วันสุนทรภู่ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอดอนสกั
ประวตั ิสนุ ทรภู่ สนุ ทรภู่ มชี อ่ื เดมิ วา่ “ภ”ู่ เกิดในสมยั รชั กาลท่ี 1 แหง่ กรุงรตั นโกสินทร์ เม่อื วันจันทร์ เดอื น 8 ขน้ึ 1 ค่า ปีมะเมีย จลุ ศกั ราช 1148 เวลาเชา้ 2 โมง (วันที่ 26 มิถนุ ายน พ.ศ. 2329) ณ บริเวณด้านเหนือของพระราชวังหลงั ซง่ึ เปน็ บรเิ วณสถานีรถไฟบางกอก น้อยปัจจุบันนี้ เชอ่ื ว่าหลังจากสุนทรภู่เกิดไดไ้ มน่ าน บดิ ามารดากห็ ยา่ ร้างกนั บิดาออกไปบวชอยู่ทว่ี ัดป่ากร่าอันเปน็ ภมู ิล่าเนาเดมิ ส่วนมารดาได้เข้าไปอยู่ ในพระราชวังหลงั ถวายตวั เป็นนางนมของพระองคเ์ จ้าหญิงจงกล พระธิดา ในเจา้ ฟ้ากรมหลวงอนรุ ักษเ์ ทเวศร์ ดงั นนั้ สุนทรภู่จึงไดอ้ ยู่ในพระราชวังหลงั กบั มารดา และได้ถวายตัวเปน็ ขา้ ในกรมพระราชวงั หลงั สนุ ทรภูย่ ังมี น้องสาวต่างบดิ าอีกสองคน ชื่อฉมิ และนิม่ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอดอนสกั
ในวัยเด็กสุนทรภู่ได้ร่าเรียนหนังสือกับพระในส่านักวัด ชีปะขาว (ซึ่งต่อมาได้รับพระราชทานนามในรัชกาลที่ 4 ว่าวัดศรีสุดา ราม อยู่ริมคลองบางกอกน้อย) ตามเน้ือความส่วนหน่ึงท่ีปรากฏใน นิราศสุพรรณ ต่อมาได้เข้ารับราชการเป็นเสมียนนายระวางกรมพระ คลังสวน ในกรมพระคลังสวน แต่ไม่ชอบท่างานอื่นนอกจากแต่งบท กลอน ซึ่งสามารถแต่งได้ดีตั้งแต่ยังรุ่นหนุ่ม จากส่านวนกลอนของ สุนทรภู่ เชื่อว่าผลงานท่ีมีการประพันธ์ข้ึนก่อนสุนทรภู่อายุได้ 20 ปี (คอื กอ่ น นิราศเมืองแกลง) เหน็ จะได้แกก่ ลอนนิทานเร่ือง โคบุตร สุนทรภู่ลอบรักกับนางข้าหลวงในวังหลังคนหน่ึง ช่ือแม่จัน ชะรอยว่าหล่อนจะเป็นบุตรหลานผู้มีตระกูล จึงถูกกรมพระราชวังหลัง กร้ิวจนถงึ ให้โบยและจ่าคุกคนท้ังสอง แต่เมื่อกรมพระราชวังหลังเสด็จ ทิวงคตในปี พ.ศ. 2349 จึงมีการอภัยโทษแก่ผู้ถูกลงโทษทั้งหมดถวาย เป็นพระราชกุศล หลังจากสุนทรภู่ออกจากคุกก็เดินทางไปหาบิดาท่ี เมอื งแกลง จงั หวัดระยอง การเดินทางครั้งน้ีสุนทรภู่ได้แต่ง นิราศเมือง แกลง พรรณนาสภาพการเดินทางต่าง ๆ เอาไว้โดยละเอียด และลง ทา้ ยเรอื่ งวา่ แตง่ มาให้แก่แมจ่ ัน \"เปน็ ขนั หมากมิ่งมิตรพิสมัย\" ในนิราศ ได้บันทึกสมณศักดิ์ของบิดาของสุนทรภู่ไว้ด้วยว่า เป็น \"พระครูธรรม รังษ\"ี เจา้ อาวาสวดั ป่ากรา่ กลบั จากเมืองแกลงคราวน้ี สนุ ทรภู่จึงได้แม่ จนั เปน็ ภรรยา ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอดอนสกั
แต่กลับจากเมืองแกลงเพียงไม่นาน สุนทรภู่ต้องติดตาม พระองคเ์ จ้าปฐมวงศใ์ นฐานะมหาดเล็กตามเสด็จไปในงานพิธีมาฆบูชา ที่พระพุทธบาท (เขตจังหวัดสระบุรีในปัจจุบัน) เม่ือปี พ.ศ. 2350 สุ น ท ร ภู่ ไ ด้ แ ต่ ง นิ ร า ศ พ ร ะ บ า ท พ ร ร ณ น า เ ห ตุ ก า ร ณ์ ใ น การเดนิ ทางคราวนด้ี ้วย สุนทรภู่กับแม่จันมีบุตรด้วยกัน 1 คน ช่ือหนูพัด ได้อยู่ใน ความอุปการะของเจ้าครอกทองอยู่ ส่วนหนุ่มสาวท้ังสองมีเร่ือง ระหองระแหงกันเสมอ จนภายหลังก็เลกิ รากันไป หลังจากนิราศพระบาท ที่สุนทรภู่แต่งในปี พ.ศ. 2350 ไม่ ปรากฏผลงานใด ๆ ของสุนทรภู่อีกเลยจนกระทั่งเข้ารับราชการในปี พ.ศ. 2359 ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอดอนสกั
การเขา้ รบั ราชการของสุนทรภู่ สนุ ทรภู่ไดเ้ ข้ารับราชการในกรมพระอาลกั ษณ์เม่ือ พ.ศ. 2359 ในรัชสมัยรัชกาลท่ี 2 มูลเหตุในการได้เข้ารับ ราชการนี้ ไมป่ รากฏแนช่ ดั แต่สนั นิษฐานวา่ อาจแต่งโคลงกลอน ไดเ้ ปน็ ทีพ่ อพระทยั ทราบถึงพระเนตรพระกรรณจึงทรงเรียกเข้า รบั ราชการ แนวคิดหนง่ึ วา่ สนุ ทรภู่เป็นผูแ้ ตง่ กลอนในบตั ร สนเทห่ ์ ซ่งึ ปรากฏชุกชมุ อยใู่ นเวลาน้ัน อกี แนวคดิ หนง่ึ สบื เน่ืองจาก \"ชว่ งเวลาที่หายไป\" ของสนุ ทรภู่ ซึง่ น่าจะใชว้ ชิ า กลอนท่ามาหากนิ เปน็ ท่รี ู้จกั เลอ่ื งชอื่ อยู่ ชะรอยจะเป็นเหตุใหถ้ กู เรียกเข้ารบั ราชการก็ได้ เมื่อแรกสุนทรภู่รับราชการเป็นอาลักษณ์ปลายแถว มี หนา้ ท่ีเฝา้ เวลาทรงพระอักษรเพือ่ คอยรบั ใช้ แตม่ ีเหตุให้ได้แสดง ฝมี อื กลอนของตัว เมอ่ื พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงแต่งกลอนบทละครในเรื่อง \"รามเกียรติ์\" ติดขัดไม่มีผู้ใดต่อ กลอนได้ต้องพระราชหฤทัย จึงโปรดให้สุนทรภู่ทดลองแต่ง ปรากฏวา่ แต่งไดด้ เี ปน็ ทพี่ อพระทัย จึงทรงพระกรุณาฯ เล่ือนให้ เป็น “ขุนสุนทรโวหาร” การต่อกลอนของสุนทรภู่คราวน้ีเป็นที่ รู้จักทั่วไป เน่ืองจากปรากฏรายละเอียดอยู่ในพระนิพนธ์ ชีวิต และงานของสุนทรภู่ ของสมเด็จฯ กรมพระยาดา่ รงราชานภุ าพ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอดอนสกั
บทกลอนในรามเกียรต์ทิ ่สี นุ ทรภู่ได้แต่งในคราวน้ันคือ ตอนนางสีดาผูก คอตาย และตอนศึกสิบขุนสิบรถ ฉากบรรยายรถศึกของทศกัณฐ์ สุนทรภู่ได้เล่ือนยศเป็น หลวงสุนทรโวหาร ในเวลาต่อมาได้รับ พระราชทานบ้านหลวงอยู่ท่ีท่าช้าง ใกล้กับวังท่าพระ และมีต่าแหน่ง เข้าเฝ้าเป็นประจ่า คอยถวายความเห็นเกี่ยวกับพระราชนิพนธ์และ พระนิพนธ์วรรณคดีเรื่องต่าง ๆ รวมถึงได้ร่วมในกิจการฟื้นฟู ศิลปวัฒนธรรมช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ โดยเป็นหน่ึงในคณะ ร่วมแตง่ ขุนช้างขุนแผน ขึน้ ใหม่ ระหว่างรับราชการสุนทรภู่ต้องโทษจ่าคุกเพราะถูกอุทธรณ์ ว่าเมาสุราท่าร้ายญาติผู้ใหญ่ แต่จ่าคุกได้ไม่นานก็โปรดพระราชทาน อภัยโทษ เล่ากันว่าเน่ืองจากพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงติดขัดบทพระราชนิพนธ์เรื่องสังข์ทอง ไม่มีใครแต่งได้ต้องพระทัย ภายหลงั พน้ โทษ สุนทรภ่ไู ด้เปน็ พระอาจารย์ถวายอักษรสมเด็จพระเจ้า บรมวงศ์เธอ เจา้ ฟา้ อาภรณ์ พระราชโอรสในรัชกาลที่ 2 เช่ือว่าสุนทรภู่ แต่งเรอ่ื ง สวสั ดิรกั ษา ในระหวา่ งเวลานี้ ในระหว่างรับราชการอยนู่ ้ี สุนทรภ่แู ต่งงานใหม่กับแม่นิ่ม มี บตุ รดว้ ยกันหนึ่งคน ชอ่ื พ่อตาบ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอดอนสกั
สุนทรภู่รับราชการอยู่เพียง 8 ปี เมื่อถึงปี พ.ศ. 2367 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จ สวรรคต หลงั จากนนั้ สนุ ทรภู่ก็ออกบวช แต่จะได้ลาออกจาก ราชการก่อนออกบวชหรือไม่ยังไม่ปรากฏแน่ชัด แม้จะไม่ ปรากฏโดยตรงว่าสุนทรภู่ได้รับพระบรมราชูปถัมภ์จากราช ส่านักใหม่ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ก็ ได้รับพระอุปถัมภ์จากพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์อื่นอยู่ เสมอ เช่น ปี พ.ศ. 2372 สุนทรภู่ได้เป็นพระอาจารย์ถวาย อักษรเจ้าฟ้ากลางและเจ้าฟ้าปิ๋ว พระโอรสในเจ้าฟ้ากุณฑล ทิพยวดี ปรากฏความอยู่ใน เพลงยาวถวายโอวาท นอกจากน้ันยังได้อยู่ในพระอุปถัมภ์ของพระองค์เจ้าลักขณา นุคุณ และกรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ ซ่ึงปรากฏเน้ือความใน งานเขียนของสุนทรภู่บางเรื่องว่า สุนทรภู่แต่งเรื่อง “พระอภัยมณี” และ “สงิ หไตรภพ” ถวาย กฏุ ิวัดเทพธดิ ารามทีส่ นุ ทรภูบ่ วชจา่ พรรษา เปน็ สถานทคี่ ้นพบวรรณกรรมทที่ รงคุณคา่ มากมาย เช่น พระอภัยมณี ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอดอนสกั
สุนทรภู่บวชอยู่เป็นเวลา 18 ปี ระหว่างน้ันได้ย้าย ไปอยู่วัดต่าง ๆ หลายแห่ง เท่าที่พบระบุในงานเขียนของ ท่านได้แก่ วัดเลียบ วัดแจ้ง วัดโพธ์ิ วัดมหาธาตุ และวัด เทพธิดาราม งานเขียนบางชิ้นสื่อให้ทราบว่า ในบางปี ภิกษุ ภเู่ คยต้องเร่รอ่ นไม่มีที่จ่าพรรษาบ้างเหมือนกัน ผลจากการท่ี ภิกษุภู่เดินทางธุดงค์ไปท่ีต่าง ๆ ท่ัวประเทศ ปรากฏผลงาน เป็นนิราศเร่ืองต่าง ๆ มากมาย และเชื่อว่าน่าจะยังมีนิราศที่ ค้นไมพ่ บอีกเปน็ จา่ นวนมาก ง า น เ ขี ย น ชิ้ น สุ ด ท้ า ย ที่ ภิ ก ษุ ภู่ แ ต่ ง ไ ว้ ก่ อ น ล า สิกขาบท คือ ร่าพันพิลาป โดยแต่งขณะจ่าพรรษาอยู่ท่ีวัด เทพธดิ าราม พ.ศ. 2385 วรรณกรรม เรอ่ื ง พระอภยั มณี ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอดอนสกั
ปี พ.ศ. 2385 ภิกษุภู่จ่าพรรษาอยู่ท่ีวัดเทพธิดาราม ที่มี กรมหมื่นอปั สรสุดาเทพทรงอุปถมั ภ์ คืนหน่ึงหลับฝันเห็นเทพยดาจะมา รับตัวไป เม่ือตื่นขึ้นคิดว่าตนถึงฆาตจะต้องตายแล้ว จึงประพันธ์เร่ือง ร่าพันพิลาป พรรณนาถึงความฝันและเล่าเรื่องราวต่าง ๆ ท่ีได้ประสบ มาในชีวิต หลังจากนั้นก็ลาสิกขาบทเพ่ือเตรียมตัวจะตาย ขณะน้ัน สนุ ทรภูม่ ีอายุได้ 56 ปี หลังจากลาสิกขาบท สุนทรภู่ได้รับพระอุปถัมภ์จากเจ้าฟ้า น้อย หรือสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ รับราชการ สนองพระเดชพระคุณทางด้านงานวรรณคดี สุนทรภู่แต่ง เสภาพระ ราชพงศาวดาร บทเห่กล่อมพระบรรทม และบทละครเรื่อง อภัยนุราช ถวาย รวมถึงยังแต่งเร่ือง พระอภัยมณี ถวายให้กรมหมื่นอัปสรสุดา เทพด้วย เมื่อถึงปี พ.ศ. 2394 พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคต เจ้าฟ้ามงกุฎเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และทรงสถาปนาเจ้าฟ้าน้อยขึ้นเป็น พระบาทสมเด็จพระป่ินเกล้าเจ้าอยู่หัว สุนทรภู่จึงได้รับแต่งต้ังเป็น เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร มีบรรดาศักดิ์เป็น พระสุนทร โวหาร ช่วงระหว่างเวลานี้สุนทรภู่ได้แต่งนิราศเพิ่มอีก 2 เรื่อง คือ นิราศพระประธม และ นริ าศเมอื งเพชร ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอดอนสกั
สุนทรภู่พ่านักอยู่ในเขตพระราชวังเดิม ใกล้หอน่ัง ของพระยามนเทียรบาล (บัว) มีห้องส่วนตัวเป็นห้องพักก้ัน เฟย้ี มที่เรียกช่ือกันว่า \"ห้องสุนทรภู่\" เช่ือว่าสุนทรภู่พ่านักอยู่ ท่ีนี่ตราบจนถึงแก่อนิจกรรม เมื่อปี พ.ศ. 2398 สิริรวมอายุ ได้ 69 ปี อนุสาวรียส์ นุ ทรภู่ ณ จงั หวดั ระยอง ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอดอนสกั
ผลงานของสุนทรภู่ ประเภทนิราศ นิราศเมืองแกลง (พ.ศ. 2349) แต่งเมื่อหลังพ้นโทษจากคุก และ เดนิ ทางไปหาพอ่ ท่เี มืองแกลง นิราศพระบาท (พ.ศ. 2350) แต่งหลังจากกลับจากเมืองแกลง และ ต้องตามเสด็จพระองค์เจ้าปฐมวงศ์ไปนมัสการรอยพระพุทธบาทที่ จังหวดั สระบรุ ใี นวันมาฆบชู า นิราศภูเขาทอง (ประมาณ พ.ศ. 2371) แต่งเม่ือไปนมัสการ พระเจดียภ์ เู ขาทองที่จังหวดั อยธุ ยา นริ าศสพุ รรณ (ประมาณ พ.ศ. 2374) แต่งเม่อื ครั้งยังบวชอยู่ และไป ค้นหายาอายุวัฒนะที่จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นผลงานเร่ืองเดียวของ สุนทรภทู่ ่แี ต่งเปน็ โคลง นิราศวัดเจ้าฟ้า (ประมาณ พ.ศ. 2375) แต่งเม่ือคร้ังยังบวชอยู่ และ ไ ป ค้ น ห า ย า อ า ยุ วั ฒ น ะ ต า ม ล า ย แ ท ง ที่ วั ด เ จ้ า ฟ้ า อ า ก า ศ (ไม่ปรากฏว่าท่จี รงิ คือวัดใด) ทจ่ี งั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอดอนสกั
ประเภทนิ ราศ นิราศอิเหนา (ไม่ปรากฏ, คาดว่าเป็นสมัยรัชกาลท่ี 3) แต่งเป็นเน้ือ เรื่องอิเหนาร่าพนั ถงึ นางบุษบา ร่าพันพิลาป (พ.ศ. 2385) แต่งเม่ือคร้ังจ่าพรรษาอยู่ท่ีวัดเทพธิดา ราม แล้วเกิดฝันร้ายว่าชะตาขาด จึงบันทึกความฝันพร้อมร่าพัน ความอาภพั ของตวั ไวเ้ ปน็ \"รา่ พันพิลาป\" จากนั้นจึงลาสกิ ขาบท นิราศพระประธม (พ.ศ. 2385) เชื่อว่าแต่งเมื่อหลังจากลาสิกขาบท และเข้ารับราชการในพระบาทสมเด็จพระป่ินเกล้าเจ้าอยู่หัว ไปนมสั การพระประธมเจดยี ์ (หรือพระปฐมเจดีย์) ทเี่ มอื งนครชยั ศรี นิราศเมืองเพชร (พ.ศ. 2388) แต่งเม่ือเข้ารับราชการใน พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจ้าอยู่หัว เชื่อว่าไปธุระราชการอย่างใด อ ย่ า ง ห นึ่ ง นิ ร า ศ เ ร่ื อ ง นี้ มี ฉ บั บ ค้ น พ บ เ น้ื อ ห า เ พ่ิ ม เ ติ ม ซ่ึ ง อ.ล้อม เพ็งแก้ว เช่ือว่าบรรพบุรุษฝ่ายมารดาของสุนทรภู่เป็น ชาวเมืองเพชรบรุ ี ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอดอนสกั
นิ ทาน โคบุตร ช่ือว่าเป็ นงานประพนั ธช์ ้ิน แรกของสุนทรภู่ เป็ นเร่ืองราวของ \"โคบุตร\" ซ่ึงเป็ นโอรสของพระอาทติ ย์ กบั นางอปั สร แต่เตบิ โตขนึ้ มาด้วยการ เลยี้ งดขู องนางราชสีห์ พระอภยั มณี คาดวา่ เรม่ิ ประพนั ธใ์ น สมัยรัชกาลที่ 2 และแต่งๆ หยุดๆ เร่ือยมาจนถึงสมัยรัชกาลท่ี 4 เป็ น ผลงานช้ินเอกของสุนทรภู่ ได้รบั ยก ยอ่ งจากวรรณคดสี โมสรให้เป็ นสุดยอด วรรณคดไี ทยประเภทกลอนนิทาน พระไชยสุรยิ า เป็ นนิทานทสี่ ุนทรภู่ แต่ง ด้ว ยฉั นทลักษณ์ประเภ ทกาพย์ หลายชนิด ได้แก่ กาพย์ยานี 11 กาพยฉ์ บงั 16 และกาพยส์ ุรางคนางค์ 28 เป็ นนิทานสาหรบั สอนอ่าน เนื้อหา เรียงลาดบั ความง่ายไปยาก จากแม่ ก กา แม่กน กง กก กด กบ กม และเกย เชื่อว่าแต่งขึ้นประมาณ พห้.อศง. ส23ม83ดุ -ป23ร85ะชาชนอาเภอดอนสกั
นิ ทาน สิงหไกรภพ : เชื่อว่าเร่มิ ประพนั ธเ์ ม่ือ ค ร้ัง ถ ว า ย อัก ษ ร แ ด่ เ จ้ า ฟ้ า อ า ภ ร ณ์ ภายหลังจึงแต่งถวายกรมหม่ืนอัปสร สุดาเทพ และน่าจะหยุดแต่งหลงั จาก กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพส้ิ นพระชนม์ สิงหไตรภพเป็ นตวั ละครเอกทแี่ ตกต่าง จากตวั พระในเรื่องอื่น ๆ เนื่องจาก เป็ นคนรกั เดยี วใจเดยี ว ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอดอนสกั
สภุ าษิต สวัสดิรักษา คาดว่าประพันธ์ในสมัยรัชกาลที่ 2 ขณะเป็นพระ อาจารยถ์ วายอกั ษรแด่เจา้ ฟา้ อาภรณ์ เพลงยาวถวายโอวาท คาดวา่ ประพันธ์ในสมยั รชั กาลท่ี 3 ขณะ เป็นพระอาจารยถ์ วายอักษรแด่เจา้ ฟ้ากลางและเจา้ ฟ้าปวิ๋ สุภาษิตสอนหญิง เป็นหนึ่งในผลงานซึ่งยังเป็นที่เคลือบแคลง ว่า สุนทรภู่เปน็ ผปู้ ระพันธ์จริงหรือไม่ เทพสุนทรศารทูลเสนอว่า นา่ จะเป็นผลงานของภู่ จลุ ละภมร ศษิ ย์ของสนุ ทรภ่เู อง บทละคร อภัยนุราช ซึ่งเขียนข้นึ ในสมยั รัชกาลท่ี 4 เพือ่ ถวายพระองค์เจ้า ดวงประภา พระธดิ าในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจา้ อยหู่ วั ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอดอนสกั
บทเสภา ขนุ ช้างขนุ แผนตอนกา่ เนดิ พลายงาม เสภาพระราชพงศาวดาร บทเห่กล่อมพระบรรทม น่าจะแต่งข้ึนส่าหรับใช้ขับกล่อมหม่อมเจ้าใน พระองค์เจ้าลักขณานุคุณ กับพระเจ้าลูกยาเธอใน พระบาทสมเด็จพระป่ินเกล้าเจ้าอยู่หัว เท่าที่พบมี 4 เรอ่ื งคือ เหเ่ รอื่ งพระอภัยมณี เหเ่ รอ่ื งโคบุตร เหเ่ รอ่ื งจับระบ่า เหเ่ รอ่ื งกากี ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอดอนสกั
ความเป็นมาของวนั สุนทรภู่ วันที่ 26 มิถุนายน เป็นวันคล้ายวันเกิดของพระสุนทรโวหาร (สุนทรภู่) เจ้ากรมพระอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวัง ผู้ได้รับการยก ย่องว่าเป็นกวีเอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น และมีผลงาน ประพันธม์ ากมาย เฉพาะเร่ือง พระอภัยมณี วรรณกรรมชิ้นเอก ของท่าน ก็มีความยาวถึง 12,706 บท ถือได้ว่าเป็นกวีนิพนธ์ที่ ยาวที่สุดในโลก ในขณะที่บทประพันธ์เรื่องอีเลียต (Iliad) และ โอเดดซี (Odyssey) ของฝรั่งท่ีว่ายาวที่สุด ยังมีเพียง 12,500 บทเท่าน้ัน เมื่อปี พ.ศ. 2529 ท่านได้รับยกย่องจากยูเนสโก (UNESCO) ให้เป็นบุคคลผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรมระดับ โล ก อ ง ค์ ก า ร ศึ ก ษ า วิท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม แ ห่ ง สหประชาชาติ(UNESCO) ซ่ึงเป็นผู้ที่มีหน้าที่ส่งเสริมและ เผยแพร่ผลงานด้านวัฒนธรรมของประเทศสมาชิกต่าง ๆ ท่ัว โลก ดว้ ยการประกาศยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรตบิ ุคคลผมู้ ผี ลงานดีเด่น ทางวัฒนธรรมระดบั โลก ในวาระครบรอบ 100 ปีข้ึนไป ประจ่า ทกุ ปี โดยมวี ตั ถุประสงค์ คือ เพื่อเผยแพร่เกียรติคุณและผลงาน ของผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรมระดับโลกให้ปรากฏแก่ มวลสมาชิกทั่วโลก และเพื่อเชิญชวนให้ประเทศสมาชิกมีส่วน รว่ มในการจัดกจิ กรรมเฉลมิ ฉลองร่วมกับประเทศท่ีมีผู้ได้รับการ ยกยอ่ หงเช้อิดงชสเู กมยี รดุติ ประชาชนอาเภอดอนสกั
ในการน้ีรัฐบาลไทยโดยคณะกรรมการแห่งชาติ ว่ า ด้ ว ย ก า ร ศึ ก ษ า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม แ ห่ ง สหประชาชาติ กระทรวงศึกษาธิการ จะเป็นผู้สืบค้น บรรพบุรุษไทยผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม เพื่อให้ ยูเนสโกประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติและได้ประกาศยก ย่องสุนทรภู่ให้เป็นบุคคลผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม ระดบั โลก ในวาระครบรอบ 200 ปีเกิด เม่ือวันท่ี 26 มิถุนายน พ.ศ. 2529 และในปี พ.ศ. 2530 นายเสวตร เป่ียมพงศ์สานต์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี ได้ด่าเนินการ จัดต้ังสถาบันสุนทรภู่ข้ึน เพ่ือสนับสนุนการจัดกิจกรรม เกี่ยวกับชีวิตและงานของสุนทรภู่ ให้แพร่หลายใน หมู่เยาวชนและประชาชนชาวไทยมากย่ิงขึ้น จึงได้ ก่าหนดให้วันที่ 26 มถิ นุ ายน ของทุกปี เปน็ วันสุนทรภู่ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอดอนสกั
วนั สุนทภู่ วันที่ ๒๖ มถิ ุนายน เป็นมนุษย์ สดุ นิยม เพียงลมปาก จะได้ยาก โหยหิว เพราะชิวหา แมน้ พดู ดี มีคน เขาเมตตา จะพดู จา จงพิเคราะห์ ให้เหมาะความ - สนุ ทรภู่ - ตอนหน่ึงจากเรื่อง พระอภยั มณี ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอดอนสกั
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: