บนั ทึกข้อความ ส่วนราชการ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอดอนสกั ท่ี ศธ 0210.8210/ วนั ท่ี 12 พฤษภาคม 2566 เรอื่ ง รายงานผลการจดั กิจกรรม โครงการแต่งกายดี มวี ินัย อนุรักษผ์ า้ ไทยภายในองค์กร เรยี น ผู้อำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอดอนสัก ตามที่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอดอนสัก ได้มอบหมายให้ ข้าพเจ้า นางสาวอรพิมล ดำเกลี้ยง ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลชลคราม ดำเนินการจัดกิจกรรม โครงการแต่งกายดี มีวินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 ถึง 30 เมษายน พ.ศ.2566 ณ กศน.อำเภอดอนสัก หมู่ที่ 5 ตำบลดอนสัก อำเภอดอนสัก จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี บัดนี้ ข้าพเจ้า นางสาวอรพิมล ดำเกลี้ยง ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลชลคราม ได้ดำเนินการ จัดกิจกรรม โครงการแต่งกายดี มีวินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร เสร็จสิ้นแล้วและได้ดำเนินการจัดทำ รายงานสรปุ ผลการดำเนนิ งานดงั กล่าวข้างต้นเสร็จสิ้นเรยี บรอ้ ยแล้ว รายละเอยี ดตามเอกสารทีแ่ นบ จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบและพิจารณา ลงชอื่ .............................................ครู กศน.ตำบล (นางสาวอรพิมล ดำเกลยี้ ง) ความคดิ เห็นของผู้บังคบั บัญชา ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. ลงชอ่ื ............................................... ผ้บู ังคับบญั ชา (นางสาวรัชฎา โสมเพ็ชร์) ผอ.กศน.อำเภอดอนสัก
คำนำ เอกสารฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อรายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการแต่งกายดี มีวินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร โดยมีวัตถุประสงค์ในการดำเนินงานกิจกรรมโครงการ เพื่อส่งเสริม ขนบธรรมเนียม ประเพณีทดี่ งี าม และ/หรอื นำภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ และเสรมิ สร้างความมี วินัยเรื่อง การรักษาเวลาให้กับกลุ่มเป้าหมาย บุคลากรเจ้าหน้าที่และนักศึกษา กศน.อำเภอดอนสัก จำนวน 60 ระหวา่ งวันท่ี 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 ถงึ 30 เมษายน พ.ศ.2566 ณ กศน.อำเภอดอนสกั หมทู่ ่ี 5 ตำบล ดอนสกั อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี อีกทงั้ การรายงานสรปุ ผลการดำเนินงานในคร้งั นี้เพื่อเผยแพร่ให้ ประชาชน ชุมชน สังคม หน่วยงานภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ได้รับทราบเกี่ยวกับข้อมูลความก้าวหน้าของการ จัดกจิ กรรมโครงการที่สถานศกึ ษาได้ดำเนินการจดั และเพอ่ื นำผลการดำเนินงานสู่การพฒั นาปรับปรงุ ต่อยอด กิจกรรมโครงการให้มีความต่อเนื่อง อันจะส่งผลประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน และผู้เรียนในโอการต่อไป การรายงานสรุปผลการดำเนินงานเล่มนี้ มีประเด็นเนื้อหาสำคัญโดยแบ่งออกเป็น 5 บท ได้แก่ บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และเอกสารที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 กระบวนการ และวิธีการดำเนินงาน บทที่ 4 ผลการดำเนินการและวิเคราะห์ข้อมูล และบทที่ 5 สรุปผลการดำเนินงาน อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารรายงานสรุปผลการดำเนินงานเล่มนี้คงเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจใน กิจกรรม โครงการแตง่ กายดี มวี นิ ยั อนุรักษ์ผา้ ไทยภายในองคก์ ร เพ่ือใหม้ ีความรูเ้ กี่ยวกับสามารถนำความรู้ท่ี ได้รบั ไปปรับใชใ้ นการดำเนินประจำวนั ไดจ้ รงิ นางสาวอรพิมล ดำเกลี้ยง ครู กศน.ตำบล
สารบญั หนา้ เรอื่ ง 1 1 บทท่ี 1 บทนำ 3 -หลกั การและเหตุผล 3 3 บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎี และเอกสารทเี่ กีย่ วขอ้ ง 7 -แนวคิด ทฤษฎี 10 -เอกสารทีเ่ ก่ียวขอ้ ง 17 19 บทที่ 3 กระบวนการ และวธิ ีการดำเนินงาน 25 บทที่ 4 ผลการดำเนินการและวเิ คราะห์ข้อมลู บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินงาน อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ประมวลภาพกจิ กรรม คณะผู้จัดทำ
1 บทท่ี 1 บทนำ หลักการและเหตผุ ล นโยบายของรัฐบาลได้ให้ความสำคัญและมุ่งมั่นที่จะแก้ไขปัญหาสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปัญหา ที่สะท้อนถึงวิกฤตการณ์ด้านคุณธรรม จริยธรรม ของคนในชาติ โดยให้น้อมนำพระราชดำรัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทกุ รชั กาล หลกั คำสอนของศาสนา หลกั ธรรมทางศาสนา ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และปลอดการทุจริต และประพฤติมิชอบ วัฒนธรรม เพื่อให้สังคมเกิดความเข้มแข็งอยา่ งมคี ุณภาพ และมีคณุ ธรรม โดยส่งเสรมิ ให้ทกุ ภาคส่วน มีบทบาทในการปลกู ฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม สร้างคา่ นิยม จติ สำนึก ท่ีดีให้แกป่ ระชาชน ให้การพฒั นาประเทศมีความสมดุล ทง้ั ทางดา้ นวตั ถุและจิตใจ ตามแนวคิด “คุณธรรมนำ การพัฒนา” พร้อมที่จะก้าวไปสู่สังคม แห่งคุณธรรมตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และโมเดลประเทศไทย 4.0 โดยให้สังคมเกิดความเข้มแข็งจากภายใน และกระบวนการสร้างสังคมคุณธรรมแบบ “ระเบิดจากข้างใน” ด้วยหลกั แนวคิดการสง่ เสรมิ คุณธรรม 5 ประการ “พอเพียง วินยั สุจรติ จติ อาสา กตัญญู” รวมท้ังจดั ระเบียบ สังคม สร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนทั่วไป โดยใช้ค่านิยมหลัก 12 ประการ ตามนโยบายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เพื่อให้สังคมเกิดความมั่นคง สงบสุขร่มเย็นด้วยมิติทางศาสนา รวมทั้งระบบเศรษฐกิจเกิดความมั่งคั่ง เข้มแข็งบนวิถีวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาของท้องถิ่น ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืน เพื่อวางรากฐานการพัฒนาประเทศ ในระยะยาว ปัจจุบันความล้ำสมัยทางด้านแฟชั่นมีเพิ่มมากขึ้น เครื่องนุ่งห่มมีการนำเข้ามาจากต่างประเทศ มากมายและผคู้ นกป็ รับเปลีย่ นการแตง่ กายให้ทันสมยั มากยิ่งขึ้น คนในวัยทำงานก็เช่นเดียวกนั เป็นเหตุให้การ สวมใส่ผา้ ไทยผ้าพนื้ เมืองน่ันลดน้อยลงความนิยมก็ค่อย ๆ หายไป ความนิยมทางดา้ นแฟช่นั ทางตะวันตกค่อย ๆ เข้ามาแทรกซึมประชาชนคนไทย กศน.อำเภอดอนสัก เห็นความสำคัญของการอนุรักษ์ผ้าไทยผ้าพื้นเมือง และเล็งเห็นความสำคัญในการทำนุบำรุงศิลปะ จารีตประเพณีภูมิปัญญาท้องถ่ินและการแต่งกายดว้ ยผ้าไทย จึงจัดให้มีโครงการแต่งกายดี มีวินัยอนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร เพื่อส่งเสริมขนบธรรมเนียม ประเพณีที่ ดีงามเสริมสรา้ งความมีวนิ ยั ใหก้ ับนักศึกษาและบุคลากร วตั ถุประสงค์ 1. เพือ่ สง่ เสริมขนบธรรมเนยี มประเพณที ดี่ งี าม และ/หรอื นำภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ มาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ 2. เพื่อเสริมสร้างความมีวินัย เรื่อง การรักษาเวลาให้แกบ่ ุคลากรในสังกัดในการเข้าประชุมหรือการ ปฏบิ ัตงิ าน ขอบเขตของกิจกรรม/โครงการ โครงการแตง่ กายดี มีวินยั อนุรักษ์ผา้ ไทยภายในองค์กร มีขอบเขตการดำเนนิ การ ดงั นี้ 1. จำนวนผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม/โครงการ 65 คน 2. สถานท่ดี ำเนนิ การ พน้ื ท่ีอำเภอดอนสัก จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี 3. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ นางสาวอรพมิ ล ดำเกลย้ี ง
2 เป้าหมาย เชงิ ปรมิ าณ : บุคลากร และนักศึกษา กศน.อำเภอดอนสัก จำนวน 60 คน เชิงคุณภาพ : บุคลากร และนักศึกษา กศน.อำเภอดอนสัก มีความตระหนักในการสืบสานการแต่ง กายดว้ ยผา้ พ้ืนเมอื งและมรี ะเบีบยวินยั ในการปฏิบัติงาน ดชั นีช้ีวัดความสำเร็จของกิจกรรม/โครงการ ดชั นชี ี้วัดผลผลติ รอ้ ยละ 85 ของผู้เขา้ รว่ มโครงการทม่ี คี วามพึงพอใจในระดบั ดีข้ึนไป ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมโครงการปฏิบัติตามระเบียบวินัยและร่วมกันส่งเสริมการสวมใส่ผ้าไทย ผา้ พ้นื เมอื ง ดชั นีชี้วดั ผลลพั ธ์ บุคลากร และนักศึกษา กศน.อำเภอดอนสัก ที่เข้าร่วมโครงการได้ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบ รว่ มกนั ส่งเสรมิ อัตลักษณว์ ฒั นธรรมทอ้ งถิ่นในการสวมใส่ผ้าไทย ผา้ พนื้ เมอื ง ผลทีค่ าดว่าจะได้รับ บุคลากร และนักศึกษา กศน.อำเภอดอนสัก ทเ่ี ข้ารว่ มโครงการตระหนักถงึ การสวมใส่ชุดผ้าไทยและ ผา้ ท้องถนิ่ มรี ะเบยี บวนิ ัย ตรงเวลาตอ่ การปฏิบตั งิ านมากขนึ้
3 บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี และเอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง แนวคิด ทฤษฎีที่ใชใ้ นการดำเนินงาน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอดอนสักได้นำเอาแนวคิดของ ชุลีภรณ์ ฉิมเจริญ (2544 : 11) กล่าวถึง การมีส่วนร่วมว่าเป็นกระบวนการที่รัฐบาลทำการส่งเสริม ชักนำ สนับสนุน และสร้างโอกาสให้ประชาชนในชุมชนทั้งในรูปส่วนบุคคล กลุ่มคน ชมรม สมาคม มูลนิธิและองค์การ อาสาสมัครรูปแบบต่างๆให้เขา้ มามสี ่วนร่วมในการดำเนนิ งานเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งหรอื หลายเรื่องรวมกันเพื่อให้ บรรลตุ ามวตั ถุประสงค์และนโยบายการพัฒนาที่กำหนดไว้ โดยมีส่วนรว่ มใน ลักษณะตอ่ ไปนี้ 1. ร่วมศึกษาค้นคว้าปัญหาและสาเหตุของปัญหาทีเ่ กดิ ขึ้นในชุมชน รวมตลอดจน ความต้องการของ ชมุ ชน 2. รว่ มคดิ หาและสรา้ งรูปแบบและวธิ ีการพฒั นาเพือ่ แกไ้ ขและลดปญั หาของชมุ ชน หรือสร้างสรรค์สง่ิ ใหม่ ๆ ท่เี ป็นประโยชนต์ อ่ ชมุ ชน หรือความต้องการของชมุ ชน 3. ร่วมวางนโยบายหรือวางแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม เพื่อขจัดและแก้ไข ปัญหาและ สนองความตอ้ งการของชุมชน 4. ร่วมตัดสินใจในการใชท้ รพั ยากรทมี่ อี ยา่ งจากดั ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ต่อสว่ นรวม 5. รว่ มจดั หาปรบั ปรงุ ระบบการบรหิ ารงานพฒั นาให้มีประสิทธภิ าพและประสิทธิผล 6. ร่วมการลงทุนในกิจกรรมโครงการของชุมชนตามขีดความสามารถของตนเองและ หน่วยงาน 7. รว่ มปฏบิ ตั ิตามนโยบายแผนงาน โครงการและกจิ กรรมให้บรรลุเปา้ หมายตามท่ีวางไว้ 8. รว่ มควบคมุ ติดตามประเมินผลและร่วมบำรุงรักษาโครงการและกิจกรรมท่ีได้ทำไว้ ทัง้ โดยเอกชน และรัฐบาลให้ใช้ประโยชน์ได้ตลอดไป อีกทั้ง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้นำเอา หลักทฤษฎี PDCA ของเดมมิ่ง มาใช้ในการดำเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องทุกกิจกรรม ซึ่งประกอบด้วยกระบวนการ 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1. การวางแผน (Plan) การปฏิบัติ (DO) 3. การตรวจสอบ (Check) 4. การปรับปรงุ แก้ไข (Action) เอกสารความรูท้ ีเ่ ก่ียวข้องดังน้ี ความรู้เบื้องตน้ เกย่ี วกับผา้ ไทย ผา้ ไทย “ผ้า” เปน็ หนง่ึ ในปัจจัยส่ีของการดำรงชวี ติ ของมนุษย์ นอกจาก อาหาร ทีอ่ ยู่อาศัย และยารักษาโรค ในสังคมเกษตรจะมีการทอผ้าเพื่อใช้สอยภายในครอบครัว โดยการถ่ายทอดวิธีการทอผ้าให้แก่สมาชิกที่เป็น เพศหญิง ซึง่ นบั วา่ เป็นภมู ปิ ญั ญาทีถ่ ่ายทอดเป็นมรดกทางวัฒนธรรม การทอผ้าของไทยมีมาแต่โบราณ จากอดีตถึงปัจจุบันมนุษย์ได้พัฒนาการทอผ้าทั้งรูปแบบ เทคนิค การย้อมสี และการออกแบบลวดลาย ดังปรากฏในจดหมายเหตุและพงศาวดารครั้งสมัยสุโขทัย อยุธยา และ กรุงรตั นโกสินทร์ ซึง่ มกี ารทอผ้าตามกลมุ่ ชนตา่ งๆของไทย เช่น ขา่ กระโส้ กระเลงิ ส่วย ฯลฯ
4 ผ้าทอในประเทศไทยแสดงถึง ศิลปะภูมิปัญญาของชุมชน ซึ่งแบ่งประเภทของผ้าทอได้เป็นสอง ประเภท ตามวตั ถุดบิ ในการทอ และกรรมวธิ ีในการทอ คือ 1. ผ้าทอท่ีแบง่ ตามวตั ถุดบิ ทใี่ ช้ ได้แก่ ฝา้ ยและไหม ฝ้าย เปน็ พชื เศรษฐกิจที่ปลูกทว่ั ไปในทุกภาคของประเทศไทย เปน็ พชื เขตร้อน ชอบดนิ ปนทราย และ อากาศโปร่ง ไม่ชอบที่ร่ม เส้นใยของฝ้ายจะดูดความชื้นได้ง่าย และเมื่อดูดความชื้นแล้วจะระเหยเป็นไอ ดงั นนั้ เมื่อสวมใส่เสอื้ ผา้ ทท่ี ำดว้ ยผ้าฝา้ ยจะมีความรู้สึกเยน็ สบาย ไหม เส้นใยไหมได้จากตัวไหม ซึ่งส่วนใหญน่ ิยมเล้ียงไหมกันใน ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง ตัวไหมมีลักษณะคล้ายหนอน เมื่อแก่ตัวจะชักใยหุ้มตัวของมันเอง เรียกว่า รังไหม รังไหมนี้ จะนำมาสาวเปน็ เส้นไหม แล้วจึงนำไปฟอกด้วยการต้มด้วยดา่ งและนำมากวักเพือ่ ให้ได้ เส้นใยไหม หลังจาก นั้นจงึ นำมาย้อมสีและนำไปทอเปน็ ผืนผา้ ตามที่ตอ้ งการ เส้นไหมมคี ณุ สมบตั ิ ลนื่ มนั และยดื หย่นุ ได้ดี 2. ผ้าทอที่แบ่งตามกรรมวิธีในการทอ ซึ่งมีชื่อเรียกต่างกันออกไปตามลวดลายที่เกิดจากการทอบน ผืนผา้ เช่น ผ้ามัดหมี่ มีกรรมวิธีการทอที่ทำให้ให้เกิดลวดลายโดยการย้อมเส้นฝ้ายให้ด่าง โดยการผูกมัดให้เกิด ช่องว่าง การทอผ้ามัดหมี่แต่ละผืนต้องใช้เวลาและความประณีต โดยจัดเรียงเส้นไหมและฝ้ายให้สม่ำเสมอ คงท่ี กรรมวธิ ีตอ้ งเรยี งลำดบั ก่อนหลังใหถ้ ูกตอ้ ง เพือ่ ทำใหเ้ กิดลวดลายสวยงามตามตอ้ งการ ผ้าจก การทอจกเป็นกรรมวิธีของการทอและการปักผ้าไปพร้อมๆกัน การทอลวดลายใช้วิธีการเพิ่ม ด้ายเส้นพงุ่ พิเศษเข้าเป็นช่องๆไมต่ ิดต่อกันตลอดหน้ากว้างของผ้า ซ่ึงจะทำไดโ้ ดยใช้ไมห้ รือขนเม่น หรือนิ้วมือ ยกขึน้ เปน็ การทอผสมการปักกลาย ๆ ผ้าขิด เป็นการทอผ้าด้วยกรรมวิธี เขี่ย หรือสะกิดเส้นด้ายยืนขึน้ แล้วสอดเส้นพุ่งไปตามแนวเสน้ ยืน จังหวะการสอดเสน้ ดา้ ยพุง่ จะทำให้เกดิ ลวดลายรูปแบบตา่ ง ๆ ผ้าแพรวา เป็นผา้ ทอมอื ด้วยกรรมวธิ ีทอผ้าใหเ้ กิดลวดลาย ลักษณะผสมกันระหว่างลายขิดกับลายจก ผ้าแพรวาต้องมหี ลายๆลายอยูใ่ นผืนเดยี วกัน ผา้ ยกดอก มีกรรมวธิ กี ารทอใหเ้ กิดลวดลายในการยกตะกรอแยกด้ายเสน้ ยนื แต่ไมไ่ ดเ้ พ่ิมเส้นด้ายยืน หรือ เส้นพุ่งพิเศษเข้าไปในผืนผา้ แต่ในบางครัง้ จะยกดอกด้วยการเพิ่มเส้นพุ่ง จำนวน สองเส้น หรือมากกว่า นน้ั เข้าไป
5 ผา้ ทอกับโอกาสทใ่ี ช้ ผ้าพื้น ทอโดยการใช้ไหมเส้นพุ่ง และไหมยืนสีเดยี วเท่านัน้ เช่น ไหมพุ่งเป็นสเี ขยี ว ไหมเส้นยืนเป็นสี ทอง ใช้เป็นผ้านงุ่ หรอื ในโอกาสอนื่ ๆ ผ้าสไบ มีลักษณะคลา้ ยผ้าขาวมา้ ใช้พาดบ่าในงานบวช งานบุญ และงานรน่ื เรงิ ตา่ ง ๆ ผ้าโสรง่ เปน็ ผา้ นุ่งสำหรบั ผู้ชาย ใชน้ ุง่ อยกู่ ับบา้ น หรือใสไ่ ปในงานพิธีต่าง ๆ และเป็นผ้าไหว้พ่อ – แม่ ของเจา้ บ่าวเจ้าสาว ผา้ นุ่ง ใช้นุ่งอย่กู บั บ้าน ใช้ในงานพธิ ี ใชเ้ ป็นผา้ ไหว้ในงานแตง่ งาน ได้แกผ่ า้ พ้นื ผา้ เก็บ ใช้สำหรบั พาดบ่า ไปวัด หรอื งานพิธีต่าง ๆ ลวดลายและโทนสี 1. ผา้ ขาวม้า นิยมทอเปน็ ลายตาหมากรกุ สที น่ี ิยมคอื สแี ดง เขียว ขาว ดำ 2. ผ้าสไบ นิยมทอเปน็ สพี ้ืน และลายเหมือนผา้ ขาวม้า 3. ผ้าโสรง่ นยิ มทอเป็นลายตาหมากรกุ ขนาดใหญ่ สีที่นิยม คือ สีแดง และ สีเขียว 4. ผา้ นุ่ง มหี ลายชนดิ ไดแ้ ก่ 4.1 ผ้าพน้ื ไมม่ ลี วดลายบนผืนผา้ นยิ มทอเปน็ สีนำ้ ตาลทอง สมี ว่ ง ขาว นำ้ เงนิ และเขยี ว 4.2 ผ้าโฮล มีลักษณะเป็นลายเส้น ลายจะเป็นนูน มีหลายสีในหนึ่งผืน นิยม สีเขียว ดำ เหลือง แดง ฯลฯ 4.3 ผ้าโคน ลวดลายมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยม อาจปรากฏร่วมกับลายอื่นๆ สีที่นิยมคือ สีนำ้ ตาลทอง ม่วง เขียว น้ำเงิน แดง ฯลฯ 4.4 ผ้ากระเนียว หรอื หางกระรอก เป็นผา้ ลายเส้นละเอยี ด สีท่นี ยิ ม คือ สีเขียว แดง เหลอื ง 4.5 ผ้าอันปรม มีลักษณะลวดลายคล้ายผ้าโฮล แต่จะมีเส้นคั่นในแนวตั้งชัดเจนกว่าผ้าโฮล ลายของผา้ เป็นลายเรียบไมใ่ ช่ลายนนู เหมือนผา้ โฮล 4.6 ผ้าสมอ เป็นผ้าที่มีลักษณะของลวดลายเป็นสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ สีที่นิยม คือ สีเขียว เหลือง และแดง 4.7 ผ้าคั่น มีลักษณะคล้ายๆผ้าโฮล แต่จะมีเส้นคั่นในแนวตั้งชัดเจนกว่าผ้าโฮล สีที่นิยมคือ สีเขียว ดำ เหลอื ง และแดง 4.8 ผ้ามัดหมี่ คือผ้าท่ีมีลักษณะของลายผ้าที่เกิดจากการนำเส้นไหมไปมัดด้วยเชือกฟาง หรอื ปอกลว้ ย แลว้ นำไปย้อมสเี พ่ือให้ได้ลวดลายตามที่ต้องการ เช่น ลายต้นสน ลายไก่ ลายนกยงู ลายแมงมุม ฯลฯ สีทนี่ ิยม คือ สีตองอ่อน สแี ดง นำ้ เงิน เหลือง ม่วง การทอผา้ จะมลี กั ษณะพเิ ศษเป็นของตนเอง โดยเฉพาะผา้ ไหมเป็นผ้าพื้นเมืองประเภทหนึ่งที่นิยมกัน มาก เนอ่ื งจากเป็นผา้ ที่มีความคงทนอายุการใช้งานนาน รวมทั้งมีความสวยงาม ความแวววาวของเน้ือผ้าไหม ผา้ ไหมนอกจากจะเป็นสินค้าสำคัญแล้ว ยังมีบทบาททางสงั คมทางสังคมอีกด้วย เชน่ การใช้ผา้ ไหมท่ีต่างชนิด และมีลวดลายต่างกันจะเปน็ เคร่ืองบง่ บอกถึงสถานะและสถานภาพทางสงั คมได้อกี ด้วย ผ้าไหมท่ีมีช่ือของไทย ไดม้ าจากภาคเหนือ และภาคอีสาน เชน่ ผ้าไหมจากหาดเสีย้ ว จงั หวัดสุโขทยั ภาคอสี าน จากจงั หวัดอุดรธานี สรุ นิ ทร์ เนือ่ งจากคณุ ภาพดี และสีสันลวดลายแปลกตา
6 ปัจจุบันนี้ผ้าไหมได้พัฒนาจากการผลิตในครัวเรือนไปเป็นการผลิตแบบอุตสาหกรรม ที่มีแหล่งผลิต ทั่วประเทศ ประเทศไทยเป็นแหล่งผลิตผ้าไหม และผลิตภัณฑ์ไหมที่มีคุณภาพดีมีชื่อเสียงแห่งหนึ่ง มีมูลค่า การส่งออกเป็นจำนวนมากในแต่ละปี ตลาดทสี่ ำคญั ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรปและญป่ี นุ่ ในยุคที่ผ้าไทยก้าวสู่ความเป็นสากลโลก ทำให้ไม่มีการจำกัดขอบเขตของการใช้ผ้าไทยอีกต่อไป ไม่ว่าจะเป็นแนวแฟชั่นแบบไหนก็สามารถนำผ้าไทยมาดัดแปลงและปรับวิธีการใช้ได้หมด แม้ว่าจะนำเอา ผ้าไหม ผ้าเปลือกไหม และผ้าจก มาออกแบบตัดเย็บให้ออกมาในรูปแบบใด ก็สามารถประดิษฐ์ออกมาได้ อยา่ งสวยงาม งานหัตถกรรมผ้าทอเกือบจะสูญหายไป แต่ด้วยพระมหากรุณาธิคุณในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงให้การสนับสนุนและฟื้นชีวิตผ้าทอให้กลับคืนมาอีกครั้ง โดยพระองค์ทรงสนับสนุน การใชผ้ ้าไทยของแต่ละภาคในชดุ ฉลองพระองค์ในโอกาสตา่ งๆ
7 บทท่ี 3 กระบวนการ และวิธีการดำเนินงาน โครงการแต่งกายดี มีวินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร นำเอาหลักทฤษฎี PDCA ของเดมมิ่ง มาใช้ ในการดำเนนิ การจดั กิจกรรมการศกึ ษาตอ่ เนื่องทกุ กจิ กรรม ซึง่ ประกอบด้วยกระบวนการ 4 ขน้ั ตอน ไดแ้ ก่ 1.การวางแผน (Plan) -ประชุมวางแผนมอบหมายงานกิจกรรม/โครงการ ตามแผนกจิ กรรมฯ -ประชาสัมพันธก์ ารจัดกจิ กรรม -ติดตอ่ ประสานงานภาคีเครือขา่ ย (วิทยากร / สถานที่ / ทรพั ยากร ฯลฯ) 2.การปฏบิ ัติ (DO) -สำรวจความต้องการ -ขออนุญาตจดั กจิ กรรมตามแบบสำรวจ -ทำหนงั สอื เชิญวทิ ยากร -ทำคำสงั่ แตง่ แตว่ ทิ ยากรดำเนนิ โครงการ -ดำเนนิ การตามแผน -รายงานผลการดำเนนิ กจิ กรรม/โครงการ 3. การตรวจสอบ (Check) -ประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรม / โครงการ 4. การปรบั ปรงุ แก้ไข (Action) -นำจุดบกพร้องปัญหาที่ได้รับจากการจดั กิจกรรม/โครงการ ไปหาสาเหตุ และปรับปรุงแก้ไข ในการจัดกิจกรรมครง้ั ตอ่ ไปโดยดจู ากการสังเกต และ แบบประเมนิ สอบถามความพงึ พอใจของผูร้ ับบริการ
8 โครงการแต่งกายดี มีวินยั อนรุ กั ษผ์ า้ ไทยภายในองค์กร มวี ิธกี ารดำเนนิ งาน ดงั นี้ 1. ระยะเวลาดำเนินงาน โครงการแต่งกายดี มีวินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร มีระยะเวลาในการดำเนินงาน ระหว่าง 1 พฤศจกิ ายน 2565 ถึง 30 เมษายน 2566 โดยดำเนินการจดั ในพนื้ ทอี่ ำเภอดอนสัก จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี 2. แผนการปฏิบตั ิงาน โครงการแต่งกายดี มวี นิ ัย อนุรักษผ์ ้าไทยภายในองคก์ ร มีแผนการปฏบิ ตั งิ านทีก่ ำหนดไว้ ดงั นี้ ที่ กจิ กรรม ผลการดำเนินงาน 1. ประชมุ วางแผนการจดั กจิ กรรม -บคุ ลากรทุกคนมสี ว่ นร่วมในการวางแผนกำหนด แนวทางรูปแบบและวิธีการดำเนินการจดั กิจกรรม รว่ มกัน 2. เสนอโครงการเพ่อื ขออนมุ ัต/ิ -ผู้บรหิ ารอนมุ ตั ิให้ดำเนนิ การจดั กจิ กรรม ประชาสัมพนั ธก์ จิ กรรม -บคุ ลากรและนักศึกษาในพนื้ ที่ได้รับทราบขอ้ มูล ข่าวสารเกย่ี วกับการจดั กิจกรรมการศึกษาของ กศน. เพ่อื ใช้ประกอบการตดั สนิ ใจเข้าร่วมกจิ กรรมโครงการ 3. โครงการแตง่ กายดี มวี ินยั อนุรักษผ์ า้ ไทย -ได้กำหนดแผนงาน / เนอ้ื หาสาระ /ประสานภาคี ภายในองค์กร เครอื ข่าย 4. ดำเนินการจัดกิจกรรม -การจัดกิจกรรมเป็นไปตามแผนและวตั ถุประสงคข์ อง โครงการทีก่ ำหนดไว้ 5. นิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมนิ ผล -ติดตาม ทราบผลการดำเนินงาน ปรบั ปรุง พัฒนา งาน 6. รายงานสรปุ ผล -ติดตามผลการจดั กจิ กรรมตามโครงการ -รายงานผลต่อผบู้ ังคับบัญชาตามลำดบั ข้ัน -รายงานเผยแพร่ใหส้ าธารณชนรบั ทราบ -รายงานสรปุ ผล จำนวน 1 เลม่
3. วธิ ีดำเนนิ งาน 9 โครงการแต่งกายดี มวี นิ ัย อนุรกั ษผ์ า้ ไทยภายในองคก์ ร มวี ิธกี ารดำเนินงานปฏิบัติ ดังน้ี งบ ประมาณ กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลุม่ เปา้ หมาย พน้ื ทีด่ ำเนนิ การ ระยะเวลา - เปา้ หมาย จัดกจิ กรรมตาม 1.เพ่ือสง่ เสริม บุคลากร 60 คน กศน.อำเภอ 1 พ.ย. 65 โครงการแตง่ กาย ขนบธรรมเนยี ม นกั ศกึ ษา ดอนสกั – ดี มีวินยั อนุรกั ษ์ ประเพณที ีด่ ีงาม กศน.อำเภอ 30 เม.ย.66 ผา้ ไทยภายใน และ/หรือนำ ดอนสัก องค์กร ภมู ปิ ญั ญา - การปฏิบัติตาม ทอ้ งถน่ิ มาใชใ้ ห้ ระเบียบวินัยของ เกดิ ประโยชน์ องคก์ ร 2.เพ่ือเสรมิ สร้าง - กิจกรรม ความมีวินยั เรื่อง สง่ เสริมอัตลกั ษณ์ การรกั ษาเวลา ผา้ ไทยและ ให้แกบ่ คุ ลากร ผา้ ท้องถิน่ ในสังกัด ในการ เข้าประชมุ หรือ การปฏบิ ัตงิ าน 4. งบประมาณ - 5. เครอ่ื งมอื และขัน้ ตอนในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล เครอื่ งมือท่ีใช้ในการดำเนินงานหรอื เก็บรวบรวมข้อมูลเพือ่ การประเมินผลการจดั กจิ กรรมครงั้ นี้ ได้แก่ 1) แบบสอบถามเกย่ี วกับการประเมินความพึงพอใจ 2) แบบประเมินผลการติดตามผู้เรียน การเก็บรวบรวมข้อมูล 1) ผู้รับผิดชอบโครงการ แจกแบบสอบถามความคิดเห็นให้ผู้เข้าร่วมโครงการแต่งกายดี มีวินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร ผู้รับผิดชอบกิจกรรม/โครงการติดตามผู้เรียนหลัง จบโครงการ 1 เดอื น ตามโครงการแตง่ กายดี มีวนิ ัย อนุรกั ษผ์ ้าไทยภายในองค์กร
10 บทที่ 4 ผลการดำเนนิ การและวเิ คราะหข์ ้อมูล ผลจากการจดั กิจกรรมตาม โครงการแต่งกายดี มวี นิ ยั อนุรักษผ์ า้ ไทยภายในองคก์ ร สามารถสรุปผล ตามขนั้ ตอนในการดำเนินงาน ดงั น้ี 1. ขั้นตอนการรว่ มกันวางแผน ขั้นตอนการร่วมกันวางแผน พบว่า การประชุมปรึกษาร่วมกันระหว่างผู้บริหาร / ข้าราชการ / ครู อาสาสมัคร ฯ / ครู กศน.ตำบล / ครูผู้สอนคนพิการ / บรรณารักษ์ ลูกจ้างเหมาบรกิ าร กศน.อำเภอดอนสกั และภาคเี ครือข่าย ทกุ คนมสี ว่ นร่วมในการรว่ มคิด ร่วมทำ รว่ มรับผดิ ชอบ และให้ความร่วมมือมีส่วนร่วมใน การวางแผนกำหนดการจัดกิจกรรม สนับสนุนการจัดกจิ กรรมโครงการเปน็ อย่างดียิ่ง และนำเสนอผู้บริหาร เพื่อพิจารณาอนุมัติให้ดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการได้ดำเนินการแต่งตั้ง คณะกรรมการดำเนินงานแต่ละงานแต่ละกิจกรรมโดยวิธีการหมุนเวี ยนกันรับผิดชอบให้ครบทุกงานทุก กจิ กรรมเพือ่ เป็นการฝึกทักษะประสบการณ์การปฏบิ ัติงานให้ทุกคนได้มโี อกาสเรียนรู้ ผู้รบั ผดิ ชอบดำเนินงาน โครงการสร้างความเข้าใจกับผู้เรียนหรือผู้เข้าร่วมโครงการ เพื่อให้ทราบถึงวัตถุประสงค์และแนวทางในการ ดำเนินการ ติดต่อประสานงานภาคีเครือข่ายในการเตรียมความพร้อมการดำเนินงาน ทั้งด้านอาคารสถานที่ วิทยากรผู้เข้าความรู้ วัสดุอุปกรณ์เอกสารประกอบการจัดกิจกรรม กำหนดระยะเวลาการจัดกิจกรรมให้ เหมาะสมสอดคลอ้ งกบั โครงการ และวธิ กี ารประเมนิ ผลตามลำดบั 2. ขัน้ ตอนการรว่ มกนั ปฏบิ ตั ิ การปฏบิ ัติงานตามแผนงานทวี่ างไว้โดยมีขั้นตอนในการดำเนินงาน คือ การบันทกึ เสนอผู้บริหารเพ่ือ ขออนุญาตดำเนินการ พบว่า ได้รับการอนญุ าตและใหด้ ำเนนิ การ ผลการดำเนินการตามโครงการแตง่ กายดี มี วินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร โดยมีกลุ่มเป้าหมายบุคลากร และนักศึกษา กศน.อำเภอดอนสัก พบว่า ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการใหค้ วามรว่ มมือในการเข้ารว่ มกิจกรรมด้วยดี จนบรรลตุ ามวัตถุประสงคท์ ี่วางไว้ 3. ขัน้ ตอนการร่วมกนั ประเมิน การประเมินผลการจัดกิจกรรมตามโครงการแต่งกายดี มีวินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร โดยมีผู้ ร่วมกันประเมินผลการดำเนินการจัดกิจกรรม ได้แก่ ผู้เรียน วิทยากร ผู้รับผิดชอบโครงการ บุคลากร กศน. อำเภอดอนสักผู้มีส่วนร่วมในการเปน็ คณะกรรมการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบงานนิเทศ ผู้บริหารสถานศึกษา และภาคเี ครือข่าย ซง่ึ มขี ้ันตอนการประเมนิ ดงั น้ี 3.1 ข้อมูลทวั่ ไปของกลุ่มเปา้ หมายที่ใช้ในการประเมิน ดังน้ี ตารางที่ 1 แสดงจำนวนผเู้ ข้ารว่ มโครงการแต่งกายดี มวี ินัย อนุรักษผ์ า้ ไทยภายในองค์กร โดยจำแนกตามเพศ จำนวน 65 คน ดงั น้ี เพศ จำนวน รอ้ ยละ ชาย 30 46.15 หญงิ 35 53.85 รวม 65 100
11 จากตารางที่ 1 แสดงจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการแต่งกายดี มีวินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร มี จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 65 คน โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการมากที่สุดเพศหญิง จำนวน 35 คน คิดเป็น ร้อยละ 53.85 เพศชาย จำนวน 30 คน คดิ เป็นร้อยละ 46.15 ตารางที่ 2 แสดงจำนวนผ้เู ข้าร่วมโครงการแต่งกายดี มีวินัย อนุรกั ษ์ผ้าไทยภายในองค์กร โดยจำแนกตาม กลุ่มอายุ จำนวน 65 คน ดังนี้ กลุม่ อายุ จำนวน รอ้ ยละ 15-39 ปี 57 87.70 40-59 ปี 8 12.30 60 ปีขน้ึ ไป - - รวม 65 100 จากตารางที่ 2 แสดงจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการแต่งกายดี มีวินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร มีจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 65 คน โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการมากที่สุดกลุ่มอายุ 15-39 จำนวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 87.70 และรองลงมากลุ่มอายุ 40-59 จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 12.30 เข้าร่วมโครงการ ครัง้ น้ี ตารางท่ี 3 แสดงจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการแต่งกายดี มีวนิ ยั อนรุ กั ษ์ผา้ ไทยภายในองค์กร โดยจำแนกตาม กลุ่มอาชีพ จำนวน 65 คน ดงั น้ี กลมุ่ อาชพี จำนวน รอ้ ยละ เกษตรกร 2 3.00 รับจ้าง 8 12.31 ค้าขาย / ธรุ กจิ ส่วนตัว 3 4.62 วา่ งงาน 42 64.62 อ่ืน ๆ 10 15.39 รวม 65 100 จากตารางที่ 3 แสดงจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการแต่งกายดี มีวินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร มี จำนวนผู้เขา้ ร่วมโครงการทัง้ สิ้น 65 คน โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการมากที่สุดกลุ่มอาชพี ว่างงาน จำนวน 42 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 64.62 รองลงมากล่มุ อาชีพ อ่นื ๆ จำนวน 12 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 18.47 รองลงมากลุ่มอาชีพ รับจ้าง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 9.23 รองลงมากลุ่มอาชีพ ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว จำนวน 3 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 4.62 และกลุ่มอาชพี เกษตรกร จำนวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 3.00 เข้าร่วมโครงการคร้งั นี้
12 ตารางท่ี 4 แสดงจำนวนผเู้ ขา้ ร่วมโครงการแตง่ กายดี มีวินัย อนุรักษผ์ ้าไทยภายในองค์กร โดยจำแนกตาม ระดบั ความรู้ จำนวน 65 คน ดงั นี้ ระดับความรู้ จำนวน รอ้ ยละ ไม่จบประถมศึกษา - - ประถมศกึ ษา 26 40.00 มธั ยมศึกษาตอนต้น 27 41.54 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 1 1.54 อนปุ ริญญา - - ปริญญาตรี 9 13.85 อืน่ ๆ 2 3.00 รวม 65 100 จากตารางที่ 4 แสดงจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการแต่งกายดี มีวินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร มีจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 65 คน โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการมากที่สุดระดับการศึกษา มัธยมศึกษา ตอนต้น จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 41.54 รองลงมาระดับ ประถมศึกษา จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 รองลงมาระดับปริญญาตรี จำนวน 9 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 13.85 รองลงมาระดับการศกึ ษาอ่ืนๆ จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 3.00 และน้อยที่สุดระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1.54 เข้าร่วม โครงการคร้งั นี้ 3.2 เครือ่ งมือที่ใช้ในการประเมินผลการดำเนินงาน จำนวน 2 แบบ ดังน้ี 1) แบบสอบถามเก่ียวกับการประเมินความพึงพอใจ 2) แบบประเมินผลการตดิ ตามผู้เรียน 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับการประเมินความพึงพอใจ มีวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยผู้รับผิดชอบ โครงการแจกแบบสอบถามความพึงพอใจให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการหลังเสร็จสิ้นการดำเนินการจัดกิจกรรม โครงการจากการประเมินความพึงพอใจของผู้เขา้ ร่วมตามโครงการ พบว่า การวิเคราะห์ขอ้ มลู จากการหาค่า ร้อยละของแบบสอบถาม โดยแบง่ ออกเป็น 5 ระดบั และหาคา่ รอ้ ยละ โดยแปลความหมาย ดงั ต่อไปน้ี ตำ่ กวา่ ร้อยละ 50 มคี วามพงึ พอใจในระดบั ตอ้ งปรับปรงุ เร่งด่วน รอ้ ยละ 50-69 มคี วามพึงพอใจในระดับ ตอ้ งปรับปรุง ร้อยละ 70-79 มีความพึงพอใจในระดบั พอใช้ รอ้ ยละ 80-89 มคี วามพึงพอใจในระดับ ดี รอ้ ยละ 90-100 มีความพึงพอใจในระดับ ดีมาก
13 ตารางที่ 5 แสดงการวเิ คราะห์ผลข้อมูลจากการประเมนิ ความพงึ พอใจของผ้เู ขา้ รว่ มตามโครงการ
14 จากตารางที่ 5 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจจากการตอบแบบสอบถาม โครงการ แต่งกายดี มีวินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร จากจำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม ทั้งสิ้น....65.......คน จากแบบสอบถามที่ดี จากจำนวนผตู้ อบแบบสอบถาม จำนวน.....65.......คน -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเกี่ยวกับ ความเหมาะสมของงบประมาณ อยู่ในเกณฑ์ ระดับ.....มากที่สุด.....จำนวน..50....คน คิดเป็นร้อยละ 76.93 รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...มาก...จำนวน.. 14.....คน คิดเป็นร้อยละ 21.54, รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...ปานกลาง...จำนวน..1....คน คิดเป็นร้อยละ 1.54 และ ต่ำสุด อยู่ในเกณฑ์ระดับ..น้อย,น้อยที่สุด จำนวน...0...คน คิดเป็นร้อยละ ....0.00..... คิดเป็น ค่า (���̅���) 4.75 คา่ SD 0.47 อยู่ในระดับความพงึ พอใจ มากทีส่ ดุ -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเกี่ยวกับ ความเหมาะสมของโครงการกับสภาพการ ดำเนินการจริง อยู่ในเกณฑ์ ระดับ.....มากที่สุด.....จำนวน..43....คน คิดเป็นร้อยละ 66.16 รองลงมา อยู่ใน เกณฑ์ ระดับ...มาก...จำนวน....13.....คน คิดเป็นร้อยละ 20.00, รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...ปานกลาง... จำนวน..9....คน คิดเป็นร้อยละ 13.85 และ ต่ำสุด อยู่ในเกณฑ์ระดับ..... น้อย,น้อยที่สุด......จำนวน...0...คน คิดเป็นร้อยละ ...0.00.. คดิ เป็น คา่ (���̅���) 4.52 คา่ SD 0.73 อย่ใู นระดบั ความพงึ พอใจ มากที่สุด -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเกี่ยวกับ ความร่วมมือของบุคลากร ผู้เกี่ยวข้องในการ ปฏบิ ตั ิงาน/โครงการ อย่ใู นเกณฑ์ระดับ.....มากทีส่ ดุ .....จำนวน..44....คน คดิ เปน็ ร้อยละ 67.70 รองลงมา อยู่ ในเกณฑ์ ระดับ...มาก...จำนวน....17.....คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 26.16, รองลงมา อยูใ่ นเกณฑ์ ระดับ...ปานกลาง ...จำนวน...4....คน คิดเป็นร้อยละ 6.16 และ ต่ำสุด อยู่ในเกณฑ์ระดับ.....น้อย,น้อยที่สุด......จำนวน...0...คน คดิ เปน็ ร้อยละ ...0.00.. คิดเปน็ คา่ (���̅���) 4.62 ค่า SD 0.60 อยใู่ นระดับความพึงพอใจ มากที่สุด -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเกี่ยวกับ ปริมาณวัสดุอุปกรณ์เพียงพอสำหรับการ ดำเนินงาน/โครงการ อยู่ในเกณฑ์ระดับ.....มากที่สุด.....จำนวน..46....คน คิดเป็นร้อยละ 70.77 รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...มาก...จำนวน....17.....คน คิดเป็นร้อยละ 26.16 , อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...ปานกลาง... จำนวน....2....คน คิดเป็นร้อยละ 3.00 และ ต่ำสุด อยู่ในเกณฑ์ระดับ.....น้อย,น้อยที่สุด......จำนวน...0...คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ...0.00.. คดิ เปน็ ค่า (���̅���) 4.68 คา่ SD 0.53 อยูใ่ นระดับความพงึ พอใจ มากทีส่ ดุ -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเกี่ยวกับ ความเหมาะสมของสถานที่ที่ใช้ในการดำเนินงาน/ โครงการ อยู่ในเกณฑ์ ระดับ.....มากที่สุด.....จำนวน....34......คน คิดเป็นร้อยละ 52.31 รองลงมา อยู่ใน เกณฑ์ ระดับ.....มาก...จำนวน....23.....คน คดิ เป็นร้อยละ 35.39, รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...ปานกลาง... จำนวน..8....คน คิดเป็นรอ้ ยละ 12.31 และ ต่ำสดุ อย่ใู นเกณฑ์ ระดับ..... น้อย,น้อยทีส่ ดุ จำนวน...0...คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ....0.00..... คิดเปน็ คา่ (x̅) 4.40 ค่า SD 0.70 อยใู่ นระดับความพงึ พอใจ มาก -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเกี่ยวกับ โครงการมีการดำเนินงานตามขั้นตอนและ วิธกี ารดำเนินโครงการ อยใู่ นเกณฑ์ ระดบั .....มากที่สุด.....จำนวน..38....คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 58.47 รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...มาก...จำนวน....17.....คน คิดเป็นร้อยละ 26.16, รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...ปาน กลาง... จำนวน...10....คน คิดเป็นร้อยละ 15.39 และ ตำ่ สดุ อยใู่ นเกณฑร์ ะดบั ....น้อย,น้อยทสี่ ดุ จำนวน...0... คน คิดเป็นร้อยละ ....0.00.....คดิ เปน็ คา่ (���̅���) 4.43 ค่า SD 0.74 อยใู่ นระดบั ความพงึ พอใจ มาก
15 -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเกี่ยวกับ ความเหมาะสมของกิจกรรมและขั้นตอนวิธีการ ดำเนินโครงการ ระดบั .....มากทส่ี ุด.....จำนวน..36....คน คดิ เปน็ ร้อยละ 55.39 รองลงมา อยใู่ นเกณฑ์ ระดับ... มาก...จำนวน...21...คน คิดเป็นร้อยละ 32.31, รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...ปานกลาง... จำนวน...8....คน คิดเป็นร้อยละ 12.31, และต่ำสุด อยู่ในเกณฑ์ระดับ.... น้อย,น้อยที่สุด จำนวน...0..คน คิดเป็นร้อยละ ....0.00..... คิดเปน็ คา่ (���̅���) 4.43 คา่ SD 0.70 อยใู่ นระดับความพึงพอใจ มาก -มีระดับความพงึ พอใจ สงู สดุ ในหวั ขอ้ เกีย่ วกบั ขัน้ ตอนและวิธกี ารในการดำเนนิ โครงการสามารถ ส่งผลให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายเชิงคุณภาพ อยู่ใน เกณฑ์ ระดับ.....มากทีส่ ดุ .....จำนวน..40....คน คิดเป็นร้อยละ 61.54 รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...มาก... จำนวน....22....คน คิดเป็นร้อยละ 33.85, รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...ปานกลาง... จำนวน...3....คน คิด เปน็ ร้อยละ 4.62 และ ต่ำสดุ อยใู่ นเกณฑร์ ะดบั .... นอ้ ย,น้อยท่ีสดุ จำนวน...0...คน คดิ เปน็ ร้อยละ ....0.00.... คดิ เป็น ค่า (���̅���) 4.57 คา่ SD 0.58 อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากท่สี ดุ -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเกีย่ วกับ ขั้นตอนและวิธีการดำเนินโครงการมีการสง่ เสรมิ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้รับผิดชอบ/ผู้เข้าร่วมโครงการ อยู่ในเกณฑ์ ระดับ.....มากที่สุด.....จำนวน..47....คน คิดเป็นร้อยละ 72.31 รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...มาก... จำนวน...17.....คน คิดเป็นร้อยละ 26.16, รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...ปานกลาง...จำนวน..1....คน คิดเป็นร้อยละ 1.54 และ ต่ำสุด อยู่ในเกณฑ์ ระดับ.... นอ้ ย,นอ้ ยทสี่ ุด จำนวน...0...คน คิดเป็นร้อยละ ....0.00.....คดิ เป็น ค่า (���̅���) 4.71 ค่า SD 0.49 อยู่ใน ระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเกี่ยวกับ ผลการดำเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ท่ี กำหนดไว้มากน้อยเพียงใด อยู่ในเกณฑ์ ระดับ.....มากที่สุด.....จำนวน….53....คน คิดเป็นร้อยละ 81.54 รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...มาก...จำนวน...7...คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 10.77, รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ... ปานกลาง...จำนวน..5...คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 7.70 และตำ่ สุด อยใู่ นเกณฑ์ระดบั .. น้อย,น้อยทส่ี ดุ จำนวน...0... คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ....0.00%.....คิดเป็น ค่า (���̅���) 4.74 คา่ SD 0.59 อยูใ่ นระดับความพงึ พอใจ มากทสี่ ุด -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเกี่ยวกับ ผลการดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายเชิง คุณภาพที่กำหนดไว้มากนอ้ ยเพยี งใด ในเกณฑ์ระดบั .....มากที่สุด.....จำนวน..49....คน คิดเป็นร้อยละ 75.39 รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...มาก...จำนวน...11.....คน คิดเป็นร้อยละ 16.93 , รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...ปานกลาง...จำนวน..5....คน คดิ เปน็ ร้อยละ 7.70 และ ต่ำสดุ อยใู่ นเกณฑ์ระดับ... น้อย,น้อยท่ีสุด...... จำนวน...0...คน คิดเป็นร้อยละ ...0.00.. คิดเป็น ค่า (���̅���) 4.68 ค่า SD 0.61 อยู่ในระดับความพึงพอใจ มาก ท่สี ดุ -มีระดับความพึงพอใจ สูงสุด ในหัวข้อเกี่ยวกับ ผลการดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายเชิง ปริมาณที่กำหนดไว้มากน้อยเพียงใด อยู่ในเกณฑ์ ระดับ.....มากที่สุด.....จำนวน..46....คน คิดเป็นร้อยละ 70.77 รองลงมา อยู่ในเกณฑ์ ระดับ...มาก...จำนวน....19.....คน คิดเป็นร้อยละ 29.23, และ ต่ำสุด อยู่ใน เกณฑ์ระดับ.....ปานกลาง,น้อย,น้อยที่สุด......จำนวน...0...คน คิดเป็นร้อยละ ...0.00.. คิดเป็น ค่า (���̅���) 4.71 ค่า SD 0.45 อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากทีส่ ุด
16 จากการวัดระดับการประเมินความพึงพอใจจำนวนผู้เรียน 55 คนสรุปโดยภาพรวมได้ว่า สูงสุด อย่ใู นเกณฑ์ ระดบั มากท่ีสดุ 2) แบบประเมินผลการติดตามผู้เรียน มีวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยผู้รับผิดชอบ โครงการ นิเทศ ติดตามผู้เรียนหลังเสร็จสิ้นการดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการมีระยะเวลาผ่านไป 1 เดือน ผลจากการนิเทศติดตามของผู้เข้าร่วมตามโครงการในการนำองค์ความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการไป ใช้ พบว่า การวิเคราะห์ข้อมูลจากการหาค่าร้อยละของแบบติดตามการนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ โดยแบ่งออกเปน็ 5 ระดับ และหาคา่ รอ้ ยละ ดังต่อไปนี้ ตารางที่ 6 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการนิเทศ ติดตามการนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ของจำนวน ผู้เข้าร่วมโครงการ ดังนี้ ขอ้ รายการ ระดับคุณภาพ ท่ี จำนวน ร้อยละ 1 นำไปพฒั นาคุณภาพชีวติ -- 2 นำไปใช้ในการพฒั นาสังคมและชมุ ชน 9 13.85 3 นำไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน 42 64.62 4 นำความรู้ไปเผยแพรห่ รอื สอนผอู้ ่นื 10 15.39 5 ไมไ่ ดน้ ำความรู้ไปใช้ประโยชน์ 4 6.16 ภาพรวมการประเมิน 65 100 จากตารางที่ 6 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการมีการนำองค์ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วม โครงการแต่ง กายดี มีวินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร จากจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิน้ 65 คน ผู้เข้ารับการอบรมได้ นำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ สูงสุด เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 64.62 รองลงมานำความรูไ้ ปเผยแพรห่ รือสอนผู้อืน่ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 15.39 รองลงมานำไปใช้ในการ พัฒนาสงั คมและชุมชน จำนวน 9 คน คดิ เป็นร้อยละ 13.85 และต่ำสุดไมไ่ ดน้ ำความรู้ไปใช้ประโยชน์ จำนวน 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 6.16 ในโครงการครงั้ น้ี ยกตวั อยา่ งรายชื่อผ้เู ข้าร่วมโครงการกรณีนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ทีเ่ ห็นเป็นประจกั ษห์ รือสามารถ เป็นแบบอย่างท่ีดีไดร้ บั การยอมรบั ยกย่อง ไดแ้ ก่ 1) นางสาวรัชฎา โสมเพ็ชร์ ผอ.กศน.อำเภอดอนสัก 2) นางกลั ยา แพพชร ครู กศน.ตำบลดอนสัก 3) นางสาวยพุ นิ ชมุ เศียร ครูผู้สอนคนพกิ าร 4) เด็กชายธนารักษ์ สมศริ ิ นักศกึ ษา กศน.ตำบลชลคราม 5) นางสาวจนั ทรเ์ พ็ญ เทพรักษา นักศกึ ษา กศน.ตำบลปากแพรก 6) นางสาวศริ ิลกั ษณ์ ชูชาติ นกั ศึกษา กศน.ตำบลดอนสกั 7) นางสาววรางคณา พรหมเมฆ นกั ศกึ ษา กศน.ตำบลไชยคราม
17 4.ขั้นตอนการรว่ มปรับปรุง เมื่อคณะกรรมการฝ่ายการประเมินผลแล้ว จึงได้ทำสรุปผลการดำเนินงานปัญหา อุปสรรค และ ข้อเสนอแนะ กลุ่มงานผู้รับผิดชอบและได้นำสารสนเทศที่ได้นำเสนอต่อผู้บริหารและเผยแพร่ให้ผู้มีส่วน เกี่ยวข้องรับทราบและนำผลการดำเนินงานมาปรบั ปรุงพฒั นาการดำเนินงานให้มปี ระสิทธภิ าพมากยิ่งขน้ึ
18 บทที่ 5 สรปุ ผลการดำเนนิ งาน อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ผลการดำเนินงาน สภาพความสำเรจ็ ผลการดำเนนิ งาน 1.ผลการดำเนนิ งานตามวตั ถุประสงค์ บรรลุ ไมบ่ รรลุ ผู้เขา้ ร่วมโครงการได้ ท่ี วตั ถปุ ระสงค์ ส่งเสริมอัตลักษณ์ วัฒนธรรมท้องถนิ่ ใน 1. เพ่อื ส่งเสรมิ ขนบธรรมเนยี ม การสวมใส่ผ้าไทย ประเพณีท่ีดีงาม และ/หรือนำภมู ิ ผา้ พนื้ เมือง ปญั ญาท้องถ่ินมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ ผเู้ ข้าร่วมโครงการได้ ปฏบิ ตั ิตนตาม 2. เพื่อเสริมสร้างความมีวินัยเรื่อง การ กฎระเบียบ รักษาเวลาให้แกบ่ ุคลากรในสังกัด ใน การเข้าประชุมหรอื การปฏบิ ัติงาน 2.สรปุ ผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย สภาพความสำเร็จ ผลการดำเนนิ งาน บรรลุ ไมบ่ รรลุ เป้าหมาย ผู้เขา้ รว่ มโครงการ เกนิ แผนท่วี างไว้ เชงิ ปริมาณ บุคลากร และนักศึกษา กศน. อำเภอดอนสกั จำนวน 65 คน เชงิ คณุ ภาพ บุคลากร และนักศึกษา กศน. ผเู้ ข้าร่วมโครงการมี อำเภอดอนสัก มีความ ความตระหนักในการ ตระหนักในการสืบสานการ สืบสานการแต่งกาย แตง่ กายดว้ ยผ้าพนื้ เมืองและมี ด้วยผ้าพ้นื เมืองและ ระเบีบยวนิ ัยในการปฏิบตั ิงาน มีระเบบี ยวนิ ัยในการ ปฏิบัตงิ าน ตัวชีว้ ัด ร้อยละ 85 ของผ้เู ขา้ รว่ ม รอ้ ยละ 85 ของ ผลสำเรจ็ โครงการปฏิบัติตามระเบียบ ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการ วนิ ยั และร่วมกนั สง่ เสริมการ ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บ สวมใสผ่ ้าไทย ผา้ พ้นื เมือง วินัยและรว่ มกัน สง่ เสรมิ การสวมใส่ ผา้ ไทย ผา้ พ้นื เมอื ง
19 สรปุ ผลการดำเนนิ โครงการ กศน.อำเภอดอนสกั ได้ดำเนินการจดั กิจกรรมตา่ ง ๆ ตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ 2566 ภายใต้โครงการแต่งกายดี มีวินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร โดยดำเนินการแล้วเสร็จและสรุปรายงานผล ตอ่ ผู้บงั คบั บัญชาทงั้ ส้ิน โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื สง่ เสริมขนบธรรมเนียม ประเพณีทดี่ งี าม และ/หรอื นำภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ 2. เพื่อเสริมสรา้ งความมีวินยั เรื่อง การรักษาเวลาใหแ้ ก่บคุ ลากรในสังกัด ในการเข้าประชุมหรือการ ปฏบิ ัตงิ าน สรุปโดยภาพรวม พบว่า การจัดกิจกรรมทุกกิจกรรมที่จัดขึ้นภายใต้โครงการแต่งกายดี มีวินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักในการสืบสานการแต่งกายด้วยผ้าพื้นเมือง และมีระเบีบยวินยั ในการปฏิบตั ิงานเปน็ อยา่ งดียิ่ง สำเร็จลุลว่ งด้วยดตี ามวัตถุประสงคข์ องโครงการ จากการ สอบถามความคิดเห็นของบุคลากร และนักศึกษา กศน.อำเภอดอนสัก ผู้เข้าร่วมโครงการ และผู้มีส่วน เกี่ยวข้องในแต่ละกิจกรรมเป็นว่า ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นต่อการจัดกิจกรรมโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับ มากที่สุด และ มาก รองลงมา จุดเด่น / ปญั หา อปุ สรรคของโครงการ *จดุ เดน่ ของโครงการ โครงการแต่งกายดี มีวินัย อนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร เป็นการส่งเสริมขนบธรรมเนียม ประเพณี ท่ดี ีงาม และ/หรอื นำภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ อีกท้ังเสริมสร้างความมวี ินัยเรื่อง การรกั ษาเวลา ให้แก่บุคลากรในสังกัด ในการเข้าประชุมหรือการปฏิบัติงาน และมีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักในการ สืบสานการแต่งกายด้วยผ้าพื้นเมืองและมีระเบีบยวินัยในการปฏิบัติงานเป็นอย่างดี และสามารถนำไปใช้ใน ชวี ติ ประจำวันได้จรงิ *ปัญหา อุปสรรคของโครงการ - ขอ้ เสนอแนะเพ่อื พัฒนาโครงการ - ความตอ้ งการในการพฒั นาต่อยอด อยากให้มกี ารต่อยอดกจิ กรรมอีก
20 ประมวลภาพการจัดกจิ กรรม
21
22 โครงการสง่ เสรมิ องค์กรคุณธรรม สู่การทำความดี ตามวิถพี อเพียง 1. ชอื่ โครงการ : โครงการแต่งกายดี มวี นิ ัย อนรุ ักษ์ผ้าไทยภายในองคก์ ร 2. สอดคล้องกับนโยบายและจดุ เนน้ สำนกั งาน กศน. ขอ้ 2 การยกระดับคุณภาพการศึกษา 2.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษานําหลักสูตรฐานสมรรถนะไปสู่การปฏิบัติอย่างเต็มรูปแบบ เพ่ือสร้างสมรรถนะท่สี ำคญั จำเปน็ สำหรบั ศตวรรษที่ 21 ใหก้ บั ผู้เรียน 2.3 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในการ ปกครอง ระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ อุดมการณ์ ความยึดมัน่ ในสถาบันหลกั ของชาติ การเรยี นรู้ประวตั ิศาสตรข์ องชาติและทอ้ งถน่ิ เสรมิ สรา้ งวถิ ีชีวติ ของความ เป็นพลเมือง และ มีศีลธรรมที่เข้มแข็ง รวมถึงการมีจิตอาสา โดยผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นการเพิ่มทักษะที่ จําเป็นต่อการดำรงชีวิต เช่น ทักษะความคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจ การสื่อสารระหว่าง บุคคล การเตรียมพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ ประวตั ศิ าสตรข์ องท้องถิน่ 3. หลกั การและเหตุผล นโยบายของรัฐบาลได้ให้ความสำคัญและมุ่งมั่นที่จะแก้ไขปัญหาสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปัญหาท่ี สะท้อนถึงวิกฤตการณ์ด้านคุณธรรม จริยธรรม ของคนในชาติ โดยให้น้อมนำพระราชดำรัสของ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวทกุ รัชกาล หลักคำสอนของศาสนา หลกั ธรรมทางศาสนา ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และปลอดการทุจริต และประพฤติมิชอบ วัฒนธรรม เพื่อให้สงั คมเกิดความเข้มแข็งอยา่ งมคี ุณภาพ และมคี ณุ ธรรม โดยสง่ เสริมให้ทกุ ภาคสว่ น มีบทบาทในการปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม สรา้ งคา่ นิยม จติ สำนึก ท่ดี ใี ห้แกป่ ระชาชน ให้การพัฒนาประเทศมีความสมดลุ ทง้ั ทางด้านวตั ถุและจิตใจ ตามแนวคิด “คุณธรรมนำ การพัฒนา” พร้อมที่จะก้าวไปสู่สังคม แห่งคุณธรรมตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และโมเดลประเทศไทย 4.0 โดยให้สังคมเกิดความเข้มแข็งจากภายใน และกระบวนการสร้างสังคมคุณธรรมแบบ “ระเบิดจากข้างใน” ดว้ ยหลักแนวคดิ การสง่ เสริมคุณธรรม 5 ประการ “พอเพียง วินัย สุจริต จติ อาสา กตญั ญู” รวมท้ังจดั ระเบยี บ สังคม สร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนทั่วไป โดยใช้ค่านิยมหลัก 12 ประการ ตามนโยบายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เพื่อให้สังคมเกิดความมั่นคง สงบสุขร่มเย็นด้วยมิติทางศาสนา รวมทั้งระบบเศรษฐกิจเกิดความมั่งคั่ง เข้มแข็งบนวิถีวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาของท้องถิ่น ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืน เพื่อวางรากฐานการพัฒนาประเทศ ในระยะยาว ปัจจุบันความล้ำสมัยทางด้านแฟชั่นมีเพิ่มมากขึ้น เครื่องนุ่งห่มมีการนำเข้ามาจากต่างประเทศ มากมายและผูค้ นก็ปรบั เปลีย่ นการแตง่ กายให้ทนั สมยั มากย่ิงขนึ้ คนในวัยทำงานกเ็ ช่นเดยี วกันเป็นเหตุให้การ สวมใส่ผ้าไทยผ้าพื้นเมืองนั่นลดน้อยลงความนิยมก็ค่อย ๆ หายไป ความนิยมทางด้านแฟชั่นทางตะวันตก ค่อย ๆ เข้ามาแทรกซึมประชาชนคนไทย กศน.อำเภอดอนสัก เห็นความสำคัญของการอนุรักษ์ผ้าไทยผ้า พื้นเมือง และเล็งเห็นความสำคัญในการทำนุบำรุงศิลปะ จารีตประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่นและการแต่งกาย ด้วยผ้าไทยจึงจัดให้มีโครงการแต่งกายดี มีวินัยอนุรักษ์ผ้าไทยภายในองค์กร เพื่อส่งเสริมขนบธรรมเนียม ประเพณีท่ดี งี ามเสรมิ สร้างความมีวนิ ัยให้กบั นักศึกษาและบุคลากร
23 4. วตั ถปุ ระสงค์ 4.1 เพื่อส่งเสริมขนบธรรมเนียม ประเพณีที่ดีงาม และ/หรือนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ให้เกิด ประโยชน์ 4.2 เพื่อเสรมิ สร้างความมวี ินยั เรื่อง การรักษาเวลาให้แก่บคุ ลากรในสังกัด ในการเขา้ ประชมุ หรือการ ปฏิบัตงิ าน 5. เป้าหมาย เชงิ ปริมาณ บคุ ลากร และนักศึกษา กศน.อำเภอดอนสัก จำนวน 60 คน เชิงคุณภาพ บุคลากร และนักศึกษา กศน.อำเภอดอนสัก มีความตระหนักในการสืบสานการแต่งกาย ดว้ ยผา้ พ้ืนเมืองและมรี ะเบียบวนิ ัยในการปฏิบตั ิงาน 6. วิธีดำเนนิ การ กจิ กรรม วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พืน้ ท่ีดำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ 1.ประชมุ วางแผน เพื่อกำหนดตารางวนั คณะครู และ 11 คน กศน.อำเภอดอนสัก ต.ค. 65 - ในการแต่งกายชดุ ผ้า บุคลากร ไทย และระเบียบ กศน.อำเภอ เวลาการเข้า ดอนสกั ปฏบิ ตั งิ าน 2. เสนอโครงการ เพื่อขออนมุ ตั ิ บุคลากร 1 โครงการ กศน.อำเภอดอนสัก ต.ค. 65 เพ่ือขออนมุ ตั ิ โครงการ กศน.อำเภอ ดอนสกั 3. จัดกจิ กรรม เพอ่ื จดั กจิ กรรมให้ บุคลากร 60 คน กศน.อำเภอดอนสัก 1 พ.ย. 65 - - การปฏิบัติตาม บรรลตุ าม นกั ศกึ ษา – ระเบียบวินัยของ วตั ถปุ ระสงคใ์ นการ กศน.อำเภอ 30 เม.ย.66 องคก์ ร ดำเนินงาน ดอนสัก - กจิ กรรม สง่ เสริมอัตลักษณ์ ผ้าไทยและผา้ ท้องถิน่ 4.นิเทศติดตามผล เพ่อื ประเมนิ ความพึง ผอ.กศน. 4 คน กศน.อำเภอดอนสัก พ.ย. 65 – พอใจในการทำ ข้าราชการครู เม.ย.66 กจิ กรรม ครูอาสาสมัคร 5.รายงานสรุปผล เพ่อื ประเมนิ ผลการ ผู้รับผิดชอบ 1 เล่ม กศน.อำเภอดอนสัก พ.ค. 66 การดำเนนิ งาน ดำเนนิ งาน โครงการ
24 7. งบประมาณ - 8. ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ นางสาวอรพมิ ล ดำเกลีย้ ง 9. เครอื ขา่ ย 1. องค์การบรหิ ารสว่ นตำบล 2. กลมุ่ สตร/ี อสม. 3. อำเภอดอนสกั 10. โครงการทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 1. โครงการประกันคุณภาพการศึกษา 2. โครงการนเิ ทศกำกบั ตดิ ตาม 11. ผลลัพธ์ บุคลากร และนักศึกษา กศน.อำเภอดอนสัก ทเี่ ข้าร่วมโครงการตระหนักถงึ การสวมใสช่ ดุ ผ้าไทยและ ผ้าท้องถ่ิน มีระเบียบวนิ ยั ตรงเวลาตอ่ การปฏบิ ตั ิงานมากขึน้ 12. ตวั ชว้ี ดั ความสำเร็จของโครงการ 12.1 ผลผลติ (Output) - รอ้ ยละ 85 ของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการทมี่ คี วามพงึ พอใจในระดับดขี ้นึ ไป - ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมโครงการปฏิบัติตามระเบียบวินัยและร่วมกันส่งเสริมการสวมใส่ผ้าไทย ผ้าพน้ื เมือง 12.2 ผลลัพธ์ (Outcomes) บุคลากร และนักศึกษา กศน.อำเภอดอนสัก ที่เข้าร่วมโครงการได้ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบ ได้ ร่วมกันส่งเสรมิ อตั ลักษณว์ ฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ ในการสวมใสผ่ า้ ไทย ผ้าพืน้ เมอื ง 13. การตดิ ตามและประเมนิ โครงการ 1. แบบประเมินความพงึ พอใจ 2. ตดิ ตาม / ประเมินผลกจิ กรรม/ โครงการ 3. รายงานผลสรุปผลกิจกรรม/โครงการ ลงช่อื …………………………………………………….ผเู้ สนอโครงการ นางสาวอรพิมล ดำเกล้ยี ง ครู กศน.ตำบล ลงช่ือ.....................................................ผ้อู นุมัตโิ ครงการ (นางสาวรัชฎา โสมเพ็ชร)์ ผู้อำนวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอดอนสัก
25 คณะผูจ้ ดั ทำ ผอ.กศน.อำเภอดอนสัก ครูผชู้ ่วย นางสาวรชั ฎา โสมเพ็ชร์ ครูผชู้ ว่ ย นายอนัตชัย เกตุแกว้ บรรณารักษป์ ฏบิ ตั ิการ นางสาวพรรณนดิ า เรว็ เรยี บ ครูอาสาสมัครฯ นางสาวณัฐชนก นลิ วงศ์ ครู กศน.ตำบล นางสุจิรา อณจุ ร ครู กศน.ตำบล นางสาววิยตุ า สงิ ต้ิว ครู กศน.ตำบล นายบงกช สนธิเมือง ครู กศน.ตำบล นางกัลยา แพเพชร ครู กศน.ตำบล นางสาวอรพิมล ดำเกลยี้ ง ครผู ู้สอนคนพิการ นางสาวธนษิ ฐา ทำการเหมาะ พนักงานบริการ นางสาวยพุ นิ ชมุ เศียร นายพฒั ทนา เหมทานนท์
26
Search
Read the Text Version
- 1 - 30
Pages: