โครงงานคอมพิวเตอร์ การพฒั นาแอพพลิเคชัน่ เรอ่ื ง แอพพลเิ คช่ันใส่ใจสุขภาพ (Application TC Take care) นางสาวอฟั นาน บนิ มะเย็ง เลขที่ 1 นางสาวตว่ นตัสนมี สาเหาะ เลขท่ี 2 นางสาวนะดา ลาโฮะ๊ ยา เลขท่ี 4 นางสาวดารยี า ลาเต๊ะมหู ะมะ เลขท่ี 5 นางสาวตสั นมี ดอนิ เลขท่ี 6 นางสาวนซั มี นาราปัตย์ เลขท่ี 14 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/2 โครงงานคอมพิวเตอรฉ์ บับนเี้ ป็นสว่ นหนง่ึ ของวชิ าเทคโนโลยี (วทิ ยาคำนวณ) รหัสวชิ า ว 31140 โรงเรยี นพฒั นาวทิ ยา ยะลา ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา
โครงงานคอมพิวเตอร์ การพฒั นาแอพพลิเคชั่น เร่ือง แอพพลเิ คช่ันใส่ใจสุขภาพ (Application TC Take care) นางสาวอัฟนาน บนิ มะเยง็ เลขที่ 1 นางสาวตว่ นตัสนมี สาเหาะ เลขที่ 2 นางสาวนะดา ลาโฮ๊ะยา เลขท่ี 4 นางสาวดารยี า ลาเต๊ะมูหะมะ เลขที่ 5 นางสาวตสั นีม ดอนิ เลขที่ 6 นางสาวนัซมี นาราปตั ย์ เลขท่ี 14 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4/2 โรงเรียนพัฒนาวทิ ยา อาจารยท์ ่ปี รกึ ษา นางสาวนรู รีมะฮ์ ยาม
ชอื่ โครงงาน แอพพลเิ คชั่นใส่ใจสขุ ภาพ ประเภทโครงงาน โครงงานการพัฒนาแอพพลิเคชัน่ ชอ่ื ผ้จู ดั ทำโครงงาน นางสาวอัฟนาน บนิ มะเย็ง นางสาวตว่ นตัสนีม สาเหาะ นางสาวนะดา ลาโฮย๊ า นางสาวดารียา ลาเตะ๊ มหู ะมะ นางสาวตัสนีม ดอนิ นางสาวนซั มี นาราปัตย์ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4/2 ครูที่ปรึกษาโครงงาน อ.นรู รีมะฮ์ ยาม โรงเรยี นพฒั นาวิทยา ยะลา ปีการศึกษา 2565 บทคดั ย่อ โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาแอพพลิเคชั่นเพื่อการศึกษาเรื่องแอพพลิเคชั่นใส่ใจสุขภาพ (Application TC Take Care) จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อให้ผู้ใช้ที่ได้ใช้แอพพลิเคชั่นใส่ใจสุขภาพ (Application TC Take Care) ได้บรรเทา หรือลดความเครียดที่สะสม 2)เพื่อให้คนท่ีมีความเครียดได้รับการ ช่วยเหลือโดยการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบออนไลน์ 3)เพื่อพัฒนาแอพพลิเคชั่นด้านสุขภาพจิตสำหรับการให้ การปรึกษารายบุคคลแบบออนไลน์ 4)เพื่อเปรียบเทียบค่าคะแนนความเครียดก่อน และหลังการใช้การให้ คำปรึกษาของผใู้ ชง้ านแอพพลิเคชั่นใส่ใจสขุ ภาพ (Application TC Take Care) ผลการพัฒนาแอพพลิเคชั่นใส่ใจสุขภาพ (Application TC Take Care) ในแอพพลิเคชั่นจะมีการให้ คำปรึกษาและประเมินสุขภาพจิตของผู้ใช้งาน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาหรือความวิตกกังวลต่างๆ สามารถประเมิน สุขภาพจิตของผู้ใช้งานได้ในแอพพลิเคชั่นใส่ใจสุขภาพ (Application TC Take Care) ซึ่งผลการประเมิน ประสิทธิภาพของการพัฒนาแอพพลิเคชั่นใส่ใจสุขภาพ (Application TC Take Care)มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ใน ระดับทด่ี มี าก( 85% )
กิตตกิ รรมมระกาศ โครงงานนี้ได้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี คณะผู้จัดทำต้องขอขอบคุณอาจารย์นูรรีมะฮ์ ยามา อาจารย์ท่ี ปรึกษาโครงงานที่ได้ให้คำเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ มาโดยตลอด คณะผู้จัดทำจึง ขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสงู ขอขอบคณุ ผูป้ กครองท่ีได้ใหค้ ำปรึกษา และให้กำลงั ใจ ขอขอบคณุ เพือ่ นๆ ทีช่ ว่ ยใหค้ ำแนะนำดีๆ เกี่ยวกบั การสร้างแอพพพลเิ คชน่ั สดุ ท้ายขอบคณุ สมาชิกในกลมุ่ ท่ใี หค้ วามร่วมมือกันเปน็ อยา่ งดมี าตลอด จนกระท่งั ประสบความสำเร็จ คณะผจู้ ัดทำ
สารบัญ หนา้ เร่ือง 1 บทที่ 1 1 บทนำ 1 1 ที่มาและความสำคญั ของโครงงาน 2 วัตถปุ ระสงคข์ องการศึกษา ขอบเขตของการศกึ ษาค้นควา้ 3 ผลทค่ี าดวา่ จะได้รับ 3 บทท่ี 2 6 เอกสารที่เกีย่ วข้อง 8 ปญั หาสุขภาพจิตในวยั รุ่น 9 ปจั จยั ทีท่ ำใหเ้ กดิ ความเครียด การใหค้ ำปรึกษา 12 เว็บไซตส์ ร้างแอพพลเิ คช่นั และแอพพลเิ คช่นั 12 บทท่ี 3 12 การดำเนนิ การและการศึกษา วัสดอุ ุปกรณ์ เครื่องมือหรอื โปรแกรมทีใ่ ช้ในการพัฒนา 14 ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน 14 บทที่4 15 ผลการดำเนนิ งาน / ผลการศึกษา ผลการพัฒนา ผลการทดสอบ บทท่ี 5
สรุปผลการดำเนนิ งาน 16 สรุปผลการพฒั นาโครงงาน 16 การทดสอบและการพฒั นาโครงงาน 16 การประเมินผลประสทิ ธิภาพ 16 อุปสรรคในการทำงาน 16 ข้อเสนอแนะแนวทางการพฒั นาตอ่ 17
1 บทท่ี 1 บทนำ 1. ที่มาและความสำคญั ของโครงงาน เนื่องจากปัจจุบันปัญหาสุขภาพจิต และโรคที่เกี่ยวข้องกับความเครียดเพิ่มมากขึ้น โดยส่วนมากพบ เจอในวัยรุ่น และวัยทำงานที่มักมีภาวะความเครียดที่ถูกสภาพแวดล้อมกดดัน หรือจากสาเหตุอื่น ๆ ที่ทำให้ เกิดความวิตกกังวล อย่างไรก็ตาม ค่านิยมของคนไทยที่ไม่นิยมนำปัญหาไปเล่าให้คนแปลกหน้า หรือใครสักคน ฟัง และความเชื่อที่ว่า คนที่ไปพบนักจิตวิทยา หรือ จิตแพทย์ ต้องเป็นคนบ้ามีความผิดปกติทางจิต ส่งผลต่อ การรับบริการในชอ่ งทางการใหค้ ำปรึกษาดงั กล่าวไมส่ ามารถเข้าถงึ กลมุ่ ผทู้ มี่ ปี ัญหาสขุ ภาพจิตได้อย่างท่ัวถงึ ซ่ึง ในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญในด้านการศึกษา และในชีวิตประจำวันเป็นอย่างยิ่ง หากใช้ เทคโนโลยีให้เป็นอีกช่องหนึง่ ท่ีสามารถให้การปรกึ ษานการช่วยเหลือของผู้ที่ให้การปรึกษา โดยใช้แนวคิด และ เทคนิคทางจติ วิทยาให้การปรึกษาแก่ผปู้ ระสบปญั หาให้สามารถหลดุ พ้นจากการเผชิญปัญหา และความทุกข์ใจ ที่เกิดขึ้น จึงเป็นที่มาของความสนใจศึกษาการพัฒนาแอพพลิเคชั่นด้านสุขภาพจิตสำหรับการให้การปรึกษา รายบคุ คลแบบออนไลน์ เพอ่ื ลดความเครยี ดของผทู้ ป่ี ระสบปญั หา 2. วตั ถุประสงคข์ องการศึกษา 2.1 เพื่อใหค้ นที่มีความเครยี ดได้รบั การช่วยเหลอื โดยการปรกึ ษาเชงิ จิตวิทยาแบบออนไลน์ 2.2 เพอ่ื พฒั นาแอพพลเิ คช่ันดา้ นสขุ ภาพจติ สำหรับการใหก้ ารปรึกษารายบุคคลแบบออนไลน์ 2.3 เพือ่ เปรียบเทียบค่าคะแนนความเครยี ดก่อน และหลังการใหก้ ารปรึกษาของผ้คู นใชง้ าน แอพพลเิ คช่นั 3. ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 3.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา เป็นการศึกษาเรื่อง สาเหตุของความเครียด ซึ่งประกอบด้วยปัญหาในดา้ น การศึกษา ด้านสภาพแวดล้อม ด้านสังคม ด้านครอบครัว และด้านสุขภาพ โดยให้เข้าใจถึงปัญหาหลาย ๆ ปญั หาในทุกรปู แบบ เพื่อหาแนวทางการชว่ ยเหลอื ของผู้ท่ใี ห้การปรกึ ษา 3.2 โปรแกรมที่ใชใ้ นการดำเนินการ ได้แก่ 3.2.1 โปรแกรม Adobe Dreamweaver 3.2.2 โปรแกรม Adobe Flash 3.2.3 โปรแกรม Adobe Photoshop 3.2.4 โปรแกรม Sothink Glanda 3.2.5 โปรแกรม Microsoft Word
2 3.2.6 โปรแกรม Captivate 4. ผลท่คี าดว่าจะได้รับ 4.1 สามารถให้การแนะนำให้บุคคล หรือ ผตู้ อ้ งการคำปรกึ ษาได้รจู้ กั และเขา้ ใจตนเอง 4.2 สามารถเพิม่ ชอ่ งทางเลือกในการชว่ ยเหลือสำหรบั วยั รนุ่ ทต่ี อ้ งการคำปรกึ ษาด้านสุขภาพจติ 4.3 สามารถเกดิ ความเปลยี่ นแปลงทั้งด้านเจตคติ ความร้สู ึก และพฤติกรรมในวถิ ที ด่ี ีขึ้น 4.4 สามารถลด หรือ ปรับแก้ปัญหาทางอารมณ์ ความคิด พฤติกรรม และสรีระ เช่น ความเครียด ความวติ กกงั วล ภาวะซมึ เศร้า เปน็ ต้น
3 บทที่ 2 เอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ ง โครงงานคอมพวิ เตอร์ เร่อื ง การพัฒนาแอพพลเิ คชัน่ ระบายความรูส้ ึกและการใหค้ ำปรึกษาเพือ่ จดั การ ความเครียด จัดทำขนึ้ เพอ่ื พัฒนาแอพพลิเคชั่นและเพ่อื ใหค้ ำปรกึ ษา ผ้จู ดั ทำไดศ้ ึกษาเอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ดงั ตอ่ ไปน้ี 1.ปญั หาสขุ ภาพจิตในวยั รุ่น 2.ความเครียดและปจั จัยท่ีเกย่ี วขอ้ ง 3.การใหค้ ำปรกึ ษา 4.เว็บไซต์สรา้ งแอพพลเิ คชั่นและแอพพลิเคชัน่ 1.ปญั หาสขุ ภาพจติ ในวัยรนุ่ ปัญหาสขุ ภาพจติ ในวัยรุ่นเปน็ เรื่องใหญ่ ปญั หาสขุ ภาพจติ ในวยั รุน่ สง่ ผลตอ่ พฒั นาการ ท้งั ในดา้ น ร่างกาย สติปัญญา จิตใจ และสงั คม ส่งผลต่อการใชช้ วี ิตทัง้ ในปัจจบุ ันและในอนาคต สงิ่ ทเี่ ปน็ กังวลทีส่ ุดผู้ ประสบปัญหาอาจหาทางออกโดยการทำร้ายตวั เอง ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลกขอ้ มลู จากองคก์ ารอนามัยโลก (WHO) พบว่า ในประชากรวัยร่นุ อายุ ระหว่าง 10-19 ปี ปญั หาสุขภาพจติ คดิ เปน็ 16% ของปญั หาสุขภาพทัง้ หมด โดยกวา่ ครึ่งของผู้มปี ัญหา สุขภาพจิต เรมิ่ มีปัญหาต้งั แตอ่ ายุ 14 ปี แตไ่ มเ่ คยได้รับการตรวจหรือบำบดั รักษาทง้ั นีพ้ บว่าในวยั รุน่ ปญั หา สุขภาพจติ เปน็ ตัวการสร้างความเจบ็ ปว่ ย ทพุ พลภาพ และการฆ่าตัวตายจดั เปน็ สาเหตลุ ำดับ 3 ของการเสยี ชีวิต ของประชากรวยั 15-19 ปี นอกจากนี้ จากจำนวนประชากรวัยรนุ่ ท่วั โลก ที่ 90% อาศยั ในประเทศรายไดข้ นั้ กลางและขั้นต่ำ จำนวนการฆา่ ตวั ตายในวยั รนุ่ กวา่ 90% เกดิ ในประเทศเหล่านี้ ข้อมูลจาก นพ.พนม เกตุมาน ภาควิชาจติ เวชศาสตร์ สาขาวิชาจิตเวชเดก็ และวยั รนุ่ คณะ แพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล ระบวุ า่ วัยรุ่นเป็นวัยทมี่ ีปัญหาสขุ ภาพจติ มากทส่ี ดุ วยั หน่งึ แสดงออกมาในรปู พฤตกิ รรมต่างๆ เชน่ ด้อื ไม่เชอื่ ฟงั ละเมิดกฎเกณฑ์ มีเพศสมั พนั ธุแ์ บบไมเ่ หมาะสม ใช้ยาเสพตดิ ทำผิด กฎหมาย ตดิ เกม ติดการพนัน โดยพฤติกรรมบางอยา่ งมักเกิดขึน้ มานาน ทำใหแ้ กไ้ ขยาก ขอ้ มูลจาก HealthDay News (มี.ค. 2564) ในยุคโควิด-19 ปญั หาสขุ ภาพจิตวยั รุ่นใหเ้ พ่ิมมากขึน้ ผล การสำรวจผู้ปกครองเกอื บ 1,000 คนทม่ี ลี กู วัยรุน่ พบวา่ เกือบครงึ่ ของผ้ปู กครองสังเกตวุ ่าลกู ตนมีสัญญาณ ความเครยี ดหรือสุขภาพจติ ท่ีแยล่ ง สว่ นหนงึ่ เพราะวยั รุน่ เป็นวัยทีอ่ ยากอยกู่ บั เพื่อน ชอบเข้าสงั คม แต่โควิด
4 จำกดั ให้วยั รนุ่ เจอเพ่อื นไดน้ ้อยลง ท้งั น้ี ผมู้ ปี ญั หาสุขภาพจติ มกั มปี ญั หาในการปรับตวั มีอาการทางจติ เวช เชน่ เครยี ด ซมึ เศรา้ เมอื่ เจอปญั หา แม้เปน็ ปัญหาเลก็ ๆ กป็ รบั ตวั ไดล้ ำบาก วยั รุ่นเปน็ วัยหัวเลี้ยวหัวตอ่ อยู่ในชว่ งปรบั ตัว กอ่ ร่างพ้ืนฐานสุขภาพจติ มกี ารเปล่ียนแปลงทางสังคม และอารมณ์ การสรา้ งระบบหรือกลไกเพ่อื ชว่ ยเหลือ สนับสนนุ โอบอุ้มวัยร่นุ ทง้ั ในระดบั สังคม ครอบครวั หรือ โรงเรียน จะช่วยลดปญั หาสขุ ภาพจติ ในวัยรุ่นลงได้ นอกจากในยคุ ดิจทิ ลั วัยรนุ่ ใช้เวลาบนโลกอนิ เตอร์เนต็ มาก ขึ้นทำให้มีปัจจยั เสย่ี งใหมๆ่ ทง้ั สอ่ื ข้อมลู และโอกาสในการเจอคนทีม่ ีความหลากหลายมากขึ้น ซึง่ อาจทำให้เกดิ ความเส่ยี งในการเจอปญั หาสุขจิตในวยั ร่นุ 1.1ความหมายของสขุ ภาพจิต องค์การอนามัยโลกใหค้ วามหมายของคำวา่ สุขภาพจิตไว้ดังน้ี สุขภาพจติ คือ ความสามารถ ของบุคคลทีจ่ ะปปรับตวั ใหม้ ีความสุขอย่กู บั สังคมและสง่ิ แวดล้อมไดด้ ี มสี ัมพนั ธภาพอนั ดงี ามกับ บุคคลอ่นื และดำรงชีวิตอยไู่ ด้ดว้ ยความสมดุลอยา่ งสุขสบาย รวมทัง้ สนองความสามารถของตนเองใน โลกทก่ี ำลงั เปลีย่ นแปลงนไ้ี ดโ้ ดยไม่มขี อ้ ขัดแยง้ ภายในจติ ใจ ทง้ั นี้ คำวา่ สุขภาพจิตมิไดห้ มายความ เฉพาะเพียงแต่ความปราศจากอาการของโรคประสาทและโรคจิตเท่านน้ั จะเห็นไดว้ า่ สขุ ภาพจิต เกยี่ วข้องกับการนกึ คิด ความรู้สึก และการกระทำของบุคคลในบางครง้ั ผู้ทม่ี สี ขุ ภาพจติ ปกติ อาจจะมี สขุ ภาพดีขึ้นหรอื เลวลงก็ได้ คนทีม่ ีสุขภาพจิตดี จะสามารถปรบั ตวั ให้เข้ากบั คนอ่ืนๆไดอ้ ยา่ งดี แม้บางอาจขดั แยง้ หรือมี อารมณโ์ กรธหรอื มีปญั หาชวี ิต แตก่ ็สามารถปรบั อารมณแ์ ละเผชญิ กบั ปญั หาตา่ งๆไดเ้ ปน็ อย่างดีโดย ไม่เสียดลุ ทางจติ ใจ จงึ อาจกลา่ วได้ว่า สขุ ภาพจิต ก็คอื ความมัน่ คงทางใจน่ันเอง (ธงชัย ทวชิ าชาติ .2533 . วฒั นาพานิช ก.ท.ม 87 หนา้ ) 1.2ลกั ษณะของผู้ที่มปี ญั หาสขุ ภาพจิต ลักษณะของผมู้ สี ขุ ภาพจิตไมด่ ี หรือผู้มีความผิดปกติทางจติ ในขัน้ ออ่ น เรียกวา่ Neuroses เปน็ สภาพผิดปกตทิ างจติ ซงึ่ เรามกั จดั อยใู่ นระดับการป่วยทางจติ ปานกลาง ระหว่างสขุ ภาพจิตสมบูรณ์ แบบหรอื ท่ีเรยี กวา่ โรคประสาท ซง่ึ ผปู้ ว่ ยสามารถรับรโู้ ลกของความจรงิ และสามารถดำรงอยใู่ นสงั คม ได้ และ Psychoses หรอื การป่วยทางจิตอย่างรุนแรงหรือมักเรียกว่าโรคจติ ผูป้ ่วยจะไมร่ บั รู้โลกของ ความจริง ไม่สามารถดำรงตนในสังคมได้ 1.2.1โรคประสาท (Neurosis) โรคประสาทเป็นความผิดปกตทิ างจิตชนิดหน่งึ ที่ไม่รุนแรง แสดงอาการท้ังทาง รา่ งกายและจิตใจทำให้จิตใจแปรปรวน ออ่ นไหวงา่ ย มักมคี วามรสู้ กึ ไมส่ บายใจ วติ กกังวลอยู่ เสมอ ไมส่ ามารถควบคุมความรสู้ ึกอารมณห์ รอื พฤติกรรมให้เหมือนเดมิ ได้
5 1.2.2 สาเหตขุ องการเกดิ โรคประสาท 1. มีบุคลกิ ภาพท่ไี ม่เหมาะสม มีแนวโนม้ ทจ่ี ะปรบั ตวั ได้ยากเมื่อเกดิ ปัญหา ความ กดดนั ความขดั แย้ง มาจากการเลย้ี งดตู ้งั แต่วยั เด็กและประสบการณ์ทไี่ มเ่ หมาะสมต้งั แตว่ ัย เด็ก เช่น • คนที่ชอบเป็นคนสมบรู ณ์แบบมกั จะเปน็ โรคประสาทชนดิ ยำ้ คิดยำ้ ทำ • คนที่เรยี กรอ้ งความรักและความสนใจมาก มกั เปน็ โรคประสาทชนิดฮสี ทเี รีย • คนที่คิดถึงตวั เองในแงป่ มด้อย มักจะเปน็ โรคประสาทชนิดซึมเศร้า • คนทมี่ คี วามคาดหวงั สูงเกินความเปน็ จรงิ มักจะเปน็ โรคประสาทชนิดวิตกกังวล 2. จากประสบการณ์ท่ีไมด่ ใี นชีวิต ทำให้เกิดเปน็ รอยจารึกทไ่ี ม่ดี เกดิ ความฝงั ใจและ เป็นความทุกขต์ ่อไป เช่น ถ้าถูกทอดทิ้งโดยคนรกั อกหัก จะฝังใจตอ่ ภาวะอกหัก และกลวั การ มีแฟน จะเครยี ดได้งา่ ย เมอ่ื ตอ้ งอยูก่ บั คนตา่ งเพศ หรอื ถ้าเด็กๆ เคยถกู เพ่ือนล้อเลยี นลักษณะ ดอ้ ยบางอยา่ ง จะฝังใจและกงั วลกลวั การถูกล้อเลียนได้การที่มคี วามคับขอ้ งใจและหาทาง ออกแบบไมเ่ หมาะสมน้ี จะทำใหก้ ลายเป็นนสิ ยั ทีไ่ มด่ ีไดเ้ ชน่ กงั วลมาก กลัวมาก 3. จากกรรมพนั ธุแ์ ละส่ิงแวดล้อมทไ่ี มด่ ี หากมคี นทเ่ี ปน็ โรคประสาทอยใู่ กล้ตัว อาจ สงผลและเป็นสาเหตขุ องการเกิดโรค 1.2.3 โรคจติ (Psychoses) การเจบ็ ป่วยทางจิตใจแบบหนงึ่ ความเจบ็ ป่วยทางจิตใจนัน้ มอี ยหู่ ลายรูปแบบ เชน่ เกิดจากความผดิ ปกตขิ องความคดิ ความจำ เกิดจากความผิดปกติของอารมณ์ หรือเกดิ จาก ความผดิ ปกตขิ องพฤติกรรม โรคจิต เป็นโรคของ ความคดิ ที่ผิดปกติ ความผดิ ปกตขิ อง ความคดิ ทำให้ผ้ปู ว่ ยมคี วามเช่ือ มีพฤตกิ รรม มีการกระทำทผี่ ิดไปจากคนปกติทวั่ ไป 1.2.4 สาเหตขุ องโรคจิต 1.สาเหตุทางร่างกาย เชน่ ความบกพร่องทางร่างกาย รู้สึกเสยี ใจ กลุม้ ใจ นอ้ ยใจใน ความอาภัพ กังวลใจในความพกิ าร มักจะทำให้จติ ใจหงดุ หงิดอย่เู สมอและไมส่ บายใจ ความ เจบ็ ไข้ได้ป่วยมีโรคประจำ ตวั เรือ้ รัง ทำใหม้ ีผลต่อสุขภาพจติ ทำให้รู้สกึ หงดุ หงิด ขี้ระแวง ฉนุ เฉียว ปรับตัวยาก พัฒนาการทางดา้ นกาย อารมณ์ สงั คม และสติปัญญาลา่ ชา้ เป็o อปุ สรรคตอ่ การศกึ ษาเล่าเรียน กลายเป็นคนมปี ัญหา ความบกพร่องทางอวัยวะรบั สัมผัส เชน่ หู ตา เป็นอุปสรรคต่อกระบวนการเรียนรู้ และความบกพร่องในด้านอนามัยและโภชนาการ ทำใหอ้ อ่ นแอ พัฒนาการลา่ ช้ากว่าปกติ เดก็ ทขี่ าดสารอาหารนอกจากพัฒนาการช้าแล้วยงั อาจเป็นโรคบางอย่าง เช่น ขาดไอโอดีน ทำให้เป็นโรคคอพอกทำใหห้ งดุ หงดิ เจ้าอารมณ์ มี ปัญหาดา้ นความประพฤติ
6 2.สาเหตทุ างจิตใจ เช่น อารมณ์ เมอื่ เกดิ ปญั หาทางอารมณ์จะมีผลถงึ สุขภาพจิต ความกลวั ความวติ กกงั วล ความโกรธ ความเครียด มีอทิ ธพิ ลรา้ ยแรงเพราะเป็นอารมณ์ท่ีเกดิ ตดิ ตอ่ กันได้เปน็ ระยะเวลานาน เมอ่ื สะสมมากๆจะทำลายประสิทธิภาพและสุขภาพทางจิต 1.3 อาการของผูท้ ่มี สี ุขภาพจติ ทีไ่ ม่ดี แสดงออกมา 3 ดา้ น ได้แก่ 1.3.1 ดา้ นร่างกาย เชน่ ปวดศรี ษะ ปวดท้อง มปี ัญหาในการนอน แขนขาชา ใจเตน้ เร็ว เหนอื่ ย ออ่ นเพลียไมม่ ีแรง 1.3.2 ดา้ นจติ ใจ เชน่ เครียด กงั วล ซมึ เศร้า ท้อแท้ หมดหวัง สับสนฟงุ้ ซ่าน เซง็ กลัว ระแวง อารมณเ์ ปลีย่ นแปลงงา่ ย คดิ ฆ่าตัวตาย 1.3.3 ด้านพฤติกรรม เช่น ซึม เฉยเมย กระสับกระส่ายไมอ่ ยู่นง่ิ กา้ วร้าว พูดหรอื ย้มิ คนเดยี ว ไมส่ นใจตนเองและส่งิ แวดล้อม เดนิ เรอ่ื ยเป่ือยไม่มจี ุดหมาย ติดเหลา้ ตดิ ยา 1.4 ความหมายของความเครียด ความเครยี ด หมายถงึ ความเครียด (Stress) คือภาวะของอารมณ์ ความรูส้ กึ ทถี่ กู บบี คน้ั หรือ กดดนั ซ่งึ แตล่ ะบคุ คลจะมีวธิ กี ารปรับตวั ใหผ้ า่ นพน้ ไปได้ ความเครยี ดทห่ี าทางระบายออกไม่ได้ จน สง่ ผลกระทบตอ่ การใช้ชีวติ ประจำวนั อาจเปลี่ยนเป็นโรคซึมเศรา้ (Depressive disorder) หรอื โรค วิตกกังวล (Anxiety disorders) 2.ปัจจัยท่ีทำใหเ้ กดิ ความเครยี ด 2.1 ปัจจยั ภายนอก เชน่ มีการแข่งขนั มากข้นึ ชิงดชี งิ เดน่ ครอบครัวไม่อบอุ่น สูญเสียสงิ่ ท่ีรกั มคี วามขดั แยง้ หรือมี ปัญหาในดา้ นความสมั พันธ์ จุดเปลี่ยนของชวี ิตซึ่งเกดิ ข้ึนในแตล่ ะช่วงอายุ สภาพดังกลา่ วทำใหเ้ กิด ความเครยี ดได้ 2.2 ปจั จัยภายใน มนี สิ ัยคิดมาก ชอบวติ กกังวลในเรอื่ งเลก็ นอ้ ย หรอื สารเคมีในสมองไมส่ มดุลทำใหเ้ กดิ อารมณ์ เครยี ดและเศรา้ ง่าย 2.2.1 อาการแสดงของผ้ทู ่มี ปี ัญหาความเครยี ด 1.นอนไม่หลับ ความเครียดอาจส่งผลให้นอนไมห่ ลับ และหากนอนไมห่ ลับเป็นเวลานาน จะ ส่งผลต่อสขุ ภาพกายและใจโดยรวมจน เรมิ่ มีภาวะซึมเศร้า หรอื ความเครยี ดรนุ แรง 2.พฤติกรรมเปลี่ยนไป ไมร่ า่ เริง น่งิ เงียบ ไม่พดู คยุ เบือ่ หน่าย และปดิ ก้ันตัวเอง
7 3.เศรา้ หมอง หรอื วติ กกงั วล ผู้ทม่ี คี วามเครยี ดมักจะรูส้ ึกเศร้า ไม่มคี วามสขุ หรอื วิตกกงั วลกับ เรื่องต่างๆ จนแสดงออกทางสีหน้า ท่าทาง หรือคำพดู 4.ความเครยี ดอาจแสดงออกเป็นอาการทางกาย เช่น หายใจถขี่ นึ้ หรือ “กลนั้ หายใจ” โดยไม่ ร้สู ึกตัว ปวดทอ้ ง อาเจียน ปวดศรี ษะ 5.ในกรณรี นุ แรง ผู้ปว่ ยอาจจะพูดว่าอยากตาย บางครั้งอาจฟังเหมอื นเป็นการพูดเลน่ ดังนน้ั จงึ ควรใสใ่ จผพู้ ดู ให้มากข้ึน ไม่ว่าจะพบการตัดพ้อเชน่ นี้ ในโลกโซเชียลหรอื พดู ข้นึ ลอยๆ 2.2.2 การจัดการกับความเครียด การจัดการความเครยี ด หมายถงึ เทคนิคทีห่ ลายหลากและกระบวนการจิตบำบดั (psychotherapy) ที่มุ่งควบคุมระดบั ความเครยี ด โดยเฉพาะความเครียดเรอื้ รงั ปกติเพอ่ื ปรับ ชีวิตประจำวนั ใหด้ ีขึ้น 2.2.3 วธิ จี ดั การกับความเครยี ด 1.ออกกำลงั กาย คลายเครยี ด หากร้สู ึกตัววา่ กำลงั เครยี ดอยู่ การได้ออกจากโต๊ะทำงานไปยืด เสน้ สาย หรือเดนิ ขึ้นลงบันไดสามารถทำให้ไม่จดจ่อเรอื่ งเครียดไดส้ กั พกั 2.นั่งสมาธิ ฝกึ จติ ลดเครยี ด หากลองสงั เกตเุ ม่อื ไหร่กต็ ามที่คณุ รสู้ กึ เครยี ด จะเหมอื นมีก้อน ความคดิ บางอย่างวง่ิ อยใู่ นหัวตลอดเวลา ดงั น้ัน เมื่อรูส้ กึ วติ กกังวลมากเกนิ ไป การนัง่ สมาธสิ ามารถลด ความเครียด 3.จดั สรรเวลาในชวี ิตประจำวนั นอกจากการจดั สรรเวลาการทำงาน และการใชช้ ีวิตสว่ นตวั ให้ ดจี ะชว่ ยใหก้ ารใช้ชีวติ เรียบง่าย 8 ชัว่ โมงการทำงานหลังจากนน้ั ควรจะหยุดคดิ เร่อื งงาน ไม่นำงานไป ทำในขณะทใี่ ชเ้ วลาอยกู่ ับครอบครัว และนอนหลบั พักผ่อนให้เพียงพอ 4.ผ่อนคลายดว้ ยการดหู นงั ฟังเพลง แม้วา่ จะไมส่ ามารถจัดการปญั หาความเครียดตา่ งๆ ได้ ทนั ที แต่การท่ีสามารถออกมาจากความเครียดได้สกั พกั หนึ่งเป็นเรอื่ งดี เชน่ การนอนดูหนัง ฟังเพลง สบายๆ หรือออกไปหากจิ กรรม ชว่ ยใหส้ มองปลอดโปร่ง และอาจทำใหส้ ามารถกลับมาแกไ้ ขปัญหาได้ 5.ปรับเปล่ยี นความคดิ การจมอยู่กบั ความคดิ ใดความคดิ หน่ึงมากเกนิ ไปอาจทำให้เกดิ อาการ เครียดโดยไมร่ ้ตู วั หรือหากจมอย่กู ับความวิตกกงั วลมากๆ จะกลายเป็นความเครียดสะสม ความเครยี ด ทเ่ี กิดข้ึนนั้นก็จะกลายเปน็ สาเหตขุ องความทุกข์ใจ การลองปรบั มุมมองปญั หาตา่ งๆ การออกมายนื เปน็ คนนอก อาจทำใหเ้ ราเหน็ สาเหตขุ องปัญหาและวิธีแกไ้ ขได้งา่ ย หรือหากเรามองข้ามเรื่องเลก็ นอ้ ย และยอมรบั ข้อบกพรอ่ งทีเ่ กดิ ขึ้นของงานหรือเพ่ือนรว่ มงาน อาจทำให้เราเขา้ ใจสถานการณ์ และหาย เครยี ดได้เรว็ ยิง่ ขน้ึ
8 2.2.4 การรกั ษาอาการเครยี ด หากความเครียดรบกวนการใชช้ ีวติ ประจำวัน รวมถึงกระทบตอ่ การทำงาน หรอื มีผลต่อผอู้ ื่น การพบจิตแพทยเ์ พอื่ ปรึกษาและรักษาอยา่ งถูกวธิ เี ป็นสงิ่ ทคี่ วรทำอย่างยงิ่ โดยจติ แพทย์จะทำการ รักษาโดย แพทย์พดู คยุ ซกั ประวตั ิและตรวจรา่ งกายเพ่อื วินจิ ฉยั ทางการแพทย์และหาสาเหตุของ ความเครยี ด ในกรณีความเครียดส่งผลทางกาย เชน่ นอนไม่หลบั ปวดท้อง หรือปวดศีรษะ จติ แพทย์อาจ ให้รบั ประทานยาเพ่อื บรรเทาอาการ การให้คำปรกึ ษาโดยจติ แพทย์ ผู้เชย่ี วชาญเฉพาะทาง ด้วยการส่อื สารใหเ้ กดิ ความเข้าใจและ หาสาเหตุของปญั หา ชี้แนะอย่างถูกวธิ เี พ่ือคลายความเครียด จิตบำบดั ซง่ึ ตอ้ งได้รับการบำบดั โดย จิตแพทย์ 3. การให้คำปรกึ ษา 3.1ความหมายของการให้คำปรกึ ษา การให้คำปรึกษา หมายถึง กระบวนการให้ความชว่ ยเหลอื ติดต่อสือ่ สารกนั ด้วยวาจาและ กิริยาทา่ ทาง ทเ่ี กดิ จากสมั พนั ธภาพทางวิชาชพี ของบุคคลอยา่ งนอ้ ย 2 คน คอื ผู้ใหแ้ ละผู้รับคำปรกึ ษา เพ่ือช่วยเหลอื ใหผ้ รู้ บั คำปรึกษาสามารถเข้าใจปญั หาและสาเหตขุ องปัญหา จนกระทั้งสามารถหา วิธีแก้ไขปัญหาเหลา่ น้ันได้ดว้ ยตนเอง 3.2รูปแบบของการใหค้ ำปรึกษา 3.2.1 การใหค้ ำปรึกษารายบคุ คล การให้คำปรกึ ษาประเภทน้เี ปน็ แบบท่ไี ด้รับความนิยม และ ถกู นำมาใชใ้ นหนว่ ยงานต่าง ๆ การให้คำปรกึ ษาจะเปน็ การพบเป็นกระบวนการช่วยเหลือโดยมกี าร พบปะเปน็ การส่วนตัว ระหวา่ งผู้ใหค้ ำปรึกษากบั ผ้รู บั บริการ การให้คำปรึกษาแบบน้ีมีจดุ ม่งุ หมายท่ี จะช่วยใหผ้ ขู้ อรบั คำปรกึ ษาให้สามารถเข้าใจตนเอง เขา้ ใจปญั หา และสามารถแก้ไขปญั หาตา่ ง ๆ ได้ ดว้ ยตนเอง 3.2.2 การให้คำปรกึ ษาแบบกลุม่ การให้คำปรึกษาแบบกล่มุ ลักษณะของกลมุ่ ควรเปน็ กลมุ่ แบบปิด หมายถึง เป็นกลมุ่ ท่ีประกอบดว้ ย สมาชิกที่เป็นคนเดิมตงั้ แต่เริ่มต้น การใหค้ ำปรึกษา จนกระทง่ั ถงึ ข้นั ยตุ ิการใหค้ ำปรกึ ษา ไมค่ วรเปน็ กลุม่ แบบเปดิ เพราะกล่มุ ลักษณะนจ้ี ะมกี ารเข้าออก ของ สมาชกิ กลมุ่ อยตู่ ลอดเวลา คือสมาชิกเก่าออกไปสมาชิกใหมเ่ ข้า มาแทนทท่ี ำให้การให้คำปรึกษา
9 ขาดความตอ่ เนื่องและความร้สู กึ ปลอดภยั จะลดลง เพราะสมาชิกกลุ่มจะตอ้ งคอยปรับตัวตอ่ สถานการณท์ ม่ี สี มาชิกใหมเ่ ข้ามาอยตู่ ลอดเวลาทำให้เป็นอปุ สรรคตอ่ การเจริญงอกงามของกลมุ่ ได้ 3.3ประโยชน์ของการใหค้ ำปรกึ ษา 1.มมี ุมมองวธิ ีการแก้ปญั หาท่ีดแี ละมากกวา่ การคดิ หรอื วิตกกงั วลอยู่คนเดียว 2.จติ แพทย์สามารถใหค้ ำแนะนำในการจดั การภาวะความเครยี ดทเี่ กดิ ข้นึ ได้อยา่ งเป็นระบบ 3.ชว่ ยใหเ้ ข้าใจในความตอ้ งการของตนเอง จติ แพทย์จะรบั หนา้ ทเี่ ป็นผ้ฟู งั เป็นกระจกสะทอ้ น ถงึ ปญั หาผา่ นการพดู คยุ ซ่งึ ช่วยใหผ้ ู้เขา้ รบั คำปรึกษามองเห็นปญั หาทเ่ี กดิ ขึ้น และเริม่ หาวธิ ีรบั มอื กบั ส่งิ ที่เกดิ ขึน้ ได้ 4. เว็บไซตส์ รา้ งแอพพลิเคชน่ั และแอพพลเิ คช่ัน การสรา้ งโมบายแอพพลเิ คชนั สำหรบั ผู้เร่มิ ตน้ ทส่ี นใจไมว่ ่าจะเปน็ นักเรยี น นสิ ติ นกั ศึกษา หรือผทู้ ี่ ประกอบอาชีพต่าง ๆ นน้ั การหาเครอื่ งมือ โปรแกรมหรอื เว็บไซต์ดังกลา่ วในปัจจบุ ันมใี ห้เลือกอยา่ งมากมาย แต่ ทเ่ี ป็นนิยมมากท้ังในและตา่ งประเทศ ทม่ี าแรงมาก คือ Thunkable ซึง่ เป็นเว็บไซต์ที่เรียนรไู้ ดง้ ่ายมเี คร่ืองมือ และชดุ คำส่งั ทีใ่ ชร้ ูปแบบของ Blockly เปน็ การสร้างบล๊อคเสมอื นการเขยี นโปรแกรมทใี่ ช้ในการสรา้ งโคด้ โดย Blockly นนั้ เปน็ ผลติ ภัณฑ์ในส่วนของ Google Education ของ Google ดว้ ยรปู แบบการใช้งานเครื่องมอื นท้ี ี่ ชว่ ยในการเขยี นโปรแกรมง่าย เพียงแค่ลากแล้ววางเทา่ นั้น ไม่จำเป็นต้องมีพน้ื ฐานมาก่อนหรอื ไม่มีความรู้ ทางด้านการเขียนโคด้ มาก่อนสามารถทำได้และใชเ้ วลาไมม่ ากในการเรียนรู้ 4.1Thunkable คืออะไร Thunkable เปน็ เครอ่ื งมอื สร้างโมบายแอพพลิเคชนั เพอื่ ตดิ ตั้งบนสมาร์ตโฟนท่ใี ช้ ระบบปฏิบตั กิ าร Android, iOS โดยเครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการสร้างนัน้ นอกจากเครื่องมอื พน้ื ฐานแลว้ ยงั มี การเช่ือมต่อไปยังผลติ ภณั ฑ์จาก Google, Twitter และ Microsoft โดยชุดคำสง่ั หลงั จากที่ออกแบบ หนา้ จอดว้ ยเคร่อื งมือต่าง ๆ Thunkable คือเวบ็ ไซต์ท่ีให้เราสามารถสร้างโมบายแอพพลิเคชนั สวยๆ สามารถใชง้ านได้ และมปี ระโยชน์ 4.2Thunkable สามารถใช้สรา้ งโมบายแอพพลเิ คชนั อะไรไดบ้ ้าง 4.2.1 โปรแกรมคำนวณตัวเลขอย่างงา่ ย 4.2.2 โปรแกรมสุ่มตวั เลข 4.2.3 โปรแกรมฝกึ เขียนตัวอกั ษร 4.2.4 โปรแกรมฝกึ วาดภาพ 4.2.5 โปรแกรมประยุกตด์ า้ นงานตา่ งๆ ทีใ่ ชฐ้ านข้อมลู
10 4.2.6 โปรแกรมนบั การเดนิ 4.2.7 โปรแกรมวเิ คราะหอ์ ารมณ์ 4.3ความหมายของแอพพลิเคช่ัน แอพพลิเคชนั่ หมายถงึ โปรแกรมหรอื กลมุ่ ของโปรแกรมอำนวยความสะดวก ที่ถูกออกแบบ สำหรบั อปุ กรณ์ อเิ ล็กทรอนกิ ส์แบบพกพา เชน่ โทรศพั ทม์ อื ถือ แทบ็ เลต็ หรอื อุปกรณ์เคลอ่ื นที่ ทเี่ รา รู้จักกันซึ่งในแต่ละระบบปฏิบัติการจะมีผู้พฒั นาแอพพลิเคชั่นขึ้นมามากมายเพื่อให้ตรงกับความ ต้องการของผู้ใช้งาน 4.4ประเภทของแอพพลเิ คชนั่ ประเภทแอพพลเิ คชัน่ สามารถแบ่งได้ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ 4.4.1 Native App คอื แอพพลเิ คชัน่ ที่ถูกพัฒนามาดว้ ย Library หรือ SDK เครอื่ งมือที่เอาไว้ สำหรับพัฒนาโปรแกรมหรือแอพพลิเคชนั่ ของระบบปฏบิ ตั ิการบน โทรศพั ท์มือถอื OS Mobile (Operating System Mobile) น้ันๆ เชน่ Android ใช้ Android SD 4.4.2 Hybrid Application คือ แอพพลิเคช่ันทีถ่ กู พฒั นาขน้ึ มาด้วยจดุ ประสงค์ ทตี่ ้องการให้ สามารถ ใช้บนระบบปฏิบตั ิการไดท้ กุ OS โดยใช้ Framework เข้าช่วย เพือ่ ให้สามารถทำงานไดท้ กุ ระบบ 4.4.3 Web Application คอื Application ทถ่ี ูกเขียนขน้ึ มาเพ่ือเปน็ Browser สำหรบั การใช้ งานเวบ็ เพจตา่ งๆ ซึ่งถกู ปรบั แตง่ ให้แสดงผลแตส่ ว่ นทจ่ี ำเป็น เพือ่ เปน็ การลดทรพั ยากรในการ ประมวลผลของตวั เครอ่ื งสมาร์ทโฟนหรือแท็บเลต็ ทำใหโ้ หลดหนา้ เวบ็ ไซต์ได้เรว็ ขึน้ อีกท้งั ผใู้ ชง้ านยัง สามารถใช้งานผา่ นอนิ เตอร์เนต็ ในความเรว็ ตํา่ ได้ 4.5ประโยชน์ของแอพพลิเคชั่น 4.5.1 ผ้ใู ชง้ านสามารถระบายความรู้สกึ เพ่ือลดความเครยี ดผ่านแอพพลเิ คชน่ั 4.5.2 สามารถปรกึ ษาจติ แพทย์ เพอื่ แก้ปญั หาเหลา่ น้นั ประหยัดเวลาในการเดินทาง 4.5.3 สะดวก และมีความงา่ ยดายยิ่งขึน้ 4.6ตวั อย่างแอพพลิเคช่ัน 4.6.1 แอพพลเิ คชน่ั Feelmo คอื แอพพลิเคช่ันทชี่ ่วยให้เราจัดการความเครยี ด วติ กกงั วล ความกดดนั หรอื อารมณท์ ่แี ย่ ๆ ในวันน้ัน
11 รูปท่ี 2.1 ภาพแอพพลเิ คชัน Feelmo 4.6.2 แอพพลเิ คช่ัน Ooca คือ แอพพลิเคช่นั ทีส่ ามารถปรกึ ษาจติ แพทยแ์ ละนกั จิตวทิ ยาและ รกั ษาสขุ ภาพจิต รูปท่ี 2.2 ภาพแอพพลเิ คชนั Ooca
12 บทที่ 3 การดำเนนิ การและการศึกษา การจดั ทำโครงงานคอมพวิ เตอร์ การพัฒนาแอพพลิเคช่นั การประยุกต์ใชง้ าน เรอ่ื ง แอพพลเิ คชน่ั ใสใ่ จ สุขภาพ (Application TC Take Care) มวี ธิ ีดำเนินโครงงานการตามขัน้ ตอนต่อไปน้ี 1. วัสดุอปุ กรณ์ เคร่ืองมือหรอื โปรแกรมทีใ่ ชใ้ นการพฒั นา 1.1 เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เนต็ 1.2 โปรแกรมที่ต้องใช้ในการดำเนนิ งาน ไดแ้ ก่ 1.2.1 โปรแกรม Thunkable x 1.2.2 โปรแกรม Adobe Photoshop 1.2.3 โปรแกรม Microsoft Word 2. ขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน 2.1 คดิ หัวขอ้ โครงงานเพอื่ นำเสนอครทู ปี่ รึกษาโครงงาน 2.2 วางแผนการดำเนนิ งานและศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรือ่ งท่ีสนใจ ได้แก่ เรื่องปัญหาความเครียด สขุ ภาพจติ ของนกั เรยี นและศึกษาคน้ คว้าเพม่ิ เติมจากเว็บไซต์ตา่ ง ๆ และจดั เกบ็ ขอ้ มลู เพื่อจดั ทำเนอ้ื หาต่อไป ตารางที่ 1 ตารางแผนการดำเนินงาน รูปที่ 3.1 ตารางแผนการดำเนนิ งาน
13 2.3 ศึกษาการใช้โปรแกรมหรือเวบ็ ไซต์ Thunkable x เพอ่ื สร้างและพัฒนาแอพพลิเคช่ัน 2.4 จดั ทำโครงรา่ งโครงงานคอมพวิ เตอร์เพื่อนำเสนอครูทป่ี รึกษา รปู ท่ี 3.2 story board รูปที่ 3.3 story board 2.5 จดั ทำโครงงานคอมพิวเตอร์การพฒั นาแอพพลิเคช่นั เรื่องแอพพลิเคชั่นทซี ี โดยจัดทำผ่านเวบ็ ไซต์ https://thunkable.com/#/ ตามแบบเสนอโครงร่าง 2.6 นำเสนอโครงงานให้ครูที่ปรึกษาโครงงานได้ตรวจสอบ ซึ่งครูที่ปรึกษาจะให้ข้อเสนอแนะต่าง ๆ เพือ่ ใหจ้ ดั ทำโครงงานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 2.7 นำข้อแนะนำของครทู ปี่ รกึ ษามาปรบั ปรุงแกไ้ ขให้แอพพลเิ คช่ันมีประสทิ ธิภาพการใช้งานยิง่ ข้ึน 2.8 จัดทำเอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 2.9 ประเมินผลงานโดยใหค้ รทู ี่ปรึกษาประเมินผลงานและใหเ้ พอื่ นผทู้ ี่สนใจร่วมประเมนิ
14 บทท่ี4 ผลการดำเนินงาน / ผลการศึกษา 1.ผลการพัฒนา โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การพัฒนาแอพพลิเคชั่นระบายอารมณ์และประเมินสุขภาพจิต เล่มนี้จัด ขึน้ เพอื่ การศึกษาการพฒั นาแอพพลิเคชน่ั ระบายอารมณแ์ ละประเมินสุขภาพจิต ประกอบวิชาคอมพวิ เตอร์โดย มีคอมพิวเตอรป์ ระเภทการประยกุ ต์ใชง้ าน รปู ท่ี 4.1 story board รปู ที่ 4.1 story board
15 2.ผลการทดสอบ 2.1 เม่ือเข้าสู่ หนา้ หลกั กรอก Emil และรหัสผา่ น เพอ่ื เรมิ่ ต้นการใชง้ าน 2.2 หน้าแรกเมอ่ื เข้าสูร่ ะบบ จะไปสู่หนา้ เลอื กการระบายอารมณ์ 2.3 หน้าระบายอารมณ์ ผู้ใช้งานสามารถพิมพ์ระบายอารมณ์ เมื่อคลิกที่ Sent ข้อความที่ผู้ใช้พิมพ์ก็ จะปรากฎอย่บู นในกล่องของแพทยท์ ่ใี หค้ ำปรึกษา 2.4 ส่วนหน้า Psychology เปน็ หนา้ ท่ีเก่ยี วกับให้คำปรึกษาเก่ยี วกบั เรื่องตา่ ง ๆ 2.5 ถ้าผ้ใู ช้งานคลิก Consult เป็นหน้า ท่ีไวป้ รึกษาคณุ ครู ภายในโรงเรียน 2.6 เปน็ หน้าแชทระบาย กับคณุ ครทู ่ปี รึกษา 3.ผลการประเมินประสทิ ธภิ าพ จากการประเมินประสิทธิภาพพบว่า สามารถดูวิธีการเยียวยาจิตใจตัวเองและลองทำเองได้ อาจารย์ เข้าถึงนักเรียนและเข้าใจนักเรียนได้มากยิ่งขึ้น สามารถลดความเครียดและหาทางออกของปัญหา อยู่ในระดับ 82% ระดับเกณฑ์ พอใช้ คะแนน 49-59% ดี คะแนน 60-69% ดมี าก คะแนน 70-79% ดีเย่ยี ม คะแนน 80-100%
16 บทท่ี 5 สรปุ ผลการดำเนนิ งาน 1.สรปุ ผลการพฒั นาโครงงาน โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาแอพพลิเคชั่นให้คำปรึกษาทางด้านอารมณ์ของผู้ใช้บริการและ ประเมินสุขภาพของผู้ใช้บริการเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการปลดปล่อยความเครียดไม่ว่าจะเป็นปัญหาหรือความ วิตกกังวลต่างๆสามารถประเมินสุขภาพจิตของตนเองผ่านแอพพลิเคชั่นซึ่งแอพพลิเคชั่นสามาร ถติดตั้งบน สมาร์ทโฟนโดยผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดและติดตั้งแอพพลิเคชั่นได้จากGoogle Play Store มีการคำนึงถึง ความปลอดภยั ในการเก็บรกั ษาขอ้ มลู ดว้ ยการแจง้ ขอ้ ตกลงและความลับในการเขา้ ถงึ โทรศัพทข์ องผ้ใู ช้งาน การ พัฒนาแอพพลิเคชั่นมีความสะดวกในการใช้งานง่ายสะดวกต่อผู้ใช้บริการและผู้ให้คำปรึกษาที่สามารถรองรับ การใชง้ านบนเวบ็ บราวเซอร์ ระบบปฏิบัติการ และโทรศัพท์มือถือได้อย่างหลากหลายในปจั จบุ นั 2.การทดสอบและการพัฒนาโครงงาน ในการทดสอบการพัฒนาแอพพลิเคชั่นใส่ใจสุขภาพ โดยผู้จัดทำนำแอพพลิเคชั่นที่ได้พัฒนาขึ้นไป ทดสอบกับผู้ใช้งาน ซึ่งกำหนดกลุ่มผู้ใช้งานด้วยการคัดเลือกแบบเจาะจงโดยดำรงตำแหน่งเป็นอาจารย์ใน โรงเรียนหรือเป็นผู้เชี่ยวชาญในการให้คำปรึกษากับปัญหาของผู้ใช้งานที่ต้องการปรึกษาระบายความเครียด และเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบระบบคือแบบประเมินความเหมาะสมของแอพพลิเคชั่นสำหรับการให้ คำปรกึ ษารายบุคคลในรูปแบบออนไลน์ 3.การประเมนิ ผลประสทิ ธภิ าพ ผลการประเมินประสิทธภิ าพของการพัฒนาแอพพลเิ คช่ันใส่ใจสขุ ภาพ (Take Care) มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ ในระดบั ท่ีดีมาก( 85% ) 4.อุปสรรคในการทำงาน การพัฒนาแอพพลเิ คช่ันTC (Take Care) ได้มกี ารทดลองใช้งานทำใหพ้ บปัญหาตา่ งๆดังนี้ 4.1 ผ้ใู ช้งานบางท่านยงั ไม่กล้าที่เปดิ ใจท่จี ะใช้งาน 4.2 การใช้งานของแอพพลิเคชั่นต้องใช้อินเทอร์เน็ตทำให้เกิดความยากลำบากสำหรับผู้ใช้งานบาง ท่านทีต่ ้องการใช้งานแอพพลเิ คช่นั 4.3 การใช้งานแอพพลิเคช่ันอาจมบี างครงั้ ที่ทำให้เกิดความล่าช้าหรือค้างของแอพพลเิ คชั่น
17 5.ขอ้ เสนอแนะแนวทางการพฒั นาต่อ 5.1 ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบการให้คำปรึกษาแบบออนไลน์รายบุคคลโดยใช้แอพพลิเคชั่นด้าน สุขภาพจิตตามแนวคิดการปรับความคิด พฤติกรรมกับแนวคิดทฤษฎีอื่นที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพพจิตและท่ี เกยี่ วข้องกบั เทคโนโลยีใหม่ 5.2 ควรมีข้อมลู หรอื แบบประเมินให้มากขึ้นและหลากหลายกวา่ เดิม 5.3 ควรมีการตอ่ ยอดพฒั นาแอพพลเิ คชั่นใหด้ ีมากข้นึ กวา่ เดิม
18 ภาคผนวก
19 ประวตั ิผจู้ ดั ทำโครงงาน ประวตั สิ ว่ นตัว ช่ือ นางสาวอัฟนาน บินมะเย็ง เกิดวนั ที่ 16 มถิ ุนายน 2550 ท่อี ยู่ บ้านเลขท่ี 49/159 หมู่ 9 ถ.รม่ เกลา้ ต.สะเตงนอก อ.เมอื ง จ.ยะลา 95000 มีพ่นี ้องทัง้ หมด 3 คน วชิ าทีถ่ นดั ฟิสกิ ส์ โปรแกรมหอ้ งเรียน Change MSO การศึกษา ปี พ.ศ 2556 - 2561 ประถมศึกษา โรงเรียน พฒั นาวทิ ยา (แผนกสาธิต) ปี พ.ศ 2562 - 2564 มธั ยมศึกษาตอนต้น โรงเรยี น พฒั นาวทิ ยา (แผนกสาธติ ) ปจั จุบนั กำลังศกึ ษา มัธยมศึกษาปลาย โรงเรียน พัฒนาวิทยา ส่ิงท่วี างแผนไว้ สามารถเขา้ มหาลัยและทำตามเปา้ หมายทว่ี างไวส้ ำเรจ็ คติประจำตวั อยา่ คดิ ว่าทำไม่ได้ หากยงั ไมเ่ ร่มิ ทำและเต็มทกี่ บั สิ่งนัน้
20 ประวตั ิส่วนตวั ชอ่ื นางสาวตว่ นตสั นมี สาเหาะ เกิดวนั ท่ี 8 กนั ยายน 2550 ทอ่ี ยู่ บ้านเลขที่ 144/48 หมบู่ ้านสถิตภริ มย์ ต.สะเตงนอก อ.เมือง จ.ยะลา 95000 มพี นี่ อ้ งทงั้ หมด 5 คน วิชาทถี่ นดั ฟสิ ิกส์ คณิตศาสตร์ โปรแกรมห้องเรียน Change MSO การศกึ ษา ปี พ.ศ 2561 ประถมศกึ ษา โรงเรียนพัฒนาวิทยา (แผนกสาธติ ) ปี พ.ศ 2564 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ โรงเรียนพัฒนาวิทยา (แผนกสาธิต) ปจั จุบนั กำลงั ศึกษา มธั ยมศึกษาปลาย โรงเรยี นพัฒนาวิทยา สิ่งทวี่ างแผนไว้ เข้าคณะทันตแพทยศาตร์ คตปิ ระจำตัว มันอาจจะมที อ้ มีเศรา้ มผี ิดหวงั แตย่ งั ไงมนั กต็ อ้ งมสี ิ่งทดี่ ีตามมาเสมอ ดงั นั้นยมิ้ เยอะๆ
21 ประวัตสิ ่วนตัว ช่ือ นางสาวนะดา ลาโฮ๊ะยา เกิดวันที่ 26 ธนั วาคม 2549 ทีอ่ ยู่ บ้านเลขท่ี 104/1 ต.วงั พญา อ.รามนั จ.ยะลา 95140 มีพ่ีนอ้ งท้งั หมด 2 คน วิชาทถ่ี นดั เคมี โปรแกรมหอ้ งเรียน Change MSO การศึกษา ปี พ.ศ 2561 ประถมศึกษา โรงเรียนอนบุ าล ยะลา ปี พ.ศ 2564 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ โรงเรียน พัฒนาวิทยา (แผนกสาธติ ) ปัจจุบนั กำลังศึกษา มธั ยมศกึ ษาปลาย โรงเรยี น พฒั นาวิทยา สงิ่ ทวี่ างแผนไว้ เขา้ คณะเภสชั ศาสตร์ คติประจำตวั ถา้ คดิ อยากจะทำให้ลงมือทำ ไม่มีคำวา่ สาย
22 ประวัตสิ ว่ นตัว ชอื่ นางสาวดารียา ลาเตะ๊ มหู ะมะ เกดิ วันท่ี 22 มนี าคม 2550 ท่อี ยู่ บา้ นเลขที่ 24 ซอยบำรุง ถนนผงั เมือง 5 ต.สะเตง จ.ยะลา 95000 มีพน่ี อ้ งทง้ั หมด 4 คน วิชาที่ถนัด เคมี โปรแกรมหอ้ งเรียน Change MSO การศกึ ษา ปี พ.ศ 2561 ประถมศึกษา โรงเรยี นเพ็ญสิริ ยะลา ปี พ.ศ 2564 มัธยมศกึ ษาตอนต้น โรงเรยี น พัฒนาวทิ ยา (แผนกสาธิต) ปัจจุบันกำลงั ศกึ ษา มธั ยมศึกษาปลาย โรงเรยี น พฒั นาวิทยา สิง่ ที่วางแผนไว้ เขา้ คณะทันตแพทยศาสตร์ คติประจำตัว ไม่ทำใหค้ วามฝนั เป็นแค่ความฝนั ลงมือทำให้ดีท่สี ดุ และขอดอุ า ตะวกั กุลตอ่ อลั ลอฮฺ
23 ประวตั สิ ว่ นตวั ช่ือ นางสาวตสั นีม ดอนิ เกดิ วันที่ 28 มีนาคม 2550 ท่อี ยู่ บ้านเลขที่ 79/1 ม.1 อ.กรงปีนงั จ.ยะลา 95000 มพี น่ี อ้ งท้ังหมด 4 คน วิชาท่ีถนัด องั กฤษ เคมี ชีววทิ ยา โปรแกรมห้องเรยี น Change MSO การศกึ ษา ปี พ.ศ 2561 ประถมศึกษา โรงเรยี นเพ็ญสิริ ยะลา ปี พ.ศ 2564 มัธยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียน พฒั นาวิทยา (แผนกสาธติ ) ปจั จบุ นั กำลังศกึ ษา มธั ยมศึกษาปลาย โรงเรียน พัฒนาวิทยา สงิ่ ทวี่ างแผนไว้ สอบติดสอวน.และสอบติดมหาวิทยาลยั ที่หวงั ไว้ คตปิ ระจำตวั ทำวนั นใ้ี หด้ ที ส่ี ดุ
24 ประวัติส่วนตัว ชอื่ นางสาวนัซมี นาราปัตย์ เกิดวันท่ี 22 กนั ยายน 2549 ทอ่ี ยู่ บ้านเลขที่ 24/36 หมบู่ ้านสถิตภิรมย์ มพี ่นี ้องทัง้ หมด 4 คน วิชาท่ถี นัด คณติ ศาสตร์ โปรแกรมห้องเรยี น Change MSO การศกึ ษา ปี พ.ศ 2561 ประถมศึกษา โรงเรยี นดารลุ อโู ลมนบิ งบารู ปี พ.ศ 2564 มธั ยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียน พัฒนาวิทยา (แผนกสาธติ ) ปัจจบุ นั กำลังศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาปลาย โรงเรียน พัฒนาวิทยา ส่ิงท่ีวางแผนไว้ เกบ็ เน้อื หาม.ปลายกอ่ นข้ึนม.6 คตปิ ระจำตวั อยา่ ทำให้ฝันทีเ่ ราอยากเปน็ เป็นแค่ความฝนั
25 บรรณานกุ รม ปัจจัยทีท่ ำใหเ้ กดิ ความเครียด [ออนไลน์].เข้าถึงไดจ้ าก: https://www.bumrungrad.com (วนั ที่สบื ค้น : 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2566) ข้อมลู ในสว่ นของปัญหาสุขภาพจติ ในวยั รุน่ [ออนไลน์].เข้าถงึ ไดจ้ าก: https://dmh.go.th (วนั ที่สบื คน้ : 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2566) ความหมายของสขุ ภาพจิตและลกั ษณะของผ้ทู มี่ ีปญั หาสุขภาพจติ [ออนไลน์].เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://dspace.bru.ac.th (วันที่สืบค้น : 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2566) อาการคนท่ีมีความเครยี ดและการรักษา [ออนไลน์].เข้าถงึ ไดจ้ าก: https://www.samitivejhospitals.com (วนั ท่สี ืบคน้ : 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2566) รปู แบบการใหค้ ำปรึกษา [ออนไลน์].เข้าถึงไดจ้ าก: https://www.novabizz.com (วนั ท่สี ืบคน้ : 24 กมุ ภาพันธ์ 2566) ความหมายของแอพพลิเคชัน่ และประเภท [ออนไลน์].เขา้ ถึงได้จาก: https://www.mangoconsultant.com (วนั ทสี่ บื คน้ : 25 กมุ ภาพันธ์ 2566) ศึกษาข้อมูลตัวอยา่ งแอพพลเิ คช่นั [ออนไลน์].เข้าถึงไดจ้ าก: https://www.wongnai.com (วันทสี่ ืบคน้ : 25 กมุ ภาพนั ธ์ 2566) ในส่วนเพม่ิ เตมิ [ออนไลน์].เขา้ ถงึ ได้จาก: https://anyflip.com (วนั ที่สบื ค้น : 26 กมุ ภาพนั ธ์ 2566)
Search
Read the Text Version
- 1 - 31
Pages: