Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ๑๐๐ พระชันษาพระโอวาทธรรมของสมเด็จพระสังฆราช

๑๐๐ พระชันษาพระโอวาทธรรมของสมเด็จพระสังฆราช

Published by Naresuan University Archive, 2019-07-12 04:12:32

Description: ๑๐๐_พระชันษา_พระโอวาทธรรม

Keywords: สมเด็จพระสังฆราช,ธรรม,หนังสือธรรม

Search

Read the Text Version

๑๐๐ พระชนั ษา พระโอวาทธรรม 1

พระประวตั ิ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรนิ ายก ถือบรรพชาเป็นสามเณรเมอื่ พระชันษาย่าง ๑๔ ปี ณ วัดเทวสังฆาราม ต่อมาทรง ย้ายมาศึกษาพระปริยัติธรรมที่วัดเสน่ห์หา อ.เมือง จ.นครปฐม ๒ พรรษา กอ่ นจะยา้ ยมาศกึ ษาตอ่ ทวี่ ดั บวรนเิ วศวหิ าร ในสมัยสมเดจ็ พระสังฆราชเจา้ กรม หลวงวชิรญาณวงศ์ ทรงครองพระอาราม พระองค์ ทรงศกึ ษาธรรมบาลสี อบไดป้ ระโยคตา่ งๆ มาโดยลำ� ดบั จนถงึ เปรยี ญธรรม ๙ ประโยค พ.ศ. ๒๔๗๖ ทรงกลบั ไปอปุ สมบทเป็นพระภกิ ษุ ณ วัดเทวสังฆวราม

คร้ันถงึ ชว่ งออกพรรษาทรงกลับมาอปุ สมบทอกี ครัง้ เพอื่ ญัตตเิ ป็นธรรมยตุ ณ วดั บวรนเิ วศวหิ าร โดยมีสมเดจ็ พระสังฆราชเจา้ กรมหลวง วชิรญาณวงศ์ ครั้งยังเป็นสมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ ทรงเป็นพระอุปัชฌาณย์ และพระรัตนธัชมุนี เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ได้รับฉายาว่า สุวฑฺฒโน อนั มคี วามหมายวา่ ผูเ้ จรญิ ปรีชายงิ่ ในอุดมปาพจน์ เม่อื คร้ังทพ่ี ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ทรงผนวชและประทับ ณ วัดบวรนิเวศวหิ าร สมเด็จพระญาณสังวรไดร้ ับหนา้ ทีเ่ ปน็ พระอภิบาล โดยตลอด และตอ่ มาได้เป็นผู้ถวายพระธรรมเทศนา พระมงคลวิเสสกถา ในงานพระราชพธิ เี ฉลมิ พระชนมพรรษา ปพี ุทธศักราช ๒๕๐๗ ไดร้ ับ พระราชทานสมณศกั ดมิ์ าโดยล�ำดบั พระชนมายุ ๓๔ ปี เป็นพระราชาคณะชัน้ สามัญทพ่ี ระโสภนคณาภรณ์ พระชนมายุ ๓๙ ปี เปน็ พระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนามเดมิ พระชนมายุ ๔๒ ปี เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทนิ นามเดมิ พระชนมายุ ๔๓ ปี เป็นพระราชาคณะชน้ั ธรรม ในราชทินนามทพี่ ระธรรมคุณาภรณ์ พระชนมายุ ๔๘ ปี เลื่อนสมณศกั ดเ์ิ ปน็ พระราชาคณะชัน้ เจา้ คณะรองท่ี พระสาสนโสภณ พระชนมายุ ๕๙ ปี ไดร้ ้บพระราชทานสถาปนาเปน็ สมเดจ็ พระราชาคณะที่ สมเด็จพระญาณสงั วร พ.ศ. ๒๕๓๒ ทรงโปรดเกล้าฯ สถาปนา เปน็ สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ สกลมหาสงั ฆปรนิ ายก เปน็ พระองคแ์ รกทใี่ ชพ้ ระนามเดมิ เฉกนี้ และทรงใหถ้ อื เปน็ แบบธรรมเนยี ม ตราในกฎมหาเถรสมาคมสบื มา



๒ ๗ประวตั ิ ชวี ิต ๑๕คนดี ๒๕ความสขุ

๑๐๐ พระชนั ษา สงั ฆราชานสุ รณ์ สามตุลา ดถิ ี รอ้ ยชนั ษา พระบิดา อุปชั ฌาย ์ คณะสงฆ์ เปน็ พระมขุ ปกครองสัง- ฆมณฑล แจ้งมรรคผล แผ่ธรรม น�ำท่ัวไทย ทา่ นเปน็ พระ อภบิ าล ในหลวงเจ้า เม่ือทรงคราว บรรพชา มหาสมัย พสกนกิ ร ปลาบปล้มื ในฤทัย ธรรมครองใจ ครองราช ปราชญ์เรืองรอง ทรงประกอบ พระกจิ การมงคล ทรงนิพนธ์ หนงั สือ สื่อธรรมะ ยังกศุ ล ในคราว เฉลิมฉลอง อักขระ ไตรปิฎก ยกให้เหน็ แผน่ ดินไทย แผน่ ดินธรรม แผ่นดนิ ทอง แตกฉานใน บาลธี รรม นำ� สขุ เย็น ประกาศกอ้ ง พุทธธรรม นำ� สุขใจ โลกไดเ้ หน็ ผลงานท่าน อนั โอฬาร สรา้ งวดั วา อุปถัมภ ์ ค้�ำจนุ เจอื ขอพระองค ์ ทรงพระ พลานามัย ท้ังชว่ ยเหลอื สงเคราะห์ การหลากหลาย ชนผองไทย น้อมใจ รว่ มประสาน ดา้ นโรงเรยี น โรงพยาบาล ทห่ี ่างไกล ถวายน�ำให้ สขุ สดชื่น ยงั่ ยนื นาน ผยู้ ากไร้ คณะสงฆ์ วงศพ์ ระเณร เจรญิ ฌาน ญาณสังวร พรเลศิ เอย

ชวี ิต ๑๐๐ พระชนั ษา พระโอวาทธรรม 7

มนุษย์ท่ีแปลอย่างหน่ึงว่า ผู้มีจิตใจสูง คือ มีความรู้สูง ดังจะเห็นได้ว่าคนเรามีพ้ืนปัญญาสูงกว่าสัตว์ ดริ จั ฉานมากมาย สามารถรจู้ กั เปรยี บเทยี บในความดี ความชว่ั ความควรท�ำไม่ควรท�ำ รู้จักละอาย รู้จักเกรง รู้จักปรับปรุง สร้างสรรค์ท่ีเรียกว่าวัฒนธรรม อารยธรรม ศาสนา เป็นต้น แสดงว่ามีความดีที่ได้ส่ังสมมา โดยเฉพาะปัญญาเป็นรัตนะ ส่องสว่างน�ำทางแห่งชีวิต ถึงดังน้ันก็ยังมีความมืดท่ีมาก�ำบัง จติ ใจใหเ้ หน็ ผดิ เปน็ ชอบ ความมดื ทส่ี ำ� คญั นน่ั กค็ อื กเิ ลสในจติ ใจ และกรรมเก่าทั้งหลาย 8 สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช (๓ ตลุ าคม ๒๕๕๖)

ค�ำว่า ชีวิต มิได้มีความหมายเพียงแค่ความเป็นอยู่ แหง่ ร่างกาย แต่หมายถึงความสุข ความทกุ ข์ ความเจรญิ ความเสอ่ื ม ของบุคคลในทางต่างๆ ด้วย บางคนมปี ัญหาว่า จะวาดภาพชีวติ ของ ตนอย่างไรในอนาคต หรืออะไรควรจะเป็นจุดมุ่งหมายของชีวิต และ จะไปถึงจุดมุ่งหมายน้ันหรือ ท่ีนึกที่วาดภาพไว้น้ันด้วยอะไร ปัญหา ท่ถี ามคลมุ ไปดงั นี้ น่าจะตอบให้ตรงจุดเฉพาะบุคคลไดย้ าก เพราะไมร่ ู้ วา่ ทางแหง่ ชวี ติ ของแตล่ ะบคุ คลตามทก่ี รรมกำ� หนดไวเ้ ปน็ อยา่ งไร และ ถ้าวาดภาพของชวี ิตอนาคตไวเ้ กินวิสัย ของตนท่จี ะพึงถงึ แบบท่ีเรยี ก ว่าสร้างวิมานบนอากาศ ก็จะเกิดความส�ำเร็จข้ึนมาไม่ได้แน่ หรือแม้ วาดภาพชีวิตไว้ในวิสัยที่พึงได้พึงถึง แต่ขาดเหตุท่ีจะอุปการะให้ไปถึง จดุ หมายนัน้ ก็ยากอกี เหมอื นกันทจ่ี ะเกดิ เปน็ ความจรงิ ขน้ึ มา ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 9

เราเกิดมาด้วยตัณหา ความอยากและกรรมเพ่ือสนองตัณหาและกรรม ของตนเอง ตัณหาและกรรมจึงเป็นตวั อ�ำนาจหรอื ผู้สร้างใหเ้ ราเกดิ มา ใครเลา่ เปน็ ผู้ สร้างอ�ำนาจนี้ ตอบได้ว่าคือตัวเอง เพราะตนเองเป็นผู้อยากเองและเป็นผู้ท�ำกรรม ฉะน้ันตนน้ีเองแหละเป็นผู้สร้างให้ตนเองเกิดมา อนุมานดูตามค�ำของผู้ตรัสรู้นี้ใน กระแสปัจจุบัน สมมติว่าอยากเป็นผู้แทนราษฏร ก็สมัครรับเลือกต้ังและหาเสียง เมอื่ ชนะคะแนนกเ็ ปน็ ผแู้ ทนราษฎร นค่ี อื ความอยากเปน็ เหตใุ หท้ ำ� กรรม คอื ทำ� การตา่ งๆ ตง้ั แตก่ ารสมคั ร การหาเสยี ง เปน็ ตน้ ซง่ึ เปน็ เหตใุ หไ้ ดร้ บั ผล คอื ไดเ้ ปน็ ผแู้ ทน ความเปล่ียนแปลงของชีวิต หรือของโลกเป็นทุกข์ประจ�ำชีวิตหรือ ประจำ� โลกไม่เป็นเรอ่ื งแปลกประหลาดอนั ใด เม่ือจะสรปุ กลา่ วใหส้ ้ัน ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ทัง้ ส่ีนีย้ อ่ ลงเป็นสอง คือความเกิดและความดับซึ่งเป็นสิ่งที่สกดั หน้าสกดั หลงั ของโลก ของชวี ติ ทุกชีวิตน่ีเรยี กคติธรรมดา แปลวา่ ความเป็นไปตามธรรมดา ความไม่สบายใจทุกๆ อย่าง พระพุทธเจา้ ทรงช้ีว่าเป็นทุกข์ ทกุ คนคงเคยประสบกบั สงิ่ ทีไ่ ม่เป็นทรี่ กั พลัดพรากจากส่งิ ที่เป็น ท่ีรัก ปรารถนาไมไ่ ด้สมหวัง เกิดทุกขโ์ ศกตา่ งๆ นแี่ หละพระพุทธเจา้ ตรสั เรยี กว่าเปน็ ทกุ ขโ์ ลกหรือชีวิต ประกอบดว้ ยทุกข ์ ดงั กลา่ วมาแล้ว ฉะนนั้ ทกุ ขจ์ งึ เปน็ ความจริงทโี่ ลกหรือทุกชวี ติ ต้องเผชิญ 10 สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเด็จพระสงั ฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)

ชวี ติ คนเรา เตบิ โตขนึ้ มาดำ� รงชวี ติ อยไู่ ดด้ ว้ ยความเมตตากรณุ าจากผอู้ น่ื มา ตั้งแต่เบ้ืองต้น คือ เมตตา กรุณา จากบิดา มารดา ครูบาอาจารย์ ญาติสนิท มติ รสหาย ถ้าไม่ได้รบั ความเมตตา ก็อาจจะสน้ิ ชีวติ ไปแล้ว เพราะถกู ท้ิง เมือ่ เราเติบโตมาจากความเมตตากรุณา ก็ควรมีความเมตตากรุณาตอ่ ชวี ิตอน่ื ตอ่ ไป วธิ ปี ลกู ความเมตตากรณุ า คอื ตอ้ งตงั้ ใจปรารถนาใหเ้ ขาเปน็ สขุ ตง้ั ใจ ปรารถนาให้เขาปราศจากทุกข์ โดยเร่ิมจากเมตตาตัวเองก่อน แล้วคิดไปถึงคน ใกลช้ ดิ คนทเ่ี รารกั จะทำ� ใหเ้ กดิ ความเมตตาไดง้ า่ ยแลว้ คอ่ ยๆ คดิ ไปใหค้ วามเมตตา ต่อคนทหี่ ่างออกไปโดยล�ำดบั ตนรักชีวิตของตน สะดุ้งกลัวความตายฉันใดสัตว์อ่ืนก็รักชีวิตตนและ สะด้งุ กลัวความตายฉันนั้น ฉะนน้ั จงึ ไมค่ วรฆา่ เอง ไม่ควรใชใ้ ห้ผ้อู ่นื ฆ่า อนงึ่ ตนรัก สุขเกลียดทุกข์ฉันใด สัตว์อ่ืนก็รักสุขเกลียดทุกข์ฉันน้ัน จึงไม่ควรสร้างความสุข ใหต้ นเองดว้ ยการก่อความทุกขใ์ ห้แก่คนอ่ืน ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 11

คติธรรมดาท่ีไม่มีใครเกิดมาในโลกน้ี จะหนีไปให้พ้น ได้ กค็ อื ความแก่ ความตาย แตค่ นโดยมากพากนั ประมาทเหมอื นอยา่ ง ว่าไม่แก่ ไม่ตาย น่าท่ีจะรีบท�ำความดี แต่ก็ไม่ท�ำ กลับไปท�ำความชั่ว ก่อความเดือดร้อนให้แก่กันและกัน ต่างต้องเผชิญทุกข์เพราะกรรมท่ี ตา่ งกอ่ ใหแ้ กก่ นั อกี ดว้ ยฉะนน้ั กน็ า่ จะนกึ ถงึ ความแก่ ความตายกนั บา้ ง เพือ่ จะไดล้ ดความมัวเมา และทำ� ความดี การฆ่าตัวตาย เปน็ การแสดงความอับจนพา่ ยแพ้หมดหนทาง แกไ้ ข หมดทางออกอยา่ งอนื่ สน้ิ หนทางแลว้ เมอื่ ฆา่ ตวั กเ็ ปน็ การท�ำลาย ตัว เมื่อท�ำลายตัวก็เป็นการท�ำลายประโยชน์ทุกอย่างท่ีพึงได้ในชีวิต ในบางกลุ่ม บางหมู่เห็นว่าการฆ่าตัวตายในบางกรณีเป็นเกียรติสูง แตท่ างพระพทุ ธศาสนาแสดงวา่ เปน็ โมฆกรรม คอื กรรมทเี่ ปลา่ ประโยชน์ เรียกผู้ท�ำว่า คนเปล่า เท่ากับว่าตายเปล่าๆ ควรจะอยู่ท�ำอะไรให้เกิด ประโยชนต์ อ่ ไปได้ ก็หมดโอกาส 12 สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตลุ าคม ๒๕๕๖)

การแก้ปัญหาของคนเรา ถ้าไม่ป้องกันไว้ก่อนแก้ ไม่ทัน ก็แก้ปัญหายังเล็กน้อยจะง่ายกว่า เหมือนอย่างดับไฟกอง เลก็ งา่ ยกวา่ ดบั ไฟกองโต ถา้ เปน็ ผทู้ ส่ี นใจธรรมะบา้ ง กจ็ ะหาหนทาง ปฏิบัติได้ถูกต้อง ดังที่พระพุทธเจ้ายกขึ้นแสดงว่า ธรรมะ พนั เกย่ี วข้องกับตัวเราเองทุกๆ คนไม่วา่ เด็กหรือผูใ้ หญ่ ผู้ชายหรือ ผู้หญิง ถ้าต้ังใจม่ันในการประพฤติธรรมให้พอเหมาะแก่ภาวะ ของตนเอง กจ็ ะทำ� ตนใหพ้ น้ จากความทกุ ขภ์ ยั พบิ ตั ไิ ด้ ถา้ ไมป่ ฏบิ ตั ิ ก็อาจจะเผลอพล้งั พลาด และถา้ ไม่รู้วิธีแก้ปัญหาดว้ ยธรรมะก็อาจ จะทำ� ใหห้ ลดุ พน้ จากบว่ งปญั หาไดย้ าก ฉะนน้ั ถา้ สนใจพระธรรมบา้ ง ก็จะมีเครื่องป้องกันแก้ไขให้พ้นจากความทุกข์ ดังค�ำกล่าวที่ว่า พระธรรมคุ้มครอง ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 13

ญาณสังวรบูชา นอ้ มกลา่ วกลอน บูชา พระประวัติ นานาชาว อารยะ ตา่ งยกย่อง สงั ฆรตั น์ ประมขุ คณะสงฆ์ ล้วนแซ่ซ้อง พระนาม ประจักษเ์ หน็ บดิ าน้อย กินนอ้ ย มารดาองค์ สมเดจ็ พระ ญาณสงั วร ไทยรม่ เย็น ประสตู ลิ ง บ้านเหนือ กาญจนบ์ ุรี พระจึงเปน็ ครคู บู่ ญุ องค์ภมู พิ ล เทวสงั - ฆาราม ธรรมอุบัติ กราบปณต แทบเท้า ฝา่ พระบาท คชวชั ร นามเจริญ สงา่ ศรี ไทยท้งั ชาต ิ เกอ้ื หนนุ บญุ กศุ ล อุปชั ฌาย ์ ช่อื ว่า หลวงพอ่ ดี ร่วมจดั งาน บูชา มหามงคล ทา่ นจึงม ี ความดี นำ� เนื่องมา ประเสรฐิ ลน้ ดิถยี าม สามตลุ า สืบหน่อเนอ้ื องคเ์ ณรใน สรณะ คณุ ธรรม ความด ี รอ้ ยปเี กอ้ื ครั้งบวชพระ ยิ่งส�ำรวม ในสกิ ขา มากล้นเหลือ ยงิ่ ยนื พระชนั ษา สังฆราชเจ้า หม่อมชื่น พระอุปชั ฌาย์ เจรญิ รอยตาม พระบาท องค์ศาสดา ได้ฉายา สุวัฑฒโน โพธอิ์ มั พร เทพบูชา อภิบาล ท่านสุขเอย ท่านทรงรกั ศลี ธรรม พระเณรดี เรียนบาลี นักธรรม ทรงส่ังสอน เทศนา โปรดหมู่ ชนนกิ ร วัดบวร ปลกู ศรทั ธา พาบำ� เพ็ญ

คนดี ๑๐๐ พระชนั ษา พระโอวาทธรรม 15

อันคนที่ท�ำงาน ที่เป็นคุณให้เกิดประโยชน์ย่อมจะต้อง ประสบถ้อยค�ำถากถาง หรือการขัดขวางน้อยหรือมาก ผู้มีใจอ่อนแอ ก็จะเกิดความย่อท้อ ไม่อยากที่จะท�ำดีต่อไป แต่ผู้มีก�ำลังใจย่อมไม่ ทอ้ ถอย ยง่ิ ถกู คอ่ นแคะกย็ ง่ิ จะเกดิ ก�ำลงั ใจมากขนึ้ คำ� คอ่ นแคะกลายเปน็ พาหนะท่ีมีเดชะแห่งการทำ� ความดี แม้พระพุทธเจ้าก็ยังถูกคนที่ริษยา มงุ่ รา้ ยจา้ งคนให้ตามด่าว่าในบางคร้งั การทจี่ ะใหใ้ ครชว่ ยเหลอื ท�ำอะไร ตอ้ งเลอื กคนทม่ี ี ปัญญา ท่ีรู้จักผิดถูก ควรไม่ควร มิใช่ว่าถ้าเขามุ่งดีปรารถนาดีแล้ว เป็นมอบการงานให้ทำ� เรื่อยไป เพราะถ้าเป็นคนขาดปัญญา แม้จะท�ำ ด้วยความต้ังใจช่วยจริง แต่ก็อาจจะท�ำการท่ีเป็นโทษอย่างอุกฤษฏ ์ กไ็ ด้ 16 สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)

คนเราน้ัน นอกจากจะมีปญั ญาแล้ว ยงั ตอ้ งมีความคดิ อีกดว้ ย จึงจะ เอาตัวรอดได้จากอันตรายต่างๆ ในโลก วิสัยของบัณฑิตคือคนท่ีฉลาดนั้น ย่อมไม่ยอมแพ้หรืออับจนต่อเหตุการณ์ท้ังหลายที่รัดรึงเข้ามา ย่อมใช้ความคิด คล่ีคลายเอาตัวรอดปลอดภัยให้จงได้ และเป็นธรรมดาอยู่ท่ีคนฉลาดกว่าย่อม เอาชนะคนที่ฉลาดน้อยกวา่ ได้ คนโงน่ น้ั เมอื่ ยงั ยอมอาศยั ปญั ญาของคนฉลาดอยู่ กย็ งั พอรกั ษาตนอยู่ ได้ แตเ่ มอื่ โงเ่ กดิ อวดฉลาดขนึ้ มาเมอื่ ใด กเ็ กดิ วบิ ตั เิ มอ่ื นนั้ และเมอ่ื ถงึ คราวคบั ขนั ซึ่งจะตอ้ งแสดงวิชาเอง คนโง่กจ็ ะตอ้ งแสดงโง่ออกมาจนได้ ฉะน้ัน ถึงอยา่ งไรก็ สู้หาวิชาใส่ตนให้เป็นคนฉลาดข้ึนเองไม่ได้ ท้ังคนดีมีวิชา ถึงจะมีรูปร่างไม่ดี กจ็ ะตอ้ งได้ดีในทส่ี ุด ๑๐๐ พระชนั ษา พระโอวาทธรรม 17

คนที่อ่อนแอ ย่อมแพ้อุปสรรคง่ายๆ ส่วนคนท ี่ เขม้ แขง็ ยอ่ มไมย่ อมแพ้ เมอ่ื พบอปุ สรรคกแ็ กไ้ ขไป รกั ษาการ งานหรอื สงิ่ มงุ่ จะท�ำไวด้ ว้ ยจติ ใจทม่ี งุ่ มนั่ ถอื อปุ สรรคเหมอื น อย่างสญั ญาณไฟแดงทจี่ ะต้องพบเปน็ ระยะ ถา้ กลวั จะตอ้ ง พบสัญญาณไฟแดงตามถนนซ่ึงจะต้องหยุดรถ ก็จะไปข้าง ไหนไม่ได้ แม้การด�ำเนินชีวิตก็ฉันนั้น ถ้ากลัวจะต้องพบ อปุ สรรค ก็ทำ� อะไรไม่ได้ ธรรมดาผเู้ ป็นปถุ ชุ น ความปรารถนาตอ้ งการ ย่อมบังเกิดข้ึนได้เสมอ วิธีปฏิบัติท่ีถูกต้องก็คือ เม่ือความ ปรารถนาตอ้ งการเกดิ ขน้ึ เมอ่ื ใด ใหท้ ำ� สตพิ จิ ารณาใจตนเอง อย่างผูม้ ปี ัญญา อยา่ คิดเอาเองว่าใจเปน็ อย่างไร จะตอ้ งพบ ความจรงิ แนน่ อนวา่ ใจเปน็ ทกุ ข์ ใจเรา่ รอ้ น ดว้ ยอำ� นาจความ ปรารถนาตอ้ งการที่เกดิ ขน้ึ นัน้ ใจจะไมส่ งบเย็นดว้ ยอ�ำนาจ ความปรารถนาต้องการที่เกดิ ขนึ้ โดยเด็ดขาด 18 สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเดจ็ พระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)

วิธีดับความปรารถนาต้องการ ก็คือ หัดเป็นผู้ให้บ่อยๆ ให้เสมอๆ การให้กับการ ดับความปรารถนาต้องการ จะเกิดขึ้นพร้อมกันเสมอ ถา้ การใหน้ น้ั เปน็ การใหเ้ พอ่ื ลดกเิ ลสคอื ความโลภในใจตน มิได้เปน็ การให้เพ่อื หวงั ผลตอบแทนทีย่ ่ิงกว่า มคี นไมใ่ ชน่ ้อยท่ีเรียนร้มู ากมาย อะไรดอี ะไรชว่ั รู้ท้ังนน้ั แตไ่ ม่ทำ� ดี หรือท�ำกท็ �ำสิง่ ไม่ดี เรยี กวา่ ใชค้ วามรนู้ นั้ ชว่ ยตนเองไมไ่ ด้ กเ็ พราะขาดความ เคารพในธรรมที่รู้ คือไม่ปฏิบัติให้สมควรแก่ความรู้ นั่นเอง ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 19

พระพุทธศาสนา สอนใหค้ นเขา้ ใจในกรรมนน้ั ไม่ได้สอน ให้คนกลวั กรรม เปน็ ทาสของกรรมหรืออยู่ใต้อำ� นาจกรรม แต่สอนใหร้ ู้จัก กรรม ใหค้ วบคมุ กรรมของตนในปจั จบุ นั กรรมคอื การอะไรทกุ อยา่ งทค่ี นท�ำ อยทู่ ุกวนั ทุกเวลา ประกอบดว้ ยเจตนา คอื ความจงใจ ทุกคนในโลกต่างต้องถ้อยทีต้องพ่ึงอาศัยกัน ในทางใดทางหนึ่งท้ังนั้น จึงควรปฏิบัติตนในทางที่จะชื่อว่ารักษา ไว้ทั้งตนทั้งผู้อื่น คือด้วยวิธีท่ีแต่ละคนต้ังใจปฏิบัติกรณียะคือกิจของตน ควรทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ ตนใหด้ ี และดว้ ยความมนี ำ�้ ใจทอี่ ดทนไมค่ ดิ เบยี ดเบยี นใคร มีจิตเมตตา มีเอ็นดูอนุเคราะห์ เมื่อต้ังใจปฏิบัติกรณียะ กอปรด้วยมีน้�ำใจ ดังกลา่ ว กช็ อื่ วา่ รักษาทัง้ ตนทั้งผูอ้ ่นื เปน็ ผรู้ ักษาไว้ไดท้ ้ังหมด 20 สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเดจ็ พระสงั ฆราช (๓ ตลุ าคม ๒๕๕๖)

หน้าท่ีของคนเรา ที่จะพึงปฏิบัติต่อชีวิตร่างกาย คือ บริหารรักษาให้ปราศจากโรค ให้มีสมรรถภาพและรีบประกอบ ประโยชนใ์ หเ้ ปน็ ชวี ติ ดี ชวี ติ ทอี่ ดุ ม ไมใ่ หเ้ ปน็ ชวี ติ ชวั่ ชวี ติ เปลา่ ประโยชน์ (โมฆชีวิต)และในขณะเดียวกัน ก็ให้ก�ำหนดรู้คติธรรมดาของชีวิต เพ่ือความไม่ประมาท พระพุทธเจ้าตรัสห้ามมิให้ท�ำลายชีวิตร่างกาย ถ้าจะเกิดความอยาก ความโกรธ ความเกลียด ในอนั ที่จะทำ� ลายชวี ติ รา่ งกาย กใ็ หท้ ำ� ลายความอยาก ความโกรธ ความเกลยี ดนน้ั เสยี คนที่มีบุญน้ัน บุญย่อมคอยจ้องที่จะเข้าช่วยอยู่แล้ว เพียงแต่เปิดโอกาสให้เข้าช่วย คือเปิดใจรับนั่นเอง การเปิดใจรับก็คือ เปิดอารมณ์ที่หุ้มห่อออกเสียแม้ช่ัวขณะหนึ่ง ด้วยสติที่ก�ำหนดท�ำใจ ตามวธิ ีของพระพุทธเจ้า เมือ่ บุญไดโ้ อกาสพรัง่ พรเู ข้ามาถงึ ใจ หรอื โผล่ ขนึ้ มาไดแ้ ลว้ จติ ใจจะกลบั มคี วามสขุ อยา่ งยง่ิ อารมณท์ งั้ หลายทเ่ี คยเหน็ วา่ ดีหรอื ร้าย ก็จะกลับเปน็ เรือ่ งธรรมดาโลก ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 21

คนทท่ี ำ� ดไี มน่ อ้ ย เปน็ ทกุ ขเ์ พราะการทำ� ดขี องตน ทไ่ี มก่ ลา้ ทจ่ี ะทำ� ดกี ม็ ี แตค่ นทำ� ดที ย่ี งั เปน็ ทกุ ขด์ งั กลา่ ว กเ็ พราะ ยงั ทำ� ไมถ่ งึ ความดแี หง่ จติ ใจของตนเอง จติ ใจจงึ ยงั ทำ� ไมถ่ งึ ความดแี หง่ จติ ใจของตนเอง จติ ใจจงึ ยงั มคี วามยนิ ดยี นิ รา้ ยไปตาม อารมณ์ท่ีมากระทบจากคนท้ังหลาย หากได้เล็งเห็นว่าเรื่องของคนทั้งหลายน้ันเป็นเรื่องของโลก ถ้าตนเองมีจิตใจมั่นคง ไมห่ วนั่ ไหว กไ็ มต่ อ้ งเปน็ ทกุ ขเ์ พราะเรอ่ื งของคนอนื่ การปฏบิ ตั ทิ �ำจติ ใจของตนใหม้ น่ั คงดงั นี้ เปน็ การสรา้ งความดใี หแ้ กจ่ ติ ใจ เปน็ ตัวความดที ี่เป็นแก่นแทข้ องความดีทงั้ หลาย ซึง่ จะปอ้ งกนั ความทกุ ขก์ ระทบกระเทอื นใจไดท้ ุกอยา่ ง ความดีน้ัน เกิดจากกรรม (การงาน) ที่ดี ดังท่ีพระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ ความว่า คนเป็นคนดีเพราะกรรม เปน็ คนถอ่ ยกเ็ พราะกรรม ฉะน้นั เม่ือละเลกิ กรรมทีช่ ่ัวผดิ ทำ� กรรมท่ีดีท่ีชอบ กไ็ ด้เปน็ คนดแี ล้ว แต่คนทีท่ �ำกรรมชวั่ ผิด แม้ จะไดร้ บั บญั ญตั ิ (แตง่ ตงั้ ) วา่ ดอี ยา่ งไร กห็ าชอื่ วา่ เปน็ คนดไี ม่ ผทู้ รี่ แู้ ละคา้ นเปน็ คนแรกกค็ อื ตนนน่ั เอง เวน้ ไวแ้ ตจ่ ะมตี าใจบอด ไปเสยี แลว้ ดว้ ยความหลงตนไปอยา่ งย่ิงนน้ั แหละ จึงจะไมร่ ู้ อนั ความดีนั้นย่อมเปน็ อาภรณ์ เปน็ อิสรยิ ยศ (ยศคือความเป็นใหญ่) ของคนดี เพราะคนดยี อ่ มเห็นความดี นแี้ หละเปน็ ยศอนั ยงิ่ ใหญ่ และยอ่ มพอใจประดบั ความดเี ปน็ อาภรณ์ จงึ กลา่ วไดว้ า่ ความดนี นั้ เปน็ อสิ รยิ าภรณข์ องคนดี 22 สมเด็จพระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)

๑๐๐ พระชนั ษา พระโอวาทธรรม 23

พระผู้เจริญพร้อม เมอื งกาญจน์ถ่ินประสตู ิ ทรงเจริญดว้ ยพระยศ ทรงเป็นบุตรอภิชาติ งานปรากฏบุญเกอื้ หนนุ บญุ พระบารมญี าณ ปกครองสงฆ์องคอ์ ดลุ ย์ มงคลขานนาม เจริญ กรรมฐานหนุนทางภาวนา บรรพชาเปน็ สามเณร เปน็ สงั ฆปาโมกข์ เทศนอ์ รยิ ทรัพย์ชนสรรเสรญิ ร้แู จง้ โลกไตรสิกขา ใฝเ่ พียรเรียนธรรมเพลิน สำ� รวมธรรมทรงน�ำมา ไมเ่ กอ้ เขินครอู าจารย์ เทศนาอบรมใจ วดั เหนือสูบ่ วร พระนามญาณสังวร จึงน�ำกลอนมาเล่าขาน ดบั ทุกข์ร้อนสนิ้ หวั่นไหว ประโยคเก้าทรงชำ� นาญ พรหมวหิ ารเต็มพระทัย ธรรมอาจหาญฌานสมบรู ณ์ ประทานพรให้เจริญยิ่งเทอญ

ความสขุ

อันเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแก่ชีวิต มีอยู่เป็นอันมากที่บังเกิดข้ึนโดยไม่รู้ไม่คิดมาก่อน แต่เม่ือเป็นเหตุการณ์ท่ีจะต้องเกิดก็เกิดข้ึนจนได้ ถ้า หากใครมองดูเหตุการณต์ ่างๆ เหล่าน้นั อยา่ งของเลน่ ๆ ไม่จริงจังก็ไม่เกิดทุกข์เดือดร้อน หรือจะเกิดบ้างก็เกิด อยา่ งเลน่ ๆ ถา้ จะหนเี หตกุ ารณเ์ สยี บา้ ง กเ็ หมอื นอยา่ งหนี ไปเทีย่ วเลน่ หรือไปพกั ผ่อนเสยี คร้ังคราวหนงึ่ พื้นแผ่นดิน แม่น�้ำ ภูเขา ที่มีอยู่ตาม ธรรมชาติ คนเรามปี ัญญาถมท�ำใหเ้ ป็นถนน ขุดใหเ้ ปน็ แม่น้�ำล�ำคลอง ท�ำสะพานข้ามแม่น้�ำใหญ่ สร้างท�ำนบ กน้ั น�้ำ ขดุ อุโมงค์ทะเลภเู ขา เรยี กว่าใช้กรรมปัจจบุ นั ปรบั ปรงุ ธรรมชาตฉิ ันใด ความขรุขระของชีวติ เพราะกรรมเก่าก็ฉนั นัน้ เหมอื นความขรขุ ระของแผน่ ดนิ ตามธรรมชาติ คนเราสามารถประกอบกรรมปจั จบุ นั ปรบั ปรงุ สกดั กน้ั กรรมเกา่ เหมอื นอยา่ ง สรา้ งทำ� นบกัน้ น�้ำเปน็ ตน้ เพราะคนเรามปี ญั ญา 26 สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)

ทุกคนต้องการความสุข ความสบายใจด้วยกัน ทั้งน้ัน แต่ทุกคนก็ยังไม่ได้รับสิ่งท่ีต้องการ เพราะใจยังมีความ ปรารถนาตอ้ งการหรอื ความโลภนี้แหละอยู่เป็นอนั มาก โดยทไ่ี ม่ พยายามท�ำให้ลดนอ้ ยลง เหน็ จะด้วยมิไดค้ ดิ ใหป้ ระจักษใ์ นความ จริงวา่ ความโลภคือเหตใุ หญ่ประการหน่งึ ซึ่งน�ำใหท้ กุ ข์ ใหเ้ ดือด ร้อน ใหไ้ ม่มีความสขุ ความสบายใจกนั อยอู่ ยา่ งมากทวั่ ไปในทกุ วนั นี้ แมท้ ำ� สติพจิ ารณาใหด้ ีจะเหน็ ได้ไมย่ ากนกั การเพง่ ดูผอู้ ่นื ท�ำให้ตนเองไมเ่ ป็นสุข แตก่ าร เพ่งดูใจตนเองท�ำให้เป็นสุขได้ แม้ก�ำลังโกรธมาก หากเพ่งดูใจ ตนเองให้เห็นว่ากำ� ลงั โกรธมาก ความโกรธก็จะลดลง เม่ือความ โกรธนอ้ ย หากเพง่ ดใู จตนเองใหเ้ หน็ วา่ ก�ำลงั โกรธนอ้ ย ความโกรธ ก็จะหมดไป จึงกล่าวได้ว่า ไม่ว่าจะมีอารมณ์ใดก็ตาม โลภหรือ โกรธหรือหลงก็ตาม หากเพ่งดูใจตนเองให้เห็นอารมณ์น้ันแล้ว อารมณ์นั้นจะหมดไป ไดค้ วามสขุ แทนทีท่ ำ� ใหม้ ีใจสบาย ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 27

ความดิ้นรนเพ่ือให้ได้ ส ม ดั ง ค ว า ม ป ร า ร ถ น า ตอ้ งการ มใิ ช่ความสุข มิใชค่ วาม สงบ แตเ่ ปน็ ความทกุ ขเ์ ปน็ ความรอ้ น เป็นความวุ่นวาย มีคนเป็นจ�ำนวน ไม่น้อยที่ทั้งชีวิตไม่ได้พบความสุข ความสงบเลย เพราะมัวปล่อยใจให้ เปน็ ทาสของความโลภ ไมร่ จู้ กั ท�ำสติ พิจารณาให้เห็นโทษของความโลภ แล้วพยายามละเสยี ดบั เสีย 28 สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)

ทุกข์ แปลว่า สิ่งที่ด�ำรงคงอยู่ได้ยาก แต่มีความหมายเป็นปฏิเสธว่า ด�ำรงทนอยู่ไม่ได้ทีเดียว คือต้องเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ เพราะทุกอย่างในโลก ตอ้ งเปล่ียนแปลงไป ไมส่ ามารถดำ� รงอย่ไู ดต้ ลอดกาล สงิ่ ที่เคยมี เคยเปน็ ต้อง แปรเปลย่ี นไป เมอื่ จติ ใจรบั ไมไ่ ดก้ บั ความเปลยี่ นแปลงทมี่ ถี งึ จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ ความ ไมพ่ อใจ ไมส่ บายใจ กเ็ ลยกลายเปน็ ความทกุ ข์ ตามความหมายสามญั คำ� วา่ ทกุ ข์ ตามความหมายสามญั หมายถงึ ความไมส่ บายกาย ไมส่ บายใจ ตรงขา้ มกบั ความสขุ ฉะนนั้ เมอื่ พูดถึงความทกุ ขจ์ งึ มกั เข้าใจกนั ตามหลักสามัญดังกล่าว ในภาษาไทย เมื่อพูดว่าทุกข์ก็หมายกันว่าคือความไม่สบายใจ แต่ในทางพุทธศาสนา ยังหมายถึงความคงทน ท่ีอยู่คงที่ไม่ได้ ต้องแปรปรวน เปล่ียนแปลงไปด้วย ในโลกน้ีมีอะไรเล่าท่ีตั้งคงท่ีโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลง ดวงอาทติ ยแ์ ละดวงดาวทั้งหลาย ตลอดจนโลก ก็ไมห่ ยดุ คงท่ี ปี เดือน วนั คืน กไ็ ม่หยุดคงท่ี ชีวิตกไ็ มห่ ยุดคงท่ี ทุกๆ คนเกดิ มาแลว้ ก็เตบิ โตขน้ึ เรอื่ ย เป็นเดก็ เล็ก เด็กใหญ่ เป็นหนุ่ม เป็นสาว โดยล�ำดับ และก็ไม่หยุดเพียงเท่านี้ ยังเปล่ียนแปลงต่อไปเป็นผู้ใหญ่ เปน็ คนแก่ จนถึงวนั สดุ ทา้ ยของชวี ิต ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 29

เรื่องที่เป็นความไม่ สบายกาย ไม่สบายใจทั้งหมด จับเขา้ หลัก ๑ คอื ทกุ ข์ เรอื่ งที่เปน็ ความไม่ดีท้ังหมด จับเข้าหลัก ๒ คอื สมุทยั เรื่องทีเ่ ปน็ ความสขุ สงบ เย็นท้ังหมด จับเข้าหลักท่ี ๓ คือ นโิ รธ เรอ่ื งทเี่ ปน็ ความดที ง้ั หมดจบั เขา้ หลกั ๔ คอื มรรค เมอ่ื คดิ ตง้ั หลกั ใหญไ่ ว้ดงั นี้ จะท�ำอะไรกค็ ดิ ตรวจ ดใู ห้ดวี า่ นเี่ ปน็ สมทุ ัยกอ่ ทุกข์ หรอื เป็นมรรคทางสุขสงบ หัดคิดหัด หาเหตผุ ลดงั นอี้ ยเู่ สมอ เปน็ การหดั ใหเ้ กดิ ความเหน็ ชอบ เมอื่ เหน็ ชอบ ก็เชื่อว่าพบทางท่ีถูก เข้าทางท่ีถูก ซ่ึงใช้ไดก้ ับทุกเร่อื ง 30 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)

พระพุทธเจ้าได้ตรัสเตือนให้เกิดสติขึ้นว่า ความทกุ ขน์ มี้ เี พราะความรกั มรี กั มากกเ็ ปน็ ทกุ ขม์ าก มรี กั นอ้ ยก็เปน็ ทกุ ข์น้อย จนถึงไมม่ รี กั เลย จึงไม่ต้องเป็นทกุ ขเ์ ลย แตต่ าม วสิ ยั โลกจะตอ้ งมคี วามรกั มบี คุ คล และสง่ิ ทรี่ กั ในเรอื่ งน้ี พระพทุ ธเจา้ ได้ตรัสสอนให้มีสตคิ วบคุมใจมิให้ความรักมอี ำ� นาจเหนอื สติ แตใ่ หส้ ติ มอี ำ� นาจควบคมุ ความรกั ใหด้ ำ� เนนิ ในทางทถ่ี กู และใหม้ คี วามรเู้ ทา่ ทนั ว่าจะต้องพลัดพรากรักสักวันหนึ่งอย่างแน่นอน เมื่อถึงคราวเช่นน้ัน จกั ได้ระงบั ใจลงได้ อันความรกั หรือท่ีรัก เมือ่ ผ้ใู ดมีร้อยหนง่ึ ผูน้ น้ั กม็ ที กุ ข์ ร้อยหนึง่ รักเกา้ สบิ แปดสบิ เจ็ดสิบ หกสิบ หา้ สบิ เป็นต้น จ�ำนวนทุกข์ กม็ เี ทา่ นน้ั ถงึ แมม้ รี กั เพยี งอยา่ งหนง่ึ กม็ ที กุ ขอ์ ยา่ งหนง่ึ ตอ่ เมอื่ ไมม่ รี กั จึงจะไม่มีทุกข์ ผู้หมดรักหมดทุกข์น้ัน พระพุทธเจ้าตรัสเรียกว่า “เป็นผไู้ ม่มีโศก ไม่มีธุลใี จ ไมม่ คี ับแคน้ ” ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 31

ทางออกจากทุกข์น้ันคือ ต้องรับรู้ความจริงต้องป้องกันมิให้ถล�ำลึก ลงไปในทางแห่งทุกข์ คือควบคุมตัณหา มยิ อมให้ฉุดชกั ใจไปได้ และถ้าถล�ำใจลงไป แล้วต้องพยายามถอนใจขึ้นให้จงได้ด้วย ปญั ญา เพราะเมอ่ื ทกุ ขเ์ กดิ ขน้ึ ทจ่ี ติ ใจ กต็ อ้ ง ดับจากจิตใจ และจิตใจของทุกคนอาจ สมมติกล่าวได้ว่าเป็นธรรมชาติกายสิทธ์ิ ไม่มีอะไรจะมาท�ำลายได้ นอกจากจะยอม จนใจของตวั เองเท่านนั้ ถา้ ทำ� ใจให้เขม้ แข็ง ก็จะเกิดพลังใจข้ึนจนสามารถต่อสู้ต่างๆ ขจดั ขบั ไลต่ ณั หาออกไปเสยี กอ่ น ความทกุ ข์ ตา่ งๆ กจ็ ะออกไปพรอ้ มกัน 32 สมเด็จพระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช (๓ ตลุ าคม ๒๕๕๖)

ชวี ิตในชาติหนึ่งๆ กบั ทั้งสุขทกุ ข์ตา่ งๆ เกิดข้นึ เพราะกรรมที่แต่ละ ตัวตนท�ำไว้ ฉะน้ัน ตนเองจึงเป็นผู้สร้างชาติคือความเกิดและความสุขทุกข์ ของตนแกต่ นหรอื ผ้สู รา้ งกค็ อื ตนเอง แต่มไิ ด้ไปสรา้ งใครอนื่ เพราะใครอืน่ นั้นๆ ตา่ งกเ็ ปน็ ผสู้ รา้ งตนเองดว้ ยกนั ทงั้ นนั้ จงึ ไมม่ ใี ครเปน็ ผสู้ รา้ งใหใ้ คร และเมอ่ื ผสู้ รา้ ง คือตนสร้างให้เกิดก็เป็นผู้สร้างให้ตายด้วย ท�ำไมผู้สร้างคือตนเองจึงสร้างชีวิตท่ี เปน็ ทกุ ขเ์ ชน่ นเี้ ลา่ ปญั หานต้ี อบวา่ สรา้ งขนึ้ เพราะความโง่ ไมฉ่ ลาด คอื ไมร่ วู้ า่ การสรา้ ง น้ีกค็ อื สร้างทกุ ขข์ ึน้ ถา้ เป็นผู้ร้ฉู ลาดเตม็ ทีก่ จ็ ะไมส่ ร้างสงิ่ ทีเ่ กิดมาต้องตาย การทจี่ ะดวู า่ อะไรดหี รอื ไมด่ ี ตอ้ งดใู หย้ ดื ยาวออกไปถงึ ปลายทาง มิใช่ดูเพียงครึ่งๆ กลางๆ และไม่มัวพะวงติดอยู่กับสุข ทุกข์ หรือความสนุก ไมส่ นกุ ในระยะสนั้ ๆ เพราะจะทำ� ใหก้ า้ วหนา้ ไปถงึ เบอ้ื งปลายไมส่ ำ� เรจ็ คนเราซงึ่ เดนิ ทางไปไม่ถงึ จดุ หมายปลายทาง ต้องหลน่ เร่ียเสยี หายอยูใ่ นระหวา่ งทางเป็น อันมากเพราะเหตุต่างๆ ดังเช่นที่เรียกว่า ชิงสุกก่อนห่ามบ้าง ถืออิสระเสรีบ้าง ฉะน้นั การหดั เป็นคนดีมเี หตผุ ลทีถ่ กู ต้องจึงเป็นเร่ืองส�ำคญั สำ� หรับทุกๆ คน และ จะเปน็ คนมเี หตุผลก็เพราะสมั มาทฏิ ฐิ คือมีความเหน็ ถกู ต้อง ๑๐๐ พระชนั ษา พระโอวาทธรรม 33

โคลงนำ� กลอน สงั ฆบดิ ร สดดุ ี บารมพี ระย่ิงลน้ คณุ ธรรม สงฆ์หม่ทู รงชีน้ �ำ ใส่เกล้า เทศนส์ อนสง่ั ถอ้ ยคำ� น�ำจิต สุขเอย องค์พระผู้เจรญิ พรอ้ ม แจง้ ธัมม์ สยามสมัย

ทรงกอรปกิจ ประกาศธรรม อันไพรเราะ ไดพ้ อเหมาะ สรรสร้าง หา่ งสงสัย ปริยตั ิ ปฏิบัติ ขัดจติ ใจ รู้วนิ ัย เคร่งครัด ปัดกังวล สงเคราะหพ์ ระ ธรรมทตู ในตา่ งแดน ใหแ้ นบแนน่ พทุ ธศาสน์ ได้เปน็ ผล โกลกว้างใหญ่ ธรรมนำ� ไป สสู่ ากล สรสั ลน้ เจรญิ ล้�ำ ทางสมั มา พระนพิ นธ ์ ล้วนเลศิ ประเสริฐยงิ่ แจ้งความจริง ประจักษ์จติ ปลดิ กังขา อนจิ จัง ทุกขงั อนตั ตา องคส์ มเด็จ พระสมั มา ตรสั ไวด้ ี สมเดจ็ พระ เจ้าอยูห่ ัว ทรงเคารพ ชนน้อมนบ บูชาท่าน ใหส้ ุขขี เจรญิ สขุ สุวัฑฒนะ องค์ฉัตรตรี สดดุ ี เทิดพระคณุ หนนุ กล่าวเชญิ อมฤต โชคอำ� นวย อวยพรสขุ ให้ดบั ทุกข ์ สุขนินทา สรรเสริญ อาศัยโลก โศกไมต่ ดิ จติ เพลิดเพลนิ สู่ทางเดนิ มรรคาลัย พน้ ภยั เทอญ

๑๐๐ พระชนั ษา พระโอวาทธรรม พมิ พ์ครั้งท่ี ๑ : ๓ ตลุ าคม ๒๕๕๖ จ�ำนวนพมิ พ์ : ๕,๐๐๐ เล่ม ผจู้ ดั ทำ� : พระชยสาธโิ ต เรียบเรียงประพันธก์ ลอนนอ้ มถวาย พมิ พ์ถวายโดย : โรงเรยี นกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน Dhammaintrend รว่ มเผยแพรแ่ ละแบ่งปันเป็ นธรรมทาน พิมพ์ที่ : หา้ งห้นุ ส่วนจ�ำกดั เพอ่ื นศลิ ป์ ๑๒๐/๔-๕ ถ.อุดร-เชยี งยนื ต.บา้ นเลอ่ื ม อ.เมอื ง จ.อดุ รธานี ๔๑๐๐๐ โทร. ๐๔๒-๓๔๗๑๐๓ โทรสาร ๐๔๒-๓๔๗๑๐๓ E-mail : [email protected], www.puensinp.com


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook