Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ห้องสมุดประชาชนอำเภอดอนสักรายงานสรุปโครงการส่งเสริมการอ่านออนไลน์

ห้องสมุดประชาชนอำเภอดอนสักรายงานสรุปโครงการส่งเสริมการอ่านออนไลน์

Published by annnatchanok19, 2022-04-08 14:10:50

Description: รายงานสรุปโครงการส่งเสริมการอ่านออนไลน์

Keywords: ห้องสมุดประชาชนอำเภอดอนสักรายงานสรุปโครงการส่งเสริมการอ่านออนไลน์

Search

Read the Text Version

รายงานสรปุ ผลการดำเนนิ งาน โครงการสง่ เสริมการอา่ นเพ่ือการเรียนรตู้ ลอดชีวติ กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นในรูปแบบออนไลน์ ปงี บประมาณ 2564 หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอดอนสกั ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอดอนสัก สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั สุราษฎรธ์ านี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



คำนำ เอกสารฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพ่ือรายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการอ่านเพื่อการเรียนรู้ ตลอดชีวิต กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบออนไลน์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและการ เรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อพัฒนาห้องสมุดประชาชนอำเภอดอนสักเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของชุมชนที่มคี ุณภาพ มกี าร นำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการบริการส่งเสริมการอ่าน และเพ่ิมอัตราการอ่านให้กับกลุ่มเป้าหมาย นักศึกษา เด็ ก แ ล ะ เย าว ช น ป ร ะ ช าช น ท่ั ว ไป จ ำ น ว น 1 ,5 66 ค น ใน ปี งบ ป ร ะ ม า ณ 2564 ไต รม าส 1 - 4 (1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564) ณ ห้องสมุดประชาชนอำเภอดอนสัก และพ้ืนที่อำเภอดอน สัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี อีกทั้ง การรายงานสรุปผลการดำเนินงานในครั้งน้ีเพื่อเผยแพร่ให้ประชาชนและหน่วยงาน ภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ได้รับทราบเก่ียวกับข้อมูลความก้าวหน้าของการจัดกิจกรรมโครงการที่สถานศึกษาได้ ดำเนินการจัด และเพ่ือนำผลการดำเนินงานสู่การพัฒนาปรับปรุงต่อยอดกิจกรรมโครงการให้มีความต่อเน่ืองอัน จะส่งผลประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน และผู้เรียนในโอการต่อไป การรายงานสรปุ ผลการดำเนินงานเล่มน้มี ีประเด็น เน้ือหาสำคัญโดยแบ่งออกเป็น 5 บท ได้แก่ บทท่ี 1 บทนำ บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี และเอกสารท่ีเกี่ยวข้อง บทที่ 3 กระบวนการ และวิธีการดำเนินงาน บทที่ 4 ผลการดำเนินการ และวิเคราะห์ข้อมูล และบทที่ 5 สรุปผล การดำเนนิ งาน อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารรายงานสรุปผลการดำเนินงานเล่มนี้คงเป็นประโยชน์แก่ผู้ท่ีสนใจในโครงการ ส่งเสริมการอ่านเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบออนไลน์ เพ่ือให้มีความรู้เกี่ยวกับการ ส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อพัฒนาห้องสมุดประชาชนอำเภอดอนสักเป็นศูนย์กลาง การเรยี นรูข้ องชุมชนที่มีคุณภาพ มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหมม่ าใช้ในการบริการส่งเสริมการอ่าน และเพ่ิมอัตราการ อา่ นได้จริง นางสาวณฐั ชนก นิลวงศ์ บรรณารกั ษ์ปฏบิ ัตกิ าร

สารบัญ หนา้ เร่อื ง 1 บทท่ี 1 บทนำ 3 -หลกั การและเหตผุ ล บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และเอกสารทเ่ี กี่ยวข้อง 7 10 -แนวคิด ทฤษฎี 16 -เอกสารท่ีเกยี่ วข้อง บทท่ี 3 กระบวนการ และวธิ ีการดำเนินงาน บทที่ 4 ผลการดำเนนิ การและวิเคราะห์ข้อมูล บทท่ี 5 สรุปผลการดำเนินงาน อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ คณะผ้จู ดั ทำ ประมวลภาพกิจกรรม ภาคผนวก

บทท่ี 1 บทนำ หลักการและเหตผุ ล การส่งเสริมการอ่าน ในส่วนของ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้มอบนโยบายและข้อส่ังการการดำเนินงานห้องสมุดประชาชนในพ้ืนท่ี ดงั นี้ 1.จัดห้องสมุดประชาชนให้มีบรรยากาศทีด่ ี อาคารพรอ้ มใหบ้ ริการ มสี ัญญาณอินเทอร์เนต็ แรง ปรบั รูปแบบ เปน็ หอ้ งสมดุ ดจิ ิทลั สามารถสบื ค้นขอ้ มูลไดร้ วดเรว็ โดยให้โยงถงึ เร่ืองการจัดกิจกรรมฝกึ อาชพี 2.จัดให้มีวัสดุอปุ กรณท์ ี่ทันสมัย เชน่ คอมพิวเตอร์ โตะ๊ เกา้ อี้ ปล๊กั ไฟ มีการซ่อมบำรุงรักษา 3.จัดให้หอ้ งสมุดมีพ้ืนท่ีส่วนตัวในการใชบ้ ริการเชน่ บล็อก ห้องประชุมกลุ่มเล็ก จัดพ้ืนที่ให้บรกิ ารตามความ ตอ้ งการของผ้ใู ชบ้ ริการ 4.จัดให้ห้องสมุดมีบริการร้านกาแฟ อาหารว่าง เช่นนำสินค้าของกลุ่มฝึกอาชีพจัดจำหน่ายตามความ เหมาะสมและความสนใจของผูใ้ ช้บริการในพื้นท่ี 5.จัดหาหนงั สอื สอ่ื เทคโนโลยีใหมท่ ี่ทันสมยั เป็นปัจจบุ ัน มบี ริการยืม - คืนและอา่ นออนไลน์ 6.จัดบรรยากาศภายในห้องสมุดประชาชนให้โล่ง กว้าง มีมุมบริการ มุมเด็ก แบ่งพ้ืนที่เป็นสัดส่วน สดใส นา่ เข้าใชบ้ รกิ าร 7.จดั ใหม้ ีการสอบถามความคดิ เห็นแบบออนไลน์ เช่นสำรวจความต้องการซอื้ หนงั สือเข้าหอ้ งสมดุ 8.จดั หาหนงั สือสำหรับผู้พกิ าร หนังสือเสยี ง และมพี ื้นที่อำนวยความสะดวก ห้องสมุดประชาชนอำเภอดอนสัก จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการอ่านเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิตประจำปี 2564 เพอื่ ให้สอดคลอ้ งตามยทุ ธศาสตร์ชาตแิ ละ นโยบาย จดุ เน้น ของสำนักงาน กศน. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอดอนสักเล็งเห็นความสำคัญในการสง่ เสริมการรู้ หนังสือ และส่งเสริมการอ่านของประชาชนที่เพ่ิมความสะดวกและรวดเร็ว ผ่านการอ่านออนไลน์ โดยใช้เทคโนโลยี เป็นศูนย์กลางในการส่งเสริมการอ่าน จึงจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบออนไลน์ ข้ึนเพื่อสร้างความสะดวก และรวดเรว็ ในการเรียนร้แู ละชว่ ยลดปัญหาเรื่องการแพรเ่ ชอ้ื โรคไวรสั โคโรนา่ 2019 อกี ดว้ ย วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือสง่ เสริมการอา่ นด้วยระบบออนไลนด์ จิ ิทัล 2. เพื่อใหป้ ระชาชนมคี วามร้พู ื้นฐานในการใช้เทคโนโลยีเพอ่ื การค้นควา้ 3. เพื่อใหป้ ระชาชนใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ ส่ือกลางในการอา่ นเพื่อสรา้ งความรู้ ขอบเขตของกิจกรรม โครงการสง่ เสริมการอ่านเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านในรปู แบบออนไลน์ มขี อบเขต การดำเนินการ ดงั น้ี 1. จำนวนผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม/โครงการ 1,566 คน 2. สถานท่ีดำเนินการ กศน. อำเภอดอนสกั ม.5 ตำบลดอนสกั อำเภอดอนสกั จงั หวดั สุราษฎร์ธานี 3. ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ นางสาวณัฐชนก นลิ วงศ์

เป้าหมาย - เชิงปรมิ าณ ประชาชนทวั่ ไปในพื้นอำเภอดอนสกั จำนวน 1,566 คน - เชิงคณุ ภาพ ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ/กจิ กรรม สามารถใชเ้ ทคโนโลยีเป็นส่อื กลางในการอา่ นเพื่อสรา้ งความรู้ได้ มากขน้ึ ดชั นชี ้วี ัดความสำเรจ็ ของกจิ กรรม/โครงการ ดชั นีชีว้ ัดผลผลติ - ผู้เขา้ รว่ มโครงการ ร้อยละ 80 มคี วามรู้พ้ืนฐานในการใช้เทคโนโลยีเพอื่ การคน้ ควา้ และการอา่ น ดัชนชี ว้ี ดั ผลลัพธ์ - ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม สามารถใช้เทคโนโลยีเป็นส่ือกลางในการอ่านเพื่อสร้างความรู้ได้ เพิ่มขึ้น

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และเอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง แนวคิด ทฤษฎที ี่ใช้ในการดำเนินงาน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอดอนสักไดน้ ำเอาแนวคิดของ ชลุ ีภรณ์ ฉิมเจริญ (2544 : 11) กลา่ วถงึ การมีส่วนร่วมวา่ เปน็ กระบวนการท่ีรัฐบาลทำการส่งเสริม ชักนำ สนบั สนนุ และสรา้ งโอกาสให้ ประชาชนในชุมชนทั้งในรูปสว่ นบุคคล กลมุ่ คน ชมรม สมาคม มลู นิธิและองคก์ ารอาสาสมัครรูปแบบต่าง ๆให้เข้ามา มีส่วนร่วมในการดำเนินงานเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือ หลายเร่ืองรวมกันเพ่ือให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และนโยบาย การพฒั นาท่กี ำหนดไว้ โดยมสี ่วนร่วมใน ลกั ษณะตอ่ ไปนี้ 1. ร่วมศึกษาค้นควา้ ปญั หาและสาเหตุของปญั หาทเี่ กิดข้นึ ในชมุ ชน รวมตลอดจนความต้องการของชุมชน 2.. ร่วมคดิ หาและสรา้ งรปู แบบและวิธกี ารพฒั นาเพือ่ แก้ไขและลดปัญหาของชมุ ชน หรือสร้างสรรค์สง่ิ ใหม่ๆ ท่เี ป็นประโยชนต์ ่อชมุ ชน หรือความตอ้ งการของชุมชน 3. ร่วมวางนโยบายหรือวางแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม เพ่อื ขจดั และแก้ไข ปัญหาและสนองความ ต้องการของชมุ ชน 4. ร่วมตดั สนิ ใจในการใช้ทรัพยากรทมี่ ีอยา่ งจากัดใหเ้ ป็นประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม 5. ร่วมจัดหาปรบั ปรงุ ระบบการบริหารงานพัฒนาให้มปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ล 6. รว่ มการลงทุนในกิจกรรมโครงการของชมุ ชนตามขีดความสามารถของตนเองและ หน่วยงาน 7. ร่วมปฏิบัติตามนโยบายแผนงาน โครงการและกจิ กรรมให้บรรลเุ ป้าหมายตามที่วางไว้ 8. ร่วมควบคุม ติดตามประเมินผลและร่วมบำรุงรักษาโครงการและกิจกรรมท่ีได้ทำไว้ ทั้งโดยเอกชน และ รัฐบาลให้ใช้ประโยชน์ได้ตลอดไป อีกท้ัง ห้องสมุดประชาชนอำเภอดอนสัก ได้นำเอาหลักทฤษฎี PDCA ของเดมม่ิง มาใช้ในการดำเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องทุกกิจกรรม ซ่ึงประกอบด้วยกระบวนการ 4 ข้ันตอน ได้แก่ 1. การวางแผน (Plan) การปฏิบัติ (DO) 3. การตรวจสอบ (Check) 4. การปรบั ปรุง แก้ไข (Action) เอกสารความรทู้ ่เี ก่ียวข้องดังน้ี ประโยชนข์ อง Social networks เครอื ข่ายสังคมออนไลน์ 1. สามารถแลกเปลยี่ นขอ้ มูลความรใู้ นสิ่งที่สนใจร่วมกนั ได้ 2. เป็นคลังข้อมูลความรู้ขนาดย่อมเพราะเราสามารถเสนอและแสดงความคิดเห็น แลกเปล่ียนความรู้ หรือ ต้งั คาถามในเรอ่ื งตา่ งๆ เพอื่ ใหบ้ ุคคลอ่นื ท่ีสนใจหรอื มคี าตอบไดช้ ว่ ยกนั ตอบ 3. ประหยดั ค่าใช้จ่ายในการติดตอ่ สื่อสารกบั คนอื่น สะดวกและรวดเร็ว 4. เป็นสื่อในการนำเสนอผลงานของตัวเอง เช่น งานเขียน รูปภาพ วีดิโอต่าง ๆ เพ่ือให้ผู้อ่ืนได้เข้ามารับชม และแสดงความคดิ เห็น 5. ใชเ้ ปน็ สื่อในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรือบริการลกู คา้ สาหรบั บริษทั และองค์กรต่างๆ ช่วยสรา้ งความ เช่ือมั่นใหล้ ูกคา้ 6. ช่วยสร้างผลงานและรายได้ให้แกผ่ ใู้ ช้งาน เกดิ การจา้ งงานแบบใหมๆ่ ขึ้น 7. คลายเครยี ดได้สำหรบั ผใู้ ช้ทต่ี อ้ งการหาเพ่ือนคุยเลน่ สนุกๆ 8. สร้างความสมั พันธท์ ด่ี จี ากเพ่ือนสเู่ พ่อื นได้ ประเภทของสื่อสงั คมออนไลน์ มดี ้วยกันหลายชนิด ข้ึนอยกู่ ับลกั ษณะของการนำมาใชโ้ ดยสามารถแบง่ ได้ดงั นี้

1. Weblogs หรือเรียกสนั้ ๆ วา่ Blogs คอื สอื่ ส่วนบุคคลบนอนิ เทอร์เน็ตที่ใช้เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ขอ้ คดิ เหน็ บันทึกส่วนตัว โดยสามารถแบ่งปันให้บคุ คลอนื่ ๆ โดยผู้รับสารสามารถเข้าไปอา่ น หรือแสดงความคิดเห็น เพ่ิมเติมได้ ซ่ึงการแสดงเน้ือหาของบล็อกนั้นจะเรียงลำดับจากเน้ือหาใหม่ไปสู่เน้ือหาเก่า ผู้เขียนและผู้อ่านสามารถ ค้นหาเน้ือหาย้อนหลังเพื่ออ่านและแก้ไขเพิ่มเติมได้ตลอดเวลา เช่น Exteen, Bloggang, Wordpress, Blogger, Okanation 2. Social Networking หรือเครือข่ายทางสังคมในอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นเครือข่ายทางสังคมท่ีใช้สำหรับ เชื่อมต่อระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล เพ่ือให้เกิดเป็นกลุ่มสังคม (Social Community) เพ่ือร่วมกันแลกเปล่ียนและ แบ่งปันข้อมูลระหว่างกันท้ังด้านธุรกิจ การเมือง การศึกษา เช่น Facebook, Hi5, Ning, Linked in,MySpace, Youmeo, Friendste 3. Micro Blogging และ Micro Sharing หรือท่ีเรียกกันว่า “บล็อกจิ๋ว” ซึ่งเป็นเว็บเซอร์วิสหรือเว็บไซต์ที่ ให้บริการแกบ่ ุคคลทั่วไป สำหรบั ให้ผใู้ ช้บริการเขียนขอ้ ความสน้ั ๆ ประมาณ 140 ตัวอักษร ทีเ่ รยี กว่า “Status” หรือ “Notice” เพื่อแสดงสถานะของตัวเองว่ากำลังทำอะไรอยู่ หรือแจ้งข่าวสารต่าง ๆ แก่กลุ่มเพ่ือนในสังคมออนไลน์ (Online Social Network) (Wikipedia,2010) ทั้งนี้การกำหนดให้ใช้ข้อมูลในรูปข้อความส้ันๆ ก็เพ่ือให้ผู้ใช้ท่ีเป็น ท้งั ผเู้ ขยี นและผู้อา่ นเขา้ ใจงา่ ย ทนี่ ยิ มใชก้ ันอยา่ งแพร่หลายคอื Twitter 4. Online Video เป็นเว็บไซต์ท่ีให้บริการวิดีโอออนไลน์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งปัจจุบันได้รับความนิยม อย่างแพร่หลายและขยายตัวอย่างรวดเร็ว เน่ืองจากเน้ือหาท่ีนำเสนอในวิดีโอออนไลน์ไม่ถูกจำกัดโดยผังรายการที่ แน่นอนและตายตัว ทำให้ผู้ใช้บริการสามารถติดตามชมได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่มีโฆษณาค่ัน รวมทั้งผู้ใช้สามารถ เลือกชมเน้ือหาได้ตามความต้องการและยังสามารถเช่ือมโยงไปยังเว็บวิดีโออื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้องได้จำนวนมากอีกด้วย เช่น Youtube, MSN, Yahoo 5. Poto Sharing เป็นเว็บไซต์ที่เน้นให้บริการฝากรูปภาพโดยผู้ใช้บริการสามารถอัพโหลดและดาวน์โหลด รปู ภาพเพ่ือนำมาใช้งานได้ ท่ีสำคัญนอกเหนือจากผู้ใช้บริการจะมีโอกาสแบ่งปันรปู ภาพแล้ว ยังสามารถใช้เป็นพ้ืนที่ เพื่อเสนอขายภาพท่ีตนเองนำเขา้ ไปฝากได้อกี ด้วย เชน่ Flickr, Photobucket, Photoshop,Express, Zooom 6. Wikis เป็นเว็บไซต์ที่มีลักษณะเป็นแหล่งข้อมูลหรือความรู้ (Data/Knowledge) ซ่ึงผู้เขียนส่วนใหญ่ อาจจะเป็นนักวิชาการ นกั วชิ าชีพหรือผู้เชีย่ วชาญเฉพาะทางดา้ นต่าง ๆ ทั้งการเมอื ง เศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม ซ่ึง ผ้ใู ชส้ ามารถเขยี นหรือแก้ไขขอ้ มูลไดอ้ ย่างอสิ ระ เช่น Wikipedia, Google Earth,diggZy Favorites Online 7. Virtual Worlds คือการสร้างโลกจินตนาการโดยจำลองส่วนหน่ึงของชีวติ ลงไป จัดเปน็ ส่ือสังคมออนไลน์ ทีบ่ รรดาผู้ท่องโลกไซเบอร์ใช้เพ่อื สอ่ื สารระหว่างกันบนอนิ เทอร์เน็ตในลกั ษณะโลกเสมือนจรงิ (Virtual Reality) ซึ่งผู้ ท่ีจะเข้าไปใช้บริการอาจจะบริษัทหรือองค์การด้านธุรกิจ ด้านการศึกษา รวมถึงองค์การด้านส่ือ เช่น สำนักข่าว รอยเตอร์ สำนกั ข่าวซีเอ็นเอ็น ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการซ้ือพ้ืนทเ่ี พื่อให้บุคคลในบรษิ ัทหรือองค์กรได้มชี ่องทางในการ นำเสนอเร่ืองราวต่าง ๆ ไปยังกลุ่มเครือข่ายผู้ใช้สื่อออนไลน์ ซ่ึงอาจจะเป็นกลุ่ม ลูกค้าทั้งหลัก และรองหรือ ผู้ที่เก่ียวข้องกับธุรกิจ ของบริษัท หรือองค์การก็ได้ ปัจจุบันเว็บไซต์ที่ใช้หลัก Virtual Worlds ที่ประสบผลสำเร็จ และมชี ่อื เสียง คือ Second life 8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของคำสองคำคือ Crowd และ Outsourcing เป็นหลักการขอความ ร่วมมือจากบุคคลในเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยสามารถจัดทำในรูปของเว็บไซต์ท่ีมีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือค้นหา คำตอบและวิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ ท้ังทางธุรกิจ การศึกษา รวมทั้งการส่ือสาร โดยอาจจะเป็นการดึงความร่วมมือ จากเครือข่ายทางสังคมมาช่วยตรวจสอบข้อมูลเสนอความคิดเห็นหรือให้ข้อเสนอแนะ กลุ่มคนท่ีเข้ามาให้ข้อมูล อาจจะเป็นประชาชนทั่วไปหรือผู้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านท่ีอยู่ในภาคธุรกิจหรือแม้แต่ในสังคมนักข่าว ข้อดีของ การใช้หลัก Crowd souring คือ ทำให้เกิดความหลากหลายทางความคิดเพื่อนำ ไปสู่การแก้ปัญหาที่ มี ประสิทธิภาพ ตลอดจนช่วยตรวจสอบหรือคัดกรองข้อมูลซ่ึงเป็นปัญหาสาธารณะร่วมกันได้ เช่น Idea storm, Mystarbucks Idea

9. Podcasting หรือ Podcast มาจากการรวมตัวของสองคำ คือ “Pod” กับ “Broadcasting” ซึ่ง “POD” หรือ PersonalOn - Demand คือ อปุ สงค์หรอื ความต้องการส่วนบคุ คล สว่ น“Broadcasting” เป็นการนำ สื่อต่าง ต่าง มารวมกันในรูปของภาพและเสียง หรืออาจกล่าวง่าย ๆ Podcast คือ การบันทึกภาพและเสียงแล้ว นำมาไว้ในเว็บเพจ (Web Page) เพื่อเผยแพร่ให้บุคคลภายนอก (The public in general) ที่สนใจดาวน์โหลดเพ่ือ นำไปใชง้ าน เช่น Dual Geek Podcast, Wiggly Podcast 10. Discuss / Review/ Opinion เป็นเว็บบอร์ดที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถแสดงความคิดเห็น โดยอาจจะ เกี่ยวกับ สินค้าหรือบริการ ประเด็นสาธารณะทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เช่น Epinions, Moutshut, Yahoo!Answer, Pantip,Yelp

บทท่ี 3 กระบวนการ และวิธกี ารดำเนนิ งาน กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นในรูปแบบออนไลน์ นำเอาหลกั ทฤษฎี PDCA ของเดมม่งิ มาใช้ในการดำเนินการ จัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องทกุ กจิ กรรม ซึง่ ประกอบด้วยกระบวนการ 4 ขน้ั ตอน ไดแ้ ก่ 1. การวางแผน (Plan) - ประชุมวางแผนมอบหมายงานกิจกรรม/โครงการ ตามแผนกิจกรรมฯ - ประชาสัมพนั ธก์ ารจดั กจิ กรรม - ตดิ ต่อประสานงานภาคเี ครือข่าย (วทิ ยากร / สถานท่ี / ทรัพยากร ฯลฯ) 2. การปฏบิ ตั ิ (DO) - สำรวจความต้องการ - ขออนญุ าตจัดกิจกรรมตามแบบสำรวจ - ทำหนงั สือเชิญวิทยากร - ทำคำสัง่ แตง่ แตว่ ิทยากรดำเนินโครงการ - ดำเนินการตามแผน - รายงานผลการดำเนนิ กิจกรรม/โครงการ 3. การตรวจสอบ (Check) - ประเมินผลการจดั กิจกรรม / โครงการ 4. การปรับปรงุ แกไ้ ข (Action) - นำจดุ บกพรอ้ งปญั หาทไ่ี ด้รบั จากการจัดกจิ กรรม/โครงการ ไปหาสาเหตุ และปรับปรงุ แก้ไขในการ จัดกิจกรรมครง้ั ต่อไปโดยดจู ากการสังเกต และ แบบประเมินสอบถามความพงึ พอใจของผู้รับบริการ 1. ระยะเวลาดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 ณ ห้องสมุดประชาชนอำเภอดอนสัก และพ้ืนที่อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2. แผนการปฏบิ ัติงาน โครงการส่งเสริมการอ่านเพอื่ การเรียนรู้ตลอดชวี ิต กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นในรปู แบบออนไลน์ มแี ผนการ ปฏบิ ัติงานที่กำหนดไว้ ดังน้ี ท่ี กิจกรรม ผลการดำเนนิ งาน 1. ประชมุ วางแผนการจัดกจิ กรรม -บคุ ลากรทกุ คนมีส่วนรว่ มในการวางแผนกำหนด แนวทางรปู แบบและวธิ ีการดำเนนิ การจัดกิจกรรม ร่วมกนั ท่ี กจิ กรรม ผลการดำเนินงาน 2. เสนอโครงการเพื่อขออนมุ ัต/ิ ประชาสัมพันธ์ -ผ้บู ริหารอนุมัติให้ดำเนินการจัดกจิ กรรม กจิ กรรม -ประชาชนในพ้นื ที่ได้รบั ทราบขอ้ มูลขา่ วสารเกย่ี วกบั การจัดกจิ กรรมการศกึ ษาของ กศน. เพ่ือใช้ ประกอบการตัดสนิ ใจเข้ารว่ มกจิ กรรมโครงการ

3. โครงการส่งเสริมการอา่ นเพ่อื การเรยี นรู้ตลอด -ไดก้ ำหนดแผนงาน / เน้อื หาสาระ /ประสานภาคี ชวี ติ กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรปู แบบ เครอื ข่าย ออนไลน์ -การจัดกจิ กรรมเป็นไปตามแผนและวตั ถุประสงคข์ อง 4. ดำเนินการจดั กิจกรรม โครงการท่ีกำหนดไว้ 5. นิเทศ กำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผล -ตดิ ตาม ทราบผลการดำเนนิ งาน ปรบั ปรงุ พัฒนา งาน 6. รายงานสรปุ ผล -ตดิ ตามผลการจัดกิจกรรมตามโครงการ -รายงานผลต่อผูบ้ งั คบั บัญชาตามลำดับข้นั -รายงานเผยแพรใ่ หส้ าธารณชนรับทราบ -รายงานสรุปผล จำนวน 1 เลม่ 3.วธิ ีดำเนินงาน โครงการส่งเสรมิ การอา่ นเพอ่ื การเรียนรตู้ ลอดชีวิต กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านในรูปแบบออนไลน์ มวี ิธกี าร ดำเนินงานทปี่ ฏบิ ัติ ดังน้ี กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เปา้ หมาย พน้ื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ - ดำเนนิ การ โครงการ 1. เพอื่ สง่ เสริม ประชาชน 1,500 พน้ื ท่ี ต.ค.63 ส่งเสรมิ การ การอ่านด้วย อา่ นเพื่อการ ระบบออนไลน์ ท่วั ไปในพืน้ ท่ี คน อำเภอดอนสกั ถึง เรียนรู้ตลอด ดจิ ทิ ลั ก.ย.64 ชวี ิต อำเภอดอนสกั ท้งั 4 ตำบล ได้แก่ตำบล ดอนสกั กจิ กรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมา เป้าหมาย พื้นที่ ระยะเวลา งบประมาณ ดำเนนิ การ ย กิจกรรม 2. เพ่อื ให้ ตำบลชลคราม สง่ เสรมิ การ ประชาชนมี ตำบล อา่ นใน ความรพู้ ้ืนฐานใน ไชยคราม รปู แบบ การใช้เทคโนโลยี ตำบล ออนไลน์ เพ่อื การค้นควา้ ปากแพรก 3. เพ่ือให้ ประชาชนใช้ เทคโนโลยเี ป็น สือ่ กลางในการ

อ่านเพื่อสรา้ ง ความรู้ 4.งบประมาณ แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ ผลิตท่ี 5 ผู้รับบริการการศึกษาตาม อัธยาศัย กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย รหัสศูนย์ต้นทุน 2000200383 รหัสงบประมาณ 2000236005000000 รหสั กิจกรรมหลัก 20028400P2734 แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ กจิ กรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ต.ค.-ธ.ค. ม.ค.-ม.ี ค. เม.ย.-มิ.ย. ก.ค.-ก.ย. โครงการสง่ เสรมิ การอา่ นเพือ่ การเรียนรู้ตลอดชีวติ - - -- กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านในรูปแบบออนไลน์ 5. เครอื่ งมือและขนั้ ตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูล เครอื่ งมือท่ีใช้ในการดำเนนิ งานหรอื เกบ็ รวบรวมข้อมูลเพ่ือการประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรมคร้ังน้ี ได้แก่ 1) แบบสอบถามเก่ยี วกับการประเมินความพงึ พอใจ 2) แบบประเมินผลการเรยี นหรือพฤติกรรมการเรยี นรู้

บทที่ 4 ผลการดำเนนิ การและวเิ คราะหข์ ้อมูล ผลจากการจัดโครงการส่งเสรมิ การอ่านเพอ่ื การเรียนรตู้ ลอดชีวิต กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นในรปู แบบออนไลน์ สามารถสรปุ ผลตามข้ันตอนในการดำเนนิ งาน ดังนี้ 1.ขั้นตอนการรว่ มกันวางแผน ข้ันตอนการร่วมกันวางแผน พบว่า การประชุมปรึกษาร่วมกันระหว่างผู้บริหาร / ข้าราชการ / ครูอาสาสมัคร ฯ / ครู กศน.ตำบล / ครูผู้สอนคนพิการ / บรรณารักษ์ ลูกจ้างเหมาบริการ กศน.อำเภอดอนสัก และภาคีเครือข่าย ทุกคนมีส่วนร่วมในการร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ และให้ความร่วมมือมีส่วนร่วมในการ วางแผนกำหนดการจัดกิจกรรม สนับสนุนการจัดกิจกรรมโครงการเป็นอย่างดีย่ิง และนำเสนอผู้บริหารเพื่อ พิจารณาอนุมัติให้ดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการได้ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงานแต่ละงานแต่ละกิจกรรมโดยวิธีการหมุนเวียนกันรับผิดชอบให้ครบทุกงานทุกกิจกรรมเพื่อเป็นการฝึก ทักษะประสบการณ์การปฏิบัติงานให้ทุกคนได้มีโอกาสเรียนรู้ ผู้รับผิดชอบดำเนินงานโครงการสร้างความเข้าใจกับ ผู้เรียนหรือผู้เข้าร่วมโครงการเพ่ือให้ทราบถึงวัตถุประสงค์และแนวทางในการดำเนินการ ติดต่อประสานงานภาคี เครอื ขา่ ยในการเตรียมความพรอ้ มการดำเนนิ งาน ท้ังด้านอาคารสถานที่ วิทยากรผเู้ ข้าความรู้ วัสดุอุปกรณเ์ อกสาร ประกอบการจัดกิจกรรม กำหนดระยะเวลาการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมสอดคล้องกับโครงการ และวิธีการ ประเมินผลตามลำดับ 2.ขนั้ ตอนการร่วมกนั ปฏิบัติ การปฏิบัติงานตามแผนงานท่ีวางไว้โดยมีขั้นตอนในการดำเนินงาน คือ การบันทึกเสนอผู้บริหารเพื่อ ขออนุญาตดำเนินการ พบว่า ได้รับการอนุญาตและให้ดำเนินการ ผลการดำเนินการตามโครงการส่งเสริมการอ่าน เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบออนไลน์ โดยมีกลุ่มเป้าหมายประชาชนในพ้ืนท่ี อำเภอดอนสัก พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมด้วยดี อีกทั้งให้ความสนใจ และได้รบั ความรู้จากการอ่านในรูปแบบออนไลนเ์ พ่ิมความร้แู ละเรยี นร้ไู ด้ ทกุ ที่ ทกุ เวลา 3.ขน้ั ตอนการรว่ มกันประเมิน การประเมินผลการจัดกิจกรรมตามโครงการสง่ เสริมการอ่านเพื่อการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต กิจกรรมส่งเสริมการ อ่านในรูปแบบออนไลน์ โดยมีผู้ร่วมกันประเมินผลการดำเนินการจัดกิจกรรม ได้แก่ ผู้เรียน ผู้รับผิดชอบโครงการ เจ้าหน้าท่ีบรรณรักษ์ ผู้มีส่วนร่วมในการเป็นคณะกรรมการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบงานนิเทศ ผู้บริหารสถานศึกษา และภาคีเครอื ขา่ ย ซงึ่ มีข้ันตอนการประเมิน ดงั นี้ ห้องสมุดประชาชนอำเภอดอนสัก จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจโดย ใช้แบบสอบถามจาก Google form ดงั นี้ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจห้องสมดุ ประชาชนอำเภอดอนสัก กจิ กรรมลงนามถวายพระพรออนไลน์

ผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจห้องสมุดประชาชนอำเภอดอนสัก กิจกรรมลงนามถวายพระพรออนไลน์ รวมทง้ั หมดจำนวน 240 คน ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไปของผตู้ อบแบบประเมิน 1. เพศ เพศ จำนวน (คน) รอ้ ยละ (%) ชาย 116 48.3 หญิง 124 51.7 รวม 240 100 2. อายุ อายุ จำนวน (คน) รอ้ ยละ (%) 7-15 ปี 65 27.1 15-20 ปี 69 28.8 21-45 ปี 85 35.3 46 ปขี ึน้ ไป 21 8.8 รวม 240 100 3. ระดบั การศึกษา ระดบั การศกึ ษา จำนวน (คน) รอ้ ยละ (%) ประถมศึกษา 25 10.4 มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 66 27.5 มัธยมศึกษาตอนปลาย 139 57.9 ปริญญาตรี 10 4.2 ปริญญาโท - - 240 100 รวม

ตอนที่ 2 แบบประเมินความพึงพอใจผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมลงนามถวายพระพรออนไลน์ ระดบั ความคดิ เห็น จำนวน ผลการประเมิน แปล รอ้ ยละ ผล ข้อ รายการทีป่ ระเมิน ดี ดี พอใช้ ตอ้ ง ปรับปรุง มาก ปรบั ปรุง ด่วน (5) (4) (3) (2) (1) 1. ข้อความลงนามถวายพระพร 96 116 28 0 0 240 4.28 85.67 ดี เข้าใจง่าย 117 84 39 0 0 240 4.33 86.50 ดี 2. การจัดกิจกรรมอยู่ในชว่ ง ระยะเวลาทเี่ หมาะสม 3. สามารถนำความรู้ไปพัฒนา 117 97 26 0 0 240 4.38 87.58 ดี ตนเองและประยุกต์ใช้ใน ชวี ิตประจำวันได้ 4. เจา้ หนา้ ทีจ่ ัดมีความรู้ 122 101 17 0 0 240 4.44 88.75 ดี ความสามารถในการจัดกิจกรรม 5. มีการเผยแพร่ประชาสมั พันธ์ 113 99 28 0 0 240 4.35 87.08 ดี หลากหลายชอ่ งทาง ภาพรวมของการประเมนิ เฉลยี่ 4.36 87.12 ดี จากแบบประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรมลงนามถวายพระพรออนไลน์ โดยรวมมีความพึงพอใจ อย่ใู นระดบั ดี คดิ เป็นรอ้ ยละ 87.12 ������̅ = 4.36 ขอ้ เสนอแนะ กิจกรรมลงนามถวายพระพรออนไลน์ อยากให้จัดกิจกรรมลงนามถวายพระพรออนไลน์เป็นประจำเม่ือถึง วันพระราชสมภพของพระบรมวงศานุวงศ์ เพ่ือได้เป็นการแสดงถึงความเครารพและจงรักภัคดีต่อสถาบัน พระมหากษตั ริย์

แบบประเมนิ ความพงึ พอใจห้องสมดุ ประชาชนอำเภอดอนสัก นิทรรศการออนไลนว์ นั สำคญั ต่างๆ ผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจห้องสมุดประชาชนอำเภอดอนสัก กิจกรรมนิทรรศการออนไลน์วันสำคัญ ตา่ ง ๆ รวมท้งั หมดจำนวน 158 คน ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบประเมนิ 1. เพศ เพศ จำนวน (คน) รอ้ ยละ (%) ชาย 69 43.7 หญงิ 89 56.3 รวม 158 100 2. อายุ อายุ จำนวน (คน) รอ้ ยละ (%) 7-15 ปี 12 7.6 15-20 ปี 76 48.1 21-45 ปี 70 44.3 46 ปขี นึ้ ไป - - รวม 158 100

3. ระดบั การศึกษา จำนวน (คน) รอ้ ยละ (%) 15 9.5 ระดับการศกึ ษา 45 28.5 ประถมศึกษา 90 57 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 8 5 มธั ยมศึกษาตอนปลาย - - ปริญญาตรี 158 100 ปรญิ ญาโท รวม ตอนท่ี 2 แบบประเมนิ ความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรมนิทรรศการออนไลนว์ ันสำคญั ตา่ งๆ ระดบั ความคดิ เห็น จำนวน ผลการประเมิน แปล รอ้ ยละ ผล ขอ้ รายการทปี่ ระเมนิ ดี ดี พอใช้ ต้อง ปรับปรุง มาก ปรับปรุง ดว่ น (5) (4) (3) (2) (1) 1. นิทรรศการมีสาระความรู้ที่ 64 56 38 0 0 158 4.16 83.29 ดี หลากหลาย 2. การจัดกจิ กรรมอยู่ในชว่ ง 88 63 7 0 0 158 4.51 90.25 ดมี าก ระยะเวลาท่เี หมาะสม 3. สามารถนำความรู้ไปพัฒนา 42 81 35 0 0 158 4.04 80.89 ดี ตนเองและประยุกตใ์ ช้ใน ชวี ิตประจำวนั ได้ 4. เจ้าหนา้ ทีจ่ ัดมคี วามรู้ 97 42 19 0 0 158 4.49 89.87 ดี ความสามารถในการจดั กจิ กรรม 5. การเผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์ 79 57 22 0 0 158 4.36 87.22 ดี หลากหลายช่องทาง ภาพรวมของการประเมนิ เฉล่ยี 4.32 86.30 ดี จากแบบประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรมนิทรรศการออนไลน์วันสำคัญต่างๆ โดยรวมมีความ พึงพอใจอยู่ในระดับ ดี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 86.30 ������̅ = 4.32 ขอ้ เสนอแนะ การจัดกิจกรรมนิทรรศการออนไลน์วันสำคัญต่างๆ อยากให้มีการจัดนิทรรศการออนไลน์วันสำคัญต่างๆ บอ่ ยครง้ั เพ่อื ที่จะไดเ้ รียนรู้วันสำคญั ต่างๆ ซง่ึ เป็นกิจกรรมทีด่ ีมากไดร้ ถู้ ึงวันสำคญั ต่างๆ

แบบประเมินความพึงพอใจหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอดอนสกั กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน Q-R codeสื่อรักการอ่าน ผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอดอนสัก กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน Q-R code สื่อรักการ อา่ น รวมท้ังหมดจำนวน 217 คน ตอนที่ 1 ข้อมลู ทวั่ ไปของผู้ตอบแบบประเมิน 1. เพศ เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ (%) ชาย 99 45.6 หญิง 118 54.4 รวม 217 100 2. อายุ อายุ จำนวน (คน) ร้อยละ (%) 7-15 ปี 96 44.2 15-20 ปี 121 58.8 21-45 ปี - - รวม 217 100

3. ระดับการศึกษา จำนวน (คน) รอ้ ยละ (%) 36 16.6 ระดบั การศกึ ษา 85 39.2 ประถมศกึ ษา 96 44.2 มัธยมศกึ ษาตอนต้น - - มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย - - ปรญิ ญาตรี 217 100 ปรญิ ญาโท รวม ตอนที่ 2 แบบประเมนิ ความพึงพอใจผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมส่งเสริมการอา่ น Q-R code ส่ือรักการอา่ น ระดับความคดิ เหน็ จำนวน ผลการประเมนิ แปล ร้อยละ ผล ขอ้ รายการท่ีประเมิน ดี ดี พอใช้ ตอ้ ง ปรบั ปรุง มาก ปรบั ปรงุ ด่วน 1. กจิ กรรมมีสาระความรู้ที่ (5) (4) (3) (2) (1) หลากหลาย 112 62 43 0 0 217 4.32 86.36 ดี 2. การจดั กจิ กรรมอยู่ในชว่ ง ระยะเวลาที่เหมาะสม 105 91 21 0 0 217 4.39 87.74 ดี 3. สามารถนำความรู้ไปพฒั นา 97 91 29 0 0 217 4.31 86.27 ดี ตนเองและประยุกตใ์ ชใ้ น ชวี ิตประจำวันได้ 4. เจา้ หนา้ ทีจ่ ดั มคี วามรู้ 151 53 13 0 0 217 4.64 92.72 ดมี าก 0 0 217 4.60 92.07 ดมี าก ความสามารถในการจัดกิจกรรม 5. สามารถสร้างคิวอาร์โค้ดได้ตาม 139 70 8 ตอ้ งการ ภาพรวมของการประเมิน เฉลีย่ 4.45 89.03 ดี จากแบบประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน Q-R code ส่ือรักการอ่าน โดยรวม มีความพึงพอใจอยใู่ นระดับ ดี คิดเป็นรอ้ ยละ 89.03 ������̅ = 4.45 ข้อเสนอแนะ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน Q-R code สื่อรักการอ่าน เป็นกิจกรรมออนไลน์ท่ีดีมาก มีเน้ือหาที่หลากหลาย สามารถเลอื กเรยี นรเู้ นื้อได้ตรงตามความสนใจ

แบบประเมนิ ความพงึ พอใจหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอดอนสกั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่านออนไลน์ดว้ ยระบบ Donsak Learning ผตู้ อบแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นออนไลนด์ ว้ ยระบบ Donsak Learning รวมทงั้ หมดจำนวน 575 คน ตอนท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไปของผู้ตอบแบบประเมิน 1. เพศ เพศ จำนวน (คน) รอ้ ยละ (%) ชาย 273 47.5 หญงิ 302 52.5 รวม 575 100 2. อายุ อายุ จำนวน (คน) รอ้ ยละ (%) 6 ปีขนึ้ ไป (ปฐมวัย) 95 16.5 217 37.7 9-18 ปี 263 45.7 20-45 ปี - - 46 ปขี ึ้นไป 575 100 รวม 3. ระดับการศึกษา จำนวน (คน) รอ้ ยละ (%) 145 25.2 ระดบั การศึกษา 263 45.7 ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนตน้

มัธยมศึกษาตอนปลาย 122 21.2 ปริญญาตรี 45 7.8 ปรญิ ญาโท - 0 รวม 575 100 ตอนท่ี 2 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจผเู้ ข้าร่วม กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นออนไลนด์ ้วยระบบ Donsak Learning ระดบั ความคิดเห็น จำนวน ผลการประเมิน แปล ร้อยละ ผล ข้อ รายการท่ีประเมิน ดี ดี พอใช้ ตอ้ ง ปรับปรงุ 1. ระบบเข้าใช้งานง่าย มาก ปรบั ปรงุ ด่วน (5) (4) (3) (2) (1) 311 197 67 0 0 575 4.42 88.49 ดี 2. สื่อบทเรยี นมีความหลากหลาย 367 181 27 0 0 575 4.59 91.83 ดีมาก ของเน้ือหา 0 0 575 4.52 90.43 ดีมาก 0 0 575 4.63 92.66 ดีมาก 3. สื่อมีความนา่ สนใจและมีสาระ 344 187 44 0 0 575 4.67 93.32 ดีมาก ความรู้ 4.57 91.35 ดมี าก 4. เจา้ หน้าที่ออกแบบระบบไดด้ ีมี 388 163 24 เมนไู ม่ซับซ้อน 5. สามารถเรยี นรู้ได้ด้วยตนเองและ 401 156 18 ปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำ ภาพรวมของการประเมิน เฉล่ีย จากแบบประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์ด้วยระบบ Donsak Learning โดยรวมมคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดบั ดมี าก คิดเปน็ รอ้ ยละ 91.35 ������̅ = 4.57 ข้อเสนอแนะ กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์ด้วยระบบ Donsak Learning เป็นกิจกรรมที่ดีมาก มีระบบการใช้งานที่ ง่ายสะดวกมสี ื่อบทเรียนมคี วามหลากหลายของเนือ้ หาสามารถเรยี นรูไ้ ด้ตลอดเวลาดว้ ยตนเอง

แบบประเมนิ ความพงึ พอใจหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอดอนสัก กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นออนไลน์ ดว้ ยระบบ Donsak Library ผตู้ อบแบบประเมินความพงึ พอใจ กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นออนไลนด์ ว้ ยระบบ Donsak Library รวมทั้งหมด จำนวน 276 คน ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทัว่ ไปของผู้ตอบแบบประเมิน 1. เพศ เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ (%) ชาย 107 38.8 หญิง 169 61.2 รวม 276 100 2. อายุ อายุ จำนวน (คน) รอ้ ยละ (%) 6 ปีข้ึนไป (ปฐมวัย) 56 20.3 98 35.5 9-18 ปี 122 44.2 20-45 ปี - - 46 ปีขึ้นไป 276 100 รวม

3. ระดับการศึกษา จำนวน (คน) รอ้ ยละ (%) 78 28.3 ระดับการศกึ ษา 88 31.9 ประถมศึกษา 94 34.1 มธั ยมศึกษาตอนต้น 16 5.8 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย - - ปรญิ ญาตรี 276 100 ปรญิ ญาโท รวม ตอนที่ 2 แบบประเมินความพงึ พอใจผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอา่ นออนไลน์ดว้ ย Donsak Library ระดับความคิดเห็น จำนวน ผลการประเมิน แปล ร้อยละ ผล ขอ้ รายการท่ปี ระเมิน ดี ดี พอใช้ ตอ้ ง ปรับปรุง 1. ระบบเข้าใช้งานง่าย มาก ปรบั ปรงุ ดว่ น (5) (4) (3) (2) (1) 248 104 24 0 0 376 4.60 91.91 ดมี าก 2. ระบบมเี มนูใหเ้ ลือกหลากหลาย 228 117 31 0 0 376 4.52 90.48 ดมี าก 3. ความน่าสนใจ และมีสาระความรู้ 246 91 39 0 0 376 4.55 91.01 ดีมาก ที่หลากหลาย 14 0 0 376 4.62 92.45 ดีมาก 4. สามารถเขา้ ใช้งานได้ทกุ ท่ีทกุ เวลา 248 114 5. ระบบสามารถใชง้ านได้และเป็น 261 87 28 0 0 376 4.62 92.39 ดมี าก ประโยชน์ 248 92 36 0 0 376 4.56 91.28 ดีมาก 6. การนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ภาพรวมของการประเมิน เฉล่ยี 4.58 91.59 ดมี าก จากแบบประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์ด้วยระบบ Donsak Library โดยรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับ ดมี าก คิดเปน็ รอ้ ยละ 91.59 ������̅ = 4.58 ข้อเสนอแนะ กิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์ด้วยระบบ Donsak Library เป็นกิจกรรมที่ดีมาก มีระบบการใช้งานท่ีง่าย ระบบมเี มนูใหเ้ ลอื กหลากหลายของเนอื้ หาและเป็นประโยชน์สามารถนำไปปรับใช้ในชวี ติ ประจำวันได้เปน็ อย่างดี

สรปุ แบบประเมินความพึงพอใจผเู้ ข้ารว่ มโครงการส่งเสริมการอา่ นเพือ่ การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นในรูปแบบออนไลน์ ระดับความคดิ เหน็ จำนวน ผลการประเมิน แปล ร้อยละ ผล ขอ้ กจิ กรรม ดีมาก ดี พอใช้ ต้อง ปรับปรงุ ปรบั ปรุง ด่วน (5) (4) (3) (2) (1) 1. กจิ กรรมลงนามถวายพระพร 565 497 138 0 0 1200 4.36 87.12 ดี ออนไลน์ 2. กจิ กรรมนทิ รรศการออนไลน์ 370 299 121 0 0 790 4.32 86.30 ดี วนั สำคญั ต่าง ๆ 3. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน 604 367 114 0 0 1085 4.45 89.03 ดี Q-R code สื่อรักการอ่าน 4. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน 1811 884 180 0 0 2875 4.57 91.35 ดีมาก ออนไลน์ดว้ ยระบบ Donsak Learning 5. กิจกรรมสง่ เสริมการอ่าน 1479 605 172 0 0 2256 4.58 91.59 ดมี าก ออนไลนด์ ว้ ยระบบ Donsak Library ภาพรวมของการประเมิน เฉล่ยี 4.45 89.07 ดี ที่ กจิ กรรม ผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรม (คน) ระดับความพงึ พอใจ 1. กจิ กรรมลงนามถวายพระพรออนไลน์ 240 ดี 2. กจิ กรรมนิทรรศการออนไลนว์ ันสำคญั ตา่ ง ๆ 158 ดี 3. กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน Q-R code ส่ือรกั การอา่ น 217 ดี 4. กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านออนไลนด์ ว้ ยระบบ Donsak Learning 575 5. กิจกรรมสง่ เสริมการอ่านออนไลนด์ ้วยระบบ Donsak Library 376 ดมี าก 1,566 ดีมาก รวม ดี สรุป จากแบบประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการอ่านเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต กิจกรรม ส่งเสริมการอ่านในรูปแบบออนไลน์ โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการในกิจกรรมต่างๆ จำนวน 1,566 คน มีระดับความ พงึ พอใจอยู่ในระดับ ดี

บทที่ 5 สรุปผลการดำเนนิ งาน อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ผลการดำเนินงาน 1.ผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ ท่ี วตั ถุประสงค์ สภาพความสำเรจ็ ผลการดำเนนิ งาน บรรลุ ไม่บรรลุ 1. เพือ่ สง่ เสรมิ การอา่ นดว้ ยระบบออนไลน์  ผู้เรียนมีความกระตือรือรน้ ในการ ดิจิทลั อ่านผ่านออนไลน์ 2. เพือ่ ให้ประชาชนมคี วามรู้พ้นื ฐานในการ  ผเู้ รียนมีความรู้พื้นฐานในการใช้ ใช้เทคโนโลยเี พอ่ื การคน้ คว้าความรู้ เทคโนโลยีเพอื่ ศึกษาข้อมลู ความรู้ 3. เพอื่ ใหป้ ระชาชนใชเ้ ทคโนโลยเี ป็น  ผู้เรียนสามารถใชเ้ ทคโนโลยีท่ีมอี ยู่ สื่อกลางในการอ่านเพื่อสรา้ งความรู้ ใหเ้ กดิ ประโยชนม์ ากขนึ้ 2.สรปุ ผลการดำเนนิ งานตามเปา้ หมาย เป้าหมาย สภาพความสำเรจ็ ผลการดำเนนิ งาน เชงิ ปริมาณ ประชาชนท่วั ไปในพ้ืน บรรลุ ไมบ่ รรลุ ผู้เข้ารว่ มโครงการให้การตอบรบั อำเภอดอนสกั  อยา่ งดี เชงิ คุณภาพ จำนวน 1,566 คน  ผ้เู รียนมีความรู้ พ้นื ฐานดา้ นการใช้ ตวั ช้ีวดั สามารถใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ เทคโนโลยีเพ่อื การอ่านได้อยา่ งมี ผลสำเร็จ สอ่ื กลางในการอ่านเพ่ือ ประสิทธิภาพ สรา้ งความรู้ได้มากขึ้น  ผูเ้ รยี นรอ้ ยละ 80 ของผ้เู ข้าร่วม ผู้เขา้ ร่วมโครงการ รอ้ ยละ โครงการมีความสามารถในการ 80 มีความรู้พื้นฐานในการ อ่านเพ่ิมมากข้นึ ใช้เทคโนโลยเี พื่อการ คน้ คว้าและการอ่าน สรุปผลการดำเนนิ โครงการ ห้องสมุดประชาชนอำเภอดอนสัก ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามแผนปฏิบัติการประจำปี งบประมาณ 2564 ภายใต้โครงการส่งเสริมการอ่านเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบ ออนไลน์ โดยดำเนินการแล้วเสรจ็ และสรปุ รายงานผลตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชาท้ังสิน้ โดยมีวัตถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ สง่ เสริมการอ่านดว้ ยระบบออนไลน์ดิจิทลั 2. เพ่อื ให้ประชาชนมีความรู้พื้นฐานในการใชเ้ ทคโนโลยีเพื่อการคน้ คว้า 3. เพ่ือใหป้ ระชาชนใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นส่อื กลางในการอ่านเพ่ือสรา้ งความรู้ สรุปโดยภาพรวม พบว่า การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบออนไลน์ ภายใต้โครงการส่งเสริมการ อ่านเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเรียนรู้ทักษะพื้นฐานการใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์และ มีความสามารถในการอ่าน เพ่ือสร้างองค์ความรู้ให้เพิ่มขึ้นผ่านรูปแบบออนไลน์ โครงการได้สำเร็จลุล่วงด้วยดีตาม วัตถุประสงค์ของโครงการ จากการสอบถามความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการ และผู้มีส่วนเก่ียวข้องในแต่ละ กจิ กรรม ส่วนใหญม่ ีความคิดเห็นต่อการจดั กจิ กรรมโดยเฉล่ียอยใู่ นระดับ ดแี ละ ดีมาก รองลงมา

จดุ เด่น / ปญั หา อปุ สรรคของโครงการ/กิจกรรม *จุดเด่นของโครงการ/กิจกรรม โครงการสง่ เสริมการอ่านเพอ่ื การเรยี นรู้ตลอดชีวติ กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นในรูปแบบออนไลน์ สามารถทำใหผ้ ู้เข้าร่วมโครงการมีความร้ทู เ่ี พมิ่ ข้นึ จากการอา่ นและเรยี นรูโ้ ดยการใช้เทคโนโลยี *ปัญหา อุปสรรคของโครงการ ศกั ยภาพการเรียนรู้ผา่ นการเรียนระบบออนไลน์ แต่ละคนไม่เท่ากัน อาจทำให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจช้าเร็ว ต่างกนั ศักยภาพการอ่านแตล่ ะคนก็ตา่ งกัน ข้อเสนอแนะเพอ่ื พฒั นาโครงการ -มีกิจกรรมทางออนไลนท์ เ่ี พ่ิมมากข้ึนและเป็นการแข่งขันเพ่ือสรา้ งแรงจงู ใจในการอ่าน ความต้องการในการพฒั นาต่อยอด อยากให้มีการต่อยอดกิจกรรมอกี

คณะผู้จดั ทำ นางชุตมิ ณฑน์ เรืองกาญจนสุรีย์ ผ้อู ำนวยการสำนักงาน กศน. จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี นางสาวรัชฎา โสมเพ็ชร์ ผูอ้ ำนวยการศนู ย์ นายอนตั ชยั เกตแุ กว้ ครูผชู้ ว่ ย นางสาวพรรณนดิ า เรว็ เรียบ ครูผชู้ ่วย นางสาวณัฐชนก นลิ วงศ์ บรรณารกั ษ์ปฏบิ ตั ิการ นางสุจริ า อณุจร ครูอาสาสมัครฯ นางสาววยิ ตุ า สิงติ้ว ครู กศน.ตำบล นายบงกช สนธเิ มอื ง ครู กศน.ตำบล นางกลั ยา แพเพชร ครู กศน.ตำบล นายศิลปช์ ยั มากเกลื่อน ครู กศน.ตำบล นางสาวธนิษฐา ทำการเหมาะ ครู กศน.ตำบล นางสาวยุพนิ ชมุ เศยี ร ครกู ลุ่มเปา้ หมายพิเศษ นายพัฒทนา เหมทานนท์ พนักงานบริการ

ประมวลภาพการจดั กิจกรรม

ภาคผนวก