เคมี (ครแู นน) สมบตั ิของธาตแุ ละสารประกอบ 5. ไอโซโทปกัมมนั ตรงั สีชนิดหน่งึ จํานวน 20 g เม่ือเวลาผา นไป 2 ชว่ั โมง ไอโซโทปนน้ั เหลอื อยู 1.25 g ครงึ่ ชีวิตของไอโซโทปนมี้ คี า เทาใด ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 6. จากการทดลองพบวาเมอ่ื เวลาผานไป 120 วนั จะมซี เี ซียม -137 เหลอื อยู 300 g ถาครง่ึ ชีวติ ของ ซีเซียม-137 เทา กับ 30 วนั จงหาวาเมอื่ เริ่มตน มซี ีเซยี ม-137 อยเู ทา ใด ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 7. มวี ธิ ที ดสอบอยา งไรวา ไอโซโทปของธาตชุ นิดหน่ึงเปน ไอโซโทปกัมมันตรังสี ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 8. อตั ราสว นของคารบ นอ-14 และคารบอน-12 ในสง่ิ มชี วี ติ มีคาคงทแ่ี ตจะเปลีย่ นแปลงไปเมอ่ื ส่งิ มชี วี ติ ตายลง เพราะเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 9. จงเขยี นสมการนวิ เคลียรแสดงการเปลี่ยนแปลงเมอื่ ทอเรียม-232 แผรงั สีแอลฟา ………………………………………………………………………………………………………… 10. ถา Pb-214 สลายตวั ใหร ังสีตา งๆ ดงั แผนภาพ 214 214 214 210 82 Pb 83 X + β 84Y + β 82 Z + α ธาตุ X Yและ Z คือธาตใุ ด ………………………………………………………………………………………………………… 50
เคมี (ครแู นน) สมบตั ขิ องธาตแุ ละสารประกอบ 11. ปฏกิ ริ ิยาฟวชนั และปฏกิ ริ ยิ าฟช ชนั แตกตา งกันอยา งไร ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 4.7 การทาํ นายตาํ แหนง และสมบตั ขิ องธาตใุ นตารางธาตุ ถาทราบตําแหนงของธาตุในตารางธาตุ สามารถทํานายสมบัติของธาตุได และถาทราบ สมบตั ขิ องธาตกุ ส็ ามารถบอกไดวา ธาตนุ ัน้ อยูต าํ แหนงใดในตารางธาตุ ตวั อยา งท่ี 1 ธาตุดีบกุ (Sn) มเี ลขอะตอม 50 อยหู มใู นคาบใด และมีสมบตั อิ ยา งไร เนื่องจากดีบุกมีการจัดอิเล็กตรอน 2 8 18 18 4 จึงอยูหมู 4 คาบ 5 อยูหมูเดียวกับธาตุ คารบ อน และซิลกิ อน คารบอนเปน อโลหะ ซิลิคอนเปนก่ึงโลหะ เนื่องจากความเปนโลหะเพ่ิมข้ึนจาก บนลงลางดีบุกจึงมีสมบัติเปนโลหะมากกวาคารบอนและซิลิกอน เชน นําไฟฟาไดดี เหนียว ผิวหนา เปนมนั วาวมีจุดหลอมเหลวจุดเดอื ดสูงและเนื่องจาก Sn อยูหมู IVA เชนเดียวกับ C และ Si จึง มีเลขออกซิเดชันมากกวา 1 คือ + 2 และ + 4 ทําใหเกิดสารประกอบออกไซดและคลอไรดมากกวา 1 ชนดิ จากการศึกษาสมบัติของดีบุกพบวา เปนของแข็งที่ผิวหนาเปนมันวาว เหนียว นําไฟฟาไดดี เกิดสารประกอบออกไซดได 2 ชนิด คือ SnO ( แยกสลายที่ 10 °C ) และ SnO2 ที่มีจุดหลอมเหลว สูง ( จุดหลอมเหลว 1127 °C ) SnO2 ไมละลายนํ้า แตทําปฏิกิริยาไดท้ังสารละลายกรดและ สารละลายเบส ( SnO2 เปนไดทั้งกรดและเบส ) เกิดสารประกอบคลอไรดได 2 ชนิด คือ SnCl2 และ SnCl4 ตัวอยางที่ 2 ถามีการคนพบธาตุ A ท่ีมีเลขอะตอม 114 ควรอยู หมูใด คาบใด และมี สมบตั อิ ยางไร ตาํ แหนงของธาตุท่ีมีเลขอะตอม 114 ในตารางธาตุ อาจพิจารณาไดจากการจดั อิเลก็ ตรอนดังนี้ ธาตุ A มีการจัดอิเล็กตรอนเปน 2, 8, 18, 32, 18, 4 ดังน้ันธาตุ A อยูหมู IVA คาบท่ี 7 หรือ พิจารณาไดดังน้ี เพราะวาธาตุท่ี 105 อยูคาบที่ 7 แถวท่ี 5 ดังน้ันธาตุท่ี 114 อยูคาบเดียวกับธาตุ 51
เคมี (ครแู นน) สมบตั ิของธาตแุ ละสารประกอบ 105 และอยูแถวท่ี 14 ธาตุแถวท่ี 14 ในตารางธาตุคือหมู IV A ธาตุ A จึงอยูหมู IVA อยูใต ตะกั่ว ธาตุ A จึงมีสมบัติเปนโลหะมากกวาตะก่ัว คือนําไฟฟาไดดีกวา มีคา IE1 , EN ต่ํากวาของ ตะก่ัว สารประกอบออกไซดของธาตุ A คือ AO และ AO2 มีสมบัติเปนเบส สารประกอบคลอไรด ของธาตุ A คอื ACl2 และ ACl4 ตวั อยา งท่ี 3 ถา มีการคน พบธาตทุ มี่ ีเลขอะตอม 118 ธาตนุ ้มี สี มบัติอยางไร ธาตุที่มีเลขอะตอม 118 อยูคาบเดียวกับธาตุ 105 คือคาบที่ 7 ธาตุ 105 อยูแถวที่ 5 ธาตุท่ี 118 จึงอยูแถวท่ี 18 ธาตุท่ีอยูแถวท่ี 18 ในตารางธาตุคือธาตุหมู VIIIA ธาตุนี้จึงอยูในหมู VIIIA อยูใตธาตุเรดอน ( Rn ) ดังนั้นธาตุน้ีมี 8 เวเลนซอิเล็กตรอน เฉ่ือยตอการเกิดปฏิกิริยา มี คาพลังงานไอออไนเซชันลําดบั ท่ี 1 สูงท่สี ดุ ในคาบที่ 7 ตัวอยา งที่ 4 ธาตุ X เปนของแข็ง ผิวเปนมันวาว นําไฟฟาได เปราะไมทําปฏิกิริยากับน้ํา ทาํ ปฏิกิรยิ ารุนแรงกบั กา ซคลอรนี ไดของแข็งสขี าว ของแข็งสีขาวท่ีไดละลายน้ําไดเล็กนอย สารละลายท่ี ไดม ีสมบตั เิ ปน กรด ธาตุ X ควรอยูบ รเิ วณใดในตารางธาตุ เนื่องจากธาตุ x มีสมบัติบางอยางเหมือนโลหะ คือเปนของแข็งที่ผิวหนาเปนมันวาว นํา ไฟฟาไดแตไมใชโลหะหมู 1A หรือ IIA เพราะ X ไมทําปฏิกิริยากับนํ้า ธาตุ X เปนสมบัติบางอยาง เหมือนอโลหะ คือ เปราะ สารประกอบคลอไรด เม่ือละลายนํ้ามีสมบัติเปนกรด ดังน้ันธาตุ X เปน ก่งึ โลหะอยูในตําแหนง คอ นไปทางขวา และอยูส ว นลา งในตารางธาตุ 4.8 ธาตแุ ละสารประกอบบางชนดิ ในสง่ิ มชี วี ิตและในสงิ่ แวดลอ ม 1. ธาตอุ ะลมู เิ นยี ม ( Al ) เปน โลหะทพ่ี บมากบริเวณเปลือกโลก เปนอันดับสามรองจากธาตุ ซิลิกอน พบประมาณ 7.5% โดยมวล ในธรรมชาติจะอยูในรูปของสารประกอบชนิดตางๆ เชน บอก ไซด ( Al2O3.2H2O ) ไครโอไลด ( Na3AIF6 ) อะลูมิเนียมบริสุทธิ์มีสีขาวเงิน มีความหนาแนน 2.699 g/com3 ท่ี 20 °C นําไฟฟาไดดี และนําไดดีข้ึนเมื่อมีความบริสุทธิ์เพ่ิมข้ึน มีความวองไวใน การเกิดปฏิกิริยามาก ทิ้งไวในอากาศจะทําปฏิกิริยากับกาซออกซิเจนกลายเปน Al2O3 เคลือบท่ีผิวของ โลหะชวยในการปองกันไมใหผุกรอน ทับทิม ไพริน และบุษราคัมที่ใชเปนเคร่ืองประดับ เปนพลอย ประเภทคอรันดัมสูตรเคมี คือ Al2O3 ซ่ึงมีความแข็งรองจากเพชร แตมีสีตางกัน เพราะมีธาตุอื่นท่ี เปนมลพิษตางกัน ถามีโครเมียมออกไซดปนอยูจะมีสีชมพูถึงแดงเขมเรียกวา ทับทิม ถามีไทเทเนียม 52
เคมี (ครแู นน) สมบตั ขิ องธาตแุ ละสารประกอบ และเหล็กออกไซดปนอยูจะมีสีน้ําเงินเรียกวา ไพลิน และถามีเหล็กออกไซดปนอยูจะมีเหลือง เรียกวา บุศราคัม โลหะอะลูมิเนียมเตรียมไดจากการแยกออกไซดท่ีหลอมเหลวดวยกระแสไฟฟา จะไดโลหะ อะลมู เิ นียมทข่ี ั้วแคโทดหรือขว้ั ลบ ประโยชน โลหะอะลมู ิเนียมเปนโลหะเศรษฐกิจที่สําคัญ เพราะมีราคาถูก และใชประโยชนได มากมาย เชน โลหะเจืออะลูมิเนียม ใชทําเคร่ืองบิน ยานอวกาศ กลอนประตู หนาตาง เครื่องใช ตางๆ ภายในบานนอกจากนั้น อะลูมิเนียมยังใชทําสายไฟฟา ทําวัสดุหอของในลักษณะอะลูมิเนียม แผนบางใชท ํากระปองนํ้าอัดลม กระปองเบียร กระปองน้ําผลไม ช้ินสวนของเครื่องจักร อุปกรณเคมี และอื่นๆ สารสม ( K2SO4Al2(SO4)3.24H2O ซ่ึงเปนสารประกอบของอะลูมิเนียมใชในกระบวนการทํา น้ําประปา การทํากระดาษ 2. ธาตุแคลเซียม โลหะแคลเซียมอยูหมูที่ IIA มีความหนาแนนนอย มีสีขาวเงินเปนมัน วาวเหนียว แคลเซียมไมพบในสภาพอิสระในธรรมชาติ แตจะพบแคลเซียมในรูปของสารประกอบตางๆ เชนพบในรูปแคลเซียมคารบอเนต ( CaCO3 ) ซ่ึงเปนองคประกอบในหินงอก หินยอย เปลือกหอย ดินมารล เปนตน พบในรูปของสารประกอบซัลเฟต เชน ยิปซัม ( CaSO4. 2H2O ) แคลเซียม เตรยี มไดโ ดยการผา นไฟฟา กระแสตรงลงในสารประกอบของแคลเซียมท่ีอยูในสภาพหลอมเหลว ก็จะได โลหะแคลเซียมท่ีข้ัวลบหรอื ขั้วแคโทด ประโยชน สารประกอบของแคลเซียมไดถูกนํามาใชประโยชนมากมาย เชน ยิบซัมใหผลิต แผนยิบซัมบอรด แคลเซียมคารบอเนตจากหินปูนใชทําปูนขาว ชอลก ดินสอพอง เคร่ืองปนดินเผา เถากระดูกซง่ึ ประกอบดวยแคลเซยี มฟอสเฟต ( (Ca3(PO4)2 ) รอยละ 67-85 แคลเซียมคารบอเนต รอยละ 3 – 10 และสารอ่ืนเล็กนอยผสมกับดินขาวและแรฟนมาในอัตราสวนพอเหมาะใชทํา เครื่องปนดินเผาชนิดโบนไชนา ( Bone China ) ซ่ึงมีคุณภาพดีและราคาแพง แคลเซียมคารไบด ( CaC2 ) ใชผลิตกาซอะเซติลีน ( C2H2 ) ( กาซอะเซติลีนใชในการเช่ือมและตัดโลหะ ) แคลเซียม คารบอเนต (CaCO3) ใชเปนสารตั้งตนในการผลิตโซดาแอช ( Na2CO3 ) หินปูน ดินมารลหรือเป ลือกหอยใชแกความเปนกรดของดิน ใชแคลเซียมดูดน้ําอกจากน้ํามัน นอกจากน้ันแคลเซียมยังเปน องคป ระกอบที่สําคญั ของกระดกู และฟน 3. ธาตุทองแดง ทองแดงเปนโลหะสีนํ้าตาลแดงคอนขางออนสามารถตีแผเปนแผนบางๆ หรือดึงเปนเสนได นําความรอนและไฟฟาไดดีรองจากทองคําและเงิน ทองแดงเปนโลหะที่พบในแร ตางๆ เชน แรคาลโคโพไรต (CuFeS2) คิวไพรต (Cu2O) มาลาโคต (Cu2CO3(OH)2) คาลโคไซต 53
เคมี (ครแู นน) สมบตั ิของธาตแุ ละสารประกอบ (Cu2S) โลหะทองแดงสามารถเตรียมไดโดยวิธีการถลุง การถลุงทําไดโดยการเผาแรคาลโคไพไรตใน อากาศ จะไดคอปเปอร(I)ซัลไฟด ( Cu2S ) ไอรออน(II)ออกไซด ( FeO ) และกาซซัลเฟอรได ออกไซด ( SO2 ) ดังสมการ 2CuFeS2 + 4O2 → Cu2S + 2FeO + 3SO2 แยกกาซ SO2 ออก จากน้ันนําผลิตภัณฑท่ีเหลือนําไปเผารวมกับออกไซดของซิลิคอนในเตาถลุง FeO จะทําปฏิกิริยากับ ออกไซดของซิลิคอน ( SiO2 ) ไดกากตะกอน ( Slag ) ลอยอยูบน Cu2S ซึ่งไขแยกออกมาไดเม่ือนํา Cu2S ไปเผารวมกับอากาศจะไดคอปเปอร( I)ออกไซด ( Cu2O ) ดังสมการ 2Cu2S2 + 3O2 → 2Cu2O + 2SO2 Cu2O จะผสมกับ Cu2S ที่เหลือ เมอื่ เผาในทีไ่ มม อี ากาศจะ ไดโ ลหะทองแดงและกาซซลั เฟอรไ ดออกไซดด ังสมการ 2Cu2O2 +Cu2 S → 6Cu+ SO2 ทองแดงท่ียงั ไมบ รสิ ุทธเิ์ นอื่ งจากมโี ลหะอนื่ ปนอยู เชน เหลก็ เงิน แพลทนิ มั ซึง่ สามารถทําใหบ รสิ ุทธ์โิ ดยการแยก ดว ยกระแสไฟฟา ประโยชน สว นใหญใชป ระโยชนในงานดา นไฟฟา เชน ทาํ สายไฟฟา ไดนาโม มอเตอร อปุ กรณแ ละเคร่ืองใชไฟฟาตา งๆ เนอื่ งจากทองแดงทนทานตอ การกดั กรอนของสารเคมจี ึงใชท าํ หมอน้ํา รถยนตผ งทองแดงใชเ ปน ตวั เรงปฏิกริ ยิ า นอกจากนท้ี องแดงยังใชท าํ โลหะผสมตา งๆ เชน ทองเหลอื ง ( ทองแดง+สงั กะสี ) เปน ตนั ทองสมั ฤทธ์ิใชทําลานนาฬิกา ปนใหญ ระฆัง เปน ตน สารประกอบ คอปเปอร( II)ออกไซด ใชท ํายาฆาแมลงหรือฆา เชอ้ื รา สารประกอบเชิงซอนของทองแดง ( Cu ) เรยี กวา ฮโี มไชยานนิ เปนสว นประกอบในเลอื ดของสตั วไ มม ีกระดูกสนั หลังบางชนิด เชน ปลาหมกึ ปู หอยโขง แมวปอ ง ฮโี มไซยานนิ ทาํ หนา ทขี่ นสง ออกซิเจนแทนฮโี มโกลบนิ นอกจากนน้ั ทองแดงยัง มีธาตุจําเปน สาํ หรบั พชื ดวย เชน จําเปน สําหรับการสังเคราะหคลอโรฟลล และเอนไซมของพืช 4. ธาตุโครเมียม ( Cr ) โครเมียมเปนโลหะสีขาวเงินเปนมันวาวและแข็งมาก ไมพบธาตุ โครเมียมในรูปธาตุอิสระ แตจะพบในรูปของแรตาง ๆ ท่ีพบมากคือแรไครไลต ( FeO.Cr2O3 ) สารประกอบหรือไอออนตางๆ ของธาตุโครเมียมมีสี เชน K2CrO4หรือ CrO42− มีสีเหลือง , K2Cr2O7 หรือCr2O72− มสี สี ม , KCr(SO4)2.12H2O มีสมี ว งแดง Cr เตรียมไดโ ดยการเผาแรไ ครโลตก ับคารบอน FeO.Cr2O3 (s)+4C(s) ⎯เผ⎯→า Fe+2Cr(s)+4CO(g) 54
เคมี (ครแู นน) สมบตั ขิ องธาตแุ ละสารประกอบ Fe และ Cr ทเ่ี กดิ ขนึ้ จะอยใู นรปู โลหะเจือโดยมี Fe:Cr = 1:2 ถาตองการโครเมียมบริสทุ ธิ์ สามารถเตรียมไดโ ดยเผาแรไ ครโลตก บั K2CO3 ในอากาศจะได K2CrO4 ซงึ่ ละลายน้ําไดจึงสามารถ แยกออกจาก FeO ได FeO.CrO3 (s) ⎯K2⎯CO3⎯+ O⎯2→ K2CrO4 (s) + FeO(s) เตมิ H2O K2CrO4 (ad) + FeO(s) แลว กรอง K2CrO4 ออกจาก FeO ระเหยนํา้ ออกจะได K2Cro4 (s) จากนน้ั นํามาเผากับคารบ อน ( C ) จะได Cr2 O3 และเมอื่ เผา Cr2 O3 กับ Al จะได Cr K2CrO4 (s) ⎯C ⎯เผ→า Cr2 O3 (s) Cr2O3 (s) + 2 Al ⎯เผ⎯→า 2Cr + Al2O3 ประโยชน ใชเ ปน สวนผสมในเหล็กกลาไรสนิม ( Stainless steel ) ประกอบดวย Fe 73% Cr 18% Ni 8% และ C 0.4% ใชทําเคร่ืองผาตัด ตัวเรือนนาฬิกา ชอน และภาชนะตางๆ ใช เคลอื บบนผวิ เหล็ก เพ่ือความสวยงามและปองกันการผุกรอ นของเหล็กใชเ ปน สว นประกอบในเหล็กกลาท่ี ใชทําตูนิรภัยเครื่องยนต เกราะกันกระสุน ใชทําโลหะเจือโคบอลซึ่งใชทํากระดูกเทียม Cr2O3 เปน ของแข็งสีเขียวแกใชทําสีเพ่ือเขียนลวดลายเคร่ืองเคลือบดินเผา Na2Cr2O7 ใชอุตสาหกรรมฟอกหนัง สารละลายผสมของ K2Cr2O7 กับกรดฟวริก (H2SO4) เขมขนใชทําความสะอาดเคร่ืองแกวใน หองปฏิบตั ิการเคมี 5. ธาตเุ หลก็ ( Fe ) เหล็กเปน โลหะแทรนซซิ นั ที่มมี ากที่สดุ ในธรรมชาติและเปนโลหะที่มีมาก ในพ้ืนโลกเปนอันดับ 2 รองจากอะลูมิเนียม เหล็กบริสุทธิ์มีสีเทาเปนวาว สามารถดูดไดโดยแมเหล็ก แตค วามเปนแมเ หล็กจะหายไปอยา งรวดเรว็ เหล็กเปนโลหะท่ีสึกกรอนหรอื เปนสนิมไดง า ย ในธรรมชาติ พบเหล็กอยใู นรูปของแรฮมี าไทต( Fe2O3 ) แมกนีไทต( Fe3O4 ) และไพไรต( FeS2 ) เหล็กเตรียมไดโดยการถลุงจากแรฮีมาไทตในกระบวนถลุงเหล็กจะใชฮีมาไทตในปริมาณมาก ผสมกับถานโคกและหินปูน ใสในเตาถลุงโดยใสทางสวนบนของเตา จากน้ันก็พนอากาศหรือออกซิเจน 55
เคมี (ครแู นน) สมบตั ขิ องธาตแุ ละสารประกอบ รอนเขา ทางสว นลาง ถานโคกก็จะทําปฏิกิริยากับออกซิเจนบริเวณกนเตาเกิดกาซคารบอนไดออกไซด ( CO2 ) ดงั สมการ C(s)+O2 (g) ⎯→ CO2 (g) ....(1) ปฏกิ ริ ิยานคี้ ายความรอนออกมาทําใหอ ณุ หภูมบิ รเิ วณกน เตาสงู ประมาณ 1900°C แลวกา ซ คารบ อนไดออกไซดจะทําปฏกิ ริ ยิ ากบั ถานโคก ตอ ไปเกดิ กา ซคารบอนมอนอกไซด ( CO ) ดงั สมการ CO2 (g) + C(s) → 2CO(g) ปฏกิ ิรยิ าดูดความรอน) …(2) กา ซคารบ อนมอนอกไซดที่เกิดขึน้ จะลอยขนึ้ ไปทําปฏกิ ริ ยิ ากับแรฮีมาไทตได ไอรออน (II/III) ออกไซต ( Fe3O4 ) ดังสมการ 3Fe2O4 (s) + CO(g) → 2FeO4 (s)+CO2 (g) ...(3) Fe3O4 จะทําปฏิกิริยากับกาซคารบอนมอนอกไซด ไดไอรออน(II/III)ออกไซด ( Fe3O4 ) ดัง สมการ 3Fe3O4 (s) + CO(g) → 3FeO4 (s)+CO2 (g) ...(4) จากนนั้ FeO กจ็ ะถูกรดี ิวซโ ดยกา ซคารบ อนมอนอกไซด ( ทาํ ปฏกิ ิรยิ ากับ CO ) กลายเปน เหล็ก บริเวณกน เตา ซงึ่ มอี ณุ หภมู ิสงู ถึง 1300 °C ถึง 1800 °C ทาํ ใหเ หล็กทไี่ ดหลอมเหลว FeO(s)+CO(g) → Fe(l)+CO2 (g) ...(5) กา ซคารบอนไดออกไซด ทเ่ี กดิ ขนึ้ บริเวณกน เตาในสมการ (5) จะทําปฏกิ ริ ยิ ากบั ถานโคก ใหก า ซ คารบอนมอนอกไซด ซง่ึ ใชป ระโยชนต อ ไปไดอ กี ( ดสู มการ (2) ) เนือ่ งจากในสนิ แรมักมีสงิ่ เจอื ปนอยดู วย เชน ออกไซดข องซิลคิ อน ( SiO2 ) ออกไซดของ อะลูมเิ นยี ม ( Al2O3 ) ซึ่งจะทาํ ปฏกิ ริ ยิ ากบั หนิ ปนู ที่เตมิ ลงไปกลายเปน กากตะกอน ( Slag ) ลอยอยู เหนอื เหลก็ เหลวท่ีกน เตาถลุง 56
เคมี (ครแู นน) สมบตั ิของธาตแุ ละสารประกอบ เหล็กท่ีถลุงได เรียกวา เหล็กหลอ ( Pig iron ) ซึ่งแข็งแตเปราะแตกงายเมื่อทุบหรือตี ซ่ึง เหล็กท่ีไดนี้สามารถนําไปใชประโยชนบางอยางไดเทานั้น เพราะยังไมมีสมบัติดีพอที่จะนําไปใชงานท่ัวๆ ไป จึงตองนํามาปรับปรุงคุณภาพโดยการแยกมลทินออกใหเหลือนอยท่ีสุดหรือใชโลหะอื่นผสมอยูดวย แตจะปรับปรุงคุณภาพอยางไรน้ันข้ึนอยูกับลักษณะของงานท่ีจะนําเหล็กไปใชเหล็กท่ีใชในอุตสาหกรรม และงานตา งๆ มักเปน เหล็กเหนยี ว เหล็กกลา และเหลก็ กลา ผสม ตาราง 4.10 แสดงสว นผสม ประโยชน และสมบตั ขิ องเหลก็ กลาผสมชนิดตา งๆ ชนดิ ของเหลก็ กลา ผสม สว นผสมโดยประมาณ สมบตั พิ เิ ศษ ประโยชน 1. เหล็กกลาไรส นมิ Fe 73% Cr 18% ทนตอ การกัดกรอนของสารเคมี ใชทําเคร่อื งตัด ทาํ มีด, ชอ นสอม ตางๆ เรอื นนาฬิกา, เครอ่ื งมอื ผาตัด, (Stainless steel) Ni 8% และ C 0.4% และเครอื่ งมือที่ตอ งการความ ทนทานตอการกดั กรอนของกรด และสารเคมีตางๆ 2. เหลก็ กลาทงั สเตน Fe 94% W 5% และ C แข็งมาก ทําเครื่องตัดความเร็วสงู มกี ารขยายตัวตํ่ามาก ทาํ ลานนาฬกิ า (Tungsten steel) Fe 64% Ni 36% 3. อินวาร (Invar) 4. เหลก็ กลา Fe 86% Mn 13% และ C แข็งและเหนียว ทําลูกกลงิ้ บดหิน แมงกานีส Fe 21% Ni 78% และ C ถกู เหนียวนาํ ใหเปน แมเ หลก็ ทําแมเหลก็ ไฟฟา (Manganese steel) โดยกระแสไฟฟาไดงา ยแตจ ะ เส่อื มสภาพอยา งรวดเร็วเมอ่ื ไม 5. เปอรมลั ลอย มกี ระแสไฟฟาไหลผา น เหล็กเหนียว คือ เหล็กที่เกือบจะบริสุทธิ์ มีคารบอนปนอยูประมาณ 0.1 – 0.2 % และมี ส่งิ เจือปนอ่ืนๆ นอ ยกวา 0.5% เหลก็ เหนยี วใชทาํ เสนลวด สายโทรศัพท โซแ ละอ่ืนๆ เหล็กกลา คือ เหล็กท่ีมีคารบอนปนอยูนอยกวา 1.5% เหล็กกลามีหลายชนิดข้ึนอยูกับปริมาณ ของคารบอน เหล็กกลาที่มีคารบอนตํ่ากวา 0.2% เรียกเหล็กกลาออน ( mild steel ) ซ่ึงเปน เหล็กกลาท่ีไมคอยแข็งนัก ใชทําตัวถังรถยนต ทําทอ ทําน็อต ทําแผนเหล็กอาบสังกะสีหรือดีบุก 57
เคมี (ครแู นน) สมบตั ขิ องธาตแุ ละสารประกอบ เปน ตน เหลก็ กลาท่มี ีคารบ อนต้งั แต 0.2-0.6% เรยี กเหลก็ กลาปานกลาง ( medium steel ) เปน เหล็กกลาที่แข็งแรงกวาชนิดแรก ใชทํารางรถไฟและสิ่งกอสรางตางๆ และเหล็กกลาท่ีมีคารบอน 0.75-1.5% เรยี กเหล็กกลาชนดิ คารบอนสูง ( High-Canbon steel ) เปน เหลก็ กลา ท่ีแขง็ แกรง มาก ใชท าํ ใบมีดโกน อาวธุ มีคม และเครอื่ งมืออ่ืนๆ สําหรับเหล็กกลาผสมเปนเหล็กกลาท่ีมีธาตุอ่ืนๆ ผสม อยูในปริมาณท่ีกําหนด ธาตุแตละชนิดที่ผสมลงไปน้ันจะทําใหเหล็กกลาผสมท่ีไดมีสมบัติเหมาะท่ีจะใช งานตา งๆ นอกจากน้ี เหล็กยงั เปนองคป ระกอบสําคัญของเมด็ เลอื ดแดง ทาํ หนาท่ีนํากา ซออกซิเจน ไปสูเซลลตา งๆ ของรา งกาย ถา ขาดธาตุเหลก็ จะทําใหเ กดิ โรคโลหติ จาง 6. ธาตุไอโอดีน ไอโอดีน เปนอโลหะอยูในหมู VIIA มีกระจายอยูทั่วไปในธรรมชาติ เชน ในหนิ ในดนิ ในน้าํ เกลอื ใตด ิน ในทะเลมไี อโอดีนประมาณ 0.05 ppm นอกจากนี้ในแรหลายชนิด ก็มีไอโอดนี โดยอยใู นรปู ของสารประกอบ เชน โซเดียมไอโอเดต ( NaIO3 ) แคลเซยี มไอโอเดต ( Ca (IO3)2 ) ไอโอดนี ยังพบในสาหรายทะเลบางชนดิ โดยเฉพาะสาหรา ยสีนํา้ ตาล แหลง ไอโอดีนทส่ี าํ คญั ท่ีสดุ ในโลกคือ แหลงโซเดยี มไตเตรดในประเทศชิลี แรไนเตรดมีไอโอดีนต้งั แตร อยละ 0.05-0.3 โดยมวล ไอโอดีนที่พบในแหลงน้ีอยูในรูปของแคลเซียมไอโอเดต ( Ca)(IO3)2 ) และบางสวนอยูในรูปของ สารประกอบผสมของโซเดยี มไอโอเดต( NaIO3 ) และโซเดยี มซลั เฟต ( Na2SO4 ) ประโยชน ทิงเจอรไอโอดีนซ่ึงไดจากละลายไอโอดีนเอทานอลใชใสแผลสดเพ่ือฆาเช้ือโรค ซิลเวอรไ อโอดนี ( AgI ) ใชใ นกจิ การภาพถา ย รางกายจําเปน ตองไดรับไอโอดีน โดยปกติจะไดรับจาก การบริโภคพืชหรือสัตวทะเล เนื่องจากไอโอดีนไอออนเปนสวนประกอบของฮอรโมนไทรอกซินในตอม ไทรอยดซ ึง่ ควบคุมเมตาโบลซิ มึ ของรา งกาย ถาขาดจะทาํ ใหเกิดโรคคอพอก เพราะการขยายตวั ของตอม ไธรอยดเน่ืองจากทําหนาที่มากเกินไป เพื่อปองกันการขาดธาตุไอโอดีนสําหรับผูที่ไมบริโภคเกลือสมุทร หรืออาหารทะเลหรือบริโภคนอย ไดมีการผสมโซเดียมไอโอไดด( NaI ) โพแทสเซียมไอโอดีน( KI ) กบั เกลอื สินเธาวเพ่ือใชบรโิ ภคเพอ่ื เพมิ่ ไอโอไดดไอออน 7. ธาตุไนโตรเจน ไนโตรเจนเปนอโลหะหมูท่ี VA พบมากในรูปของธาตุอิสระและ สารประกอบ ในรูปของธาตุอิสระ คือ N2 พบในอากาศ ในอากาศมี N2 อยูประมาณรอยละ 58
เคมี (ครแู นน) สมบตั ขิ องธาตแุ ละสารประกอบ 78.09 โดยปริมาตร ในรูปของสารประกอบพบในกรดอะมิโน โปรตีน แอมโมเนีย ( NH3 ) สารประกอบไนเตรดตา งๆ เชน โพแทสเซียมไนเตรด( KNO3 ) แอมโมเนียมไนเตรด( NH4NO3 ) กา ซ N2 เตรยี มไดจ ากอากาศโดยนําเอาอากาศสะอาด แยกกา ซ CO2 และไอน้าํ ออกแลว มา เพมิ่ ความดนั ลดอณุ หภมู กิ าซออกซเิ จนจะเปน ของเหลวกอนทอ่ี ณุ หภมู ิ -183°C แยกออกซเิ จนเหลวออก เมือ่ เพม่ิ ความดนั ขน้ึ อกี และลดอณุ หภมู เิ พิ่มขนึ้ และความดันลดลงกจ็ ะกลายเปน กา ซ N2 ประโยชน ไนโตรเจนเหลวซ่ึงอุณหภูมิตํ่ามาก ( - 196°C ) ใชสําหรับแชแข็งอาหาร ประเภทตาง ๆ แชแข็งเลือด เซลลในกระดูกหรือสวนตาง ๆ ของรางกายเพื่อชวยยืดอายุในการเก็บ รักษา ใชเตรียมกาซแอมโมเนีย( NH3 ) และกรดไนตริก ( HNO3 ) กาซแอมโมเนียที่ไดใชเปนสารต้ัง ตนในการผลิตปุยยูเรีย( NH2CONH2 ) ปุยแอมโมเนียซัลเฟต( (NH4)2SO4 ) ปุยแอมโมเนียไนเตรด ( NH4NO3 ) และใชในอุตสาหกรรมการผลิตโซดาแอชหรือโซเดียมคารบอเนต ( Na2CO3 ) สวนกรดไน ตริกใชในอุตสาหกรรมทําสี ไหมเทียม ทําวัตถุระเบิด ทําปุยไนเตรด เปนตน นอกจากน้ีไนโตรเจนยัง เปน องคประกอบของสารอาหารที่สาํ คัญของส่งิ มชี วี ิต คอื เปน องคป ระกอบในโปรตีนทกุ ชนิด วฏั จักรไนโตรเจน ( Nitrogen Cycle ) วัฏจักรไนโตรเจน เปนดงั น้ี 1. การตรึงไนโตรเจนโดยปรากฏการณธรรมชาติ เกิดจากฟาแลบ ฟารอง ฟาผา หรือ ปรากฏการณอื่นที่ทําใหเกิดความรอนสูง ทําใหกาซ N2 ทําปฏิกิริยากับกาซ O2 ไดกาซ NO แลวทํา ปฏกิ ิริยากับกาซ O2 ตอ ไปไดก าซ NO2 N2 (g)+O2 (g) → 2NO(g) ดดู พลังงาน 160.6 kJ 2NO(g)+O2 (g) → 2NO2 (g) คายพลังงาน 114.2 kJ เมื่อฝนตกกาซ NO2 จะทําปฏกิ ริ ิยากบั นํ้าฝนกลายเปน กรดไนตรกิ ดงั สมการ 59
เคมี (ครแู นน) สมบตั ิของธาตแุ ละสารประกอบ 3NO2 (g) + H2O(I ) → 2HNO3 (aq)+ NO(g) (กรดไนตรกิ ) 2H + (aq) + NO3− (aq) กรดไนตรกิ แตกตัวใหไ ฮโดรเจนไอออน ( H+ ) และไนเตรตไอออน (NO3− ) ไนเตรตไอออน ท่ีเกิดขนึ้ จะตกลงสพู น้ื ดินและพนื้ น้ํา พชื นําไปใชส รา งโปรตนี ตอ ไป *หมายเหตุ NO2 สวนหนง่ึ ในบรรยากาศไดจากการเผาไหมน้าํ มันเชื้อเพลิงของเครือ่ งยนต 2. การตรงึ N2 ทางอตุ สาหกรรม โรงงานผลติ กาซแอมโมเนีย ( NH3 ) หรือ โรงงานผลิตปยุ ไดม กี ารใชก า ซ N2 ( แยกจากอากาศ ) ทาํ ปฏิกริ ิยากบั กาซ H2 โดยวิธีกระบวนการฮา เบอรด งั สมการ N2 (g) + 3H2 (g) → 2NH3 (g) กา ซ NH3 ทไี่ ดสวนหนง่ึ นาํ ไปผลติ ปยุ ไนโตรเจน เชน ยเู รยี และปยุ ทอ่ี ยูใ นรปู ของเกลอื แอมโมเนียม เชน แอมโมเนียมซลั เฟต เมอื่ ใสปุย ในดนิ แบคทเี รีย ( Decomposing bacteria ) จะยอ ยสลายไปเปน ไนเตรต (NO3− ) พืชดดู ซมึ เอาไปใชใ นการสราง โปรตีน 3. การตรงึ N2 ทางชวี วทิ ยา แบคทเี รียไรโซเบียมในปมรากถ่ัวจับไนโตรเจน( N2 ) ใน อากาศจึงเรียกไรโซเบียมวา Nitrogen fixing bacteria และเปล่ียน N2 เปนเกลือแอมโมเนีย ( NH + ) จากน้ันแบคทีเรียในดิน ( Nitrifying bacteria ) ทําหนาที่เปลี่ยน NH + เปน 2 4 สารประกอบไนไตรต (NO2− ) และเปลี่ยนสารประกอบไนไตรต (NO2− ) เปนสารประกอบไนเตรต (NO3− ) ซง่ึ พืชดดู ซึมนําไปใชในการสรางโปรตีนตอไป สัตวกินพืช สัตวก็จะนําไปใชในการสรางโปรตีน ในสัตว เม่ือพืชและสัตวตายลง ซากพืชซากสัตวและสิ่งขับถายจะถูกแบคทีเรีย ( Decomposing becteria ) ยอ ยสลายเปนสารประกอบไนเตรต (NO3− ) ตอ ไป 4. แบคทเี รยี ( Denitrifying bacteria ) ทาํ หนา ที่เปลี่ยนสารประกอบไนเตรต (NO3− ) เปนสารประกอบไนไตรต (NO2− ) ไดไนโตรเจนออกไซด (N2O) และในท่ีสุดกลายเปนกาซ N2 กลบั คนื สูบรรยากาศ 60
เคมี (ครแู นน) สมบตั ขิ องธาตแุ ละสารประกอบ 8. ธาตุออกซิเจน ออกซิเจนเปนอโลหะหมู VIA เปนธาตุท่ีมีมากท่ีสุดในธรรมชาติ คือ ประมาณรอ ยละ 49.20 โดยมวล พบท้ังในรูปธาตุอิสระคือกาซออกซิเจน ( O2 ) และโอโซน ( O3 ) ใน อากาศและพบในรูปของสารประกอบ เชน นา้ํ ออกไซดต างๆ คารโ บไฮเดรต ไขมัน โปรตีน เปน ตน กา ซ O2 เตรยี มไดโดยแยกกา ซออกซิเจนจากอากาศ ซ่งึ ทาํ ไดโดยนาํ อากาศที่สะอาดและ แยกกา ซ CO2 , ไอนาํ้ ออกแลว เพิ่มความดนั ลดอณุ หภมู ิ จนกา ซออกซเิ จนกลายเปน ของเหลวทีอ่ ณุ หภมู ิ - 183°C แยกออกซเิ จนเหลวออกจากกา ซอนื่ ๆ เมอ่ื เพม่ิ อณุ หภมู แิ ละลดความดนั กจ็ ะกลายเปน กา ซ ออกซเิ จน หรอื เตรียมโดยการแยกน้ําดว ยไฟฟา จะไดก า ซไฮโดรเจนและกา ซออกซเิ จนในอตั ราสว น 2:1 โดยปรมิ าตร หรือเตรียมไดโ ดยการเผาสารประกอบบางชนิด เชน เผาโพแทสเซยี มแมงกาเนต ( KMnO4 ) เผาโพแทสเซยี มคลอเรต ( KClO3 ) โดยมแี มงกานสี (IV)ออกไซด ( MnO2 ) เปน ตัวเรง ปฏกิ ริ ยิ า เปน ตน 2KMnO4 (s) ⎯เผ⎯→า K2 MnO4 (s)+ Mno2 (s) + O2 (g) 2KClO3 (s) ⎯Mเ⎯nผOา2→2KCl(s)+3O2 (g ) ประโยชน ออกซเิ จนเปน ธาตทุ จี่ าํ เปนตอการดาํ รงชีวิตและสิ่งมีชีวิตกลาวคือ ใชในการหายใจ และการเผาผลาญอาหาร ใชในการไหมเช้ือเพลิง ในทางการแพทยชวยในการหายใจสําหรับคนไขที่ อาการหนัก ออกซิเจนเหลวที่เรียกวา LOX สันดาปกับไฮโดรเจนเปนเช้ือเพลิงในจรวด ใชผสมกับ กาซอะเซติลีนในอัตราสวนพอเหมาะเม่ือเผาไหมจะใหความรอนสูงถึง 3300°C ซ่ึงใชในการเชื่อมหรือตัด โลหะ ใชใ นการถลุงเหล็กและถลุงทองแดงใชในการเตรยี มสารเคมตี างๆ 9. ธาตฟุ อสฟอรสั เปน อโลหะอยูใ นหมเู ดยี วกับธาตุไนโตรเจน ( VA ) ในธรรมชาติจะพบ ในรปู ของสารประกอบฟอสเฟตทีส่ ําคญั ไดแกห นิ ฟอสเฟตหรือแคลเซียมฟอสเฟต ( Ca3 (PO4)2 ) ฟลอู อไรอะปาไทต ( Ca5F(PO4)3 ) นอกจากนยี้ งั พบฟอสฟอรสั ในไขแ ดง กระดกู ฟน สมอง เสน ประสาทของคนและสัตว ฟอสฟอรัสสามารถเตรยี มไดจาก Ca3(PO4)2 โดยใช Ca3(PO4)2 ทาํ ปฏิกริ ิยากบั คารบอนใน รูปถา นโคก และซลิ กิ อนไดออกไซด (SiO2) ในเตาไฟฟา 2Ca3 (PO4 )2 + 6SiO2 + 10C → P4 +6CaSiO3 +10CO 61
เคมี (ครแู นน) สมบตั ิของธาตแุ ละสารประกอบ P4 ทีไ่ ดเ ปนฟอสฟอรัสขาว โครงสรา งของฟอสฟอรสั ฟอสฟอรสั เปนอโลหะทสี่ าํ คัญ 3 ชนดิ คอื 1. ฟอสฟอรัสขาวหรือฟอสฟอรสั เหลอื ง 2. ฟอสฟอรสั แดง 3. ฟอสฟอรสั ดํา 1. ฟอสฟอรสั ขาวหรอื ฟอสฟอรสั เหลอื ง โมเลกุลประกอบดว ยฟอสฟอรัส 4 อะตอม มีสูตรโมเลกลุ P4 สมบตั ขิ องฟอสฟอรสั ขาว 1. เปน ของแขง็ สขี าวหรือสเี หลอื ง วองไวในการเกดิ ปฏิกริ ยิ ามาก 2. มีจดุ หลอมเหลว 44 °C 3. มคี วามหนาแนน 1.82 g/cm3 4. ไมนําไฟฟา 5. ไมละลายน้ํา ละลายไดใ นคารบอนไดซลั ไฟด ( CS2 ) หรอื ตัวทาํ ละลายอื่นท่ี โมเลกุลไมม ขี ั้ว เชน CCI4 6. ลุกไหมในอากาศไดเ องท่อี ณุ หภมู ิ 35°C จงึ ตอ งเกบ็ ไวใ นนาํ้ ไมใ หสมั ผัสกบั O2 7. มีกลน่ิ คลา ยกระเทียมเปนพษิ ถา หายใจเขา ไปจะเปน โรคขากรรไกรผุ 8. ตมกบั สารละลาย NaOH หรือ KOH ได PH3 2. ฟอสฟอรสั แดง โมเลกลุ มโี ครงสรา งเปน สายยาวคลายลูกโซ เปน พอลเิ มอรข อง P4 สมบตั ขิ องฟอสฟอรสั แดง 1. เปน ของแขง็ สแี ดง เปน รูปทเี่ สถียรกวา ฟอสฟอรัสขาว 2. มีจดุ หลอมเหลว 590 °C ท่ี 43 บรรยากาศ 3. มคี วามหนาแนน 2.34 g/cm3 4. ไมนาํ้ ไฟฟา 5. ไมล ะลายในนา้ํ และ CS2 6. ลุกไหมใ นอากาศทอี่ ุณหภูมิ 250 °C 3. ฟอสฟอรสั ดาํ มโี ครงสรางแบบโครงรา งตาขาย มีสมบตั ิดังน้ี 62
เคมี (ครแู นน) สมบตั ิของธาตแุ ละสารประกอบ 1. เปน ของแขง็ สดี าํ 2. มีจุดหลอมเหลว 610 °C 3. มคี วามหนาแนน 2.699 g/cm3 4. เสถยี รกวา ฟอสฟอรัสแดง และตดิ ไฟยาก 5. นําไฟฟาเล็กนอ ยเมอ่ื อณุ หภมู สิ งู ข้นึ จะนาํ ไฟฟา ไดด ีขน้ึ ประโยชน ฟอสฟอรัสแดงใชในอุตสาหกรรมทําไมขีดไฟ ธูป ประทัด ระเบิดเพลิง หมอก ควัน ใชเตรียม P2O5 เพ่ือใชเปนสารต้ังตนในการเตรียมกรดฟอสฟอริก (H3PO4) ฟอสฟอรัสในรูป ฟอสเฟตชวยทําหนาท่ีควบคุมความเปนกรด-เบสในเลือดและของเหลวในรางกายของส่ิงชีวิตใชทําปุย ซปุ เปอรฟ อสเฟต Ca(H2PO4)2 ใชทาํ สารฆา แมลงพวกออแกโน-ฟอสเฟต ซ่ึงสลายตัวไดงาย ใชผสม ในผงซักฟอกเพื่อชวยกําจัดไอออนในน้ํากระดาง ชวยปรับสภาพความเปนเบสของน้ําเพ่ือเพิ่ม ประสทิ ธิภาพในการชักลา งและยงั ชวยจับกับสิ่งสกปรกอ่ืนไมใหก ลบั ไปจับกบั เสือ้ ผา ไดอ กี 10. ธาตุซิลิกอน ซิลิกอนเปนธาตุก่ึงโลหะอยูในหมูท่ี IVA เปนผลึกสีเทาเปนมันวาว มี โครงสรางคลายเพชร เปนธาตุท่ีมีในธรรมชาติมากเปนอันดับสองรองจากออกซิเจนคือประมาณรอยละ 25.67 โดยมวล ซิลิคอนไมพบในรูปอิสระ มักพบในแรควอตซและทรายในรูปของซิลิคอนไดออกไซดที่ เรยี กวา ซลิ ิกา( SiO2 ) ซิลิคอนสามารถเตรียมไดโดยนําซลิ ิคอนไดออกไซดทําปฏิกิริยากับถายโคกโดย ใหความรอนในเตาไฟฟา จะไดซ ิลิคอนบรสิ ุทธิ์ประมาณรอยละ 96-98 โดยมวล ประโยชน เนื่องจากซิลิคอนเปนสารก่ึงตัวนําจึงนํามาใชทําวงจรไฟฟาขนาดเล็กเพื่อใชใน อุปกรณไฟฟาเชน ไมโครคอมพิวเตอร วิทยุ โทรทัศน และใชทําเซลลสุริยะ ซิลิกาใชทําแกว ทํา สวนประกอบของนาฬิกาควอตซ ในรูปซิลิคอนคารไบต ( SiC ) ใชทําเคร่ืองสับ เครื่องบด เคร่ือง โม ในรปู ซลิ ิกาเจลใชดดู ความขนึ้ ใชเ ปนตัวดูดซับในการแยกสารโดยวิธีโครมาโทรกราฟในรูปซิลิเกตใชทํา เครื่องปนดินเผา เสนใยแกว เสนใยนําแสง ในรูปซิลิโคนซ่ึงเปนพอลิเมอรของซิลิคอนเปนสารท่ีไม รวมตัวกับน้ํา ไมนํ้าไฟฟา ทนความรอนและไมวองไวในการเกิดปฏิกิริยาใชเปนฉนวนไฟฟา และใช เคลือบผวิ วตั ถเุ พื่อปอ งกันไมใ หเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี 11. ธาตสุ งั กะสี สงั กะสเี ปน โลหะสขี าวเงนิ มันวาว สังกะสีพบในรูปของแรหลายชนิด คือ แร เฮมิมอไฟต [Zn4 (Si2O7)(OH)2.H2O] แรสมิตซอไนต ( ZnCO3 ) แรซิงคไคต ( ZnO ) และแรส ฟาเลอรไรต ( ZnS ) 63
เคมี (ครแู นน) สมบตั ขิ องธาตแุ ละสารประกอบ Zn เตรียมไดโดยการถลุงแรสฟาเลอรไรต ( ZnS ) และแรสมิตซอไนต ( ZnCO3 ) ข้ัน แรกของการถลุงคอื เปล่ยี นแรทง้ั สองใหอยใู นรูปของซงิ คอ อกไซด ( ZnO ) ปฏิกริ ยิ าท่เี กดิ ขนึ้ คือ 2ZnS(s)+3O2 (g) ⎯เผ⎯→า 2ZnO(s) +2SO2 (g) ZnCO3 (s) ⎯เผ⎯→า ZnO(s)+CO2 (g) จากน้ันให ZnO ทําปฏิกิริยากับคารบอนจะไดสังกะสี ( Zn ) และกาซ คารบอนมอนอกไซด( CO ) และกาซ CO ที่เกิดข้ึนก็สามารถทําปฏิกิริยากับ ZnO ได Zn เชนเดียวกัน ZnO(s)+ C(s) ⎯เผ⎯→า Zn(s) +CO(g) ZnO(s) + CO(g) ⎯เผ⎯→า Zn(s)+CO(g) ประโยชน ใชชุบโลหะเพ่ือปองกันการเกิดสนิม ใชชุบแผนเหล็กเพื่อมุงหลังคาบาน ทําถัง บรรจุนา้ํ ใชทาํ กลอ งในถานไฟฉายทท่ี ําหนาที่เปนขว้ั ลบ ( แอโนด ) ใชท าํ โลหะผสม เชน ทองเหลือง ( ทองแดง+สังกะสี ) ซิงคออกไซดใชในการเตรียมสี ใชเปนตัวเรงในการผลิตยางรถยนต ซิงคคลอ ไรดใชรักษาเน้ือไมใหคงทน เอ็นไซดและฮอรโมนบางชนิดมีสังกะสีเปนองคประกอบ เชน ฮอรโมน อินซูลิน เอ็นไซมท่ีชวยยอยและสังเคราะหโปรตีน ถารางกายขาดสังกะสีจะทําใหผิวหยาบกราน เปน โรคเหน็บชา ตบั แข็ง ทองโต และเจริญเติบโตชา 12. ธาตุเรเดียม เรเดียมเปนโลหะในหมู IIA ธาตุน้ีเปนธาตุกัมมันตรังสี ไมมีไอโซโทปที่ เสถียร ไอโซโทปกัมมันตรังสีมีประมาณ 16 ไอโซโทป และไอโซโทปท่ีเสถียรที่สุด คือ Ra-226 ซ่ึงมีครึ่งชีวิต 1620 ป เรเดียมในธรรมชาติเกิดจากการสลายตัวของ U-238 เม่ือ Ra-226 สลายตัวจะได Rn-222 และจะสลายตัวตอไปจนได Pb-206 ประโยชน รังสีแกมมาที่ไดจากการสลายตัวของเรเดียมใชในการยับย้ังการเจริญเติบโตของ เซลลมะเร็ง นอกจากนั้นธาตุเรเดียมยังใชในอุตสาหกรรมสารเรืองแสง เพราะเรเดียมเรืองแสงไดในที่ มืด แบบฝึ กหดั ท้าย 64
เคมี (ครแู นน) สมบตั ขิ องธาตแุ ละสารประกอบ 1. ธาตุสมมติ M N O P Q R S และ T เปนธาตทุ อี่ ยูในคาบเดียวกันของตารางธาตุเรียงลําดับ จากหมู IA ถงึ VIIIA ตามลาํ ดับ ก. ธาตใุ ดควรมพี ลังงานไอออไนเซชนั ลําดบั ที่ 1 ตํ่าทีส่ ดุ ....................................................... ข. ธาตใุ ดมีอเิ ล็กโทรเนกาติวติ ีสงู ที่สดุ ....................................................... ค. ธาตใุ ดรวมกบั คลอรีนไดสารประกอบทม่ี ีสตู ร XCl3 (เมอื่ X แทนสญั ลกั ษณข อง ธาตุ)...................... ง. ออกไซดข องธาตุใดเมอื่ ละลายนํา้ แลว สารละลายจะมีสมบัติเปนเบส .......................................... จ. คลอไรดข องธาตุใดเมอื่ หลอมเหลวแลว นําไฟฟาได ........................................................ 2. คลอไรดตอ ไปน้ี RbCl LiCl และ NCl3 ชนดิ ใดควรมจี ดุ หลอมเหลวตํา่ ทสี่ ดุ เพราะเหตุใด ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………. 3. สารประกอบออกไซดต อไปน้ี B2O3 CO2 BeO SiO2 Al2O3 และ Cl2O เมอ่ื ละลายน้ํา สารละลาย ของออกไซดชนดิ ใดจะแสดงสมบตั ิเปน กรด ……………………………………………………………………………………………………….. 4. ออกซเิ จนกบั กาํ มะถนั เปน ธาตุหมู VIA อยใู นคาบที่ 2 และคาบท่ี 3 ตามลําดบั เหตใุ ดจุดหลอมเหลว ของธาตุคนู จี้ ึงแตกตา งกนั มาก ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. 5. เพราะเหตุใดธาตซุ ลิ ิคอนจงึ มีจดุ หลอมเหลวสูงเปน พเิ ศษ เมอื่ เทยี บกบั ธาตอุ น่ื ในคาบเดียวกนั ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. 6. ธาตุ X ทาํ ปฏิกริ ยิ ากบั น้ํารอ น ไดส ารประกอบไฮดรอกไซดก ับแกสไฮโดรเจน ดงั สมการ 65
เคมี (ครแู นน) สมบตั ขิ องธาตแุ ละสารประกอบ X(s) + 2H2O(l) X(OH)2(aq) + H2(g) ก. ธาตุ X ควรอยูในหมใู ดของตารางธาตุ ………………………………….. ข. สารละลายของ X(OH)2 ประกอบดว ยไอออนอะไรบาง ………………………………….. ค. ธาตุ X ในสถานะของแขง็ นาํ ไฟฟา หรอื ไม ………………………………….. 7. ธาตุ A ทาํ ปฏิกิรยิ ากับไฮโดรเจนเกดิ สารประกอบมีสตู ร HA เมอื่ ละลายนํา้ สารละลายมีสมบัติเปน กรด ก. ธาตุ A ควรอยหู มใู ดของตารางธาตุ ………………………………….. ข. สารละลายของ HA นําไฟฟาไดหรือไม ถานาํ ไฟฟาได สารละลายควรประกอบดวยไอออนใดบา ง ……………………………………………………………………………………………………….. 8. เหตใุ ดจึงจดั ใหธาตไุ ฮโดรเจนอยูตรงตําแหนง ระหวางหมู IA กบั หมู VIIA ของตารางธาตคุ าบท่ี 1 ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. 9. ใหนักเรยี นทํานายสมบตั ิตอ ไปน้ขี องธาตุ A ซึง่ มีเลขอะตอม 56 ก. ธาตุ A อยใู นหมใู ดและคาบใดในตารางธาตุ ……………………………………………… ข. ธาตุ A ควรจดั เปน โลหะหรอื อโลหะ ……………………………………………… ค. ธาตุ A ควรมสี มบตั ิทางกายภาพเปน อยา งไร ……………………………………………… ง. สารประกอบคลอไรดข องธาตุ A ควรมสี ูตรและสมบตั เิ ปน อยางไร …………………………………………………………………………………………………………. จ. สารประกอบออกไซดของธาตุ A ควรมีสูตรและสมบตั เิ ปน อยา งไร ................................................................................................................................................................. 10. ในการทดสอบธาตุ M ไดผ ลดังตาราง ผล การทดลอง 1. การนาํ ไฟฟา นําไฟฟาไดด ี 66
เคมี (ครแู นน) สมบตั ิของธาตแุ ละสารประกอบ 2. เมอื่ ละลายในกรด HCl ไดสารละลายสเี ขียวและเกดิ ฟองแกส 3. เผากับคลอรนี แลว นาํ ไปละลายนํา้ ไดส ารละลายสีฟา 4. เผากับออกซเิ จน แลว นาํ สารท่ไี ดไปตรวจการนําไฟฟา ไมนําไฟฟา 5. วัดกัมมนั ตภาพรงั สี ไมมี จงตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี ……………………………………... ก. M เปน ธาตแุ ทรนซิชนั หรอื ไม ........................................................... ข. การทดลองในขอ ใดทสี่ นับสนุนคําตอบของขอ ก. 67
Search