวงนอกสดุ 8 ตัว จะไมสามารถทาํ ใหห ลุดจากวงได เราเรยี กวา พวกกา ซเฉอ่ื ยเน่อื งจากจะเปนอะตอมของกา ซ ซึง่ เราจะใชบ รรจใุ นหลอดไฟตา งๆ ดังนั้น ไฟฟา จึงหมายถึงการเคลื่อนท่ขี องอิเลก็ ตรอนจากอะตอมหน่ึงไปยงั อีกอะตอนหนง่ึ ภายในตวั นาํ ไฟฟา
กฎของโอหมจาํ นวนผเู ยย่ี มชมหนาน้ี กฎของโอหม เปน กฎทนี่ ักวทิ ยาศาสตรชาวเยอรมัน ชือ่ ยอส ไซมอน โอหม (Georg SimonOhm) ไดท ดลองเกี่ยวกบั ไฟฟาและไดคนพบความสัมพันธของแรงดนั ไฟฟา ความตานทานไฟฟา และกระแสไฟฟา จงึ ไดต ง้ั เปนกฎข้นึ มาใชห าคา ทางไฟฟาทั้งสามคา ขน้ึ มา และเรียกวากฎของโอหม โดยกฎของโอหมกลาววา “ ในวงจรไฟฟา ใดๆ กระแสไฟฟา จะแปรผันตรงกบั แรงดันไฟฟา และแปรผกผนั กบั ความตานทานไฟฟา ” ถาให I = กระแสไฟฟา มีหนว ยเปน แอมแปร (A) E = แรงดันไฟฟา มีหนวยเปน โวลท (V) R = ความตานทานไฟฟา มีหนว ยเปนโอหม (Ω) จะได I = E / R หรือ E = IR หรือ R = E / I จากคา ทางไฟฟาท้งั สามคา หากเราทราบคา 2 คา เราจะสามารถหาคาที่เหลอื ได จากสตู รทงั้ สามตวั อยางที่ 1 จากวงจรจงหาคากระแสไฟฟาท่ไี หลในวงจรวธิ ีทาํ จากวงจร คาท่ีทราบ E = 10 V R = 100 Ωจากกฎของโอหม สูตรหาคา กระแส I=E/Rแทนคาท่ที ราบลงในสูตร จะได I = 10 / 100 = 0.1 A ตอบ
ตัวอยา งท่ี 2 จากวงจรจงหาคาแรงดันไฟฟา ท่จี ายใหก บั วงจรวธิ ีทาํ จากวงจร คา ที่ทราบ I=2A R = 100 Ωจากกฎของโอหม สตู รหาคา แรงดันไฟฟา E = IRแทนคา ท่ีทราบลงในสตู ร จะได E = 2 X 100 = 200 V ตอบตวั อยา งท่ี 3 จากวงจรจงหาคา ความตา นทานไฟฟาของวงจรวิธที าํ จากวงจร คา ท่ีทราบ I=2A E = 50 Vจากกฎของโอหม สูตรหาคา ความตา นทานไฟฟา R=E/Iแทนคาทีท่ ราบลงในสตู ร จะได R = 50 / 2 = 25 Ω ตอบ
เราสามารถจาํ สตู รกฎของโอหมไดงายขึน้ ดว ยการเขียนใหอยใู นรปู สามเหลี่ยมกฎของโอหม ดงั นี้ วธิ กี ารใชง านสามเหลี่ยมกฎของโอหม เมื่อเราตองการหาคา อะไร ก็ใหปดคานั้นไว คา ทเี่ รามองเหน็ ก็จะเปน คาท่เี ราทราบคา ท้งั สอง ตอ งใชคาท้ังสองมาคูณหรอื หารกัน กจ็ ะไดคาํ ตอบเปนคาที่เราปดเอาไว หากคา ท้ังสองอยูในแนวเดยี วกัน กใ็ ชคาที่ทราบคาท้ังสองคูณกัน หากคา ทง้ั สองอยูในแนวบนลา ง กใ็ ชค าที่ทราบคาท้งั สองหารกนั โดยคาท่ีอยบู นเปน ตวั ตงั้ และคา ที่อยลู า งเปน ตวั หาร หรอื จาํ ไวว าคาแรงดนั ไฟฟา ( E ) ตอ งเปน ตัวต้ังเทา นน้ั หรอื จะใชวิธีอ่นื ใดทท่ี า นเขา ใจก็ได
กาํ ลงั ไฟฟาจาํ นวนผเู ย่ยี มชมหนานี้ กําลงั ไฟฟา หมายถงึ กาํ ลงั งานทีเ่ กิดขน้ึ ที่อปุ กรณไฟฟา เม่ือกระแสไฟฟา ไหลผา นอุปกรณไฟฟา มีหนว ยเปน วตั ต ( W ) ในวงจรไฟฟา กระแสตรงสามารถหาคาไดจ ากกระแสไฟฟาที่ไหลผานอุปกรณไฟฟา คณูดวยแรงดันไฟฟาทต่ี กครอมอุปกรณนั้น หรอื เขยี นเปนสูตรไดวา P = EI เมือ่ ให P = กําลงั ไฟฟา E = แรงดันไฟฟา ทต่ี กครอมอปุ กรณน ้นั I = กระแสไฟฟาท่ีไหลผา นอปุ กรณน้ันตัวอยางที่ 1 จากวงจรจงหาคา กระแสไฟฟา และกําลังไฟฟา ของวงจรวธิ ีทํา จากวงจร คาท่ีทราบ E = 10 V R = 100 Ωหาคา กระแสไฟฟา I=E/R = 10 / 100 = 0.1 Aหาคา กําลงั ไฟฟา P = EI = 10 x 0.1 = 1 W ตอบ
นอกจากนี้เรายงั สามารถนํากฎของโอหม มาประยุกตใชร วมกับกําลงั ไฟฟา ทาํ ใหสามารถหากาํ ลงั ไฟฟา ไดเ พม่ิ ขึน้ อกี 2 สูตร คอื กาํ ลังไฟฟา P = EIจากกฎของโอหม เราสามารถหาแรงดนั ไฟฟา ไดจ ากสตู ร E = IR เรานาํ คา E จากกฎของโอหมไปแทนคา E ในสูตรกาํ ลงั ไฟฟา จะได P = IRI = I2Rตัวอยา งที่ 2 จากวงจรจงหาคา กาํ ลังไฟฟา ของวงจรวธิ ีทาํ จากสูตร P = I2R จากวงจร I = 2 A R = 10 Ωแทนคา ในสตู ร P = 22 x 10 = 4 x 10 = 40 W 2. กําลงั ไฟฟา P = EIจากกฎของโอหม เราสามารถหากระแสไฟฟาไดจ ากสตู ร เรานํา คา I จากกฎของโอหม ไปแทนคา I ในสตู รกําลงั ไฟฟา จะได
ตัวอยางท่ี 3 จากวงจรจงหาคา กาํ ลังไฟฟาของวงจรจากวงจรเราไมจ าํ เปน ตอ งหา กระแสไฟฟา กอน สามารถหาไดจากสูตรประยุกตไดเ ลย ดงั นี้วธิ ที ํา จากสตู ร จากวงจร E = 10 V R = 10 Ωแทนคาในสูตร สรุป เราสามารถหาคา กําลงั ไฟฟา ในวงจรไฟฟา กระแสตรงได 3 สูตร คอื 1. P = EI 2. P = I2Rและ 3.
พลงั งานไฟฟาพลงั งานไฟฟา หมายถงึ กาํ ลังงานไฟฟา ที่อุปกรณไฟฟา ใชไปตอ หนว ยเวลา ในทนี่ พี้ ลงั งานไฟฟาคิดเปน หนวยหรือยนู ติ โดยพลงั งานไฟฟาท่ีใชไป 1 หนว ย มคี าเทา กับการใชกําลังไฟฟา 1,000 วัตต เปน เวลา 1ชว่ั โมง ( KW-h ) การคดิ คาพลงั งาน เพอื่ ใชใ นการเก็บเงินคาใชไฟฟาของการไฟฟา จากผใู ชไ ฟฟาตัวอยาง การคิดคาพลังงานไฟฟา จงหาจาํ นวนหนวยของการใชไฟฟาตอ เดือน ของบานหลงั หนึง่ เมื่อมีเครื่องใชไ ฟฟา ดงั ตอไปน้ี 1. หลอดไฟฟา ขนาด 45 วตั ต จาํ นวน 5 หลอด ใชว ันละ 4 ชวั่ โมง 2. ตเู ยน็ ขนาด 250 วัตต จาํ นวน 1 หลัง 3. เครอ่ื งซกั ผา ขนาด 300 วตั ต ใชวันละ 1ช่วั โมง 30 นาที 4. โทรทัศน ขนาด 250 วัตต ใชว นั ละ 5 ช่วั โมง หากการไฟฟาคิดคาไฟฟา หนว ยละ 4 บาท จงคํานวณหาคา ไฟฟา ท่ตี องจายตอเดือนวิธกี ารคดิ 1. พลังงานทใ่ี ชไ ปของหลอดไฟ ตอวนั = 45 x 5 x 4 = 900 วตั ต – ช่วั โมง 2. พลังงานที่ใชไ ปของตเู ย็น ตอวัน = 250 x 1 x 24 = 1,200 วัตต – ช่วั โมง 3. พลังงานที่ใชไปของเครื่องซักผา ตอ วัน = 300 x 1 x 1.5 = 450 วตั ต – ชั่วโมง 4. พลังงานทีใ่ ชไปของโทรทศั น ตอวนั = 250 x 1 x 5 = 1,250 วตั ต – ชว่ั โมง รวมพลงั งานท่ใี ชไปทง้ั หมดตอวัน = 900 + 1,200 + 450 + 1,250 = 3,800 วัตต – ช่ัวโมง 1 หนว ยทางไฟฟา มคี า 1,000 วัตต – ชัว่ โมง ∴ ใชไ ฟไปตอวัน = 3,800 / 1,000 = 3.8 หนวย ตอวัน เวลา 1 เดอื น ใชไฟฟาไป = 3.8 x 30 = 114 หนวย คิดคาไฟฟา หนวยละ 4 บาท ดังน้ันตองจายคา ไฟฟา ตอ เดือน = 114 x 4 = 456 บาท ตอบ
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: