การพยาบาลมารดาที่มีต่อมไทรอยด์ ทางานผิดปกติความหมาย ภาวะท่ีมีการทางานของต่อมไทรอยดผ์ ดิ ปกติ ทง้ั ท่ีเกิดจากต่อมไทรอยดท์ างานมากเกนิ ไป หรอื นอ้ ยเกินไป โดยความผิดปกติน้ีอาจเกดิ กอ่ นการ ตงั้ ครรภ์ หรอื ตรวจพบครง้ั แรกเม่ือตงั้ ครรภก์ ็ได้
ภาวะต่อมไทรอยดท์ างานมาก (Hyperthyroidism)สาเหต ุ เช่น 1. โรคเกรฟ พบไดบ้ ่อยท่ีสดุ เกดิ จากรา่ งกายมี ภมู ิตา้ นทานตนเอง 2. โรคพลมั เมอร์ 3. เน้ืองอกเป็ นพิษ
อาการและอาการแสดง1. ต่อมไทรอยดม์ ีขนาดใหญ่ข้นึ2. หวั ใจเตน้ เรว็ เกนิ 100 ครง้ั /นาที อาจพบ systolic murmurได้3. ชีพจรเตน้ เรว็ ในขณะพกั สงู กว่า 100 ครงั้ /นาที4. น้าหนกั ไมเ่ พ่ิม5. หิวบ่อย กินจุ6. ตาโปน7. ข้ีรอ้ น หงดุ หงิด ตกใจง่าย8. มือสนั่
การวินิจฉยั โรค 1. การซกั ประวตั ิ 2. การตรวจรา่ งกาย 3. การตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการ 3.1 ตรวจ thyroid function THS ต่า T3 ,T4 สงู FT4 สงู 3.2 การตรวจเลอื ด เชน่ CBC
ผลกระทบ + ต่อมารดา ⊙ แทง้ และคลอดกอ่ นกาหนด ⊙ PIH หรอื Heart failure ⊙ Abruptio placentra + ต่อทารก ⊙ IUGR พิการแต่กาเนิด หรือ ตายคลอดสงู ⊙ ต่อมไทรอยดเ์ ป็ นพิษแต่กาเนิด ⊙ เกดิ ภาวะพรอ่ งไทรอยดฮ์ อรโ์ มนแต่กาเนิด
แนวทางการรกั ษา+ การใชย้ า ไดแ้ ก่ PTU หรือ MMI ยบั ยง้ั การเปลีย่ น T3 เป็ น T4 ท่ีระดบั เซลล์ และมีการตรวจ FT4 และ TSH เป็ นระยะ S/E มีผ่นื WBC ต่า ถา้ มีไข้ เหงือกอกั เสบ เจ็บคอ อาจตอ้ งหยดุ ยา+ การผา่ ตดั ไมน่ ิยม ถา้ จาเป็ นควรทาในไตรมาสท่ี 2 GA 22-24 wks+ การใชส้ ารรงั สี เป็ นขอ้ หา้ มในสตรตี งั้ ครรภ์ และ มารดาท่ีใหน้ มลกู
แนวทางการรกั ษาหลงั คลอด+ ใหม้ ารดาเล้ียงลกู ดว้ ยนมตนเอง ถา้ ไดร้ บั PTU ≤ 150-200 mg/d หรอื MMI ไมเ่ กิน 10 mg/d โดยใหห้ ลงั หารใหน้ ม+ กรณีหยดุ ยาตา้ นไทรอยดก์ อ่ นคลอดและไมม่ ีอาการแสดงทาง คลนิ ิก ใหต้ รวจ TSH , FT4 , FT4 I หลงั คลอด 6 wks
การพยาบาลระยะตง้ั ครรภ์+ ใหข้ อ้ มลู เรอื่ งโรค การสงั เกตอาการผดิ ปกติ+ การรบั ประทานอาหาร วนั ละ 6 ม้ือ ดื่มน้าเพ่ิมข้ึน+ พกั ผอ่ นใหม้ ากข้ึน วนั ละ 10 ชม.+ การรบั ประทานยา+ การรกั ษาความสะอาดของรา่ งกาย+ การระวงั อบุ ตั ิเหต ุ+ การนบั ลกู ด้ิน
การพยาบาลระยะคลอดและหลงั คลอด+ จดั ใหน้ อนศีรษะสงู+ ประเมิน v/s สภาพทารกในครรภ์ ภาวะ Heart failure+ บรรเทาความเจ็บปวด+ ระยะที่ 2 ของการคลอด ใหเ้ บ่งนอ้ ยท่ีสดุ หลงั คลอดฉีดยากระตนุ้ การหดรดั ตวั ของมดลกู+ ประเมินทารกหลงั คลอด อาจมีง่วงซึม เคลื่อนไหวชา้ ไมค่ อ่ ยรอ้ ง+ การเล้ยี งลกู ดว้ ยนมแม่+ หา้ มใชย้ าเม็ดคมุ กาเนิดที่มีเอสโตรเจน
ตวั อยา่ งขอ้ วินิจฉยั การพยาบาล+ มีโอกาสเกิดการทางานของหวั ใจลม้ เหลว เนื่องจากมี ระดบั ไทรอยดฮ์ อรโ์ มนสงู+ มีโอกาสเกิดภาวะหวั ใจลม้ เหลว เนื่องจากตอ้ งสบู ฉีดเลือด ไปเล้ยี งเซลลใ์ นรา่ งกายมากเกินไป+ มีโอกาสเกิดภาวะต่อมไทรอยดว์ ิกฤติจากการทางานของ ตอ่ มไทรอยดม์ ากกว่าปกติ และเจ็บครรภค์ ลอด
ภาวะต่อมไทรอยดท์ างานนอ้ ย(Hypothyroidism) เป็ นภาวะที่พบไดน้ อ้ ยในสตรตี งั้ ครรภ์สาเหต ุ ☻ ไทรอยดอ์ กั เสบชนิดฮชั ชิโมโต ทาใหม้ ีการทาลายเน้ือต่อม ไทรอยด์ ☻ การผา่ ตดั หรอื การใชส้ ารรงั สรี กั ษาโรคไทรอยดเ์ ป็ นพิษ ☻ การขาดสารไอโอดีน
อาการและอาการแสดง + อ่อนเพลยี เช่ืองชา้ เซื่องซึม น้าหนกั เพิ่ม + ออกกาลงั กายไดน้ อ้ ยลง + ทนความเยน็ ไมไ่ ด้ + เกดิ ตะครวิ บ่อย + ความอยากอาหารลดลง ทอ้ งอืด ทอ้ งผกู + เสียงแหบ ผมรว่ ง เลบ็ เปราะและหกั ง่าย + ผิวหนงั แหง้ แตกหยาบ บวมกดไมบ่ ๋มุ หนงั ตาบวม + อาจมคี อพอกหรอื ไมก่ ไ็ ด้
การวินิจฉยั และการรกั ษาการวินิจฉยั ⊙ ประวตั ิ ⊙ อาการและอาการแสดงดงั กลา่ วมาแลว้ ⊙ การตรวจรา่ งกาย เชน่ ต่อมไทรอยดม์ ีขนาดใหญ่ข้ึน ⊙ การตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการ FT4 ต่า TSH สงูการรกั ษา ⊙ ใหย้ า Levothyroxine ใชไ้ ดป้ ลอดภยั ในสตรตี ง้ั ครรภแ์ ละ ใหน้ มบตุ ร ขณะไดร้ บั ยาตอ้ งตรวจ T4 และ TSH ทกุ ไตรมาส และ หลงั คลอด 6-8 wks
ผลของต่อมไทรอยดท์ างานนอ้ ยต่อการตง้ั ครรภ์+ ต่อมารดา ♠ แทง้ บตุ ร คลอดกอ่ นกาหนด ♠ ทารกตายในครรภ์ ♠ PIH , Abruptio placenta ♠ PPH+ ต่อทารก ♠ ปัญญาอ่อน , Critinism
การพยาบาล+ ใหค้ วามรเู้ กีย่ วกบั โรค การรบั ประทานยาไทรอยด์+ การรบั ประทานอาหารใหเ้ พียงพอ+ การพกั ผอ่ น ประมาณวนั ละ 10 ชม.+ การมาฝากครรภต์ ามนดั+ เจาะเลอื ดทารกตรวจไทรอยดฮ์ อรโ์ มน+ ระยะคลอดเฝ้ าระวงั myxedema coma จะมี T ต่า HR ชา้ DTR ชา้ / หายไป ความรสู้ ึกตวั ลดลง+ สงั เกตอาการ hypothyroidism หลงั คลอด
Side effect ของ PTU1. ชนดิ ไมร่ นุ แรง ไดแ้ ก่ ผน่ื คัน, ลมพิษ, ไข้, ปวดข้อ, ข้ออกั เสบ, คลื่นไส,้ อาเจียน, เมด็ เลือดขาวตา่ ชว่ั คราว, การรับรสและกลน่ิ ผิดปกติ เกิดใน 2-3 สัปดาห์แรกหลังเรมิ่ ยา แกไ้ ขด้วยการให้ยาต้านฮีสตามีนรว่ มดว้ ย2. ชนดิ รุนแรง ได้แก่ ภาวะ agranulocytosis ( จา่ นวน granulocyte ในเลอื ด ตา่ กวา่ 250 เซลล/์ ลบ.ซม. ) , ตบั อกั เสบ aplastic anemia , thrombocytopenia , vasculitis , hypothrobinemiaต้องหยุดการ รกั ษาดว้ ยยาแล้วเปลีย่ นการรักษาเปน็ วิธีอน่ื แทน
สถานการณท์ ่ี 2+ หญงิ ตัง้ ครรภ์แรกอายุ 23 ปี อายุครรภ์ 24 สัปดาห์ มา ตรวจครรภ์ตามนัด ใหป้ ระวตั วิ ่ามีอาการออ่ นเพลยี หงดุ หงิดง่าย นอนไมค่ อ่ ยหลับ หวิ บอ่ ย ใจสัน่ เปน็ บางครง้ั BP = 110/90 mmHg P = 106 ครั้ง/นาที R = 20 คร้งั / นาที คล่าไทรอยด์ พบว่าโตขึ้นเลก็ น้อย
การวิเคราะหส์ ถานการณ์ ที่ 2+ หญิงตง้ั ครรภเ์ กดิ ภาวะแทรกซอ้ นอะไร Hyperthyroidism+ สาเหต ุ โรคเกรฟ โรคพลมั เมอร์ หรอื เน้ืองอกเป็ นพิษ+ อาการและอาการแสดงท่ีอาจตรวจพบ หงดุ หงิดง่าย นอนไมค่ อ่ ย หลบั หิวบ่อย ใจสนั่ เป็ น+ ผลกระทบ+ การวินิจฉยั ซกั ประวตั ิ ตรวจรา่ งกาย ตรวจเลอื ด+ การรกั ษา ใชย้ า ผา่ ตดั ใชร้ งั สี+ การพยาบาล
ผคู้ ลอดครรภแ์ รก อายุครรภ์ 38 สัปดาห์ มาร.พ.ดว้ ยเรือ่ งเจ็บครรภ์2 ช.ม.กอ่ นมารพ. ประวตั ขิ ณะตงั้ ครรภ์ รบั การรกั ษาดว้ ย PTU 50มก.เช้า-เยน็ การดูแลขณะรับไว้ในหอ้ งคลอด ข้อใดไม่เหมาะสมก.ประเมินอาการไข้ เจบ็ คอ มีผื่นขน้ึ ตามตัว คา่ WBC ในเลือดลดลงข.หลังรกคลอดให้ยา methergin หากมอี าการใจสั่นมากค.หลังทารกคลอด ประเมนิ อาการงว่ ง ซมึ ไมด่ ูดนมของทารกง.หลีกเล่ียงการเลยี้ งดูบตุ รดว้ ยนมมารดา
ข.หลังรกคลอด หลีกเลยี่ งการให้ methergin หากมอี าการใจสัน่ มาก-สตรีตั้งครรภ์รับการรักษาด้วย PTU(propylthiouracil) เป็นยาต้านธยั รอยด์ อาการ ข้างเคยี งคอื ท่าให้เมด็ เลอื ดขาวต่า มไี ขส้ ูง เจบ็ คอ เป็นผ่ืนก. ควรทา่ เพราะเป็นการประเมินอาการข้างเคียงของยาข. ควรให้ oxytocin หลังรกคลอด หากผคู้ ลอดมีชีพจรเรว็ ไม่ควรให้ metherginค. ควรท่า เพราะเปน็ การประเมินภาวะ Hypothyroid ของทารกเนอื่ งจากแม่ไดย้ า PTU ขณะต้งั ครรภ์ง. ควรหลีกเลย่ี งการเลยี้ งบตุ รดว้ ยนมมารดาเพราะยาผา่ นทางนา่้ นมได้* ปจั จบุ นั มรี ายงานว่าหากไดไ้ ม่เกนิ วนั ละ 200 มก.ให้นมแมไ่ ด้
ตวั อยา่ งขอ้ วินิจฉยั การพยาบาล+ เมตาบอลซิ ึมของรา่ งกายลดต่าลงเน่ืองจากขาดไทรอยด์ ฮอรโ์ มน+ ทารกมีภาวะเสี่ยงต่อครติ ินิซึม+ มีความวิตกกงั วลเก่ียวกบั โรค แผนการรกั ษา และ ภาวะแทรกซอ้ นทงั้ ของตนเองและทารกในครรภ์
Search
Read the Text Version
- 1 - 21
Pages: