Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอน-ทักษะภาษาไทย64

เอกสารประกอบการสอน-ทักษะภาษาไทย64

Published by Oratai Ch J, 2021-05-19 06:41:39

Description: เอกสารประกอบการสอน-ทักษะภาษาไทย64

Search

Read the Text Version

รหสั วิชา 30000-1101 รายวชิ าทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี ผู้สอน อาจารย์อรทัย ชูใจ  099 757 0519 or.chj เกณฑค์ ะแนน คะแนนเวลาเรยี น-พฤตกิ รรม 20 คะแนน คะแนนกิจกรรมระหว่างเรยี น 60 คะแนน คะแนนสอบ 20 คะแนน รวมคะแนนท้งั หมด 100 คะแนน 1

เนือ้ หาประจำสปั ดาห์ 1. ความหมายของภาษา 2. ความสำคญั ของภาษาเพ่ือสอ่ื สาร 3. องค์ประกอบของการส่ือสาร 4.ประเภทของภาษาเพือ่ ส่อื สาร 5. ระดับของภาษา 6. ขอ้ ควรระวังในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร 2

 ความหมายของภาษา ภาษา คอื ถอ้ ยคำทม่ี นษุ ยใ์ ชพ้ ดู หรือเขยี น เพือ่ ส่อื สาร ความหมาย ทกุ ภาษาจะมภี าษาพูดก่อนภาษาเขยี น หรอื บาง ภาษาไม่มีภาษาเขยี น นักภาษาศาสตรพ์ บว่ามนษุ ย์มีภาษา พูดประมาณ 3,000 ภาษา ในขณะทีม่ ีภาษาเขียนเพียง 400 ภาษาเทา่ น้นั 3

 ความสำคัญของภาษาเพอ่ื สื่อสาร 1. ภาษาเปน็ เครื่องมอื ในการถ่ายทอดวัฒนธรรม และปลูกฝังคุณธรรม 2. ภาษาเปน็ เครอ่ื งมอื ในการส่อื สารให้คนในสงั คม เดียวกนั เขา้ ใจกนั 3. ภาษาเป็นเคร่ืองมอื ในการประกอบอาชีพ 4. ภาษาเป็นเครอื่ งมือในการปกครอง 5. ภาษาเปน็ เครื่องมือในการศึกษาเลา่ เรียน 4

“เสยี ง” เปน็ หัวใจของภาษา เพราะภาษาทุกภาษาใช้เสียงพดู เป็นสื่อในการสื่อสาร มนุษย์ใช้อวัยวะออกเสียงได้มากมาย มนุษย์กลุ่มหนึง่ ๆ จะเลอื กเสียงมาใช้เพียงจำนวนหน่ึง ภาษาแต่ ละภาษาจึงมีเสียงต่างกัน ภาษาไทยมีการกำหนดเสียงที่ใช้อยู่ ๓ ประเภทตามลักษณะของเสียง ดังนี้ 1 เสยี งพยญั ชนะ 2 เสยี งสระ 3 เสยี งวรรณยกุ ต์ 5

1 เสยี งพยญั ชนะ รูป เสยี ง พยัญชนะไทย มี 6) ซ 1) ก 7) ด 2) ค 8) ต 3) ง 9) ท 4) จ 10) น 5) ช 6

11) บ 17) ร 12) ป 18) ล 13) พ 19) ว 14) ฟ 20) อ 15) ม 21) ฮ 16) ย 7

แบ่งเปน็ 3 หมู่ เรยี กว่า ไตรยางศ์คอื อกั ษรกลาง อักษรสงู อักษรต่ำ ❖ อักษรกลาง มี 9 ตัว ได้แก่ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ (หลักการจำ ไก่ จกิ เดก็ ตาย (เฎก็ ฏาย) บน ปาก โอง่ ) ❖ อักษรสูง มี 11 ตัว ไดแ้ ก่ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห (หลักการจำ ผี ฝาก ถงุ ขา้ ว สาร ให้ ฉัน) 8

❖ อักษรต่ำ มี 24 ตวั แบ่งเปน็ 2 ชนิด อักษรต่ำคู่ 14 ตัว ค ฅ ฆ ช ซ ฌ ฑ ฒ ท ธ พ ฟ ภ ฮ (หลกั การจำ พอ่ ค้า ฟัน ทอง ซ้อื ช้าง ฮ่อ) อักษรตำ่ เดย่ี ว 10 ตัว ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ (หลกั การจำ งู ใหญ่ นอน อยู่ ณ ริม วัด โม ฬี โลก) 9

2 เสยี งสระ สระ มี เสียง แบ่งเป็น 2 ชนิดตามการออกเสียง คอื  สระเด่ยี ว มี 18 เสียง แบง่ เปน็ สระเสียงสัน้ 9 เสียง สระ เสียงยาว 9 เสียง 10

สระเสียงสั้น สระเสียงยาว 1. อะ อา 2. อิ อี 3. อุ อือ 4. เอะ อู 5. แอะ เอ 6. โอะ โอ 7. เอาะ ออ 8. เออะ เออ 11

สระผสม มี 3 เสยี ง 1) เอีย 2) เออื 3) อัว 12

❖ สระเกนิ 5) ฤ 1) อำ 6) ฤๅ 2) ไอ 7) ฦ 3) ใอ 8) ฦๅ 4) เอา 13

การใช้ ฤ ➢อ่านออกเสยี ง “ ริ ” เมือ่ ผสมกบั พยัญชนะ ก ต ท ป ศ ส เชน่ กฤษฎีกา กฤษณา ทฤษฎี ฤทธิ วกิ ฤติกาล รังสฤษภ์ องั กฤษ อมฤต ➢อ่านออกเสยี ง “ รึ ”เมือ่ ผสมกับพยญั ชนะ ด น พ ม ห เชน่ คฤหสั ถ์ คฤหาสน์ นฤมล พฤษภาคม พฤกษชาติ มฤดก หฤทยั อมฤต หฤหรรษ์ อา่ นออกเสยี ง “รอ” มนี อ้ ยคำ เชน่ ฤกษ์ 14

การใช้ ฤา (รือ) มใี ชใ้ นคำไทยบ้างแตน่ อ้ ยมาก เช่น ฤาษี ปจั จบุ นั พบแตใ่ นคำประพันธ์ 15

3 เสยี งวรรณยกุ ต์ หมายถงึ เสยี งระดบั สูงตำ่ ในพยางค์หรอื คำ ในภาษาไทยมี 5 เสยี ง ดงั นี้ เสยี งวรรณยกุ ต์สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ❖ อกั ษรกลาง สามญั เอก โท ตรี จตั วา กา กา่ กา้ กา๊ กา๋ 16

❖ อกั ษรสูง สามญั เอก โท ตรี จัตวา - ข่า ข้า - ขา ❖ อกั ษรตำ่ สามญั เอก โท ตรี จัตวา คา - ค่า คา้ - 17

อักษร สามญั เอก โท ตรี จัตวา สงู - ขา่ ขา้ - ขา ต่ำ(ค)ู่ คา - ค่า ค้า - ต่ำ(เดีย่ ว) ลา หล่า ล่า/หลา้ ล้า หลา 18

“ตัวสะกด” แบ่งเปน็ 8 มาตรา ❖ แม่กก ก ข ค ฆ ❖ แมก่ ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฒ ฑ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส ❖ แมก่ บ บ ป พ ฟ ภ ❖ แม่กน น ญ ณ ร ล ฬ ❖ แม่กง ง ❖ แม่เกย ย ❖ แมก่ ม ม ❖ แมเ่ กอว ว 19

“พยางคแ์ ละคำ” ➢ พยางค์ คือ การประสมเสียงพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์เข้าด้วยกัน แลว้ เปลง่ ออกมาเป็นเสยี งพดู 1 ครั้ง จะมีหรือไม่มีความหมายกไ็ ด้ 20

“พยางคแ์ ละคำ” ➢ คำ คอื การประสมเสียงพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ เข้าดว้ ยกนั แต่จะต้องมีความหมาย 21

“ประโยค” คือ ถ้อยคำหรอื ข้อความท่ีมีใจความสมบูรณ์ ร้วู า่ ใครทำ อะไร ท่ไี หน ประกอบด้วย ๒ สว่ นสำคัญ คือ ภาคประธานและภาคแสดง 22

23

“คำเป็นคำตาย” คำเป็น คำตาย ไมม่ ตี ัวสะกดใชส้ ระเดย่ี วเสยี ง ไม่มตี วั สะกดใชส้ ระเด่ียวเสียง ยาวและสระประสม สน้ั มีตวั สะกดเปน็ แมก่ น กม กง มตี ัวสะกดเป็น แม่กก กด เกย เกอว กบ 24

“คำควบกล้ำ” ❖ ควบกล้ำแท้ คอื คำท่ีอา่ นออกพยญั ชนะต้นสองตัวพรอ้ ม กนั โดยพยัญชนะตัวแรก เปน็ ก ข ค ต ป ผ พ พยญั ชนะตวั ท่สี อง เป็น ร ล ว ❖ ควบกล้ำไมแ่ ท้ คอื พยญั ชนะที่มตี ัว ร ควบอยู่ แต่ออก เสียงเหมอื นพยญั ชนะเด่ียว จะออกเสยี งเพยี งพยญั ชนะตัว หน้าเท่าน้ัน แบ่งออกเปน็ 2 ลักษณะ 25

➢ 2.1 ออกเสียงพยัญชนะตวั หนา้ (รปู ร ออกเสียง ร) เช่น จริง ศรทั ธา เสรมิ สรา้ ง เศรา้ เป็นตน้ ➢ 2.2 ออกเสียงพยัญชนะตน้ ท้งั 2 รปู เปน็ พยญั ชนะต้นตัว อ่นื (รปู ทร ออกเสียง ซ) เช่น ทรัพย์ อา่ นวา่ ซับ ทรง อ่านว่า ซง ทราย อา่ นว่า ซาย ทราบ อา่ นวา่ ซาบ ทรดุ อ่านว่า ซดุ เปน็ ตน้ 26

“พยญั ชนะตน้ ทม่ี กั จะเขียนสะกดคำผดิ ” 27

“พยญั ชนะท้าย ทมี่ กั จะเขียนสะกดคำผิด” 28

“สระ ท่ีมักจะเขียนสะกดคำผดิ ” 29

“วรรณยุกต์ ท่มี กั จะเขียนสะกดคำผดิ ” 30

“ตัวการนั ต์ ทม่ี กั จะเขียนสะกดคำผดิ ” 31

“การเขียนสะกดคำทบั ศพั ทท์ ่ีมาจากภาษาต่างประเทศ มกั จะเขยี นสะกดคำผิด” 32

 องค์ประกอบของการสอื่ สาร กาลเทศะและสภาพแวดล้อมทางสังคม ผ้สู ง่ สาร สาร ส่ือ(ช่องทาง) ผู้รับสาร “ปฏกิ ริ ยิ าตอบกลบั ” กาลเทศะและสภาพแวดล้อมทางสงั คม 33

การใช้ภาษาไทยเพ่ือสอื่ สารในงานอาชพี อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ผู้ใชภ้ าษาจาํ เป็นตอ้ งเลอื กใช้ประเภทของภาษา ระดบั ภาษา การใช้คาํ และสาํ นวนภาษาใหถ้ กู ตอ้ ง เหมาะสมกับ สถานการณ์ และโอกาสทใี่ ช้ 34

 ประเภทของภาษาเพอื่ สอ่ื สาร 1. วจั นภาษา หมายถงึ ภาษาท่ใี ชต้ ัวอกั ษรเปน็ สัญลกั ษณ์ หรือภาษาพูดท่อี อกเสียงเป็นถ้อยคำหรอื เป็นประโยคที่มคี วามหมาย สามารถเข้าใจได้ เช่น คำพดู คำ สนทนาที่เราใช้อยโู่ ดยทว่ั ไป 35

2. อวัจนภาษา หมายถึง ภาษาทใี่ ชท้ า่ ทาง หรอื ภาษาท่ี ไม่ออกเสียงเป็นถ้อยคำ แตม่ ีลกั ษณะในภาษาทีแ่ ฝงอยใู่ น ถ้อยคำนน้ั เชน่ น้ำเสียง การเน้นเสียง จังหวะของการพูด รวมถึงกริ ยิ าท่าทาง การเคลอื่ นไหว การใช้สีหน้าหรือสายตา 36

2.1 2.2 2.3 ภาษาสัญลกั ษณ์ ภาษาการกระทำ ภาษาวตั ถุ หรือภาษาสญั ญาณ 2.5 2.6 2.4 ภาษากาลเทศะ ภาษาน้ำเสียง ภาษาสัมผัส 37

 ระดบั ของภาษา 1. ภาษาระดบั ทางการ เป็นภาษาทมี่ ีลักษณะเป็นแบบแผน และมีมาตรฐานในการใช้ ดังนี้ ➢ คําทใ่ี ชใ้ นวงราชการ เช่น เนอื่ งด้วย เนื่องจาก ➢ คาํ ทใ่ี ชใ้ นวงการศกึ ษา เชน่ แนวคิด บรู ณาการ ➢ คําราชาศพั ท์ เชน่ บรรทม ประสตู ิ ประชวร ➢ คําสภุ าพ เช่น รบั ประทาน ศรี ษะ ขา้ พเจา้ บดิ า มารดา 38

การใช้ภาษาระดบั ทางการ ใช้ในการเขียนตํารา แบบเรียน หนังสือราชการ คําสั่ง สารคดี บทความทางวชิ าการ หรือ ใช้ในการเขยี นตอบขอ้ สอบ 39

 ระดบั ของภาษา 2. ภาษาระดบั กง่ึ ทางการ เปน็ ภาษาที่ใชอ้ ย่างไมเ่ ปน็ แบบ แผนหรอื ไม่เป็นพิธรี ตี อง ดังน้ี ➢ คาํ ทใ่ี ช้ในภาษาโฆษณา เชน่ ชวี ติ ดไี ซน์ได้ อาณาจกั ร ใหญ่ใจกลางเมอื ง ➢ คําที่ใชใ้ นภาษาสอื่ มวลชน เชน่ นกั หวดลูกขนไก่ เทกระจาด 40

➢ คาํ เฉพาะกลุม่ เช่น วงการกฬี า กล่มุ วัยร่นุ ทหาร แพทย์ ชา่ ง การใช้ภาษาระดับกง่ึ ทางการ ใชใ้ นการสนทนากับบคุ คลท่ี ไม่คนุ้ เคยมากอ่ น การแนะนําบุคคลหรือการสมั ภาษณ์อยา่ ง ไมเ่ ป็นทางการ การอภปิ ราย 41

 ระดับของภาษา 3. ภาษาระดบั ไม่เป็นทางการเปน็ ภาษาท่ไี ม่ได้มาตรฐาน ไม่ คํานึงถงึ ความถกู ต้องเหมาะสม ➢ คาํ ตลาดหรือภาษาปาก เชน่ ผัว เมยี รถมอไซค์ กนิ ➢ คาํ ภาษาถน่ิ เชน่ ลำแต้ๆ แซบอหี ลี หร่อยจังฮู้ ➢ คาํ สแลงหรือคาํ คะนอง เชน่ เริด่ กิก๊ ฟนิ ลล้ั ลา มโน ➢ คาํ หยาบหรือคําตํ่า เชน่ คําดา่ คาํ สบถ คําหยาบคาย 42

การใชภ้ าษาระดบั ไม่เป็นทางการ ใชใ้ นการพูดจาในหมู่คน คนุ้ เคย สนิทสนม เป็นการลอ้ เลียน เสียดสี ประชดประชัน หรอื ตลกขบขัน 43

ข้อควรระวังในการใชภ้ าษาเพ่อื การสอื่ สาร 1 ตวั อยา่ ง การใชค้ ำผิดความหมาย ใชค้ ำใหถ้ กู ตอ้ ง ➢ ตำรวจสอบสวนหาสาเหตุการตายของทนายสมชาย ตามความหมาย ควรใช้คำวา่ สืบสวน 2 ตวั อยา่ ง การใชศ้ พั ทส์ ำนวนในการตดิ ตอ่ สอ่ื สารตาม โอกาสตา่ ง ๆ Aการใชศ้ พั ทส์ ำนวน โอกาสทเ่ี ป็นทางการ โอกาสท่ีกง่ึ ทางการ โอกาสทไ่ี ม่เปน็ ทางการ ใหเ้ หมาะสมกบั ขา้ พเจา้ กระผม ดิฉนั ผม หนู กาลเทศะหรือโอกาส ชำระภาษี เสียภาษี จา่ ยภาษี 44

3 ตวั อยา่ ง ประธานนกั ศึกษากำลงั หม่ำขา้ วอย่ใู นห้อง กจิ กรรมตัวแทนผปู้ กครองก็โซ้ยอยหู่ ลังหอ้ งประชุม Aการใชศ้ พั ทส์ ำนวน ใหเ้ หมาะสมกบั ควรใชค้ ำว่า รบั ประทาน ระดับฐานะบุคคล ตวั อยา่ ง เธอชว่ ย take care เขาหน่อย 4 ควรใช้คำว่า ดูแล Aการใชศ้ พั ทส์ ำนวน Okay ผมเหน็ ดว้ ยกบั Idea ของคุณ แต่ Model ท่ี ใหเ้ หมาะสมกบั คณุ Present นนั้ ผมว่ามนั Impossible ระดบั ฐานะบคุ คล ตกลงผมเหน็ ดว้ ยกับความคดิ ของคณุ แต่ แบบท่ีคณุ เสนอนนั้ ผมว่ามันเปน็ ไปไมไ่ ด้ 45

5 การใช้คำศัพทส์ แลงทำให้การสอื่ ความหมายไมช่ ดั เจน เพราะมีความหมายแฝง ต้องอาศยั บรบิ ทในการตีความ การใชค้ ำศพั ทส์ แลง ตวั อยา่ ง ➢ แหกตา หมายถงึ หลอกลวง ➢ แฟนลกู หนัง หมายถึง ผู้ชอบชมกีฬาฟุตบอล 6 ➢ เดง้ หมายถงึ หลุดหรอื พน้ จากตำแหนง่ การใชค้ ำตา่ งระดับ การใช้คำตา่ งระดับทำใหภ้ าษาไม่ชัดเจน และบาง กรณียงั ทำใหเ้ กิดความหมายขัดแย้งกันในประโยค ตวั อยา่ ง ➢ คนร้ายรวั กระสนุ ใส่ตำรวจหนงึ่ นัด ควรใชค้ ำว่า ยงิ กระสุน ➢ พ่อแมร่ อบุตร ควรใชค้ ำวา่ ลกู ➢ 46

7 ผู้ใชภ้ าษาในการสื่อสารควรหลีกเลย่ี งการใชค้ ำ ฟุ่มเฟอื ยหรอื ซ้ำชากโดยไมจ่ ำเป็น การใชค้ ำฟมุ่ เฟอื ย หรอื ซำ้ ชาก ➢ พายคุ รา่ ชีวติ ชาวประมงตาย ควรใช้คาํ วา่ พายุ ครา่ ชวี ิตชาวประมง ซ่ึงความหมายชดั เจนอยแู่ ล้วว่า 8 ชาวประมงตาย ฉะนั้นไม่ควรมสี ่วนขยาย ตาย ซํ้า ซอ้ นกนั อีก การเวน้ วรรคตอน ทถี่ กู ตอ้ ง ผสู้ ง่ สารควรเอาใจใส่กับการเวน้ วรรคตอนให้มาก เพราะถ้าเว้นวรรคผิด ความหมายก็จะผิดไปดว้ ย ➢ วันนี้คณุ แมแ่ กงจดื ใส่เหด็ หอมนา่ รับประทานจัง ➢ วันนค้ี ณุ แม่แกงจดื ใส่เห็ดหอม นา่ รับประทานจัง 47

9 การวางคาํ ขยายให้ถกู ท่ีจะช่วยให้ประโยคมคี วาม ชดั เจน สื่อความหมายไดถ้ กู ต้องและรวดเรว็ การวางคำขยายใหถ้ กู ที่ ตวั อยา่ ง ➢ นกั พดู ท่ีดที กุ คนควรวิเคราะห์ผู้ฟงั ก่อนเตรียมเนอ้ื หาทจี่ ะพดู ควรแก้ไขเป็น นกั พูดทดี่ ีควรวิเคราะหผ์ ู้ฟังทกุ คนกอ่ นเตรียมเนอื้ หาทจ่ี ะพูด ➢ นักเรียนที่ประพฤตดิ ียอ่ มเปน็ ท่รี กั ของครูทกุ คน ควรแกไ้ ขเปน็ นกั เรยี นยอ่ มเป็นทร่ี กั ของครทู ่ีประพฤตดิ ที กุ คน 48

10 ผู้ใชภ้ าษาในการส่ือสารควรหลีกเลยี่ งประโยค ยาวๆ โดยไมจ่ ำเป็น การใชป้ ระโยค ทกี่ ะทดั รดั ชดั เจน ตวั อยา่ ง ➢ คนทุกคนในโลกน้ีทุกคนต้องการความสุขความสำเรจ็ ในชีวติ ด้วยกันทกุ คน และทุกคนก็สามารถสมหวงั ดังทีค่ ิดได้ด้วยความเพยี รพยายาม ของทกุ คนเอง ควรแก้ไขเป็น ทกุ คนต้องการความสขุ ความสำเรจ็ ในชีวิตจะสามารถสมหวังดงั ท่ี คดิ ได้ดว้ ยความเพยี ร 49

11 การยกขอ้ ความสองขอ้ ความขน้ึ เทียบกนั โดยให้ มีใจความถว่ งท้ังสองข้างเท่าๆ กัน เชน่ การใชป้ ระโยค ➢ ฉันพรอ้ มทจ่ี ะเปน็ คนโงใ่ ห้คนอื่นหวั เราะ ดกี วา่ ทส่ี ละสลวย ฟงั ความจรงิ จากปากของเธอ สรุป ไม่ต้องมาบอกให้ฉันรู้ ฉนั ยอมเปน็ คนโง่ดีกวา่ 12 ถ้าผู้สง่ สารใชค้ ำกำกวมจะทำใหผ้ ู้รับสารเข้าใจไม่ตรงกัน เพราะผูร้ ับสารสามารถตีความได้หลายแง่หลายมุม การใชค้ ำกำกวม ตวั อยา่ ง ขอหอมหนอ่ ย อาจตคี วามไดว้ า่ ขอหอมแก้มหน่อย ขอตน้ หอมหนอ่ ย หรอื ขอหวั หอมหน่อยก็ได้ 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook