บันทกึ ขอ้ ความ ส่วนราชการ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอดอนสกั ท่ี ศธ 0210.8210/ วันที่ 12 พฤษภาคม 2566 เร่อื ง รายงานผลการจดั กจิ กรรม โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็ง เพื่อสานสัมพนั ธอ์ นั ดีระหวา่ งภาคี เครือขา่ ยและสถานศกึ ษา มีขอบเขตการดาเนินการ เรียน ผ้อู านวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอดอนสัก ตามที่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอดอนสัก ได้มอบหมายให้ ข้าพเจ้า นายบงกช สนธิเมือง ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล ดอนสัก ดาเนินการจัดกิจกรรม โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็ง เพอ่ื สานสัมพันธ์อันดีระหว่างภาคีเครือข่ายและสถานศึกษา มีขอบเขตการ ดาเนินการ ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 ถึง 30 เมษายน พ.ศ.2566 ณ กศน.อาเภอดอนสัก หมู่ที่ 5 ตาบลดอนสัก อาเภอดอนสกั จงั หวดั สุราษฎร์ธานี บัดน้ี ข้าพเจ้า นายบงกช สนธิเมือง ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบลดอนสัก ได้ดาเนินการ จัดกจิ กรรม โครงการเสรมิ สร้างความเข้มแขง็ เพอ่ื สานสัมพันธ์อนั ดรี ะหวา่ งภาคเี ครอื ขา่ ยและสถานศกึ ษา มขี อบเขตการดาเนินการ เสร็จส้ินแล้วและไดด้ าเนนิ การจัดทารายงานสรปุ ผลการดาเนินงานดังกล่าวข้างต้น เสรจ็ สนิ้ เรียบร้อยแลว้ รายละเอียดตามเอกสารทแ่ี นบ จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบและพิจารณา ลงชื่อ.............................................ครู กศน.ตาบล (นายบงกช สนธิเมอื ง) ความคดิ เหน็ ของผ้บู ังคับบญั ชา ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงช่อื ............................................... ผบู้ งั คับบญั ชา (นางสาวรชั ฎา โสมเพ็ชร์) ผอ.กศน.อาเภอดอนสัก
คานา เอกสารฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพ่ือรายงานสรุปผลการดาเนินงานโครงการเสริมสร้างความ เข้มแข็ง เพื่อสานสัมพันธ์อันดีระหว่างภาคีเครือข่ายและสถานศึกษา มีขอบเขตการดาเนินการ โดยมี วัตถุประสงค์ในการดาเนินงานกิจกรรมโครงการ เพื่อเพื่อส่งเสริมให้เป็นผู้มีจิตอาสาช่วยเหลือและแบ่งปัน และเพ่ือส่งเสริมการร่วมกิจกรรมกับภาคีเครือข่าย ให้กับกลุ่มเป้าหมาย บุคลากรเจ้าหน้าท่ีและนักศึกษา กศน.อาเภอดอนสัก จานวน 120 ระหวา่ งวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 ถงึ 30 เมษายน พ.ศ.2566 ณ กศน.อาเภอดอนสกั หมูท่ ี่ 5 ตาบลดอนสัก อาเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี อีกทัง้ การรายงานสรปุ ผล การดาเนินงานในครั้งน้เี พื่อเผยแพร่ให้ประชาชน ชุมชน สังคม หน่วยงานภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ได้รับทราบ เก่ียวกับข้อมูลความก้าวหน้าของการจัดกิจกรรมโครงการที่สถานศึกษาได้ดาเนินการจัด และเพ่ือนาผลการ ดาเนินงานสู่การพัฒนาปรับปรุงต่อยอดกิจกรรมโครงการให้มีความต่อเน่ือง อันจะส่งผลประโยชน์สูงสุดต่อ ประชาชน และผู้เรียนในโอการต่อไป การรายงานสรุปผลการดาเนินงานเล่มน้ี มีประเด็นเน้ือหาสาคัญโดย แบ่งออกเป็น 5 บท ได้แก่ บทที่ 1 บทนา บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และเอกสารที่เก่ียวข้อง บทที่ 3 กระบวนการ และวธิ ีการดาเนินงาน บทที่ 4 ผลการดาเนินการและวเิ คราะห์ขอ้ มูล และบทที่ 5 สรุปผลการ ดาเนินงาน อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารรายงานสรุปผลการดาเนินงานเล่มน้ีคงเป็นประโยชน์แก่ผู้ท่ีสนใจใน กิจกรรม โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็ง เพ่ือสานสัมพันธ์อันดีระหว่างภาคีเครือข่ายและสถานศึกษา เพอื่ ใหม้ ีความรเู้ กย่ี วกบั สามารถนาความรทู้ ่ไี ด้รบั ไปปรับใช้ในการดาเนนิ ประจาวันไดจ้ รงิ นายบงกช สนธเิ มือง ครู กศน.ตาบล
สารบัญ หนา้ เร่อื ง 1 1 บทท่ี 1 บทนา 3 -หลักการและเหตผุ ล 3 3 บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี และเอกสารที่เกีย่ วขอ้ ง 6 -แนวคดิ ทฤษฎี 10 -เอกสารท่เี ก่ยี วขอ้ ง 18 20 บทท่ี 3 กระบวนการ และวิธีการดาเนนิ งาน 27 บทท่ี 4 ผลการดาเนินการและวิเคราะหข์ ้อมูล บทที่ 5 สรุปผลการดาเนนิ งาน อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ประมวลภาพกจิ กรรม คณะผูจ้ ัดทา
1 บทท่ี 1 บทนา หลักการและเหตุผล ภาคีเครือข่ายของหน่วยงาน กศน. เป็นเครือข่ายทางสังคมที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล องค์กร ท่ีเกย่ี วข้องกนั ในทกุ ระดับ มีเปา้ หมายในการทางานร่วมกันคอื การสง่ เสริมการเรยี นรู้ พัฒนาคุณภาพ ชีวิตให้กับประชาชน ซึ่งในปัจจุบันสังคมไทยมีการเปล่ียนแปลงไปมาก มีการเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การสอ่ื สาร การคมนาคม ประชาชนมวี ถิ ชี ีวิตที่เป็นเปล่ียนแปลงไป ประชาชนสว่ นใหญย่ ังมีฐานะยากจน ไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ มีหนี้สิน ขาดโอกาส พลาดโอกาสทางการศึกษา ขาดทักษะชีวิตในการคิด วิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ อย่างมีเหตุผล การแก้ปัญหาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนจึงมีความ ซับซ้อน ยากต่อการแก้ไขหรือพัฒนาโดยหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง ในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชน จึงต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่ายร่วมเป็นภาคีเครือข่ายใน การทางาน กศน. ท้ังนี้ เพื่อต้องการให้เกิดการผลักดันกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันทางสังคม ปัจจุบัน หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. จะต้องมีการประสานความร่วมมือกันจัดการเรียนรู้กับภาคีเครือข่าย มา อย่างต่อเนื่อง การสร้างภาคีเครือข่ายในทุกระดับของหน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สะท้อ นถึง ความสัมพันธ์และความร่วมมือในกระบวนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยร่วมกัน การร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ ร่วมประเมินผล ซ่ึงในแต่ละหน่วยงานและสถานศึกษา กศน. มี เทคนิควิธีหลากหลายในการสร้างภาคีเครือข่าย สร้างความสัมพันธ์กับเครือข่าย และเครือข่ายให้ความ รว่ มมอื ในการส่งเสรมิ การจัดการเรียนรูใ้ หก้ บั ประชาชน กศน.อาเภอดอนสัก ไดด้ าเนนิ การประชุมวางแผนการทางานรว่ มกับคณะกรรมการสถานศกึ ษา ภาคี เครือข่ายของสถานศึกษาอยา่ งต่อเน่ือง มีการส่งเสรมิ และให้ความร่วมมือในทุกกิจกรรม ท้ังในชุมชนท้องถ่ิน ภาครัฐและภาคเอกชน โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็ง เพ่ือสานสัมพันธ์อันดีระหว่างภาคีเครือข่ายและ สถานศึกษา ได้จัดขึ้นเพ่ือเสริมสร้างและปลูกฝั่งการมีจิตอาสาให้กับบุคลากรและนักศึกษาให้มีความ รับผิดชอบต่อชมุ ชนรว่ มกนั มจี ติ สาธารณะและการทากจิ กรรมรว่ มกิจกรรมกบั ภาคเี ครอื ข่าย วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื สง่ เสรมิ ให้เปน็ ผมู้ จี ติ อาสาชว่ ยเหลือและแบ่งปัน 2. เพื่อสง่ เสรมิ การร่วมกจิ กรรมกบั ภาคเี ครอื ขา่ ย ขอบเขตของกจิ กรรม/โครงการ โครงการเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ เพอ่ื สานสมั พนั ธอ์ ันดรี ะหวา่ งภาคีเครอื ขา่ ยและสถานศึกษา มขี อบเขตการดาเนนิ การ ดงั น้ี 1. จานวนผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม/โครงการ 155 คน 2. สถานทดี่ าเนินการ พน้ื ที่อาเภอดอนสัก จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี 3. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ นายบงกช สนธเิ มอื ง
2 เปา้ หมาย เชิงปริมาณ : บุคลากร และนักศกึ ษา กศน.อาเภอดอนสัก จานวน 120 คน เชงิ คุณภาพ : บคุ ลากร และนกั ศกึ ษา กศน.อาเภอดอนสัก มีความตระหนกั ถงึ การทางานรว่ มกบั ภาคี เครือขา่ ย มีส่วนรว่ มในกิจกรรมชุมชนมจี ติ อาสา และจิตสาธารณะ ดัชนชี ี้วัดความสาเรจ็ ของกิจกรรม/โครงการ ดชั นชี ้ีวัดผลผลติ -รอ้ ยละ 85 ของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการทมี่ คี วามพึงพอใจในระดับดขี ้นึ ไป -รอ้ ยละ 85 ของผเู้ ข้ารว่ มโครงการมีจติ อาสา จติ สาธารณะ ดชั นีชี้วัดผลลพั ธ์ บุคลากร และนกั ศึกษา และประชาชน ภาคีเครือข่าย กศน.อาเภอดอนสัก มีจติ อาสา และมสี ่วนร่วม ในการทากจิ กรรมรว่ มกันของสถานศกึ ษาและหนว่ ยงานภาคีเครอื ขา่ ย ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ บคุ ลากร และนักศกึ ษา กศน.อาเภอดอนสัก ที่เข้าร่วมโครงการมีจิตอาสาจิตสาธารณะ ร้จู ักแบ่งปัน ช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ทางานรว่ มกับชุมชนและหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ได้อยา่ งมีความสุข
3 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และเอกสารท่เี กย่ี วขอ้ ง แนวคดิ ทฤษฎีท่ใี ช้ในการดาเนินงาน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอดอนสักได้นาเอาแนวคิดของ ชุลีภรณ์ ฉิมเจริญ (2544 : 11) กล่าวถึง การมีส่วนร่วมว่าเป็นกระบวนการที่รัฐบาลทาการส่งเสริม ชักนา สนับสนุน และสร้างโอกาสให้ประชาชนในชุมชนทั้งในรูปส่วนบุคคล กลุ่มคน ชมรม สมาคม มูลนิธิและองค์การ อาสาสมัครรูปแบบต่างๆให้เข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินงานเรื่องใดเร่ืองหนึ่งหรือ หลายเรื่องรวมกันเพ่ือให้ บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงคแ์ ละนโยบายการพฒั นาทก่ี าหนดไว้ โดยมีส่วนรว่ มใน ลกั ษณะต่อไปนี้ 1. ร่วมศึกษาค้นคว้าปัญหาและสาเหตุของปัญหาทเ่ี กิดข้ึนในชุมชน รวมตลอดจน ความต้องการของ ชมุ ชน 2. รว่ มคิดหาและสรา้ งรปู แบบและวธิ กี ารพัฒนาเพือ่ แก้ไขและลดปญั หาของชุมชน หรอื สร้างสรรคส์ ่งิ ใหม่ ๆ ทเ่ี ป็นประโยชน์ต่อชุมชน หรือความตอ้ งการของชุมชน 3. ร่วมวางนโยบายหรือวางแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม เพื่อขจัดและแก้ไข ปัญหาและ สนองความตอ้ งการของชมุ ชน 4. รว่ มตดั สนิ ใจในการใช้ทรัพยากรที่มีอย่างจากดั ใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ ่อส่วนรวม 5. รว่ มจดั หาปรับปรงุ ระบบการบรหิ ารงานพฒั นาใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล 6. รว่ มการลงทนุ ในกิจกรรมโครงการของชมุ ชนตามขดี ความสามารถของตนเองและ หน่วยงาน 7. ร่วมปฏิบตั ติ ามนโยบายแผนงาน โครงการและกจิ กรรมให้บรรลเุ ปา้ หมายตามที่วางไว้ 8. รว่ มควบคมุ ตดิ ตามประเมินผลและร่วมบารุงรกั ษาโครงการและกิจกรรมที่ได้ทาไว้ ทั้งโดยเอกชน และรัฐบาลให้ใช้ประโยชนไ์ ด้ตลอดไป อกี ท้ัง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยได้นาเอา หลักทฤษฎี PDCA ของเดมมงิ่ มาใชใ้ นการดาเนนิ การจดั กิจกรรมการศึกษาตอ่ เนื่องทกุ กจิ กรรม ซ่งึ ประกอบด้วยกระบวนการ 4 ข้ันตอน ได้แก่ 1. การวางแผน (Plan) การปฏิบัติ (DO) 3. การตรวจสอบ (Check) 4. การปรับปรุง แก้ไข (Action)
4 เอกสารความรู้ทเ่ี กี่ยวขอ้ งดงั นี้ การพฒั นาระบบภาคเี ครอื ขา่ ยสถานศึกษา ภาคเี ครือขา่ ย หมายถงึ กล่มุ บุคคล องค์กรทม่ี เี ป้าหมายรว่ มกัน มารวมตวั กันดว้ ยความสมคั รใจ เพอ่ื ทา กิจกรรมให้บรรลุเป้าหมาย การพัฒนาระบบภาคเี ครอื ขา่ ย ภาคเี ครอื ขา่ ย หมายถงึ กลุม่ บคุ คล องคก์ รทมี่ ีเป้าหมายรว่ มกนั มารวมตวั กนั ด้วยความสมคั รใจ เพอื่ ทา กจิ กรรมให้บรรลเุ ป้าหมาย (ร่วมคดิ / วางแผน รว่ มทา ร่วมประเมนิ ผล) โดยมคี วามสมั พนั ธ์แนวราบ มคี วาม เสมอภาค และเรยี นรู้ร่วมกนั อย่างตอ่ เนื่อง สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ตระหนกั ถึง ความสาคัญของการจดั การศึกษา โดยเนน้ การพัฒนาและยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา รวมทง้ั ส่งเสรมิ สนบั สนุนใหม้ ีเวทแี ลกเปล่ยี นเรียนรรู้ ะดับตา่ งๆ ตามแนวคดิ พื้นฐานการพฒั นาแบบเครือขา่ ยมีสว่ นร่วมจงึ ได้ มีนโยบายจดั ตั้งกลุ่มเครอื ข่ายซึ่งประกอบด้วย 1. กล่มุ เครอื ข่ายสง่ เสริมประสิทธิภาพ การจดั การศกึ ษาปฐมวยั 2. กล่มุ เครอื ขา่ ยสง่ เสริมประสิทธิภาพ การประถมศกึ ษาและศูนย์พฒั นากลุ่มสาระการเรยี นรู้ 3. กลมุ่ เครอื ขา่ ยส่งเสรมิ ประสทิ ธิภาพ การมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และศนู ยพ์ ัฒนากล่มุ สาระการเรียนรู้ 4. กลุ่มเครือขา่ ยสง่ เสรมิ ประสทิ ธิภาพ การมธั ยมศึกษาตอนปลายและศูนย์พฒั นากลุ่มสาระการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั ความเข้มแข็งของภาคเี ครอื ขา่ ย - มเี ป้าหมายร่วมกันชดั เจน - มีระบบบรหิ ารจดั การทดี่ ี - มกี ิจกรรมรว่ มกนั อยา่ งต่อเน่ือง - มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนร้รู ว่ มกัน - มีการไหลเวยี นข้อมลู ข่าวสารอย่างต่อเน่ือง - มีนวตั กรรมที่เกิดจากการทางานเครอื ขา่ ย - มกี ารสรุปบทเรยี นรว่ มกนั (เพ่ือจัดทาแผนปีตอ่ ไป) นอกจากนใี้ นการทางานรว่ มกันกับหนว่ ยงานหรอื องค์กรอ่ืนในลักษณะของเครือข่ายยอ่ มขนึ้ อยกู่ ับระดับของ ความรว่ มมือคือ 1. การประสานงาน (Coordination) หมายถึง วธิ ซี ง่ึ คนจานวนมาก มาร่วมกันทางานเพอ่ื ใหบ้ รรลุ วตั ถปุ ระสงค์ตามทไ่ี ดต้ กลงกนั ไว้ โดยกาหนดกจิ กรรมตา่ งๆ ออกเป็นหมวดหมู่ เพ่ือมอบหมายให้ผ้รู ับผดิ ชอบ ปฏิบัติด้วยความสามคั คี สมานฉันท์ และมปี ระสิทธภิ าพท่สี ุด หรอื อาจกลา่ วไดว้ า่ การ ประสานงาน หมายถึง การจดั ระเบยี บวิธกี ารทางาน เพ่อื ใหเ้ จา้ หนา้ ทฝ่ี า่ ยตา่ งๆ รว่ มมือปฏบิ ัติงานเป็น นา้
5 หน่ึงใจเดยี วกนั เพ่ือให้งานหรือกิจกรรมดาเนนิ ไปอย่างราบรน่ื สอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์ และนโยบายของ องค์กรนัน้ อยา่ งสมานฉนั ทแ์ ละ 2. ความร่วมมอื (Cooperatoin) หมายถึง ความเต็มใจของแตล่ ะคนในการช่วยเหลือซ่งึ กันและกัน เพอ่ื ไปสู่ เปา้ หมายใดเป้าหมายหน่ึง ตามเป้าหมายขององค์การหรอื หน่วยงานความร่วมมือ จะเป็นการทีฝ่ า่ ยใดฝา่ ย หนึง่ เป็น “เจ้าของหรอื เจา้ ภาพ” งานหรอื กิจกรรมนนั้ ๆ แล้วขอใหฝ้ ่ายอน่ื เข้ามาร่วม มีลกั ษณะเกิดขน้ึ เปน็ ครง้ั ๆไป ไม่มงุ่ ความต่อเนอ่ื งและการแลกเปล่ยี นเรยี นรรู้ ะหวา่ งผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรม แต่มุ่งจะให้กจิ กรรมนน้ั ๆ แล้วเสรจ็ ตามความตอ้ งการของฝ่ายเจา้ ของงาน ความรว่ มมอื เป็นการช่วยเหลอื ดว้ ยความสมคั รใจ แม้จะไมม่ ี หนา้ ที่โดยตรง อาจจะทาเรอ่ื งเดียวกันในเวลาเดยี วกนั หรือตา่ งเวลากไ็ ด้ แม้กระทง่ั อาจให้ความรว่ มมอื ทาบาง เรื่องบางเวลา 3. การทางานรว่ มกนั (Collaboration) หมายถงึ การที่บุคคล ตง้ั แต่ 2 คนขึ้นไป หรือองคก์ รตัง้ แต่ 2 องค์กร ขึ้นไป มาทางานร่วมกนั มีการชว่ ยเหลือซึง่ กนั และกันในกลมุ่ และรับร้วู า่ ตนเป็นสว่ นหนง่ึ ของกลมุ่ ตาม โครงสรา้ งท่ีมอี ย่ใู นองค์กร รวมทั้งเขา้ ใจวตั ถปุ ระสงคข์ องการทางานรว่ มกนั เพอ่ื ใหบ้ รรลุจดุ มุ่งหมายเดยี วกนั อย่างมีประสทิ ธิภาพ และผู้ปฏิบตั ิงาน ต่างก็เกิดความพอใจในการทางานน้ัน 4. การมสี ว่ นรว่ ม (Participation) หมายถึง การทส่ี มาชิก ทุกคนของหนว่ ยงานหรือองคก์ ร รว่ มกนั ดาเนินการอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ โดยมีลักษณะของกระบวนการ (Process) มีขน้ั ตอนท่ีม่งุ หมายจะให้เกิดการ เรยี นรู้(Learning) อยา่ งต่อเน่ือง มีพลวตั (Dynamic) กล่าวคอื มีการเคลอ่ื นไหวเปลยี่ นแปลงอยา่ งต่อเนือ่ ง สม่าเสมอ มกี ารแก้ปญั หา การรว่ มกันกาหนดแผนงานใหมๆ่ เพอื่ สรา้ งความยงั่ ยนื ในความสัมพันธข์ องทุกฝา่ ย ท่เี ข้ารว่ มดาเนนิ การ การมีส่วนรว่ มก่อใหเ้ กดิ ผลดีต่อการขับเคลอื่ นองค์กรหรือเครือข่าย ผทู้ ่ีเขา้ มามสี ่วนรว่ ม ยอ่ มเกดิ ความภาคภมู ิใจทีไ่ ด้เปน็ ส่วนหนึ่งของการบริหาร และทสี่ าคัญผูท้ มี่ สี ่วนร่วมจะมีความรสู้ ึกเป็น เจา้ ของเครือขา่ ย ความรสู้ ึกเป็นเจา้ ของจะเปน็ พลังในการขับเคล่ือนเครอื ข่ายท่ดี ที ส่ี ดุ
6 บทท่ี 3 กระบวนการ และวิธกี ารดาเนินงาน โครงการเสริมสรา้ งความเขม้ แข็ง เพ่อื สานสัมพันธ์อนั ดีระหว่างภาคเี ครือข่ายและสถานศกึ ษา นาเอา หลักทฤษฎี PDCA ของเดมม่ิง มาใช้ในการดาเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องทุกกิจกรรม ซ่ึง ประกอบด้วยกระบวนการ 4 ขนั้ ตอน ได้แก่ 1.การวางแผน (Plan) -ประชมุ วางแผนมอบหมายงานกิจกรรม/โครงการ ตามแผนกจิ กรรมฯ -ประชาสมั พันธก์ ารจดั กจิ กรรม -ตดิ ต่อประสานงานภาคีเครือขา่ ย (วทิ ยากร / สถานท่ี / ทรัพยากร ฯลฯ) 2.การปฏิบัติ (DO) -สารวจความต้องการ -ขออนุญาตจดั กจิ กรรมตามแบบสารวจ -ทาหนงั สือเชิญวทิ ยากร -ทาคาส่งั แตง่ แตว่ ทิ ยากรดาเนนิ โครงการ -ดาเนนิ การตามแผน -รายงานผลการดาเนนิ กจิ กรรม/โครงการ 3. การตรวจสอบ (Check) -ประเมนิ ผลการจัดกิจกรรม / โครงการ 4. การปรบั ปรุง แก้ไข (Action) -นาจุดบกพร้องปัญหาที่ได้รบั จากการจัดกจิ กรรม/โครงการ ไปหาสาเหตุ และปรบั ปรุงแก้ไข ในการจดั กิจกรรมครงั้ ตอ่ ไปโดยดจู ากการสงั เกต และ แบบประเมินสอบถามความพึงพอใจของผรู้ ับบรกิ าร
7 โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็ง เพื่อสานสัมพันธ์อันดีระหว่างภาคีเครือข่ายและสถานศึกษา มี วิธีการดาเนนิ งาน ดงั นี้ 1. ระยะเวลาดาเนนิ งาน โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็ง เพ่ือสานสัมพันธ์อันดีระหว่างภาคีเครือข่ายและสถานศึกษา มี ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน ระหว่าง 1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 เมษายน 2566 โดยดาเนินการจดั ในพ้นื ที่ อาเภอดอนสกั จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี 2. แผนการปฏิบัตงิ าน โครงการเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ เพอ่ื สานสัมพันธอ์ ันดรี ะหวา่ งภาคีเครือขา่ ยและสถานศกึ ษา มี แผนการปฏบิ ัติงานทกี่ าหนดไว้ ดงั นี้ ท่ี กจิ กรรม ผลการดาเนนิ งาน 1. ประชมุ วางแผนการจัดกจิ กรรม -บคุ ลากรทกุ คนมีส่วนรว่ มในการวางแผนกาหนด แนวทางรูปแบบและวิธีการดาเนินการจดั กจิ กรรม รว่ มกัน 2. เสนอโครงการเพื่อขออนมุ ตั ิ/ -ผูบ้ ริหารอนุมตั ใิ ห้ดาเนนิ การจดั กิจกรรม ประชาสมั พนั ธก์ จิ กรรม -บคุ ลากรและนกั ศกึ ษาในพื้นที่ไดร้ ับทราบข้อมูล ข่าวสารเก่ยี วกบั การจดั กจิ กรรมการศกึ ษาของ กศน. เพ่อื ใชป้ ระกอบการตัดสนิ ใจเข้ารว่ มกิจกรรมโครงการ 3. โครงการเสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ เพอ่ื สาน -ไดก้ าหนดแผนงาน / เนื้อหาสาระ /ประสานภาคี สมั พันธ์อันดรี ะหวา่ งภาคเี ครอื ข่ายและ เครอื ขา่ ย สถานศกึ ษา 4. ดาเนนิ การจดั กิจกรรม -การจดั กจิ กรรมเป็นไปตามแผนและวัตถปุ ระสงคข์ อง โครงการทีก่ าหนดไว้ 5. นิเทศ กากบั ตดิ ตาม และประเมินผล -ติดตาม ทราบผลการดาเนินงาน ปรับปรงุ พัฒนา งาน 6. รายงานสรปุ ผล -ตดิ ตามผลการจัดกจิ กรรมตามโครงการ -รายงานผลต่อผ้บู งั คับบัญชาตามลาดบั ขน้ั -รายงานเผยแพรใ่ หส้ าธารณชนรบั ทราบ -รายงานสรุปผล จานวน 1 เลม่
8 3. วิธดี าเนินงาน โครงการเสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ เพ่อื สานสัมพันธอ์ นั ดีระหว่างภาคีเครือข่ายและสถานศกึ ษา มี วิธีการดาเนินงานปฏบิ ตั ิ ดังน้ี กจิ กรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลุ่ม เป้าหมาย พื้นทด่ี าเนนิ การ ระยะเวลา งบ เปา้ หมาย ประมาณ จัดกิจกรรมตาม 1. เพ่อื ส่งเสริม บุคลากร 120 คน กศน.อาเภอ 1 พ.ย. 65 - โครงการ ให้เป็นผ้มู ีจิต นกั ศึกษา ดอนสัก – เสรมิ สร้างความ อาสาชว่ ยเหลอื กศน.อาเภอ 30 เม.ย.66 เขม้ แข็ง เพอื่ สาน และแบ่งปัน ดอนสัก สมั พนั ธ์อันดี 2. เพือ่ ส่งเสรมิ ระหว่างภาคี การรว่ มกจิ กรรม เครอื ขา่ ยและ กับภาคี สถานศึกษา เครอื ขา่ ย - กจิ กรรมเราทา ความดดี ้วยหัวใจ - กิจกรรม โรงเรยี นสรา้ งสขุ -กิจกรรมรณรงค์ ส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตย - กิจกรรมจิต อาสาพัฒนา ชุมชน 4. งบประมาณ - 5. เครอื่ งมือและขนั้ ตอนในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการดาเนนิ งานหรอื เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเพอ่ื การประเมินผลการจดั กิจกรรมครัง้ นี้ ไดแ้ ก่ 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับการประเมินความพงึ พอใจ 2) แบบประเมนิ ผลการตดิ ตามผเู้ รียน
9 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 1) ผู้รับผิดชอบโครงการ แจกแบบสอบถามความคิดเห็นให้ผู้เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็ง เพ่ือ สานสัมพันธอ์ ันดรี ะหวา่ งภาคเี ครอื ข่ายและสถานศกึ ษา ผูร้ บั ผิดชอบกิจกรรม/โครงการตดิ ตามผู้เรยี นหลัง จบโครงการ 1 เดือน ตามโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็ง เพ่ือสานสัมพันธ์อันดีระหว่างภาคีเครือข่าย และสถานศึกษา
10 บทที่ 4 ผลการดาเนินการและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผลจากการจดั กิจกรรมตาม โครงการเสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็ง เพื่อสานสมั พันธ์อันดีระหวา่ งภาคี เครอื ขา่ ยและสถานศกึ ษา สามารถสรปุ ผลตามขน้ั ตอนในการดาเนนิ งาน ดังนี้ 1. ขน้ั ตอนการร่วมกันวางแผน ขั้นตอนการร่วมกันวางแผน พบว่า การประชุมปรึกษาร่วมกันระหว่างผู้บริหาร / ข้าราชการ / ครู อาสาสมัคร ฯ / ครู กศน.ตาบล / ครูผ้สู อนคนพิการ / บรรณารักษ์ ลูกจ้างเหมาบริการ กศน.อาเภอดอนสัก และภาคีเครอื ข่าย ทกุ คนมีสว่ นรว่ มในการร่วมคดิ ร่วมทา รว่ มรับผิดชอบ และใหค้ วามรว่ มมอื มีสว่ นรว่ มใน การวางแผนกาหนดการจดั กิจกรรม สนับสนุนการจัดกิจกรรมโครงการเป็นอยา่ งดีย่งิ และนาเสนอผู้บริหาร เพ่ือพิจารณาอนุมัติให้ดาเนินการจัดกิจกรรมโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการได้ดาเนินการแต่งต้ัง คณะกรรมการดาเนินงานแต่ละงานแต่ละกิจกรรมโดยวิธีการหมุนเวี ยนกันรับผิดชอบให้ครบทุกงานทุก กิจกรรมเพ่ือเป็นการฝกึ ทักษะประสบการณ์การปฏบิ ัตงิ านให้ทุกคนได้มีโอกาสเรยี นรู้ ผู้รบั ผดิ ชอบดาเนินงาน โครงการสร้างความเข้าใจกับผู้เรียนหรือผู้เข้าร่วมโครงการ เพ่ือให้ทราบถึงวัตถุประสงค์และแนวทางในการ ดาเนินการ ติดต่อประสานงานภาคีเครือข่ายในการเตรียมความพร้อมการดาเนินงาน ท้ังด้านอาคารสถานที่ วิทยากรผู้เข้าความรู้ วัสดุอุปกรณ์เอกสารประกอบการจัดกิจกรรม กาหนดระยะเวลาการจัดกิจกรรมให้ เหมาะสมสอดคล้องกบั โครงการ และวธิ ีการประเมนิ ผลตามลาดบั 2. ขั้นตอนการร่วมกันปฏบิ ัติ การปฏิบัตงิ านตามแผนงานท่ีวางไวโ้ ดยมีขน้ั ตอนในการดาเนนิ งาน คอื การบนั ทึกเสนอผู้บริหารเพื่อ ขออนุญาตดาเนินการ พบว่า ได้รับการอนุญาตและให้ดาเนินการ ผลการดาเนินการตามโครงการเสริมสร้าง ความเข้มแข็ง เพื่อสานสัมพันธ์อันดีระหว่างภาคีเครือข่ายและสถานศกึ ษา โดยมีกลุ่มเป้าหมายบุคลากร และ นักศึกษา กศน.อาเภอดอนสัก พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมด้วยดี จน บรรลุตามวตั ถุประสงค์ท่ีวางไว้ 3. ข้ันตอนการรว่ มกนั ประเมิน การประเมินผลการจัดกิจกรรมตามโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็ง เพื่อสานสัมพันธ์อันดีระหว่าง ภาคีเครือข่ายและสถานศึกษา โดยมีผู้ร่วมกันประเมินผลการดาเนินการจัดกิจกรรม ได้แก่ ผู้เรียน วิทยากร ผู้รับผิดชอบโครงการ บุคลากร กศน.อาเภอดอนสักผู้มีส่วนร่วมในการเป็นคณะกรรมการดาเนินงาน ผู้รบั ผิดชอบงานนเิ ทศ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา และภาคเี ครอื ขา่ ย ซง่ึ มขี ้นั ตอนการประเมิน ดังนี้ 3.1 ข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มเปา้ หมายทใี่ ช้ในการประเมิน ดงั น้ี ตารางท่ี 1 แสดงจานวนผเู้ ข้ารว่ มโครงการแตง่ กายดี มีวินัย อนรุ กั ษผ์ า้ ไทยภายในองค์กร โดยจาแนกตามเพศ จานวน 155 คน ดังน้ี เพศ จานวน รอ้ ยละ ชาย 65 41.94 หญงิ 90 58.06 รวม 155 100
11 จากตารางท่ี 1 แสดงจานวนผู้เขา้ ร่วมโครงการเสริมสร้างความเข้มแขง็ เพื่อสานสมั พนั ธ์อนั ดีระหวา่ ง ภาคีเครือข่ายและสถานศึกษา มีจานวนผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 155 คน โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการมากท่ีสุด เพศหญิง จานวน 90 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 58.06 เพศชาย จานวน 65 คน คิดเปน็ ร้อยละ 41.94 ตารางที่ 2 แสดงจานวนผ้เู ขา้ รว่ มโครงการเสรมิ สร้างความเขม้ แข็ง เพ่อื สานสมั พนั ธอ์ ันดรี ะหวา่ งภาคี เครอื ข่ายและสถานศกึ ษา โดยจาแนกตามกลมุ่ อายุ จานวน 155 คน ดงั น้ี กลุ่มอายุ จานวน ร้อยละ 15-39 ปี 120 77.42 40-59 ปี 35 22.58 60 ปขี ึน้ ไป - - รวม 155 100 จากตารางท่ี 2 แสดงจานวนผเู้ ขา้ ร่วมโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็ง เพอ่ื สานสัมพนั ธ์อนั ดีระหว่าง ภาคีเครือข่ายและสถานศึกษา มีจานวนผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 155 คน โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการมากท่ีสุด กลุ่มอายุ 15-39 จานวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 77.42 และรองลงมากลุ่มอายุ 40-59 จานวน 35 คน คิด เปน็ ร้อยละ 22.58 เข้ารว่ มโครงการคร้ังนี้ ตารางที่ 3 แสดงจานวนผ้เู ข้าร่วมโครงการเสริมสรา้ งความเข้มแข็ง เพอ่ื สานสัมพนั ธ์อันดรี ะหวา่ งภาคี เครือข่ายและสถานศึกษา โดยจาแนกตามกลมุ่ อาชีพ จานวน 155 คน ดงั นี้ กลุ่มอาชพี จานวน รอ้ ยละ เกษตรกร 12 7.74 รับจ้าง 28 18.06 ค้าขาย / ธุรกจิ ส่วนตวั 13 8.38 ว่างงาน 92 59.35 อ่นื ๆ 10 6.45 รวม 155 100 จากตารางท่ี 3 แสดงจานวนผูเ้ ข้ารว่ มโครงการเสรมิ สร้างความเข้มแขง็ เพื่อสานสมั พันธ์อนั ดีระหว่าง ภาคีเครือข่ายและสถานศึกษา มีจานวนผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 155 คน โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการมากที่สุด กลุ่มอาชีพ ว่างงาน จานวน 92 คน คิดเป็นร้อยละ 59.35 รองลงมากลุ่มอาชีพ รับจ้าง จานวน 28 คน คิด เป็นร้อยละ 18.06 รองลงมากลุ่มอาชพี ค้าขาย/ธุรกิจสว่ นตัว จานวน 13 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 8.38 รองลงมา กลุ่มอาชีพ เกษตรกร จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 7.74 และกลุ่มอาชีพ อื่นๆ จานวน 10 คน คิดเป็นร้อย ละ 6.45 เขา้ รว่ มโครงการครงั้ นี้
12 ตารางที่ 4 แสดงจานวนผู้เข้าร่วมโครงการเสริมสรา้ งความเข้มแข็ง เพอ่ื สานสัมพนั ธ์อนั ดรี ะหวา่ งภาคี เครือข่ายและสถานศึกษา โดยจาแนกตามระดบั ความรู้ จานวน 155 คน ดังน้ี ระดบั ความรู้ จานวน ร้อยละ ไมจ่ บประถมศกึ ษา - - ประถมศึกษา 26 16.77 มัธยมศึกษาตอนต้น 67 43.22 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 51 32.90 อนุปรญิ ญา - - ปริญญาตรี 9 5.80 อื่นๆ 2 1.29 รวม 155 100 จากตารางที่ 4 แสดงจานวนผู้เข้ารว่ มโครงการเสริมสร้างความเข้มแขง็ เพ่อื สานสัมพันธ์อันดีระหว่าง ภาคีเครือข่ายและสถานศึกษา มีจานวนผู้เข้าร่วมโครงการทั้งส้ิน 155 คน โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการมากที่สุด ระดับการศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 43.22 รองลงมาระดับมัธยมศึกษาตอน ปลาย จานวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 32.90 รองลงมาระดับประถมศึกษา จานวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 รองลงมาระดบั การศึกษาปริญญาตรี จานวน 9 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 5.80 และนอ้ ยทส่ี ุดระดบั การศกึ ษา อืน่ ๆ 2 คน คิดเป็นร้อยละ 1.29 เขา้ รว่ มโครงการครั้งนี้ 3.2 เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ ผลการดาเนินงาน จานวน 2 แบบ ดังน้ี 1) แบบสอบถามเกย่ี วกับการประเมินความพงึ พอใจ 2) แบบประเมนิ ผลการตดิ ตามผู้เรยี น 1) แบบสอบถามเก่ียวกับการประเมินความพึงพอใจ มีวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยผู้รับผิดชอบ โครงการแจกแบบสอบถามความพึงพอใจให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการหลังเสร็จส้ินการดาเนินการจัดกิจกรรม โครงการจากการประเมินความพึงพอใจของผูเ้ ขา้ ร่วมตามโครงการ พบว่า การวเิ คราะห์ข้อมลู จากการหาค่า ร้อยละของแบบสอบถาม โดยแบง่ ออกเปน็ 5 ระดับ และหาคา่ ร้อยละ โดยแปลความหมาย ดังต่อไปนี้ ต่ากว่ารอ้ ยละ 50 มคี วามพงึ พอใจในระดบั ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ร้อยละ 50-69 มคี วามพงึ พอใจในระดับ ตอ้ งปรบั ปรุง ร้อยละ 70-79 มคี วามพงึ พอใจในระดบั พอใช้ รอ้ ยละ 80-89 มีความพงึ พอใจในระดับ ดี ร้อยละ 90-100 มีความพงึ พอใจในระดับ ดมี าก
13 ตารางที่ 5 แสดงการวเิ คราะห์ผลข้อมูลจากการประเมนิ ความพงึ พอใจของผ้เู ขา้ รว่ มตามโครงการ
14 จากตารางที่ 5 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจจากการตอบแบบสอบถาม โครงการเสริมสร้าง ความเข้มแข็ง เพ่ือสานสัมพันธ์อันดีระหว่างภาคีเครือข่ายและสถานศึกษา จากจานวนผู้ตอบแบบสอบถาม ทง้ั สนิ้ ....155.......คน จากแบบสอบถามทดี่ ี จากจานวนผตู้ อบแบบสอบถาม จานวน.....155.......คน -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเกี่ยวกับ ความเหมาะสมของงบประมาณ อยู่ในเกณฑ์ ระดับ.....มากทส่ี ดุ .....จานวน..125....คน คดิ เป็นร้อยละ 80.64 รองลงมา อย่ใู นเกณฑ์ ระดับ...มาก...จานวน ..29.....คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 18.70, รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...ปานกลาง...จานวน..1....คน คดิ เป็นร้อยละ 0.64 และ ต่าสุด อยู่ในเกณฑ์ระดับ..น้อย,น้อยท่ีสุด จานวน...0...คน คิดเป็นร้อยละ ....0.00..... คิดเป็น ค่า (���̅���) 4.80 คา่ SD 0.42 อย่ใู นระดับความพงึ พอใจ มากท่ีสดุ -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเกี่ยวกับ ความเหมาะสมของโครงการกับสภาพการ ดาเนินการจริง อย่ใู นเกณฑ์ ระดบั .....มากทีส่ ุด.....จานวน..103....คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 66.45 รองลงมา อยใู่ น เกณฑ์ ระดับ.ปานกลาง...จานวน....27.....คน คิดเป็นร้อยละ 17041, รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...มาก... จานวน..25....คน คิดเป็นร้อยละ 16.12 และ ตา่ สุด อยใู่ นเกณฑร์ ะดับ..... น้อย,น้อยท่ีสดุ ......จานวน...0...คน คดิ เป็นร้อยละ ...0.00.. คดิ เปน็ ค่า (���̅���) 4.49 ค่า SD 0.77 อยู่ในระดับความพึงพอใจ มาก -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเกี่ยวกับ ความร่วมมือของบุคลากร ผู้เก่ียวข้องในการ ปฏิบตั ิงาน/โครงการ อย่ใู นเกณฑ์ระดบั .....มากทส่ี ดุ .....จานวน..99....คน คิดเป็นรอ้ ยละ 63.84 รองลงมา อยู่ ในเกณฑ์ ระดับ...มาก...จานวน....49.....คน คิดเปน็ ร้อยละ 31.61, รองลงมา อย่ใู นเกณฑ์ ระดับ...ปานกลาง ...จานวน...7....คน คิดเป็นร้อยละ 4.51 และ ต่าสุด อยู่ในเกณฑ์ระดับ.....น้อย,น้อยที่สุด......จานวน...0...คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ...0.00.. คิดเป็น ค่า (���̅���) 4.59 ค่า SD 0.58 อยูใ่ นระดบั ความพึงพอใจ มากทสี่ ดุ -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเกี่ยวกับ ปริมาณวัสดุอุปกรณ์เพียงพอสาหรับการ ดาเนินงาน/โครงการ อยู่ในเกณฑ์ระดับ.....มากที่สุด.....จานวน..112....คน คิดเป็นร้อยละ 72.25 รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...มาก...จานวน....41.....คน คิดเป็นร้อยละ 26.45 , อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...ปานกลาง... จานวน....2....คน คิดเป็นร้อยละ 1.29 และ ต่าสุด อยู่ในเกณฑ์ระดับ.....น้อย,น้อยที่สุด......จานวน...0...คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ...0.00.. คดิ เป็น คา่ (���̅���) 4.17 ค่า SD 0.48 อยใู่ นระดับความพงึ พอใจ มากทสี่ ุด -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเก่ียวกับ ความเหมาะสมของสถานท่ีท่ีใช้ในการดาเนินงาน/ โครงการ อยู่ในเกณฑ์ ระดับ.....มากท่ีสุด.....จานวน....83......คน คิดเป็นร้อยละ 53.54 รองลงมา อยู่ใน เกณฑ์ ระดับ.....มาก...จานวน....55.....คน คิดเป็นร้อยละ 35.48, รองลงมา อยูใ่ นเกณฑ์ ระดับ...ปานกลาง... จานวน..17....คน คิดเป็นร้อยละ 10.96 และ ต่าสุด อยู่ในเกณฑ์ ระดับ..... น้อย,น้อยท่ีสุด จานวน...0...คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ....0.00..... คดิ เป็น คา่ (x̅) 4.43 คา่ SD 0.68 อยใู่ นระดับความพึงพอใจ มาก -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเก่ียวกับ โครงการมีการดาเนินงานตามขั้นตอนและ วิธกี ารดาเนนิ โครงการ อยใู่ นเกณฑ์ ระดับ.....มากทส่ี ุด.....จานวน..93....คน คิดเป็นร้อยละ 60.00 รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...มาก...จานวน....46.....คน คิดเป็นร้อยละ 29.67, รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...ปาน กลาง... จานวน...16....คน คิดเป็นร้อยละ 10.32 และ ตา่ สดุ อย่ใู นเกณฑร์ ะดับ....นอ้ ย,น้อยที่สุด จานวน...0... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ....0.00.....คิดเป็น ค่า (���̅���) 4.50 คา่ SD 0.68 อยใู่ นระดับความพงึ พอใจ มาก
15 -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเก่ียวกับ ความเหมาะสมของกิจกรรมและขั้นตอนวิธีการ ดาเนินโครงการ ระดับ.....มากที่สุด.....จานวน..93....คน คิดเป็นรอ้ ยละ 60.00 รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดบั ... มาก...จานวน...39...คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 25.61, รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดบั ...ปานกลาง... จานวน...23....คน คิดเป็นร้อยละ 14.83, และต่าสุด อยู่ในเกณฑ์ระดับ.... น้อย,น้อยที่สุด จานวน...0..คน คิดเป็นร้อยละ ....0.00..... คิดเปน็ ค่า (���̅���) 4.45 คา่ SD 0.74 อยใู่ นระดบั ความพงึ พอใจ มาก -มรี ะดับความพงึ พอใจ สงู สดุ ในหัวข้อเกย่ี วกบั ข้นั ตอนและวิธกี ารในการดาเนินโครงการสามารถ ส่งผลให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายเชิงคุณภาพ อยู่ใน เกณฑ์ ระดับ.....มากท่สี ุด.....จานวน..80....คน คิดเป็นร้อยละ 51.61 รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...มาก... จานวน....69....คน คิดเป็นร้อยละ 44.51, รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...ปานกลาง... จานวน...6....คน คิด เป็นร้อยละ 3.87 และ ต่าสุด อยใู่ นเกณฑร์ ะดับ.... น้อย,น้อยที่สุด จานวน...0...คน คิดเป็นร้อยละ ....0.00.... คดิ เป็น คา่ (���̅���) 4.48 คา่ SD 0.57 อยู่ในระดบั ความพงึ พอใจ มาก -มีระดับความพงึ พอใจ สูงสุด ในหัวข้อเก่ียวกับ ขัน้ ตอนและวธิ ีการดาเนินโครงการมีการส่งเสริม การมีส่วนร่วมระหว่างผู้รับผิดชอบ/ผู้เข้าร่วมโครงการ อยู่ในเกณฑ์ ระดับ.....มากท่ีสุด.....จานวน..107....คน คิดเป็นร้อยละ 69.03 รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...มาก... จานวน...47.....คน คิดเป็นร้อยละ 30.32, รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...ปานกลาง...จานวน..1....คน คิดเป็นร้อยละ 0.64 และ ต่าสุด อยู่ในเกณฑ์ ระดับ.... น้อย,น้อยทส่ี ุด จานวน...0...คน คดิ เป็นร้อยละ ....0.00.....คิดเป็น ค่า (���̅���) 4.68 ค่า SD 0.48 อยใู่ น ระดบั ความพงึ พอใจ มากท่ีสดุ -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเกี่ยวกับ ผลการดาเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ กาหนดไว้มากน้อยเพียงใด อยู่ในเกณฑ์ ระดับ.....มากท่ีสุด.....จานวน….119....คน คิดเป็นร้อยละ 76.77 รองลงมา อยใู่ นเกณฑ์ ระดับ...มาก...จานวน...28...คน คิดเป็นร้อยละ 18.06, รองลงมา อยใู่ นเกณฑ์ ระดับ ...ปานกลาง...จานวน..8...คน คิดเป็นร้อยละ 5.16 และต่าสุด อยู่ในเกณฑ์ระดับ.. น้อย,น้อยที่สุด จานวน ...0...คน คิดเป็นร้อยละ ....0.00%.....คิดเป็น ค่า (���̅���) 4.72 ค่า SD 0.55 อยู่ในระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเก่ียวกับ ผลการดาเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายเชิง คุณภาพทกี่ าหนดไวม้ ากน้อยเพยี งใด ในเกณฑร์ ะดบั .....มากที่สดุ .....จานวน..124....คน คิดเป็นร้อยละ 80.00 รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...มาก...จานวน...23.....คน คิดเป็นร้อยละ 14.83 , รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...ปานกลาง...จานวน..8....คน คดิ เป็นร้อยละ 5.61 และ ต่าสุด อยใู่ นเกณฑ์ระดับ... นอ้ ย,นอ้ ยท่ีสดุ ...... จานวน...0...คน คิดเป็นร้อยละ ...0.00.. คิดเป็น ค่า (���̅���) 4.75 ค่า SD 0.54 อยู่ในระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเกี่ยวกับ ผลการดาเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายเชิง ปริมาณท่ีกาหนดไว้มากน้อยเพียงใด อยู่ในเกณฑ์ ระดับ.....มากท่ีสุด.....จานวน..101....คน คิดเป็นร้อยละ 65.61 รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...มาก...จานวน....54.....คน คิดเป็นร้อยละ 34.83, และ ต่าสุด อยู่ใน เกณฑ์ระดับ.....ปานกลาง,น้อย,น้อยที่สุด......จานวน...0...คน คิดเป็นร้อยละ ...0.00.. คิดเป็น ค่า (���̅���) 4.63 ค่า SD 0.48 อยู่ในระดบั ความพึงพอใจ มากท่สี ดุ
16 จากการวดั ระดับการประเมินความพึงพอใจจานวนผเู้ ข้าร่วมโครงการจานวน 155 คน สรปุ โดยภาพรวม ไดว้ ่า สูงสดุ อยู่ในเกณฑ์ ระดบั มากท่ีสุด 2) แบบประเมินผลการติดตามผู้เรียน มีวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยผู้รับผิดชอบ โครงการ นิเทศ ติดตามผู้เรียนหลังเสร็จส้ินการดาเนินการจัดกิจกรรมโครงการมีระยะเวลาผ่านไป 1 เดือน ผลจากการนิเทศติดตามของผู้เข้าร่วมตามโครงการในการนาองค์ความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการไป ใช้ พบว่า การวิเคราะห์ข้อมูลจากการหาค่าร้อยละของแบบติดตามการนาองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ โดยแบง่ ออกเป็น 5 ระดับ และหาคา่ ร้อยละ ดงั ตอ่ ไปน้ี ตารางที่ 6 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการนิเทศ ติดตามการนาองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ของจานวน ผู้เขา้ รว่ มโครงการ ดังนี้ ขอ้ รายการ ระดบั คุณภาพ ท่ี จานวน รอ้ ยละ 1 นาไปพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ -- 2 นาไปใชใ้ นการพฒั นาสังคมและชมุ ชน 19 12.25 3 นาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั 107 69.03 4 นาความรูไ้ ปเผยแพร่หรอื สอนผอู้ ื่น 20 12.90 5 ไมไ่ ดน้ าความรู้ไปใช้ประโยชน์ 4 2.58 ภาพรวมการประเมนิ 155 100 จากตารางท่ี 7 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการมีการนาองค์ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วม โครงการ เสริมสร้างความเข้มแข็ง เพ่ือสานสัมพันธ์อันดีระหว่างภาคีเครือข่ายและสถานศึกษา จากจานวนผู้เข้าร่วม โครงการทั้งสิ้น 155 คน ผู้เข้ารับการอบรมได้นาองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ สูงสุด เพ่ือนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน จานวน 107 คน คิดเป็นร้อยละ 69.03 รองลงมานาความรู้ไปเผยแพร่หรือสอนผู้อื่น จานวน 20 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 12.09 รองลงมานาไปใช้ในการพัฒนาสงั คมและชมุ ชน จานวน 19 คน คิดเปน็ ร้อยละ 12.25 และต่าสุดไม่ได้นาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ จานวน 4 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 2.58 ในโครงการครั้งนี้ ยกตวั อยา่ งรายชอื่ ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการกรณีนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ท่ีเห็นเป็นประจกั ษห์ รอื สามารถ เปน็ แบบอย่างทีด่ ไี ดร้ ับการยอมรับยกยอ่ ง ได้แก่ 1) นางสาวรชั ฎา โสมเพ็ชร์ ผอ.กศน.อาเภอดอนสัก 2) นางสาวอรพมิ ล ดาเกลีย้ ง ครู กศน.ตาบลชลคราม 3) นางสาวยุพนิ ชุมเศยี ร ครผู ้สู อนคนพกิ าร 4) ณัฐพงษ์ ขาวสาย นักศกึ ษา กศน.ตาบลดอนสัก 5) นางสาวจันทรเ์ พญ็ เทพรักษา นกั ศกึ ษา กศน.ตาบลปากแพรก 6) นางสาววันวิสา วิชัยกุล นักศกึ ษา กศน.ตาบลดอนสัก 7) นางสาวพมิ พ์ชนก บวั ทอง นักศกึ ษา กศน.ตาบลชลคราม
17 4.ขั้นตอนการรว่ มปรบั ปรุง เม่ือคณะกรรมการฝ่ายการประเมินผลแล้ว จึงได้ทาสรุปผลการดาเนินงานปัญหา อุปสรรค และ ข้อเสนอแนะ กลุ่มงานผู้รับผิดชอบและได้นาสารสนเทศที่ได้นาเสนอต่อผู้บริหารและเผยแพร่ให้ผู้มีส่วน เกี่ยวข้องรบั ทราบและนาผลการดาเนินงานมาปรบั ปรุงพฒั นาการดาเนนิ งานให้มปี ระสทิ ธิภาพมากยิ่งขน้ึ
18 บทท่ี 5 สรุปผลการดาเนินงาน อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ผลการดาเนินงาน สภาพความสาเร็จ ผลการดาเนินงาน 1.ผลการดาเนินงานตามวัตถุประสงค์ บรรลุ ไมบ่ รรลุ ผู้เข้าร่วมโครงการ ท่ี วตั ถุประสงค์ เสริมสร้างความ เข้มแข็ง เพอื่ สาน 1. เพอื่ สง่ เสริมขนบธรรมเนียม สัมพนั ธอ์ ันดรี ะหวา่ ง ประเพณีทดี่ งี าม และ/หรือนาภมู ิ ภาคเี ครอื ขา่ ยและ ปัญญาทอ้ งถน่ิ มาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ สถานศึกษา ผเู้ ข้ารว่ มโครงการได้ 2. เพ่ือเสริมสร้างความมีวินัยเรื่อง การ ปฏิบตั ิตนตาม รกั ษาเวลาให้แก่บุคลากรในสังกัด ใน กฎระเบียบ การเข้าประชุมหรือการปฏบิ ตั งิ าน สภาพความสาเร็จ 2.สรปุ ผลการดาเนนิ งานตามเปา้ หมาย บรรลุ ไมบ่ รรลุ ผลการดาเนนิ งาน เปา้ หมาย ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการ เกนิ แผนทวี่ างไว้ เชงิ ปริมาณ บุคลากร และนักศึกษา กศน. อาเภอดอนสัก จานวน 155 คน เชงิ คุณภาพ บุคลากร และนกั ศกึ ษา กศน. ผู้เขา้ ร่วมโครงการมี อาเภอดอนสัก มีความ ความตระหนกั ในการ ตวั ชวี้ ดั ตระหนักถึงการทางานรว่ มกบั สบื สานการแต่งกาย ผลสาเรจ็ ภาคเี ครือขา่ ย มสี ว่ นรว่ มใน ดว้ ยผ้าพนื้ เมอื งและ กจิ กรรมชมุ ชนมจี ติ อาสา และ มรี ะเบบี ยวินัยในการ จติ สาธารณะ ปฏิบตั งิ าน รอ้ ยละ 85 ของผเู้ ขา้ ร่วม ร้อยละ 85 ของ โครงการปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บ ผู้เข้าร่วมโครงการ วนิ ยั และรว่ มกันสง่ เสรมิ การ ปฏิบตั ิตามระเบียบ สวมใสผ่ า้ ไทย ผา้ พนื้ เมอื ง วินยั และร่วมกัน สง่ เสริมการสวมใส่ ผ้าไทย ผา้ พ้นื เมอื ง
19 สรปุ ผลการดาเนินโครงการ กศน.อาเภอดอนสกั ได้ดาเนนิ การจดั กจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามแผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ 2566 ภายใต้โครงการแต่งกายดี มีวินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร โดยดาเนินการแล้วเสร็จและสรุปรายงานผล ต่อผบู้ งั คับบัญชาทั้งสนิ้ โดยมวี ตั ถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสรมิ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณีทีด่ งี าม และ/หรอื นาภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ มาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ 2. เพื่อเสริมสร้างความมีวนิ ัยเร่ือง การรักษาเวลาใหแ้ ก่บุคลากรในสังกัด ในการเข้าประชุมหรือการ ปฏบิ ตั งิ าน สรุปโดยภาพรวม พบว่า การจัดกิจกรรมทุกกิจกรรมที่จัดขึ้นภายใต้โครงการแต่งกายดี มีวินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักในการสืบสานการแต่งกายด้วยผ้าพ้ืนเมือง และมีระเบีบยวินัยในการปฏิบัติงานเป็นอย่างดีย่ิง สาเร็จลุล่วงด้วยดีตามวัตถุประสงค์ของโครงการ จากการ สอบถามความคิดเห็นของบุคลากร และนักศึกษา กศน.อาเภอดอนสัก ผู้เข้าร่วมโครงการ และผู้มีส่วน เก่ียวข้องในแต่ละกิจกรรมเป็นว่า ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นต่อการจัดกิจกรรมโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับ มากที่สุด และ มาก รองลงมา จุดเดน่ / ปัญหา อุปสรรคของโครงการ *จดุ เด่นของโครงการ โครงการแต่งกายดี มีวินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร เป็นการส่งเสริมขนบธรรมเนียม ประเพณี ท่ีดีงาม และ/หรือนาภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ มาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ อกี ทัง้ เสรมิ สร้างความมีวินัยเรื่อง การรกั ษาเวลา ให้แก่บุคลากรในสังกัด ในการเข้าประชุมหรือการปฏิบัติงาน และมีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักในการ สืบสานการแต่งกายด้วยผ้าพ้ืนเมืองและมีระเบีบยวินัยในการปฏิบัติงานเป็นอย่างดี และสามารถนาไปใช้ใน ชีวติ ประจาวันได้จรงิ *ปัญหา อปุ สรรคของโครงการ - ขอ้ เสนอแนะเพ่อื พัฒนาโครงการ - ความตอ้ งการในการพฒั นาตอ่ ยอด อยากให้มีการตอ่ ยอดกิจกรรมอกี
20 ภาคผนวก
21 ประมวลภาพการจัดกจิ กรรม
22 ประมวลภาพการจัดกจิ กรรม
23 โครงการสง่ เสรมิ องค์กรคุณธรรม สูก่ ารทาความดี ตามวถิ พี อเพียง กศน.อาเภอดอนสกั 1. ชื่อ โครงการเสริมสรา้ งความเขม้ แข็ง เพ่อื สานสัมพันธ์อนั ดรี ะหวา่ งภาคีเครือขา่ ยและสถานศกึ ษา 2. สอดคล้องกบั นโยบายและจดุ เนน้ สานักงาน กศน. 3. หลกั การและเหตผุ ล ภาคีเครือข่ายของหน่วยงาน กศน. เป็นเครือข่ายทางสังคมที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล องค์กร ท่ีเก่ยี วข้องกนั ในทุกระดับ มเี ป้าหมายในการทางานรว่ มกันคอื การสง่ เสริมการเรียนรู้ พัฒนาคณุ ภาพ ชีวิตให้กับประชาชน ซึ่งในปัจจุบันสังคมไทยมีการเปล่ียนแปลงไปมาก มีการเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การส่อื สาร การคมนาคม ประชาชนมวี ิถชี วี ติ ที่เป็นเปล่ียนแปลงไป ประชาชนสว่ นใหญย่ ังมีฐานะยากจน ไม่สามารถพ่ึงพาตนเองได้ มีหน้ีสิน ขาดโอกาส พลาดโอกาสทางการศึกษา ขาดทักษะชีวิตในการคิด วิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ อย่างมีเหตุผล การแก้ปัญหาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนจึงมีความ ซับซ้อน ยากต่อการแก้ไขหรือพัฒนาโดยหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง ในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชน จึงต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่ายร่วมเป็นภาคีเครือข่ายใน การทางาน กศน. ท้ังนี้ เพื่อต้องการให้เกิดการผลักดันกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันทางสังคม ปัจจุบัน หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. จะต้องมีการประสานความร่วมมือกันจัดการเรียนรู้กับภาคีเครือข่าย มา อย่างต่อเน่ือง การสร้างภาคีเครือข่ายในทุกระดับของหน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สะท้อนถึง ความสัมพันธ์และความร่วมมือในกระบวนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยร่วมกัน การร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ ร่วมประเมินผล ซึ่งในแต่ละหน่วยงานและสถานศึกษา กศน. มี เทคนิควิธีหลากหลายในการสร้างภาคีเครือข่าย สร้างความสัมพันธ์กับเครือข่าย และเครือข่ายให้ความ ร่วมมอื ในการส่งเสรมิ การจดั การเรยี นร้ใู หก้ ับประชาชน กศน.อาเภอดอนสกั ได้ดาเนินการประชุมวางแผนการทางานรว่ มกบั คณะกรรมการสถานศกึ ษา ภาคี เครือข่ายของสถานศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง มีการส่งเสริม และใหค้ วามร่วมมือในทุกกิจกรรม ท้ังในชุมชนทอ้ งถิ่น ภาครัฐและภาคเอกชน โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็ง เพื่อสานสัมพันธ์อันดีระหว่างภาคีเครือข่ายและ สถานศึกษา ได้จัดข้ึนเพ่ือเสริมสร้างและปลูกฝั่งการมีจิตอาสาให้กับบุคลากรและนักศึกษาให้มีความ รบั ผิดชอบต่อชมุ ชนร่วมกันมีจิตสาธารณะและการทากิจกรรมรว่ มกิจกรรมกบั ภาคเี ครือข่าย 4. วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื สง่ เสริมใหเ้ ป็นผูม้ ีจติ อาสาชว่ ยเหลือและแบ่งปัน 2. เพอ่ื ส่งเสริมการรว่ มกจิ กรรมกับภาคเี ครอื ขา่ ย
24 5. เป้าหมาย เชิงปรมิ าณ บุคลากร และนกั ศึกษา กศน.อาเภอดอนสัก จานวน 120 คน เชงิ คุณภาพ บุคลากร และนักศึกษา กศน.อาเภอดอนสัก มีความตระหนักถึงการทางานร่วมกับภาคี เครอื ข่าย มสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมชมุ ชนมจี ิตอาสา และจติ สาธารณะ กิจกรรม วัตถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย เป้าหมาย พ้นื ทดี่ าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ 1.ประชุมวางแผน เพอ่ื แลกเปล่ียน คณะครู และ 11 คน กศน.อาเภอดอนสัก ต.ค.2565 - ความคดิ บคุ ลากร ประสบการณ์และ กศน.อาเภอ กจิ กรรม ดอนสัก 2. เสนอโครงการ เพื่อขออนุมตั ิ -บคุ ลากร 4 โครงการ กศน.อาเภอดอนสกั ต.ค.2565 เพ่ือขออนมุ ัติ โครงการ กศน.อาเภอ ดอนสกั 3. จัดกิจกรรม เพอ่ื จัดกจิ กรรมให้ บคุ ลากร 120 คน กศน.อาเภอดอนสัก ต.ค.2565- - - กิจกรรมเราทา บรรลตุ าม นกั ศกึ ษา ก.ย. 2566 ความดดี ้วยหัวใจ วตั ถปุ ระสงค์ในการ กศน.อาเภอ - กจิ กรรม ดาเนนิ งาน ดอนสกั โรงเรียนสรา้ งสขุ -กิจกรรมรณรงค์ ส่งเสริม ประชาธปิ ไตย - กิจกรรมจติ อาสาพฒั นา ชมุ ชน 4.นิเทศตดิ ตามผล เพ่อื ประเมนิ ความพึง ผอ.กศน. 4 คน กศน.อาเภอดอนสกั ก.ย. 2566 พอใจในการทา ข้าราชการครู กิจกรรม ครูอาสาสมัคร 5.รายงานสรุปผล เพอ่ื ประเมนิ ผลการ ผู้รับผิดชอบ 1 เล่ม กศน.อาเภอดอนสกั ต.ค. 2566 การดาเนนิ งาน ดาเนนิ งาน โครงการ
25 7. งบประมาณ - 9. ผ้รู ับผิดชอบโครงการ งานภาคีเครือขา่ ย ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอดอนสกั 10. เครือขา่ ย 1. หมูบ่ า้ นในอาเภอดอนสกั 2. โรงเรียนสร้างสุข 3. ชมุ ชนและหน่วยงานราชการท้องถนิ่ 11. โครงการทีเ่ กย่ี วข้อง 1. โครงการประกนั คุณภาพการศึกษา 2. โครงการนิเทศกากบั ติดตาม 12. ผลลพั ธ์ บุคลากร และนักศกึ ษา กศน.อาเภอดอนสัก ที่เข้าร่วมโครงการมีจิตอาสาจิตสาธารณะ ร้จู ักแบ่งปัน ช่วยเหลอื ซึง่ กนั และกัน ทางานร่วมกับชุมชนและหนว่ ยงานต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งมีความสขุ 13. ตวั ชว้ี ดั ความสาเรจ็ ของโครงการ 1. ผลผลติ (Output) -ร้อยละ 85 ของผเู้ ข้ารว่ มโครงการท่มี คี วามพึงพอใจในระดับดีข้ึนไป -รอ้ ยละ 85 ของผู้เข้ารว่ มโครงการมจี ติ อาสา จติ สาธารณะ 2. ผลลัพธ์ (Outcomes) บุคลากร และนกั ศกึ ษา และประชาชน ภาคีเครอื ขา่ ย กศน.อาเภอดอนสัก มีจติ อาสา และมี ส่วนร่วมในการทากจิ กรรมร่วมกนั ของสถานศึกษาและหน่วยงานภาคเี ครือขา่ ย
26 14. การตดิ ตามและประเมินโครงการ 1. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ 2. ตดิ ตาม / ประเมนิ ผลกจิ กรรม/ โครงการ 3. รายงานผลสรปุ ผลกจิ กรรม/โครงการ ลงชอ่ื ……………………………......ผู้เสนอโครงการ ( นายบงกช สนธเิ มือง) ครู กศน. ตาบล ลงชอ่ื ………………………………..ผูอ้ นุมัตโิ ครงการ (นางสาวรชั ฎา โสมเพ็ชร)์ ผ้อู านวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอดอนสัก
27 คณะผู้จดั ทา ผอ.กศน.อาเภอดอนสกั ครูผชู้ ่วย นางสาวรชั ฎา โสมเพ็ชร์ ครผู ู้ชว่ ย นายอนัตชัย เกตุแกว้ บรรณารกั ษป์ ฏบิ ตั กิ าร นางสาวพรรณนดิ า เรว็ เรยี บ ครูอาสาสมัครฯ นางสาวณัฐชนก นลิ วงศ์ ครู กศน.ตาบล นางสุจิรา อณจุ ร ครู กศน.ตาบล นางสาววิยตุ า สงิ ตว้ิ ครู กศน.ตาบล นายบงกช สนธิเมอื ง ครู กศน.ตาบล นางกัลยา แพเพชร ครู กศน.ตาบล นางสาวอรพิมล ดาเกลยี้ ง ครูผ้สู อนคนพิการ นางสาวธนษิ ฐา ทาการเหมาะ พนักงานบรกิ าร นางสาวยพุ นิ ชมุ เศียร นายพฒั ทนา เหมทานนท์
28
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: