Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน 5 ม.ค. 2565

คู่มือระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน 5 ม.ค. 2565

Published by mans251472, 2022-01-29 01:20:32

Description: คู่มือระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน 5 ม.ค. 2565

Search

Read the Text Version

ค่มู ือระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผ้เู รียนของสถานศกึ ษา สงั กัด สำนักงาน กศน.จังหวดั เพชรบรู ณ์

ก บทสรปุ ผู้บริหาร การดำเนินงานการจัดทำคู่มือระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนของสถานศึกษา สังกัด สำนักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นการจัดทำขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานดูแล ช่วยเหลอื ผเู้ รยี นเป็นไปอย่างมีระบบ มปี ระสิทธิภาพและเพ่ือให้สถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการทำงานร่วมกัน โดยผ่านกระบวนการทำงานที่ชัดเจนมีร่องรอย หลักฐาน การปฏิบัติงานสามารถตรวจสอบและประเมินผลได้ และเพื่อเป็นแนวทางในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อป้องกันและแก้ปัญหาและส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และเป็น แนวทางในการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนระบบช่วยเหลือผู้เรียนให้กับสถานศึกษาในสังกัดทั้ง 11 แห่ง โดยระบบ การดูแลช่วยเหลือผู้เรียนของสถานศึกษา เป็นกระบวนการดำเนินดูแลช่วยเหลือผู้เรยี นอย่างมีขัน้ ตอน พร้อมด้วย วิธีการและเครื่องมือ การทำงานที่ชัดเจน โดยมีครูแนะแนวเป็นบุคลากรหลักในการดำเนินการดังกล่าว และมี การประสานความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับครูที่เกี่ยวข้อง หรือบุคคลภายนอก รวมทั้งการสนับสนุนส่งเสริมจาก สถานศึกษา ระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนของสถานศึกษา หมายรวมถึง การส่งเสริม การป้องกัน และการแก้ไข ปัญหา โดยมีวิธีการและเครื่องมือสำหรับ ครูแนะแนวและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการดำเนินงานพัฒนา ผู้เรยี นให้มคี ุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคแ์ ละปลอดภัยจากสารเสพติด โดย สำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั เพชรบูรณ์ มีกระบวนการ และขน้ั ตอนของระบบการดูแลชว่ ยเหลือผูเ้ รยี น ประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ 6 ประการ คือ 1.การรจู้ ักผเู้ รียนเป็นรายบุคคล 2.การคัดกรองผูเ้ รียน 3.การปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา 4.การพัฒนาและส่งเสริมผู้เรยี น 5.การส่งต่อผเู้ รียน 6.สารสนเทศ ในการจดั ทำคู่มือระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผเู้ รียนของสถานศึกษาเล่มนี้ มงุ่ ใหเ้ กิดประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ของ ระบบการดูแลชว่ ยเหลือผู้เรยี น ดังน้ี 1. ผเู้ รียนได้รบั การดูแลช่วยเหลอื อย่างทว่ั ถึงและตรงตามสภาพปัญหา 2. สัมพันธภาพระหว่างครูกบั ผ้เู รยี นเป็นไปดว้ ยดแี ละอบอุ่น 3. ผูเ้ รยี นรจู้ ักตนเองควบคุมตนเองไดม้ กี ารพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) (ซ่งึ จะเป็น รากฐานในการพฒั นาความเก่ง(IQ) คณุ ธรรมจริยธรรม และความมุ่งม่นั ทีจ่ ะเอาชนะอปุ สรรค(AQ) 4. ผเู้ รียนเรยี นร้อู ย่างมคี วามสุขและได้รบั การสง่ เสรมิ พฒั นาเตม็ ตามศกั ยภาพอย่างรอบด้าน 5. ผเู้ กย่ี วข้องมสี ่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นอยา่ งเขม้ แข็งจริงจงั ด้วยความเสียสละ เอาใจใส่ (นางชนกพร จฑุ าสงฆ์) ผอู้ ำนวยการสำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวดั เพชรบรู ณ์ คมู่ อื ระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผูเ้ รียนของสถานศกึ ษา สังกดั สำนักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์

ข คำนำ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ.2545 จะ พบว่าการศึกษาในปัจจุบันให้ความสำคัญกับการพัฒนาผู้เรียน โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ มุ่งหวังใหผ้ ู้เรียน มีพัฒนาการแบบองค์รวม กล่าวคือให้เป็น คนเก่ง ดี มีความสุข อีกทั้งสภาพสังคมที่มีความเป็นสากลและ สลับซับซ้อนมากขึ้น ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการและเทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ฉับพลัน จึงมี เหตุการณ์ที่เป็นปัญหาเข้ามาเกี่ยวข้องกับผู้เรียนของเราอยู่ โดยเฉพาะเรื่องพฤติกรรมและลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน ความปลอดภัยในชีวิต ปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นภัยรอบข้างจึงจำเป็นต้องมีผู้ชี้แนะให้คำแนะนำ ให้ความรัก ความไว้วางใจ และความเข้าใจแก่ผู้เรียน เพื่อให้เยาวชนเติบโตอย่างมีคุณภาพและเป็นคนดี มพี ฤตกิ รรมทดี่ ี อยใู่ นสงั คมอยา่ งปลอดภยั และอยู่ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ ด้วยเหตุน้ี สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเพชรบูรณ์ จึงกำหนดให้มีการดำเนินงานเกี่ยวกับระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนของสถานศึกษา ซึ่งถือเป็นการเน้นบทบาทของ ครูแนะแนวอยา่ งเด่นชดั มากข้นึ คู่มอื ระบบการดแู ลชว่ ยเหลือผู้เรียนของสถานศึกษาเลม่ นี้ เป็นแนวทางในการดูแล ช่วยเหลือผู้เรียนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อป้องกันและแก้ปัญหาและส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็น ระบบ คณะผูจ้ ดั ทำ หวงั เปน็ อย่างย่ิงว่าคู่มอื ฉบับนจ้ี ะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผ้ทู ี่นำไปใช้ไม่มากกน็ อ้ ย ถ้าข้อความหรือ เน้อื หาในคู่มือฉบบั น้ไี ม่ครบถ้วนสมบรู ณอ์ ยา่ งไร คณะผู้จัดทำขออภยั ไว้ ณ ทน่ี ้ีดว้ ย สำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวดั เพชรบรู ณ์ คมู่ อื ระบบดูแลช่วยเหลอื ผเู้ รยี นของสถานศกึ ษา สงั กดั สำนักงาน กศน.จงั หวดั เพชรบูรณ์

สารบญั ค บทสรปุ ผบู้ รหิ าร หนา้ คำนำ ก สารบญั ข ค 1. หลกั การและเหตุผลการจดั ระบบการดูแลช่วยเหลอื ผเู้ รยี น 1 2. ความหมาย ความสำคญั และคณุ ค่า ระบบการดแู ลช่วยเหลอื ผ้เู รียน 2 3. วตั ถปุ ระสงค์ของระบบการดูแลช่วยเหลอื ผเู้ รยี น 3 4. ประโยชนแ์ ละคณุ ค่าของระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรยี น 3 5. กระบวนการและขัน้ ตอนของระบบการดูแลชว่ ยเหลือผเู้ รยี น 3 4 5.1 การรจู้ ักผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล 4 5.2 การคัดกรองผเู้ รยี น 5 5.3 การป้องกนั และแก้ไขปัญหา 5 5.4 การส่งเสริมพัฒนาผเู้ รียน 6 5.5 การส่งต่อผู้เรียน 6 5.6 สารสนเทศ 7 6. แผนภูมแิ สดงโครงสร้างการปฏบิ ตั งิ านของระบบการดแู ลช่วยเหลือผ้เู รยี น 8 7. บทบาทหน้าที่ในการปฏิบัติงานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื ผูเ้ รยี น 8 7.1 คณะกรรมการระดับจงั หวดั 8 7.2 คณะกรรมการระดับอำเภอ 9 7.3 คณะกรรมการระดับตำบล 9 7.4 คณะกรรมการภาคเี ครือข่ายในการส่งเสริมการเรียนรู้ 9 8. บทบาทหนา้ ท่ีของบคุ ลากรในคณะกรรมการระดับตำบล 9 8.1 คณะกรรมการ 9 8.2 ครแู นะแนว 10 8.3 หัวหนา้ งานกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน 10 8.4 ครูแนะแนวและครทู ี่เกีย่ วขอ้ ง 11 8.5 ผแู้ ทนองค์กรนักศกึ ษา คู่มือระบบดูแลชว่ ยเหลือผ้เู รียนของสถานศกึ ษา สังกดั สำนักงาน กศน.จังหวัดเพชรบรู ณ์

ง สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ ภาคผนวก 1. ค่มู ือการใชง้ านระบบดูแลช่วยเหลอื ผู้เรียน ด้านข้อมูลสารสนเทศปักหมดุ 12 บ้านนกั ศกึ ษา กศน. บรรณานุกรม 13 ผู้จดั ทำ 2.ใบสมคั รนักศึกษา (แบบประวัติผูเ้ รียน) 18 3.แบบบันทึกการตรวจสุขภาพนักศึกษา (รายบคุ คล) 19 4.แบบเก็บข้อมลู ผูเ้ รยี นรายบุคคล 20 5.แบบบันทกึ การคดั กรองผูเ้ รียน (แบบ 1) 22 24 6.แบบคัดกรองผู้เรยี นรายบุคคล (แบบ 2) 26 7.แบบบันทกึ การเย่ยี มบ้านผู้เรยี น 28 8.แบบติดตามผลการมงี านทำ /การศกึ ษาตอ่ ของผูส้ ำเร็จการศกึ ษา 29 9.บันทกึ ข้อความ ขออนญุ าตเปลี่ยนแปลงสถานท่ีพบกลุ่มระหวา่ งเทอม 30 10.แบบรายงานการฉีดวัคซนี ของนักศึกษา 31 11.แบบสรุปจำนวนนกั ศึกษาท่ีไดร้ บั การฉดี วัคซนี 32 33 คมู่ อื ระบบดแู ลช่วยเหลอื ผเู้ รียนของสถานศึกษา สงั กดั สำนักงาน กศน.จงั หวดั เพชรบูรณ์

1 ระบบการดูแลช่วยเหลอื ผ้เู รยี นของสถานศกึ ษา 1. หลกั การและเหตผุ ลการจดั ระบบการดูแลชว่ ยเหลือผเู้ รยี น เยาวชนในยุคปัจจุบันจำนวนไม่น้อย ได้รับผลกระทบจากปัญหาและสภาพแวดล้อม ที่ไม่ สร้างสรรค์ใน สังคมทำให้มีพฤติกรรมแตกต่างไปจากเด็กและเยาวชนในอดีตแม้ว่าผู้ปกครองครูและคนทำงานด้านเด็กและ เยาวชน จะใช้ความรักความปรารถนาดีอย่างมากมายเพียงใดก็ตามไม่อาจพิทักษ์ปกป้องและคุ้มครองเด็กและ เยาวชนให้ปลอดภยั หรอื มพี ฤตกิ รรมตามทส่ี งั คมคาดหวงั ไว้จากการประมวลสถติ ิข้อมูล สถานการณ์ปัญหาเด็กและ เยาวชนของหน่วยงานตา่ งๆพบว่าเด็กและเยาวชนทงั้ ทเี่ ปน็ ผูเ้ รยี นในระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานและระดับอ่ืนๆส่วน หนง่ึ มกั มีพฤตกิ รรมที่ไมพ่ งึ ประสงค์ดงั นี้ 1) ตกเป็นทาสของเกมคอมพิวเตอรจ์ นถึงข้ันหมกหมุน่ และเรยี นรพู้ ฤติกรรมท่ีไมเ่ หมาะสมจากเกมจนไปสู่ การประพฤติปฏิบัติท่ีก่อให้เกิดความสูญเสียแก่ตนเองและสังคม 2) นยิ มประลองความเร็วโดยการแขง่ รถมอเตอร์ไซคม์ ีพฤติกรรมการใช้รถจักรยานยนต์ ท่ผี ิดกฎหมาย เป็นนักซ่งิ วัยใสและเปน็ สกอ๊ ย(สาวน้อยซอ้ นท้ายหนุ่มกบั นักซ่งิ ) 3) ใชค้ วามรนุ แรงในการตดั สินปัญหาและข้อขัดแยง้ ทะเลาะวิวาทจับกลุ่มรวมตวั กันสร้างความปน่ั ปว่ นใน ชมุ ชน ไปจนถงึ การยกพวกตกี ัน 4) มีเพศสัมพันธ์เร็วขน้ึ เปน็ พ่อแม่ต้ังแต่อายยุ งั น้องมเี พศสัมพันธ์โดยไมป่ ้องกนั ตนเองขาดความรับผิดชอบ 5) เข้าถึงสารเสพติดไดง้ า่ ยเริ่มจากการใชบ้ ุหร่เี หลา้ ยาบา้ ยาไอซย์ าเลิฟและสารอันตรายทีแ่ พรร่ ะบาดใน กลุม่ เดก็ และเยาวชน 6) ขาดหลักยึดเหน่ียวทางจิตใจไม่เห็นความสำคญั ของหลักศาสนาค่านิยมความเปน็ ไทยความสัมพันธ์กบั คนในครอบครัวค่อนข้างเปราะบาง ติดเพื่อน ติดสื่อ และให้ความสำคัญกับวัตถุมากกว่าความ มีคุณธรรม นอกจากน้เี ด็กและเยาวชนยงั มีพฤตกิ รรมเส่ยี งต่อการเกดิ ปัญหาสังคม อาทิ ติดการพนันนิยมเส่ียงโชคการมั่วสุมใน หอพักไม่ชอบไปสถานศึกษาหนีเรียนทำร้ายรังแกกันเอง หมกมุ่นกับสื่อที่ไม่สร้างสรรค์ นิยมบริโภคอาหารกรุบ กรอบ อาหารทีไ่ ม่เป็นผลดีต่อสุขภาพ เครยี ดซึมเศร้ามองโลกในแง่ร้ายไมส่ นใจต่อปัญหาสังคมอยา่ งไรก็ตามสาเหตุ ท่ีทำให้เด็กและเยาวชนมพี ฤตกิ รรมท่ีไมเ่ หมาะสมเปน็ ผลมาจากปจั จยั เสีย่ งตา่ งๆ 1.1 ปจั จัยเสยี่ งจากสภาพครอบครวั ครอบครัวเป็นสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพและพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนที่เป็นปัญหา ของเดก็ และเยาวชนเป็นผลมาจากการเลี้ยงดูดว้ ยวธิ ีการทีไ่ มส่ ง่ เหมาะสมสริมใหแ้ สดงออกในทางท่ีไมถ่ ูกต้องปล่อย ปละละเลยเรียนรู้การใช้ความรุนแรงจากสมาชิกในครอบครัวครอบครัวแตกแยกผู้ปกครองบีบบังคับกดดันและ คาดหวังในตวั เด็กเกนิ กว่าความเปน็ จริงไมม่ ีบรรยากาศที่สร้างความรักความอบอนุ่ ความสมัครสมานสามัคคีเติบโต ในท่ามกลางความสับสนไม่มีความหวงั ขาดการอบรมบม่ นสิ ัยและไม่มี จุดหมายปลายทางในชีวติ 1.2 ปัจจัยเสีย่ งจากสถานศกึ ษา สถานศึกษาเป็นบ้านหลังที่สองของเด็กเป็นคุณงามความโดยเฉพาะการพัฒนาศักยภาพ ความรู้ ความสามารถ ของเด็กและเยาวชนให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าและสังคมแต่สถานศึกษาจำนวนไม่น้อยยัง ขาดความพร้อมที่จะทำ ให้เด็กและเยาวชนเป็นคนที่สมบูรณ์ตามความมุ่งหวังของสังคมจากการติดตาม พบว่า สถานศึกษาขาดการดูแลเอาใจใส่ผู้เรียนอย่างจริงจังที่เหมาะสมต่อการพิทักษ์ ปกป้อง คุ้มครองและให้การดูแล ช่วยเหลือผู้เรียนได้อย่างเท่าเทียมทั่วถึง ถูกต้อง และเป็นธรรม การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยไม่คำนึงถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคล ให้ความสำคัญกฎระเบียบมากกว่าชีวิตจิตใจของผู้เรียนพัฒนาผู้เรียนโดยไม่คำนึงถึง ค่มู อื ระบบดแู ลช่วยเหลอื ผู้เรียนของสถานศึกษา สงั กัด สำนักงาน กศน.จังหวัดเพชรบรู ณ์

2 องค์รวม ตลอดถึงการจัดการกลับปัญหาของผู้เรียนโดยขาดการมีส่วนร่วมและยัง เลือกใช้ความรุนแรงในการ แกป้ ญั หาพฤตกิ รรมผู้เรยี น 1.3 ปัจจัยเสย่ี งจากชมุ ชนและสงั คม ความล้มเหลวในชีวิตของเด็กและเยาวชนเป็นความสูญเสียทางเศรษฐกิจและต้นทุนทางความรู้สึกของ ผู้ปกครองอย่างประเมินค่าไม่ได้สังคมไทยยังละเลยต่อการจัดระเบียบแบบแผนในชุมชนชุมชนอ่อนแอขาด สัมพันธภาพที่ดีระหว่างสมาชิกในสังคมต่างคนต่างอยู่เอาหูไปนาเอาตาไปไร่ปล่อยให้มีการแสวงหา ผลประโยชน์ จากเด็กและเยาวชนยอมรับการเติบโตและขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ไม่สร้างสรรค์ละเลยต่อปัญหาของเด็กและ เยาวชนไม่ให้ความสำคัญต่อท่าทีของเด็กและเยาวชน มองเด็กและเยาวชนที่ประสบปัญหาด้วยทัศนะและท่าทีที่ ตอกยำ้ ซ้ำเตมิ 1.4 ปจั จัยเสยี่ งจากเพือ่ น เพื่อนเป็นปัจจัยที่สำคัญในชีวิตของเด็กและเยาวชนเป็นธรรมชาติท่ีเด็กและเยาวชนทุกคนต้องแต่เพื่อนก็ เป็นดาบสองคมที่อาจทำให้เด็กและเยาวชนจำนวนไม่น้อยก้าวพลาดเพื่อนที่มีนิสัยเกเร เช่น เป็นอันธพาล เสเพล เมา การคบเพ่อื นท่มี พี ฤตกิ รรมโนม้ เอยี งไปในทางกา้ วร้ามว่ั สุ่มเสี่ยงภยั เบย่ี งเบนหรือการไดร้ บั แรงบบี คน้ั กดดันข่มขู่ หรือการไม่ได้รับการยอมรับจากกลุ่มเพื่อน ซึ่งสภาพการณ์ ดังกล่าวล้วนส่งผลต่อพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน ทง้ั สิ้น 1.5 ปจั จัยเสย่ี งจากบุคลิกภาพหรือตัวผเู้ รียน เด็กและเยาวชนแต่ละคนมีภาวะด้านพัฒนาการแตกต่างกันมีบุคลิกภาพภายในและภายนอกตามสภาพ ความเป็นตัวตนที่มีลักษณะเฉพาะเช่นมีข้อจำกัดเกี่ยวกับพัฒนาการทางสมองและการรับรู้ไม่มีความตระหนักใน คุณค่าความสำคัญของตนเองขาดทกั ษะในการคดิ บกพร่องทางการเรียนรู้ปฏิเสธค่านิยมหรือศาสนาท่ีคนสว่ นใหญ่ นับถือไม่มีทักษะในการสื่อสารปฏิเสธไม่เปน็ ควบคุมอารมณ์และความเครียดไม่ได้รวมทั้งการมีปัญหาด้านสุขภาพ กายและสขุ ภาพจิตด้วยสภาพและปญั หาเก่ียวกับเดก็ และเยาวชนดงั ไดก้ ล่าวถึงขา้ งตน้ สำนกั งานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั เพชรบูรณ์ จงึ เห็นความสำคญั ของระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนซึ่ง เป็นนวตั กรรมทีเ่ กิดจากความ กรมสุขภาพจิตและกรมสามัญศกึ ษา ในอดีตจะเป็นเคร่ืองมืออีกชิ้นหนึ่งที่จะช่วยให้ สถานศึกษา และสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ใช้เป็นกลไกใน การดูแล ช่วยเหลือผู้เรียน ซึ่งประกอบไปด้วยข้อมูลข่าวสารที่เป็น ปัญหาเศรษฐกิจและสังคมที่มีความเร็วร้อนแรงและ ก้าวรา้ วไดอ้ ยา่ งเทา่ กนั ทว่ั ถงึ ถกู ตอ้ งและเปน็ ธรรมกับเด็ก และเยาวชนทกุ คน 2. ความหมายความสำคญั และคณุ ค่าระบบการดแู ลช่วยเหลือผเู้ รยี น ระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน เป็นกระบวนการดำเนินดูแลช่วยเหลือผู้เรียนอย่างมีขั้นตอน พร้อมด้วย วิธีการและเครื่องมือการทำงานที่ชัดเจนโดยมีครูที่ปรึกษาเป็นบุคลากรหลักในการดำเนินการดังกล่าว และมีการ ประสานความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับครูที่เกี่ยวข้อง หรือบุคคลภายนอก รวมทั้งการสนับสนุน ส่งเสริมจาก สถานศึกษา การดูแลช่วยเหลือ หมายรวมถึง การส่งเสริม การป้องกัน และการแก้ไขปัญหา โดยมีวิธีการและ เครื่องมือ สำหรับครูที่ปรึกษาและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการดำเนินงานพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์และปลอดภัยจากสารเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและนอก สถานศึกษาอันได้แก่คณะกรรมการสถานศึกษาผู้ปกครองชุมชนผู้บริหารและครูทุกคนมีวิธีการและเครื่องมือท่ี ชัดเจนมมี าตรฐานคณุ ภาพและมหี ลักฐานการทำงานท่ตี รวจสอบได้ คู่มอื ระบบดูแลช่วยเหลือผเู้ รยี นของสถานศึกษา สังกดั สำนักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์

3 การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพทั้งด้านร่างกายจิตใจสติปัญญาความสามารถมีคุณธรรม จริยธรรมและมีวิถชี ีวิตที่เป็นสุขตามท่ี สังคมมุง่ หวังโดยผ่านกระบวนการทางการศึกษานนั้ นอกจากจะดำเนินการ ด้วยการส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนแล้ว การป้องกันและการช่วยเหลือแก้ปัญหาต่างๆที่เกิดกับผู้เรยี นก็เป็นสิ่งสำคัญ เนื่องจากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วในทุกมิติทางด้านการสื่อสารเทคโนโลยีปัญหาเศรษฐกิจปัญหา การระบาดของสารเสพติดปัญหาครอบครัวปัญหาการแข่งขันทุกรูปแบบ ก่อให้เกิดความทุกข์ความวิตกกังวล ความเครียดซึ่งล้วนแต่เป็นผลเสียต่อสุขภาพจิตและสุขภาพกายของทุกคนจนนำไปสู่การเกิดปัญหาและสภาวะ วิกฤตทางสังคมด้วยความตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เรียนให้มีความสมบูรณ์พร้อม อย่างเป็นทางด้านร่างกายสติปญั ญาความรู้ความสามารถคุณธรรมจริยธรรมตลอดจนให้มีให้มคี วามสมบรู ณพ์ ร้อม อย่างเป็นองค์รวมทั้งด้านร่างกายสติปัญญาความรู้ความสามารถคุณธรรมจริยธรรมตลอดจนให้มีทักษะในการ ดำรงชีวิตกระทรวงศึกษาธิการจึงได้ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะอย่างยิ่งกรม สุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุขจัดทำระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนขึ้นตั้งแต่ ปี 2543 ซึ่งประสบผลสำเร็จเป็น อย่างดีในสถานศึกษาดำเนินการอย่างจริงจังและต่อเนื่องดังนั้นทุกสถานศึกษา ในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่ต้อง รับผิดชอบในการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตผู้เรียนและแก้วิกฤตสังคมจึงควรนำระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนมา ประยุกต์ใช้และพัฒนาให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละสถานศึกษาระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนคือการส่งเสริม พัฒนาการปอ้ งกันและการแก้ไขปัญหาให้แกผ่ เู้ รียน เพื่อให้ผ้เู รียนมีคณุ ลักษณะท่ีพึง่ ประสงคม์ ีภูมคิ ุ้มกันทางจิตใจมี คณุ ภาพชวี ิตทด่ี มี ีทักษะในการดำรงชีวิตและรอดพน้ จากสภาวะวิกฤตตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งปลอดภยั 3. วตั ถปุ ระสงค์ของระบบการดแู ลช่วยเหลอื ผ้เู รียน 1) เพื่อให้การดำเนินงานดูแลช่วยเหลอื ผู้เรยี นเป็นไปอยา่ งมีระบบมีประสทิ ธิภาพ 2) เพ่ือใหส้ ถานศกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผปู้ กครอง ชมุ ชน องคก์ รและหน่วยงานทีเ่ ก่ยี วข้องมี การทำงานร่วมกนั โดยผ่านกระบวนการทำงานท่ีชดั เจนมีร่องรอยหลกั ฐานการปฏบิ ตั ิงานสามารถตรวจสอบและ ประเมนิ ผลได้ 4. ประโยชน์และคุณค่าของระบบการดแู ลชว่ ยเหลือผเู้ รียน 1) ผูเ้ รียนได้รับการดแู ลช่วยเหลืออยา่ งทวั่ ถึงและตรงตามสภาพปญั หา 2) สัมพนั ธภาพระหวา่ งครูกับผู้เรียนเป็นไปด้วยดแี ละอบอนุ่ 3) ผ้เู รียนร้จู ักตนเองควบคมุ ตนเองไดม้ กี ารพฒั นาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) (ซงึ่ จะเป็นรากฐานใน การพัฒนาความเก่ง(IQ) คุณธรรมจรยิ ธรรม (MQ) และความมุ่งมั่นท่จี ะเอาชนะอปุ สรรค(AQ) 4) ผเู้ รยี นเรียนรู้อย่างมีความสขุ และได้รับการส่งเสริมพฒั นาเต็มตามศกั ยภาพอยา่ งรอบด้าน 5) ผู้เกย่ี วขอ้ งมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นอย่างเขม้ แข็งจรงิ จังด้วยความเสียสละเอาใจใส่ 5. กระบวนการและขัน้ ตอนของระบบการดแู ลช่วยเหลือผู้เรยี น ระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนเป็นกระบวนการเตรียมการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือผู้เรียน อย่างเป็น ระบบมขี น้ั ตอนมีครูแนะแนวเปน็ บุคลากรหลักในการดแู ลผเู้ รียนโดยการมีสว่ นร่วมของบคุ ลากรทุกฝ่ายที่เก่ียวข้อง การดำเนินงาน ท้ังภายในและภายนอกสถานศกึ ษาอนั ไดแ้ ก่ คณะกรรมการสถานศึกษา ผูป้ กครอง ชุมชน ผบู้ ริหาร และครู ทุกคนมวี ิธกี ารและเคร่ืองมือที่ชดั เจนมมี าตรฐานคุณภาพและมหี ลกั ฐานการทำงานที่ตรวจสอบได้ กระบวนการและข้ันตอนของระบบการดูแลช่วยเหลือผ้เู รยี นมอี งค์ประกอบสำคัญ 6 ประการ ดงั นี้ 1) การร้จู กั ผู้เรยี นเปน็ รายบุคคล 2) การคดั กรองผู้เรยี น 3) การป้องกนั และแก้ไขปัญหา คู่มือระบบดแู ลช่วยเหลอื ผู้เรยี นของสถานศกึ ษา สงั กัด สำนักงาน กศน.จังหวดั เพชรบรู ณ์

4 4) การพฒั นาและส่งเสรมิ ผูเ้ รียน 5) การส่งต่อผู้เรยี น 6) สารสนเทศ 5.1 การรู้จกั ผู้เรยี นเป็นรายบุคคล ด้วยความหลากหลายของผู้เรียนและผู้เรียนแต่ละคนซึ่งมีพื้นฐานความเป็นมาของชีวิตทีแ่ ตกต่างกันผ่าน การหล่อหลอมให้เกิดพฤติกรรมในหลายลักษณะทั้งด้านบวกและด้านลบดังนั้นการรู้ข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวกับตัว ผเู้ รียนจึงเปน็ ส่งิ สำคญั ที่จะช่วยให้ครูอาจารย์มีความเข้าใจผู้เรยี นมากข้ึนสามารถวเิ คราะห์ เพื่อการคัดกรองผู้เรียน และนำไปใชป้ ระโยชน์ในการพฒั นาส่งเสริมการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหา ของผเู้ รยี นได้อย่างถูกทางซึ่งเปน็ ข้อมูลเชิง ประจักษ์ที่ได้จากเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย ตามหลักวิชาการมิใชก่ ารใช้ความรูส้ ึกหรือการคาดเดาโดยเฉ พะในการแกไ้ ขปัญหาผเู้ รยี นซงึ่ จะทำให้ไม่เกิดข้อผดิ พลาดต่อการชว่ ยเหลือผูเ้ รียน เครื่องมือที่ใชใ้ นการการรจู้ ักผู้เรยี นเป็นรายบคุ คล ประกอบดว้ ย 1) ประวัติผูเ้ รียนรายบุคคล 2) แบบตรวจสขุ ภาพ 3) แบบเกบ็ ขอ้ มลู ผู้เรียนรายบคุ คล 4) แบบวิเคราะหผ์ ู้เรียนรายบุคคล 5) รายงานการลงทะเบยี นเรียนของนักศึกษา 6) ตารางสอบรายบคุ คล (ระหวา่ งภาค และ ปลายภาคเรียน) 5.2 การคดั กรองผ้เู รยี น การคัดกรองผู้เรียนเป็นการพิจารณาข้อมูลเกีย่ วกับผู้เรยี น เพื่อการจัดกลุ่มผู้เรียนซ่ึงจะประโยชน์อย่างยง่ิ ในการหาวิธีการที่เหมาะสมในการดูแลช่วยเหลือผู้เรยี นให้ตรงกับสภาพปัญหาและความต้องการจำเป็นด้วยความ รวดเร็วและถกู ต้องแม่นยำระบบการดูแลช่วยเหลือผ้เู รยี นโดยการแบ่งผูเ้ รยี นเปน็ 4 กลุ่ม ดงั น้ี 5.2.1 กลมุ่ ปกติ คอื ผ้เู รยี นที่ได้รับการวเิ คราะหข์ ้อๆตามเกณฑ์การคัดกรองของสถานศึกษา อยใู่ นเกณฑ์ของกลุ่มปกติซงึ่ ควรได้รับการสรา้ งเสรมิ ภูมิค้มุ กันและการสง่ เสรมิ พฒั นา 5.2.2 กลมุ่ เสี่ยง คอื ผเู้ รยี นท่ีอยใู่ นเกณฑ์ของกลุ่มเสี่ยงตามเกณฑก์ ารคัดกรองซ่งึ ของสถานศึกษา ตอ้ งใหก้ ารป้องกันและแกไ้ ขตามกรณี 5.2.3 กลุ่มมีปัญหา คือ ผเู้ รยี นทจ่ี ัดอยใู่ นเกณฑข์ องกลุม่ มปี ัญหาตามเกณฑก์ ารคัดกรองของ สถานศึกษา ซ่งึ สถานศกึ ษาต้องชว่ ยเหลือและแกป้ ัญหาโดยเรง่ ด่วน 5.2.4 กลมุ่ พิเศษ คอื ผเู้ รียนทม่ี ีความสามารถพิเศษมคี วามเปน็ อัจฉรยิ ะแสดงออกซึง่ ความสามารถอันโดดเด่นด้านใดด้านหนึง่ หรือหลายดา้ นอย่างเปน็ ที่ประจักษ์เม่ือเทียบกบั ผู้มีอายุในระดับเดียวกัน สภาพแวดล้อมเดียวกัน ซึ่งสถานศึกษาต้องให้การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถตามศักยภาพและ ความสามารถพเิ ศษนั้นจนถึงขน้ั สูงสุด เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการการคัดกรองผูเ้ รยี น ประกอบด้วย 1) แบบคัดกรองผเู้ รียน 2) แบบเยย่ี มบา้ นผู้เรียน 3) พิกัดท่ตี ้งั ของนักศึกษารายบคุ คล คู่มือระบบดูแลชว่ ยเหลือผเู้ รยี นของสถานศึกษา สังกดั สำนักงาน กศน.จงั หวัดเพชรบูรณ์

5 5.3 การป้องกนั และแก้ไขปัญหา ในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนครูควรให้ความเอาใจใส่กับผูเ้ รียนทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน แต่สำหรับผู้เรียน กลุ่มเสี่ยง /มปี ัญหาจำเปน็ อย่างมากท่ีต้องให้ความดแู ลเอาใจใส่อยา่ งใกล้ชิดและหาวิธีการช่วยเหลือทั้งการป้องกัน และการแก้ไขปัญหาโดยไม่ปล่อยปละละเลยผู้เรียนจนกลายเป็นปัญหาของสังคมการสร้างภูมิคุ้มกันการป้องกัน และแก้ไขปัญหาของผู้เรียนจึงเป็นภาระงานที่ยิ่งใหญ่และมีคุณค่าอย่างมาก ในการพัฒนาให้ผู้เรียนเติบโตเป็น บุคคลที่มีคุณภาพของสังคมต่อไป การป้องกันและแก้ไขปัญหาให้กับผู้เรียนนัน้ มีหลายเทคนิควิธีการ แต่สิ่งที่ครูที่ ปรึกษาจำเปน็ ต้องดำเนนิ การมีอยา่ งนอ้ ย 2 ประการ คอื การให้คำปรึกษาเบอ้ื งต้น การจดั กิจกรรมเพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหาเครื่องมือทใี่ ช้ในการการป้องกนั และแก้ไขปญั หา ประกอบดว้ ย 5.1 แนะแนวและใหค้ ำปรึกษาแนะนำ 5.2 กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น 1) คณุ ธรรมจรยิ ธรรม 2) ยาเสพติด 3) ลกู เสอื 4) ยวุ กาชาด 5) เพศศึกษา ฯลฯ 5.3 การเสรมิ แรงและให้กำลงั ใจ 5.4 การสง่ เสริมพัฒนาผูเ้ รียน การส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน เป็นการสนับสนุนให้ผู้เรียนทุกคนไม่ว่าจะเป็นผู้เรียนกลุ่มปกติหรือเสี่ยง/มี ปัญหากลมุ่ ความสามารถพิเศษให้มคี ุณภาพมากขน้ึ ได้พฒั นาเต็มศักยภาพมคี วามภูมิใจในตนเองในด้านต่างๆ ซงึ่ จะ ช่วยป้องกันมิให้ผู้เรียนที่อยู่ในกลุ่มปกติและกลุ่มพิเศษกลายเป็นผู้เรียนกลุ่มเสี่ยงแล ะเป็นการช่วยให้ผู้เรียนกลุ่ม เสี่ยง/มีปัญหากลบั มาเป็นผูเ้ รียนกลุม่ ปกติและมีคณุ ภาพตามมาตรฐานท่ีสถานศกึ ษาหรือชมุ ชนคาดหวงั ตอ่ ไป การส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนมีหลายวิธีที่สถานศึกษาสามารถพิจารณาดำเนินการ แต่มีกิจกรรมหลักท่ี สามารถดำเนินการได้ คือ 1) การจดั กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียน 2) การเย่ียมบ้าน 3) การจัดอบรม สมั มนา 4) การติดตามผเู้ รียน ท่จี บหลักสตู ร เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการสง่ เสริมพัฒนาผเู้ รียน ประกอบดว้ ย 1) Application กศน.อำเภอ 2) Meet 3) Zoom 4) Line 5) Facebook ฯลฯ คมู่ อื ระบบดูแลช่วยเหลอื ผเู้ รยี นของสถานศึกษา สังกดั สำนักงาน กศน.จงั หวดั เพชรบูรณ์

6 5.5 การสง่ ตอ่ ผูเ้ รยี น ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาของผู้เรียนโดยครูแนะแนวอาจมีกรณีที่บางปัญหามีความยากต่อการ ชว่ ยเหลือหรอื ชว่ ยเหลือแลว้ ผ้เู รยี นมพี ฤตกิ รรมไม่ดีขน้ึ กค็ วรดำเนนิ การสง่ ตอ่ ไปยังผ้เู ชย่ี วชาญต่อไป เพอ่ื ให้ปัญหา ของผู้เรียนได้รับการช่วยเหลืออย่างถูกทางและรวดเร็วขึ้น หากปล่อยให้เป็นบทบาทของครูแนะแนวหรอื ครูคนใด คนหนึ่งเพียงลำพัง ความยุ่งยากของปัญหาอาจมีมากขึ้นหรือลุกลามกลายเป็นปัญหาใหญ่โต จนยากต่อการ แกไ้ ขซง่ึ ครแู นะแนวสามารถดำเนินการได้ต้ังแต่กระบวนการรจู้ กั ผู้เรียน เป็นรายบคุ คลหรือการคัดกรองผู้เรียนก็ได้ ทง้ั น้ีขึน้ อยกู่ บั ลกั ษณะปัญหาของผู้เรยี นในแตล่ ะกรณี การส่งต่อแบ่งเปน็ 2 แบบ คือ 5.1 การส่งต่อภายใน ครแู นะแนวของสถานศึกษาสง่ ตอ่ ไปยังครทู ีส่ ามารถให้การชว่ ยเหลือ ผ้เู รียนได้ ทัง้ นี้ขนึ้ อยู่กับลกั ษณะของปัญหา 5.2 การสง่ ตอ่ ภายนอก ครูแนะแนวของสถานศกึ ษาหรอื เปน็ ผดู้ ำเนนิ การ ส่งต่อไปยงั ผเู้ ชี่ยวชาญภายนอก หากพิจารณาเห็นว่าเป็นกรณปี ัญหาท่ีมีความยากเกินกว่าศกั ยภาพของสถานศึกษาท่ีจะดูแลชว่ ยเหลอื ได้ 5.6 สารสนเทศ การจัดทำข้อมูลสารสนเทศ เป็นกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียน เพื่อใช้ดูแลช่วยเหลือ ป้องกันและแก้ไขปัญหาของผู้เรียน ให้อยู่ในรูปสารสนเทศที่เป็นประโยชน์สูงสุดและการจัดเก็บรักษาอย่างเป็น ระบบ โดยข้อมูลสารสนเทศและเครื่องมือที่ใช้ในระบบดูแลช่วยเหลือ ประกอบด้วย แบบเก็บข้อมูลผู้เรียน รายบคุ คล แบบบันทกึ การตรวจสขุ ภาพนกั ศึกษา แบบบนั ทึกการคัดกรองผู้เรียน แบบบนั ทึกการเย่ยี มบ้านผู้เรียน และระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ด้านข้อมูลสารสนเทศปักหมุดบ้านนักศึกษา กศน. เป็นต้น ซึ่งเป็นข้อมูลที่อยู่ใน รูปแบบของส่ือเอกสาร และสอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เพือ่ นำขอ้ มลู สารสนเทศท่ีได้มาใชป้ ระกอบการดูแลชว่ ยเหลือผู้เรียน และการแนะแนวการศึกษา คู่มอื ระบบดแู ลช่วยเหลือผเู้ รยี นของสถานศึกษา สังกดั สำนักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์

7 6. แผนภูมิแสดงโครงสรา้ งการปฏบิ ตั งิ านของระบบการดแู ละชว่ ยเหลือผเู้ รียน 1. รู้จักผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล 2. คดั กรองผเู้ รียน กลุ่มพิเศษ กล่มุ ปกติ กลุ่มเส่ียง กล่มุ มี ปัญหา 4. สง่ เสรมิ และพฒั นา 3. ป้องกนั และแก้ไขปญั หา ดีขน้ึ พฤตกิ รรมดีขน้ึ หรือไมด่ ีขน้ึ 6.ขอ้ มูลระบบสารสนเทศ 5. ส่งต่อผ้เู รียน - แบบฟอรม์ เอกสารต่างๆ - ภายใน : ครแู นะแนวประจำสถานศกึ ษา - ภายนอก : หนว่ ยงานหรือองค์กรท่ีมี - ระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรยี น ดา้ นขอ้ มลู สารสนเทศปกั หมดุ บา้ นนกั ศึกษา กศน ความเชยี่ วชาญเฉพาะดา้ น คู่มอื ระบบดแู ลชว่ ยเหลือผู้เรยี นของสถานศึกษา สังกดั สำนักงาน กศน.จังหวดั เพชรบูรณ์

8 7. บทบาทหน้าท่ใี นการปฏิบตั ิงานระบบการดแู ลช่วยเหลือผู้เรียน ในการดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรยี น จึงต้องมีผู้รับผิดชอบดำเนินงานตามบทบาทหน้าที่ ตามข้นั ตอนและกระบวนการที่ถูกต้องอย่างมีประสิทธภิ าพจึงจะช่วยให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการดูแล ช่วยเหลือตาม เจตนารมณข์ อง สำนกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย บทบาทหน้าท่ขี องคณะกรรมการในระบบการดแู ลช่วยเหลือผเู้ รียน 7.1 คณะกรรมการระดับจังหวดั ประกอบดว้ ย 1) ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา 2) คณะกรรมการสถานศึกษา 3) เครอื ขา่ ยผู้ปกครอง 4) ผแู้ ทนจากเทศบาล 5) ผู้แทนฝา่ ยปกครอง ผูใ้ หญ่บา้ น,กำนนั 6) ผแู้ ทนทางศาสนา 7) ผแู้ ทนสภาองค์กรชมุ ชน 8) ผู้แทนครู 9) ผูแ้ ทนตำรวจ 10) ผูแ้ ทนผู้เรยี น มีบทบาทหนา้ ท่ี ดังตอ่ ไปนี้ 1) ส่งเสริมและสนับสนนุ การขับเคลอื่ นและผดงุ รกั ษา ระบบการดูแลชว่ ยเหลือผเู้ รียน 2) สร้างขวญั กำลังใจ และพฒั นาบคุ ลากร 3) เป็นผนู้ ำในการผนึกผสาน บรู ณาการภารกิจ โดยรวมของสถานศกึ ษา 4) ประสานสัมพนั ธแ์ ละสรา้ งความเข้มแข็งให้คณะกรรมการระดับอำเภอ และเครอื ขา่ ย การดำเนินงานจากทุกภาคสว่ นที่ 5) นิเทศกำกบั ติดตามและประเมินผล 7.2 คณะกรรมการระดับอำเภอ คณะกรรมการระดบั อำเภอ ประกอบด้วย ครทู กุ คนเป็นกรรมการ หวั หน้างานกจิ กรรม พัฒนาผ้เู รียน เปน็ กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการระดบั อำเภอ มบี ทบาทหนา้ ท่ี ดังตอ่ ไปนี้ 1) ปฏิบตั งิ านในฐานะบคุ ลากรหลักในการดำเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื ผ้เู รยี น 2) ประสานงานระหว่างคณะกรรมการระดับจังหวัด และคณะกรรมการระดบั ตำบล และหน่วยงานอนื่ ๆ ทเ่ี ก่ียวข้องกับการดูแลช่วยเหลอื ผู้เรยี น 3) จัดทำเครอื่ งมอื อุปกรณท์ ี่จำเปน็ ในการพฒั นาดำเนินงานและรับผิดชอบในการช้ีแจง ความรู้ความเข้าใจ แกผ่ ปู้ ฏบิ ตั ิงาน 4) จดั การประชมุ คณะกรรมการทกุ ฝ่ายอยา่ งต่อเน่ืองเพ่อื แสวงหาแนวทางในการดูแล ชว่ ยเหลอื ผู้เรียน 5) สรุปรายงานผลการดำเนนิ งานและดำเนนิ การอ่นื ใดเพอ่ื ให้ระบบการดูแลชว่ ยเหลอื ผูเ้ รียนเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ คมู่ ือระบบดแู ลช่วยเหลือผู้เรียนของสถานศกึ ษา สงั กดั สำนักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์

9 7.3 คณะกรรมการระดับตำบล คณะกรรมการระดับตำบล ประกอบดว้ ย ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น เปน็ ประธานกรรมการ มี คณะกรรมการตามตำแหนง่ หนา้ ท่ตี ่าง ๆ ได้แก่ ครู กศน.ตำบล ครู ศรช. ครแู นะแนว เป็นกรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการระดบั ตำบล มีบทบาทหน้าทด่ี ังตอ่ ไปนี้ 1) ประสานงานกบั ผูเ้ ก่ยี วข้องและดำเนินการประชุมชแี้ จง 2) บันทกึ หลกั ฐานการปฏบิ ตั ิงานประเมินผลและจัดทำรายงาน 3) ศึกษาข้อมลู เกี่ยวกับความต้องการของครูแนะแนวและผ้เู รียนเพอ่ื ประโยชน์ต่อการชว่ ยเหลือ ผู้เรียน ประชุมคณะกรรมการอย่างต่อเนอ่ื งสมำ่ เสมอ 4) ดำเนินการดูแลให้ความช่วยเหลือผูเ้ รียนตามขั้นตอนและกระบวนการของระบบการดูแล ชว่ ยเหลือผูเ้ รียน 7.4 คณะกรรมการภาคีเครอื ข่ายในการสง่ เสรมิ การเรียนรู้ คณะกรรมการภาคีเครือข่ายในการส่งเสรมิ การเรียนรู้ ประกอบด้วย ภาคเี ครือข่าย องค์กรนักศึกษา อาสาสมคั ร กศน. องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบล พฒั นาชุมชน เกษตร ธกส. ตำรวจ ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน ผ้นู ำชมุ ชน หนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน ฯลฯ มีบทบาทหน้าท่ีดังต่อไปนี้ 1) การส่งเสริมการพฒั นาความรู้ใหก้ บั นักศึกษา 2) การชว่ ยเหลอื และรว่ มกนั ดูแลแกไ้ ขปญั หาผู้เรยี น 3) การสง่ ตอ่ ผเู้ รียนด้านการศึกษาตอ่ ในระดับทสี่ งู ขึน้ 4) สง่ เสรมิ การเรยี นรใู้ ห้กบั นักศึกษาเพอื่ พฒั นาคุณภาพชีวิต 5) การส่งตอ่ ผเู้ รียนให้มีความร้ดู ้านการพฒั นาอาชพี และประกอบอาชีพ 8. บทบาทหนา้ ท่ขี องบุคลากรในคณะกรรมการระดับตำบล 8.1 คณะกรรมการ 1) ติดตาม กำกบั การดูแลชว่ ยเหลอื ผเู้ รียนของครูทปี่ รกึ ษา 2) ประสานงานกับผ้เู ก่ียวขอ้ งในการดูแลชว่ ยเหลอื ผู้เรยี น 3) จดั ประชุมครูในระดบั เพ่ือพัฒนาประสทิ ธิภาพในการดแู ลชว่ ยเหลอื ผเู้ รยี น 4) จัดประชุมกลมุ่ เพ่ือปรึกษาปัญหารายกรณี 5) บันทกึ หลกั ฐานการปฏิบัตงิ านและจัดทำรายงานประเมินผลระดับ สง่ ผ้บู รหิ ารประสาน 8.2 ครูแนะแนว 8.2.1 ดำเนนิ การดูแลชว่ ยเหลือผู้เรียนตามแนวทางท่กี ำหนด ดงั น้ี 1) การร้จู ักผู้เรียนเป็นรายบุคคล โดยการรวบรวมขอ้ มูลผเู้ รียนเปน็ รายบุคคล จัดทำขอ้ มูลใหเ้ ป็น ระบบและเป็นปจั จบุ นั 2) การคดั กรองผเู้ รยี น วเิ คราะหข์ ้อมลู จำแนกจากการจัดกลุ่มผเู้ รียน เช่น กลมุ่ เดก็ มีความสามารถพิเศษ ปกติ กลมุ่ เสีย่ ง และกลมุ่ มปี ัญหาต้องการการช่วยเหลือโดยเร่งดว่ น 3) การส่งเสริมและพฒั นาผ้เู รียน โดยจดั กิจกรรม โครงการ โครงงาน สง่ เสริมพัฒนา ผเู้ รยี นให้รจู้ ักตนเองรักและเห็นคุณคา่ ในตนเองมีทักษะในการดำรงชวี ิต 4) การป้องกันและแกไ้ ขปญั หา ดูแลชว่ ยเหลือใหค้ ำปรึกษากรณปี ัญหาท่ีไมย่ ุ่งยากซบั ซ้อน ท้ัง รายบคุ คลและเป็นกลมุ่ 5) การสง่ ต่อผู้เรียน กรณีมีปัญหาของผเู้ รียนซับซอ้ น ใหส้ ่งตอ่ ไปยังผูเ้ ช่ยี วชาญหรือผู้มี ทักษะความสามารถตรงกับลักษณะปญั หา คู่มอื ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผู้เรยี นของสถานศกึ ษา สงั กดั สำนักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์

10 6) ขอ้ มลู ระบบสารสนเทศ - แบบฟอร์มเอกสารตา่ งๆ - ระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ด้านข้อมลู สารสนเทศปกั หมุดบา้ นนักศึกษา กศน 8.2.2 พฒั นาตนเองดา้ นองคค์ วามร้ทู างจติ วิทยาการแนะแนวและการให้คำปรกึ ษา 8.2.3 ร่วมประชุมกลมุ่ ปรึกษาปัญหารายกรณี 8.2.4 บันทึกหลักฐานการปฏิบัติงานและประเมนิ ผล รายงานส่งต่อผู้บรหิ าร 8.3 หัวหน้างานกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน 1) นิเทศเพื่อสนับสนุนและเป็นแกนหลักแก่ครูแนะแนวและผู้เกี่ยวข้องทุกคนการให้ความรู้เทคนิค วิธีการ และกระบวนการตามหลักจิตวิทยาและการแนะแนว เพื่อใช้ในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนในประเด็นสำคัญ ตอ่ ไปน้ี เทคนิค วธิ ีการ และเครอ่ื งมอื เพอื่ การรจู้ ักและเขา้ ใจผเู้ รยี นรวมทั้งการคัดกรองจัดกลุม่ ผ้เู รียน การใหค้ ำปรึกษาเบอ้ื งตน้ เช่น การใชแ้ บบทดสอบ การสังเกต การสมั ภาษณ์ เสนอแนะแนวทางการจดั กิจกรรม การประชุม และการจดั กจิ กรรมสำหรับผเู้ รียน ทกุ กลุม่ คดั กรอง ใหค้ วามรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับธรรมชาติและลกั ษณะของผเู้ รียนกลมุ่ พเิ ศษประเภทตา่ ง ๆ และ เสนอแนวทางในการดแู ลช่วยเหลอื ส่งเสริมและการพัฒนาผู้เรียน 2) ให้คำปรึกษาแก่ผู้เรียน (ในกรณีที่ครูแนะแนวไม่สามารถแก้ไขหรอื ยากต่อการช่วยเหลือ) และผู้ ขอรบั บริการทั่วไป 3) ประสาน กับผ้เู กี่ยวข้องทง้ั ในและนอกสถานศกึ ษา เปน็ ระบบกบั “เครือข่าย” ในการดำเนนิ งาน แนะแนวและการดแู ลช่วยเหลือผู้เรยี น 4) จดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น 5) ใหบ้ ริการต่าง ๆ หรือจดั ทำโครงการ กิจกรรมกลุ่มต่าง ๆ ให้กับผู้เรียน ซึ่งเป็นการสนบั สนุนระบบ ดแู ลช่วยเหลอื ผเู้ รียน 6) รว่ มประชมุ กลมุ่ ปรึกษาปัญหารายกรณี 7) ในกรณีที่ผเู้ รยี นมีปัญหายากต่อการช่วยเหลือของครู ใหส้ ง่ ต่อผ้เู ชยี่ วชาญภายนอกและติดตามผล การช่วยเหลอื น้ัน 8) บนั ทกึ หลักฐานการปฏบิ ัติงานและประเมินผลรายงานสง่ ผู้บรหิ าร 8.4 ครแู นะแนวและครูทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 1) ศึกษาขอ้ มูลของผู้เรียนเป็นรายบคุ คล เพื่อร้จู กั และเขา้ ใจผูเ้ รียนอยา่ งแทจ้ ริง 2) ให้ข้อมลู เกย่ี วกบั ตัวผู้เรียนแก่ครูแนะแนวคนอื่นๆ และใหค้ วามรว่ มมอื กับครูแนะแนวอื่นๆ และ ผเู้ กยี่ วขอ้ งในการดแู ลชว่ ยเหลอื ผเู้ รียน 3) ให้ขอ้ มลู การรูจ้ กั และเข้าใจผู้เรยี นในการจัดกระบวนการเรียนร้กู จิ กรรมพฒั นา8ผูเ้ รียน บริการ ตา่ ง ๆ ใหผ้ เู้ รียนได้พัฒนาตามธรรมชาติและเตม็ ตามศักยภาพ 4) ใหค้ ำปรึกษาเบอื้ งตน้ ในรายวิชาทสี่ อน ในดา้ นการศกึ ษาต่อ การประกอบอาชพี ทักษะการ ดำรงชีวิต และบคุ ลกิ ภาพท่พี ึงประสงค์ 5) พัฒนาตนเองด้านองค์ความรู้ทางจิตวทิ ยาและการแนะแนวและนำมาบรู ณาการในการจัด ประสบการณ์การเรยี นรู้ใหแ้ ก่ผเู้ รียน 6) รว่ มประชมุ กลุ่มปรึกษาปญั หารายกรณี ในกรณที เี่ ก่ยี วขอ้ งกบั การดูแลช่วยเหลอื ผ้เู รียน คูม่ ือระบบดูแลช่วยเหลือผูเ้ รียนของสถานศึกษา สงั กัด สำนักงาน กศน.จังหวดั เพชรบรู ณ์

11 7) บนั ทึกหลักฐานการปฏิบตั ิงาน สรปุ ผล และรายงานส่งหวั หน้าระดบั 8.5 ผแู้ ทนองคก์ รนักศกึ ษา 1) เรียนรูแ้ ละทำความเขา้ ใจกรอบแนวคดิ ของระบบการดแู ลช่วยเหลือผเู้ รยี น 2) ประสานงานในการรวบรวมข้อมลู เกย่ี วกับสภาพปญั หาและความต้องการจำเป็นของผู้เรยี น 3) สว่ นรว่ มในการกำหนดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 4) เป็นแกนนำในการดูแลช่วยเหลือเพ่ือนผู้เรียนให้ได้รบั ประสบการณ์การเรียนรแู้ ละเสรมิ สร้าง ทักษะการดำรงชีวติ อยา่ งเต็มตามศกั ยภาพ คูม่ อื ระบบดแู ลชว่ ยเหลือผูเ้ รยี นของสถานศึกษา สังกดั สำนักงาน กศน.จังหวัดเพชรบรู ณ์

12 1.คมู่ ือการใชง้ านระบบดูแลชว่ ยเหลือผูเ้ รียน ด้านขอ้ มลู สารสนเทศปักหมุดบ้านนกั ศึกษา กศน. 2.ใบสมัครนกั ศกึ ษา (แบบประวตั ผิ ู้เรยี น) 3.แบบบันทึกการตรวจสขุ ภาพนกั ศึกษา (รายบุคคล) 4.แบบเก็บข้อมูลผเู้ รียนรายบุคคล 5.แบบบนั ทกึ การคัดกรองผู้เรียน (แบบ 1) 6.แบบคัดกรองผ้เู รยี นรายบุคคล (แบบ 2) 7.แบบบนั ทกึ การเย่ยี มบา้ นผู้เรยี น 8.แบบตดิ ตามผลการมงี านทำ /การศกึ ษาตอ่ ของผสู้ ำเร็จการศกึ ษา 9.บันทึกข้อความ ขออนญุ าตเปลีย่ นแปลงสถานที่พบกลมุ่ ระหวา่ งเทอม 10.แบบรายงานการฉีดวัคซีนของนักศึกษา 11.แบบสรุปจำนวนนกั ศึกษาที่ไดร้ บั การฉดี วัคซีน คูม่ อื ระบบดแู ลช่วยเหลือผูเ้ รยี นของสถานศึกษา สงั กัด สำนักงาน กศน.จังหวดั เพชรบรู ณ์

13 “คู่มอื การใช้งานระบบดูแลช่วยเหลอื ผู้เรียน ดา้ นขอ้ มูลสารสนเทศ ปักหมุดบ้านนกั ศกึ ษา กศน.” ของสถานศกึ ษา 11 อำเภอสังกดั สำนกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวัดเพชรบูรณ์ 1. ภาพรวมของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศและการปักหมุดบ้านนักศึกษา กศน. เปน็ ระบบการคน้ หานกั ศึกษา กศน.ทจ่ี ัดทำข้นึ เพื่ออำนวยความสะดวกให้กบั ครูและบคุ ลากรในการเยี่ยมบ้านนักศึกษา กศน. รวมไปถงึ การค้นหานักศึกษาใหม่ของสถานศกึ ษา กศน.อำเภอ ทงั้ 11 แหง่ ในสังกัด สำนักงาน กศน.จงั หวดั เพชรบูรณ์ 2. การวางแผนระบบสารสนเทศ กอ่ นท่ีจะดำเนนิ การเรื่องระบบสารสนเทศและการปักหมดุ บา้ นนกั ศึกษา กศน. นนั้ จำเป็นทีจ่ ะต้องมีการวางแผน เพ่ือดำเนนิ งานให้เรยี บร้อยก่อน โดยมีการออกแบบตาม ขัน้ ตอนดังนี้ 2.1 ออกแบบตารางเก็บขอ้ มูล 2.2 การสรา้ ง Google Form ในการเกบ็ ข้อมูล 2.3 การใชง้ าน Data Studio 2.4 การใชง้ านของครูและบคุ ลากรของสถานศึกษา กศน. 11 อำเภอในสงั กัด 2.1 ออกแบบตารางเก็บข้อมลู การออกแบบตารางเก็บข้อมลู นน้ั มคี วามสำคญั เปน็ อย่างยิ่ง ซึ่งการออกแบบตารางของข้อมูลนักศึกษา กศน.นั้น สร้างเพื่อจัดเกบ็ ข้อมูลที่เราตอ้ งการแสดงเพื่อค้นหา ข้อมูลจากตัวอย่างตารางข้อมูลนักศึกษา กศน.ด้านล่างจะอธิบายการใช้คำถาม และประเภทของคำตอบในการ ออกแบบตารางเก็บข้อมลู สารสนเทศนกั ศึกษา กศน.ของสถานศึกษา กศน.อำเภอทั้ง 11 แห่ง ในสังกัด สำนักงาน กศน.จงั หวดั เพชรบูรณ์ รูปภาพตาราง Google Sheet ในการจัดเกบ็ ข้อมลู สารสนเทศ คมู่ ือระบบดแู ลช่วยเหลอื ผู้เรยี นของสถานศึกษา สงั กัด สำนักงาน กศน.จงั หวัดเพชรบรู ณ์

14 2.2 การสร้าง Google Form ในการเก็บข้อมูล ในการออกแบบข้อมูลใช้ Google Form ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในบริการของกลุ่ม Google Docs ที่ช่วยให้สร้างแบบสอบถามออนไลน์ หรือใช้สำหรับ รวบรวมขอ้ มลู ได้อย่างรวดเร็ว โดยทไ่ี ม่ตอ้ งเสียค่าใชจ้ ่าย ในการใช้งาน สามารถนำไปปรบั ประยุกต์ใช้งานได้หลาย รปู แบบอาทิ เชน่ การทำแบบฟอรม์ สำรวจความคดิ เหน็ การทำแบบฟอรม์ สำรวจความพึงพอใจ การทำแบบฟอร์ม ล ง ท ะ เ บ ี ย น ห ร ื อ แ ม้ แ ต ่ ก า ร เ ก ็ บ ข ้ อ ม ู ล ส า ร ส น เ ท ศ น ั ก ศ ึ ก ษ า ก ศ น . ด ้ ว ย ล ิ ง ค์ URL https://forms.gle/mFCcWqn8tiAD5dxn7 และด้วย QR-Code จากนั้นจะปรากฏ สเปรดชีต ขึ้นมา เปน็ ขอ้ มลู ทีก่ รอกในฟอรม์ รูปภาพ Google Form ของข้อมูลสารสนเทศปักหมุด นกั ศกึ ษา กศน. คูม่ อื ระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนของสถานศกึ ษา สังกัด สำนักงาน กศน.จงั หวดั เพชรบรู ณ์

15 2.3 การใช้งาน Data Studio สำหรบั การใช้งานระบบสารสนเทศปักหมุด ดูแลช่วยเหลือ ผู้เรียน นักศึกษา กศน. สามารถเข้าไปดขู ้อมูลสารสนเทศของนักศึกษา กศน.ของแต่ละสถานศึกษาไดโ้ ดยเข้าไปท่ี ลงิ ค์ https://datastudio.google.com/s/iKHIFBowqac รปู ภาพแสดงระบบสารสนเทศปักหมุด ดูแลชว่ ยเหลอื ผู้เรยี น คูม่ อื ระบบดูแลช่วยเหลือผ้เู รยี นของสถานศึกษา สงั กดั สำนักงาน กศน.จังหวัดเพชรบรู ณ์

16 รูปภาพแสดงระบบสารสนเทศปกั หมดุ ดูแลช่วยเหลอื ผู้เรียน ขั้นตอนการใชง้ านโปรแกรมปักหมดุ มดี งั นี้ 1. ครูแจ้งให้นกั ศกึ ษากรอกขอ้ มูล ประวัติ ลงใน Google form หรือ Google sheet ด้วยลิงคU์ RL https://forms.gle/mFCcWqn8tiAD5dxn7 หรอื QR-Code QR-Code ระบบปักหมดุ บา้ นนกั ศึกษา กศน. สงั กัด สำนกั งาน กศน.จังหวัดเพชรบรู ณ์ 2. เมอ่ื นักศกึ ษากรอกข้อมลู เรียบรอ้ ย ครตู รวจสอบความถกู ต้องของข้อมูล คูม่ อื ระบบดูแลช่วยเหลือผูเ้ รยี นของสถานศึกษา สังกัด สำนักงาน กศน.จังหวดั เพชรบรู ณ์

17 3. ข้อมูลนกั ศึกษาจะอัพเดทเข้าระบบปักหมดุ บ้านนักศึกษา กศน. โดยอัตโนมัติ และสารมารถคน้ หาขอ้ มูล จากระบบปักหมุดนักศึกษา กศน.ไดท้ นั ที ตามลิงค์ https://datastudio.google.com/u/0/reporting/31ef785e-e611-4061-9d82- df80c72c70f1/page/7WmgC?s=iKHIFBowqac หรอื สแกน QR-Code ระบบปักหมุดบ้านนกั ศึกษา กศน. สงั กัด สำนักงาน กศน.จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ดงั รปู QR-Code แบบบนั ทึกข้อมูลสารสนเทศนกั ศึกษา กศน. สงั กัดสำนักงาน กศน.จงั หวดั เพชรบรู ณ์ คมู่ อื ระบบดแู ลชว่ ยเหลือผูเ้ รยี นของสถานศึกษา สงั กัด สำนักงาน กศน.จงั หวดั เพชรบรู ณ์

18 ใบสมัครขึน้ ทะเบยี นเปน็ นกั ศึกษา กศน.ตำบล....................... หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สถานศึกษา ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอ.......................................... รหัสสถานศกึ ษา 1267100000 ระดับ  ประถม  มัธยมศกึ ษาตอนตน้  มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ประวตั ินักศึกษา รหสั ประจำตวั นกั ศึกษา - - กศน.ตำบล / ศรช. ........................................รหัสกลมุ่ ............................................. คำนำหน้าชอ่ื .............................ชอื่ .............................................นามสกลุ ................................................. ขอ้ มลู พน้ื ฐาน วัน เดอื น ปี เกิด................./................./..................อายุ....................ป.ี ...................เดอื น (นับถงึ วันขน้ึ ทะเบียน) เลขบตั รประจำตวั ประชาชน - - -- น้ำหนกั ...........กิโลกรมั สว่ นสงู ...........เซนติเมตร ความถนัด/ความสามารถพเิ ศษ.................................หมายเลขโทรศัพท์............................... เพศ  01.ชาย  02.หญิง  03.พระ อาชพี  นกั ธรุ กจิ -ค้าขาย  เกษตรกร  รบั จ้าง กลุ่มเป้าหมาย  ผนู้ ำทอ้ งถน่ิ  อบต.  ผู้ใช้แรงงาน  เกษตรกร  อสม. ศาสนา  01.พุทธ 02.ครสิ ต์  03.อิสลาม  04.อืน่ ๆ ระบุ...................................... ความพิการ  00.ไมพ่ ิการ  99.พิการ ระบุ.................................................................................................... ชอ่ื -สกุลบิดา คำนำหน้าชอ่ื .................ชอ่ื ................................นามสกลุ ...............................อาชีพ........................รายได้...................บาท/ปี ชอ่ื -สกุลมารดา คำนำหน้าชอื่ .................ชอื่ ................................นามสกลุ ...............................อาชพี ........................รายได.้ ..................บาท/ปี ชื่อ-สกลุ ผู้ปกครอง คำนำหน้าชอ่ื .................ชอ่ื ................................นามสกลุ ...............................อาชีพ........................รายได.้ ..................บาท/ปี ความรเู้ ดมิ จบช้ัน...................ปพี .ศ.ทจี่ บ.................จากสถานศกึ ษา...........................................อำเภอ/เขต........................ จงั หวดั ..................... วุฒทิ างธรรม............................................ปพี .ศ.ทไี่ ด้...................จาก........................................อำเภอ/เขต....................จงั หวดั ............................. ท่อี ยู่ เลขรหัสประจำบา้ น - - ทอี่ ยปู่ จั จบุ นั สามารถตดิ ตอ่ ไดส้ ะดวก บา้ นเลขท่.ี ...........หมู่ท.่ี ...........ซอย....................ถนน......................ตำบล/แขวง........................ อำเภอ/เขต .................................... จังหวดั ................................................รหัสไปรษณีย.์ .......................หมายเลขโทรศพั ท์.................................... รายละเอียดครอบครวั 1. สถานภาพการสมรสของบดิ า – มารดา  อยดู่ ว้ ยกนั  หย่า  อน่ื ๆ ระบ.ุ ............... 2. บิดา สภาพความพกิ าร  พิการ  ไม่พกิ าร สถานภาพของบิดา  อยดู่ ้วยกัน  แยกกันอยู่  บดิ าแต่งงานใหม่  ถงึ แกก่ รรม 3. มารดา สภาพความพิการ  พิการ  ไม่พกิ าร สถานภาพของมารดา  อยู่ดว้ ยกนั  แยกกนั อยู่  มารดาแตง่ งานใหม่  ถึงแกก่ รรม 4. พี่น้อง จำนวนพน่ี อ้ งทั้งหมด.......................คน (รวมตนเอง) จำนวนพน่ี อ้ งทก่ี ำลังศกึ ษาอยู่ ....................คน (ไม่รวมตนเอง) ข้าพเจ้าขอรบั รองว่าขอ้ ความขา้ งตน้ นีเ้ ป็นความจรงิ ทุกประการ และมีคณุ สมบตั ิตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 และไมอ่ ย่ใู นระหวา่ งการศกึ ษาในระบบโรงเรยี นทกุ สงั กัดตลอดระยะเวลาทเี่ รียน ตามหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 หากตรวจสอบภายหลงั พบวา่ หลกั ฐานของข้าพเจา้ ไมถ่ ูกตอ้ ง ไมต่ รงกบั ความเปน็ จรงิ หรอื มีคณุ สมบตั ิไมค่ รบถ้วน หรอื ไมม่ ีหลกั ฐานมาแสดงตามเวลาที่กำหนด ขา้ พเจา้ ยนิ ยอมให้คัดช่อื ออก และหากตรวจสอบพบภายหลกั ท่ีจบหลักสตู รไปแล้ว ขา้ พเจ้ายนิ ยอมใหส้ ถานศึกษา ประกาศยกเลกิ หลักฐานการศึกษา แล้วแต่กรณี รวมท้ังไม่ เรียกรอ้ งคา่ เสยี หายหรอื คา่ ใช้จ่ายใด ๆ ทัง้ สิน้ ลงชอ่ื ......................................................ผสู้ มคั ร (...................................................) วนั ที.่ ................เดอื น...................................พ.ศ. ........... หลกั ฐาน/เอกสารทยี่ นื่ ในวนั สมคั รบันทึกเพม่ิ เตมิ ตอ้ งนำหลกั ฐานมาแสดงเพมิ่ เตมิ ภายใน  วฒุ เิ ดมิ  ทะเบียนบ้าน วนั ที่ ..................เดอื น..........................................พ.ศ. ................  วุฒิเดมิ (ฉบับจรงิ )  บตั รประจำตวั ประชาชน  รูปถ่าย............รปู  บัตรประจำตัวประชาชน  สำเนาทะเบยี นบา้ น  หลกั ฐานการเปลยี่ นชอื่ -นามสกุล  อน่ื ๆ ระบุ................................................................  อน่ื ๆ ระบุ................................... ลงชอ่ื ........................................................ผรู้ ับสมัคร ลงช่ือ.....................................................ผ้รู บั สมัคร ลงชื่อ.......................................................ครกู ศน. ผู้รบั รอง ลงชอ่ื ........................................................ผสู้ มคั ร ลงช่อื ........................................................ผู้ตรวจสอบ คู่มอื ระบบดูแลช่วยเหลอื ผู้เรียนของสถานศึกษา สังกัด สำนักงาน กศน.จงั หวัดเพชรบรู ณ์

19 แบบบันทกึ การตรวจสขุ ภาพนักศึกษา (รายบุคคล) ภาคเรยี นท่ี..........ปีการศกึ ษา......................กศน.ตำบล..............อำเภอ............................... คำชแ้ี จง 1. การตรวจสุขภาพ โดยเจา้ หนา้ ท่หี รอื อาสาสมัครของกระทรวงสาธารณสุขหรือหนว่ ยงานท่ี เกีย่ วข้องด้านสาธารณสุข 2. การตรวจสุขภาพคร้งั ที่ 2 ควรหา่ งจากครัง้ แรกประมาณ 3 - 4 เดือน 1. ข้อมูลสว่ นตัว ชื่อ-สกลุ ................................................................... วัน/เดอื น/ปีเกิด.............................. อายุ ...............เพศ....................สถานภาพ........................................ 2. ข้อมลู เกี่ยวกับสขุ ภาพ โรคประจำตัว  ไม่มี  มี (ระบ)ุ .......................... ยาประจำตวั .......................................... หม่โู ลหติ ....................... นำ้ หนกั .........................กโิ ลกรมั สว่ นสงู .....................................เซนติเมตร ประวตั กิ ารเจ็บปว่ ยในอดีต  ไม่มี  มี (ระบุ)........................................................................... 3. ขอ้ มูลการตรวจสุขภาพ รายการ ผลการตรวจ ( คร้ังท่ี........... ) ผลการตรวจ ผล แปรผล (ปกต/ิ ไม่ปกติ) ๓.๑ สขุ ภาพกาย - นำ้ หนกั - สว่ นสงู - ดัชนีมวลกาย - ชีพจร - ความดันโลหิต - ระดบั น้ำตาล - การเต้นของหวั ใจ ๓.๒ สขุ ภาพจติ - ความมั่นคงทางอารมณ์ - รา่ เริงแจม่ ใส - มีสติ ลงชือ่ ..................................................ผู้ตรวจสุขภาพ (...................................................) ตำแหนง่ .................................................................... 4. ผลการวเิ คราะห์สุขภาพ  ปกติ  ไมป่ กติ 5. อน่ื ๆ……….............................................................................................................. คู่มอื ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผเู้ รียนของสถานศกึ ษา สงั กดั สำนักงาน กศน.จังหวดั เพชรบูรณ์

20 แบบเก็บขอ้ มลู ผเู้ รียนรายบุคคล 1.ขอ้ มลู ทว่ั ไป 1.1 ชือ่ -สกลุ ......................................................................................................................... ............................ 1.2 อายุ................ปี เบอร์โทร.......................................เบอร์โทรมือถอื .......................................................... ID line………………………………………...ID facebook…………………………………………................................. 1.3 ทีอ่ ยู่ตามทะเบยี นบา้ น............................................................................................................................... 1.4 ทอี่ ยทู่ ีต่ ดิ ต่อได้.......................................................................................................................................... 1.5 ช่อิ บุคคลท่ีสามารถตดิ ต่อได้ในกรณีท่ีมเี หตุฉุกเฉิน................................เบอร์โทร...................................... 1.6 ชื่อ-สกุลบิดา......................................................................................อาชีพ.............................................. 1.7 ช่ือ-สกลุ มารดา...................................................................................อาชพี ............................................. 1.8 งานอดเิ รก................................................................................................................................................. 2.ข้อมูลอาชีพ 2.1 อาชพี  มี  ไม่มี 2.2 อาชพี หลกั ......................................................สถานทีป่ ระกอบอาชีพ........................................................ อาชีพเสริม................................................................สถานทีป่ ระกอบอาชีพ......................................................... 2.3 รายไดต้ ่อปี........................................บาททม่ี าของรายได.้ ......................................................................... 2.4 ประสบการณ์อาชพี หลักจำนวน..............ปี ประสบการณ์อาชีพเสรมิ จำนวน................ปี 2.5 เวลาการทำงาน  ทำทุกวันต่อสัปดาห์  ทำงาน 5-6 วันตอ่ สัปดาห์  อืน่ ๆ(ระบ)ุ ........................................ 2.6 ช่วงเวลาการประกอบอาชีพ  ตามฤดูกาล  ทำตลอดปี  อ่ืนๆ (ระบ)ุ ...................................... 2.7 ความม่นั คงของอาชีพ  มี  ไม่มี เพราะ...................................... 2.8 ความรู้ และทักษะ ท่ีควรมใี นอาชพี คือ..................................................................................................... 2.9 ถา้ ต้องการก้าวหนา้ ในอาชีพ ควร (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ)  เรยี นใหส้ ูงข้นี  ไม่จำเปน็ ต้องเรียนให้สงู ขน้ึ  ปรบั ปรุงพัฒนาอาชพี ไปเรอ่ื ยๆ  พฒั นาอุปนสิ ยั ในการทำงาน เพราะ................................................................................................... 2.10 การพัฒนาอาชพี ของทา่ นได้ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์มาจาก (ตอบไดม้ ากกว่า 1 ขอ้ )  การศกึ ษาเรียนรดู้ ้วยตนเอง  จากการสอบถามผูร้ ู้  จากการอา่ นหนังสือวารสาร หรือจากสอื่ รายการโทรทัศน์ ฯลฯ  อนื่ ๆ........................................................................................................................ ........................... 2.11 อาชีพในอนาคตทีต่ อ้ งการ คือ (กรณีท่ียังไมม่ ีอาชีพ).............................................................................. 3. ข้อมลู การศึกษา 3.1 จบการศกึ ษาสงู สุด.................................................................................................................................... 3.2 วุฒทิ นี่ ำมาสมคั รเรยี น......................................เหตุผลการออก เพ่ือการศึกษาตอ่  จบการศึกษา 3.3 วิชาที่ชอบ..........................................เพราะวา่ ......................................................................................... 3.4 วิชาทไี่ ม่ชอบ................................................เพราะวา่ .............................................................................. 3.5 ประสบการณ์การไดร้ บั การฝึกอบรม มีหรือไม่........................................................................................ 3.6 วุฒบิ ัตรเรอื่ ง.......................................จำนวน....................ชว่ั โมง จากหน่วยงาน................................... คมู่ ือระบบดูแลชว่ ยเหลือผู้เรยี นของสถานศกึ ษา สงั กัด สำนักงาน กศน.จังหวดั เพชรบรู ณ์

21 -2- 3.7 เปา้ หมายในการมาเรียน กศน.เพ่ือ  เรยี นใหจ้ บในระดับท่ีเขา้ ศกึ ษาเท่านัน้  ศกึ ษาต่อ  นำความรไู้ ปพัฒนาอาชพี  อนื่ ๆ................................................. 3.8 วธิ กี ารทที่ ่านจะพัฒนาตนเองไปส่เู ป้าหมายน้นั คือ..................................................................................... 4. ข้อมลู ความสามารถพิเศษ (เช่น คอมพิวเตอร์ ภาษา ดนตรี กีฬา ฯลฯ) 4.1 ความสามารถพิเศษ................................................................................................................................... 5. วธิ กี ารเรียนรู้แบบใดท่ที ่านชอบและสามารถเรยี นรู้ได้ดี (เลอื กไดม้ ากกวา่ 1 วธิ กี ารเรียนรู)้  การอ่านจากหนงั สือ ตำรา  การฟงั การบรรยายจากครูหรอื ผู้รู้  การดจู ากสอ่ื โทรทัศน์ VCD  การเรียนรู้จากส่ือออนไลน์  การเรยี นรจู้ ากการอภิปรายและแสดงความคิดเห็น  การเรียนรูจ้ ากการปฏบิ ัติจรงิ  การเรยี นรู้รว่ มกันเป็นกลุ่ม  การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน  การเรยี นรแู้ บบเข้าค่ายเชิงวชิ าการ  การเรยี นรู้แบบโครงงาน 6. ปัญหาการเรียนรู้ 6.1 ปัญหาของท่านท่ีคดิ ว่าเป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้คอื ............................................................................... 6.2 เรอ่ื งทีต่ อ้ งการให้ครู กศน.ชว่ ยเหลอื ในการเรยี นเพ่ือให้ประสบความสำเร็จในการเรยี นตามหลกั สูตร คือ.......................................................................................................................... ................................ 7. เป้าหมายในชวี ิตเมือ่ จบการศึกษาจาก กศน.  ศึกษาตอ่  นำความรู้ไปพฒั นาคุณภาพชวี ิต คู่มอื ระบบดแู ลช่วยเหลือผเู้ รยี นของสถานศึกษา สังกดั สำนักงาน กศน.จงั หวัดเพชรบูรณ์

22 แบบบันทกึ การคดั กรองผู้เรยี น (แบบ 1) ชื่อ……………………สกุล………………..ระดับ………...........ตำบล ………….............. 1. ด้านการเรยี น □ ปกติ □ เสย่ี ง □ มีปัญหา □ พิเศษ [ ] ขาดการพบกลุ่ม ตดิ ต่อกนั 3 ครง้ั [ ] ขาดสอบตดิ ต่อกนั 2 ภาคเรยี น [ ] อา่ นหนังสอื ไมค่ ล่อง [ ] เขยี นหนงั สอื ไม่ถูกตอ้ ง สะกดคำผดิ แม้แต่คำง่าย ๆ [ ] เขา้ รว่ มกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตน้อยกว่า 50 ชว่ั โมง ใน 1 ภาคเรียน [ ] อนื่ ๆ ………………………………………………. เกณฑ์การคัดกรอง ปกติ 0 – 2 ขอ้ เสีย่ ง 3 ข้อ มปี ัญหา 4 – 6 ขอ้ 2. ด้านความสามารถพิเศษ □ มีระบุ ………………………………… □ ไม่มี 3. ด้านสุขภาพ □ ปกติ □ เสยี่ ง □ มีปัญหา [ ] รา่ งกายไมแ่ ขง็ แรง เจ็บป่วยบอ่ ย [ ] มโี รคประจำตัว ระบ.ุ ........................ [ ] น้ำหนักผิดปกติและไม่สัมพันธก์ ับสว่ นสูงหรอื อายุ [ ] บกพร่องทางดา้ นรา่ งกาย ระบ.ุ ........................ [ ] อ่ืนๆ ……………………………………….. เกณฑ์การคัดกรอง ปกติ - ข้อ เสี่ยง 1 ขอ้ มปี ญั หา 2 – 4 ข้อ 4. ด้านสุขภาพจิตและพฤติกรรม ดา้ นอารมณ์ □ ปกติ □ เสยี่ ง ระบุ........................ □ มปี ญั หา ระบ.ุ ................................... ดา้ นความประพฤติ □ ปกติ □ เส่ียง ระบุ........................ □ มีปัญหา ระบ.ุ ................................... ดา้ นบคุ ลกิ ภาพ/ความสมั พันธ์กบั เพ่ือน □ ปกติ □ เสี่ยงระบุ................. □ มปี ัญหา ระบ.ุ ....................... 5. ดา้ นเศรษฐกจิ □ ปกติ □ เสย่ี ง □ มีปญั หา [ ] ว่างงาน/ไม่มีงานทำ [ ] ประกอบอาชีพ ระบ.ุ .......................... [ ] รายไดต้ ำ่ กว่า 5,000 บาท / เดอื น [ ] มีภาระหนี้สนิ [ ] อื่นๆ …………………………………………… เกณฑ์การคดั กรอง ปกติ - ข้อ เสยี่ ง 1 ข้อ มีปัญหา 2 – 5 ข้อ คมู่ อื ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผูเ้ รยี นของสถานศึกษา สังกดั สำนักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์

23 6. ดา้ นความคุม้ ครองผู้เรียน □ ปกติ □ เสย่ี ง □ มีปัญหา [ ] ไมม่ ีผ้ดู ูแล [ ] พอ่ แมแ่ ยกทางกนั หรอื สมรสใหม่ [ ] อาศยั อยกู่ บั ญาติ ระบุ................................. [ ] มบี ุคคลในครอบครวั ใช้สารเสพตดิ หรอื เล่นการพนัน [ ] มีบุคคลในครอบครวั เจบ็ ปว่ ยดว้ ยโรครุนแรง / เร้ือรงั [ ] มกี ารใช้ความรนุ แรงในครอบครวั [ ] อืน่ ๆ ………………………………………….. เกณฑ์การคดั กรออง ปกติ - ข้อ เสยี่ ง 1 ขอ้ มีปญั หา 2 – 6 ข้อ สรุป ผู้เรยี นจัดอยูใ่ นกลมุ่ □ ปกติ เสย่ี ง / มปี ัญหา 0 – 1 ข้อ □ เสย่ี ง เสีย่ ง / มปี ัญหา 2 – 3 ข้อ □ มีปญั หา เสย่ี ง / มีปญั หา 4 - 6 ขอ้ □ พิเศษ คู่มอื ระบบดูแลช่วยเหลือผเู้ รยี นของสถานศกึ ษา สังกัด สำนักงาน กศน.จังหวดั เพชรบรู ณ์

24 แบบคดั กรองผูเ้ รยี นรายบุคคล (แบบ 2) ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอ……………………….. สงั กัด สำนักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวัดเพชรบูรณ์ ช่อื -สกลุ ......................................................ระดบั การศึกษา...................รหัสประจำตวั ผู้เรยี น............................ 1. ดา้ นการเรียน ระดบั ประถมศกึ ษา/ระดับมัธยมศึกษา  ปกติ  เสย่ี ง  มีปญั หา ผลการเรยี นเฉล่ยี 1.00 - 1.50 ผลการเรียนเฉลี่ยต่ำกวา่ 1.00 ( ) อา่ นหนงั สอื ไม่คล่อง ( ) อา่ นหนังสอื ไม่ออก ( ) ขาดเรียนตดิ ต่อกัน 2 ครั้ง ( ) เขียนไม่ถกู ต้อง สะกดคำผดิ แม้แต่ ( ) อนื่ ๆ ระบ.ุ ............................... คำงา่ ย ๆ ( ) ขาเรยี นมากกวา่ 3 ครัง้ ขน้ึ ไป ( ) อืน่ ๆ ระบุ................................... 2. ดา้ นความสามารถพเิ ศษ  มี คือ ....................................................................................................................................................  ไม่ชดั เจนในความสามารถดา้ น ........................................................................................................ ...... 3. ด้านสุขภาพ  กลุ่มปกติ  กลมุ่ เสี่ยง  กลมุ่ มีปัญหา ( ) น้ำหนกั ผดิ ปกตแิ ละไมส่ ัมพันธ์ ( ) ปว่ ยเปน็ โรคร้ายแรง/เรื้อรัง กบั ส่วนสูงหรืออายุ หรอื มคี วามพกิ ารทางกาย ( ) เจบ็ ป่วยบอ่ ย ๆ ( ) มีความบกพรอ่ งทางการไดย้ ิน ( ) รา่ งกายไม่แขง็ แรง (หูหนวก) ( ) ดา้ นสายตาส้นั /เอียง ( ) มีความบกพรอ่ งทางการมองเห็น ( ) ดา้ นการรับฟัง (ตาบอด) ( ) อืน่ ๆ ระบ.ุ .............................. ( ) มีความเจ็บปว่ ยทมี่ ผี ลกระทบต่อ การเรียน ( ) บกพร่องทางดา้ นการพดู /ดา้ นภาษา ( ) อน่ื ๆ ระบุ....................................... 4. ด้านสุขภาพจติ และพฤตกิ รรม (พิจารณาจากแบบประเมิน SDQ) 4.1 ด้านอารมณ์  กลมุ่ ปกติ  กล่มุ เสย่ี ง  กลุ่มมปี ัญหา 4.2 ดา้ นความประพฤติเกเร  กลุ่มปกติ  กล่มุ เส่ียง  กลมุ่ มปี ัญหา 4.3 ด้านพฤติกรรมไม่อยู่นิ่ง/สมาธสิ ั้น  กลุม่ ปกติ  กลุ่มเสยี่ ง  กลุ่มมปี ัญหา 4.4 ด้านบุคลกิ ภาพและความสมั พนั ธ์กบั เพ่ือน กลุ่มปกติ  กลมุ่ เสยี่ ง กลุ่มมปี ญั หา 4.5 ด้านสมั พันธภาพทางสังคม  กลุ่มปกติ  กลุ่มเส่ยี ง  กลุ่มมีปัญหา คมู่ ือระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผ้เู รียนของสถานศึกษา สงั กัด สำนักงาน กศน.จังหวัดเพชรบรู ณ์

25 5. ด้านเศรษฐกจิ  กลุ่มปกติ  กลุ่มเสี่ยง  กลมุ่ มปี ญั หา ( ) บิดาหรอื มารดาตกงาน ( ) รายได้ครอบครวั ตำ่ กวา่ ( ) รายไดน้ ้อยกว่า 5,000 บาท/เดอื น (5,000 - 10,000บาท) ( ) บดิ าและมารดาตกงาน ( ) ใช้จ่ายแบบฟมุ่ เฟือย ( ) ไม่มเี งนิ ซือ้ อุปกรณเ์ รยี น ( ) ไดเ้ งินมาสถานศึกษา ( ) มีภาระหน้ีสินจำนวนมาก ต่ำกว่า 5 บาท/วนั ( ) อนื่ ๆ ระบุ..................... ( ) อ่นื ๆ ระบุ………………… 6. ดา้ นการคุ้มครองผู้เรยี น  กลมุ่ ปกติ  กลุ่มเสีย่ ง  กลุ่มมีปัญหา ( ) บดิ ามารดาแยกทางกนั ( ) ไมม่ ีผดู้ แู ล หรือแตง่ งานใหม่ ( ) มีบุคคลในครอบครัวใช้ ( ) มคี วามรูส้ ึกท่ีไม่ดตี ่อบดิ าหรือ สารเสพติด/เลน่ การพนนั มารดา ( ) มีบคุ คลในครอบครวั เจ็บ ( ) อาชพี ผู้ปกครองเส่ียงตอ่ กฎหมาย ปว่ ยด้วยโรครุนแรง/เรือ้ รัง ( ) มพี ฤติกรรมส่อไปในทางชู้สาว ( ) มคี วามขดั แย้งและมีการ ( ) มีการใช้แอลกอฮอล์เปน็ บางครง้ั ใชค้ วามรุนแรงในครอบครัว ( ) มีการใชส้ ารเสพตดิ หรือเลน่ การพนัน ( ) มีการล่วงละเมิดทางเพศ ในครอบครัวเปน็ บางคร้งั ( ) มกี ารม่วั สมุ ทางเพศ ( ) ทีพ่ ักอย่ใู นชุมชนแออัดหรอื ( ) ไดร้ ับผลกระทบจากเอดส์ แหลง่ ม่วั สมุ ( ) อน่ื ๆ ระบุ………………… ( ) อืน่ ๆ ระบุ………………… 7. ด้านอนื่ ๆ เสี่ยง คอื .................................................................................................................... ........................... มปี ัญหา คอื ................................................................................................. .............................................. สรุป ผ้เู รยี นจัดอย่ใู นกลมุ่  กลมุ่ ปกติ ในด้านที่ .................................................................................................................... ...........................  กล่มุ เส่ียง ในดา้ นที่ .................................................................................................................... ...........................  กลุ่มมีปัญหา ในดา้ นท…ี่ ………………………………………………………………………… คูม่ ือระบบดแู ลช่วยเหลือผู้เรยี นของสถานศกึ ษา สงั กัด สำนักงาน กศน.จงั หวดั เพชรบรู ณ์

26 แบบบนั ทึกการเยยี่ มบา้ นผู้เรยี น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ.......................... สงั กัด สำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัดเพชรบูรณ์ ช่ือ-สกลุ ....................................................................อายุ............ปี ชอ่ื เลน่ .................... เพศ  ชาย  หญงิ 1. เยยี่ มบา้ นผู้เรยี นวนั ท.่ี ........เดอื น............................พ.ศ. .................. ระหวา่ งเวลา............................. น. 2. ผู้ให้ข้อมลู ................................................เก่ียวขอ้ ง.....................อาย.ุ ....... ปี การศึกษา ........................ 3. ท่ีอยปู่ จั จุบนั บา้ นเลขท.่ี .............หม่ทู ี่.........บา้ น..............................ถนน .................................................. ตำบล...............................................อำเภอ.............................................จงั หวัด ...................................... พกิ ัดทอ่ี ย.ู่ ......................................../................................... สถานท่ีอยู่อาศยั  ของตนเอง  บ้านญาติ  บา้ นพกั /บ้านเช่า  อนื่ ๆ ระบุ ............................ สภาพภายในบ้าน  มรี ะเบียบ  ไม่มีระเบียบ  อ่นื ๆ........................... 4. สมาชกิ ครอบครัวผ้เู รยี นมที ้งั หมด....................คน ชาย....................คน หญิง......................คน พนี่ อ้ งท่เี กิดจากบิดามารดาเดียวกนั ..................คน ชาย....................คน หญิง......................คน พี่นอ้ งท่เี กิดจากบิดากับมารดาอน่ื ..................คน ชาย....................คน หญงิ ......................คน พ่ีนอ้ งทเี่ กดิ จากมารดากบั บดิ าอ่นื ..................คน ชาย....................คน หญงิ ......................คน 5. ความสมั พนั ธ์ของครอบครัว  รกั ใครก่ ันดี  ขัดแยง้ ทะเลาะกนั บางคร้ัง  ขดั แยง้ ทะเลาะกันบ่อยครัง้  ขดั แยง้ และทำร้ายรา่ งกายบางคร้งั  ขดั แย้งและทำร้ายร่างกายบอ่ ยครงั้  อนื่ ๆ ระบุ............................. 6. ปัจจบุ นั บดิ ามารดาผูเ้ รียน  อยดู่ ้วยกนั  หย่าร้าง  บดิ าเสยี ชวี ิต  มารดาเสียชีวติ  บดิ ามารดาเสยี ชวี ิต  บดิ าสมรสใหม่  มารดาสมรสใหม่  บดิ ามารดาสมรสใหม่  อืน่ ๆ ระบ.ุ ............................ 7. ผเู้ รยี นอาศยั อย่กู ับ  ตามลำพงั  บิดามารดา  บิดา  มารดา  ญาติ  อื่นๆ ระบ.ุ ........................ 8. อาชีพของผ้ปู กครอง  เกษตรกร  คา้ ขาย  รบั ราชการ  รับจา้ ง  อน่ื ๆ ระบ.ุ ................................ 9. รายได้ของครอบครวั ต่อปี  ไม่เกนิ 40,000 บาท  40,001 - 99,999 บาท  100,000 บาทข้นึ ไป 10. รายได้กับรายจ่ายของครอบครวั  เพยี งพอ  ไมเ่ พียงพอในบางคร้ัง  ขัดสน 11. หน้าทีร่ บั ผิดชอบที่บ้าน  ไม่มี  ทำครั้งคราวคือ................  มี หนา้ ท่ีประจำคือ......................... คมู่ ือระบบดูแลชว่ ยเหลือผ้เู รียนของสถานศึกษา สงั กัด สำนักงาน กศน.จังหวดั เพชรบูรณ์

27 12. ผู้เรยี นมีงานประจำ  ไม่มี  มี ระบุ.......................รายไดต้ ่อ  วัน  เดือน ..................บาท 13. ผ้เู รยี นมีโทรศพั ท์มอื ถอื  ไมม่ ี  มี การพดู โทรศัพท์มอื ถือ  คร้งั คราว  บ่อยครั้ง  ประจำ 14. ผู้เรียนเข้ากับเพือ่ นได้  ง่าย  คอ่ นขา้ งง่าย  ยาก 15. เมื่ออยู่ในกล่มุ เพ่ือนผู้เรียนมักจะ  ผ้นู ำ  ผตู้ าม  ผนู้ ำบางโอกาสผตู้ ามบางโอกาส 16. ความต้องการของผู้ปกครองเมื่อเรียนจบชั้นสูงสุดของสถานศกึ ษา  ศกึ ษาต่อ  ประกอบอาชีพ ระบุ ................................................................................................................ 17. เม่ือโตขึน้ ผูเ้ รียนต้องการมีอาชพี 1...........................................................2....................................................... 18. ผเู้ รยี นทำการบ้าน/อ่านหนังสือ  ไม่เคย  คร้งั คราว  บอ่ ยครง้ั  ประจำ 19. การเรยี นของผู้เรียนในปจั จุบัน (ตอบได้มากกวา่ 1 ขอ้ )  ไมม่ ปี ัญหา  เรยี นไม่เขา้ ใจ  เบือ่ เรยี นบางวิชา  อยากเลิกเรยี น  เรียนไม่ทันเพ่ือน  ต้องการให้เพื่อชว่ ย  ต้องการครทู เี่ ขา้ ใจและเปน็ ท่ีปรกึ ษาได้ สาเหตุของปัญหาทางการเรียน คือ ................................................................................ 20. เมือ่ มปี ัญหาเกดิ ข้นึ ผเู้ รียนมักจะ  เกบ็ ไว้คนเดียว  แกป้ ญั หาด้วยตนเอง  ปรกึ ษาเพือ่ น  ปรกึ ษาครู  ปรกึ ษาบดิ ามารดา/ผูป้ กครอง  อื่นๆ ระบุ........................................ ลงชื่อ..........................ผ้เู รียน ลงชื่อ...............................ผ้ใู ห้ข้อมลู ลงชือ่ ..........................ผเู้ ยยี่ มบา้ น (.................................) (.................................) (............................) ครู กศน.ตำบล คูม่ อื ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผ้เู รยี นของสถานศึกษา สงั กัด สำนักงาน กศน.จงั หวัดเพชรบรู ณ์

28 แบบตดิ ตามผลการมีงานทำ / ศกึ ษาต่อของผสู้ ำเร็จการศกึ ษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอ.................... จงั หวัดเพชรบูรณ์ ภาคเรยี นท่ี.............ปีการศกึ ษา................................... ให้เขียนเครื่องหมาย / ลงใน ( ) และเติมคำลงในช่องว่าง 1.ชื่อ..................................................................................นามสกลุ .................................................................. จบการศกึ ษาระดับ........................................................................................................................................ 2.ขณะน้ีท่าน ศึกษาตอ่ ชอ่ื สถานศกึ ษา..................................................................................................................... ทำงาน ( ) รบั ราชการ ( ) เอกชน ( ) ธุรกจิ ส่วนตัว ( ) อน่ื ๆ โปรดระบุ……………………………………………………………………….. ( ) อยู่ระหวา่ งรองาน ( ) วา่ งงาน 3.ในกรณที ี่ทำงาน สถานทที่ ำงาน............................................................................................................................................ โทรศพั ท.์ ...............................................................................ตำแหนง่ .......................................................... รายได้...........................................................บาท/เดือน 4.การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ( ) ด้านการประกอบอาชพี /อาชีพ (ระบุ)……………………………………………………………….. ( ) ด้านการศกึ ษา/ชือ่ สถานศึกษา (ระบ)ุ ......................................................................... ( ) ดา้ นอื่นๆ/พัฒนาทักษะชวี ิต (ระบ)ุ ......................................................................... 5.ที่อยู่ปัจจุบัน(ทส่ี ามารถติดต่อได้) บา้ นเลขท.่ี ...............ซอย.......................ถนน...........................หมทู่ ี่.......... เขต/ตำบล..................................................................แขวง/อำเภอ.................................................................. จังหวดั ...........................................................................รหสั ไปรษณีย.์ ............................................................. หมายเลขโทรศัพท.์ ................................................................ หมายเหตุ การสำรวจขอ้ มูล ( ) ทางโทรศัพท์ ( ) ไปรษณีย์ ( ) อ่นื ๆ ลงชือ่ ...........................................................ผตู้ ิดตาม () ครู กศน.ตำบล คู่มอื ระบบดแู ลช่วยเหลือผูเ้ รยี นของสถานศกึ ษา สงั กดั สำนักงาน กศน.จังหวดั เพชรบรู ณ์

29 บนั ทกึ ข้อความ ส่วนราชการ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ………………… ท่ี …………/.................. วนั ที่............เดอื น................ พ.ศ.................. เรอ่ื ง ขออนญุ าตเปล่ยี นแปลงสถานที่พบกลมุ่ ระหว่างเทอม เรียน ผอู้ ำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอ.......................... ดว้ ย กศน.ตำบล.................................มีความประสงค์ขอส่งตวั นาย/นาง/นางสาว.............................. ระดบั .........................ไปพบกลมุ่ ท่ี กศน.ตำบล........................................ เนือ่ งจาก................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .............................................. จงึ เรยี นมาเพือ่ โปรดพจิ ารณาและอนญุ าต (...............................................) ครู กศน.ตำบล ค่มู ือระบบดแู ลช่วยเหลือผู้เรียนของสถานศึกษา สงั กดั สำนักงาน กศน.จังหวดั เพชรบูรณ์

แบบรายงานการฉดี วัคซนี นกั ศกึ ษา กศ กศน.ตำบล....................................... ศูนยก์ ารศึกษานอก ท่ี ชื่อ - นามสกลุ หมายเลขบัตรประชาชน/ วัน/เดอื น/ปเี กดิ อา หมายเลขหนังสอื เดินทาง (ป (กรณชี าวต่างชาติ) ค่มู ือระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผู้เรียนข

30 ศน. ระดับ.............................................. กระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอ........................ ายุ ฉีดวัคซีน วันทฉ่ี ดี หมายเหตุ ป)ี วนั ทีฉ่ ีด เขม็ ที่ 2 (โรงพยาบาล เขม็ ที่ 1 ที่ฉดี ) ของสถานศกึ ษา สังกดั สำนักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์ 30

31 แบบสรปุ จำนวนนักศกึ ษา ทีไ่ ดร้ ับการฉดี วคั ซนี กศน.ตำบล................. ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอ…………………. สงั กัด สำนักงาน กศน.จงั หวดั เพชรบรู ณ์ จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ลำดบั ที่ ระดบั ชน้ั จำนวนผ้เู รยี น (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ หมายเหตุ ท้ังหมด ไดร้ ับการฉีดวัคซนี 1 ประถมศกึ ษา 2 มัธยมศึกษาตอนต้น 3 มัธยมศึกษาตอนปลาย รวม ลงช่อื ................................................ผรู้ ายงานข้อมูล ( ............................................... ) ครู กศน.ตำบล.................... คมู่ อื ระบบดแู ลช่วยเหลอื ผ้เู รยี นของสถานศึกษา สงั กัด สำนักงาน กศน.จงั หวดั เพชรบรู ณ์

32 บรรณานุกรม กานต์พิชชาภัทณ์ คนสมบูรณ.์ 2562. ค่มู อื ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี นในสถานศกึ ษา ประจำปี 2562. ม.ป.ท. : ม.ป.พ. คณะกรรมการการบรหิ ารงานกจิ การนกั เรยี น. 2563. คมู่ ือระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น โรงเรียนมหาภาพกระจาดทองอุปถมั ภ์. ม.ป.ท. : ม.ป.พ. สวุ จิ ักขณ์ สายชว่ ย. 2563. คู่มอื การดำเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น สำนกั งานเขตพน้ื ท่ี การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 12. ม.ป.ท. : ม.ป.พ. บญุ ธรรม กจิ ปรดี าบริสุทธิ์. 2549. รวมบทความ การวจิ ัย การวดั และประเมนิ ผล. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 2. นนทบุรี:โรงพิมพ์นิดา้ การพิมพ์ http://www.esbuy.net/_files_school/00000883/document/00000883_0_20160223- 184625.pdf ระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน สืบคน้ วันที่ 10 พฤศจกิ ายน 2564 คมู่ อื ระบบดูแลชว่ ยเหลือผเู้ รียนของสถานศกึ ษา สงั กัด สำนักงาน กศน.จงั หวัดเพชรบรู ณ์

33 ผูจ้ ดั ทำ ทีป่ รกึ ษา ผู้อำนวยการ สำนักงาน กศน.จงั หวัดเพชรบูรณ์ 1. ดร.ชนกพร จฑุ าสงฆ์ รองผู้อำนวยการ สำนักงาน กศน.จงั หวดั เพชรบรู ณ์ 2. ว่าทพ่ี ันตรีดำรหิ ์ ตยิ ะวัฒน์ ศึกษานเิ ทศกช์ ำนาญการพิเศษ 3. นางประคอง บุญสวน ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ 4. นายอนชุ า วิจิตรศิลป์ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอชนแดน 5. นายสมประสงค์ น้อยจันทร์ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอวงั โปง่ 6. นางเพ็ญโฉม โปแ้ ล ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอหลม่ สัก 7. ว่าที่ร้อยตรปี ระจวบ เจนชยั ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอนำ้ หนาว 8. นายวีระพล กล่ันตา ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอหล่มเก่า 9. นายประภาส โปแ้ ล ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอหนองไผ่ 10. นางมาลี เพง็ ดี ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบงึ สามพัน 11. นางสุกัญญา กาโกน ผู้อำนวยการ กศน. อำเภอศรีเทพ 12. นางอำนวย กจิ นยั ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอวิเชยี รบุรี 13. นายเกรียงไกร วงค์วิรยิ ชาติ ครูชำนาญการพิเศษ กศน.อำเภอเมืองเพชรบรู ณ์ คณะทำงาน 1.นางสาวอาลติ ตา นาควจิ ิตร ครชู ำนาญการ กศน.อำเภอวิเชยี รบุรี 2.นางสาวเสาวนิต กมลอินทร์ 3.นางสาวณฐมน บุญเทยี ม ครูผูช้ ว่ ย กศน.อำเภอหลม่ สัก 4.นางสาวเมธาพร วิเชยี รสรรค์ 5. นางสาวลดาวรรณ์ สทุ ธิพันธ์ ครผู ชู้ ่วย กศน.อำเภอศรีเทพ 6. นายอธปิ กร ลำใย 7. นางนิตยา หารี ครู กศน.ตำบล กศน.อำเภอชนแดน 8. นางสาวสายฝน ภกั ดสี อน 9. นางพรรณทิภา ด้วงนุช ครู กศน.ตำบล กศน.อำเภอเขาค้อ 10. นางรัตติกาล บญุ แข็ง 11. นางสาวชนิกา แกว้ เสมอตา ครู กศน.ตำบล กศน.อำเภอน้ำหนาว 12. นางสาวลลิตตา ผอ่ งผิว 13. นายสุรศกั ดิ์ ใจคำ ครู กศน.ตำบล กศน.อำเภอหล่มเก่า 14. นายภาคิธ จันทรต์ ั้ง ครู กศน.ตำบล กศน.อำเภอวังโปง่ ครู กศน.ตำบล กศน.อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ ครู กศน.ตำบล กศน.อำเภอหนองไผ่ ครู กศน.ตำบล กศน.อำเภอบึงสามพนั นักวชิ าการศกึ ษา สำนักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์ นักเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงาน กศน.จงั หวัดเพชรบูรณ์ คู่มอื ระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผเู้ รยี นของสถานศกึ ษา สงั กดั สำนักงาน กศน.จังหวัดเพชรบูรณ์

34 ผ้จู ดั ทำ(ตอ่ ) ผู้พมิ พ์และรวบรวมขอ้ มลู ครูชำนาญการพเิ ศษ กศน.อำเภอเมืองเพชรบรู ณ์ 1.นางสาวอาลิตตา นาควิจิตร 2.นางสาวณฐมน บญุ เทยี ม ครผู ู้ช่วย กศน.อำเภอหล่มสัก 3.นางสาวพรรณทิภา ด้วงนชุ ครู กศน.ตำบล กศน.อำเภอวงั โป่ง ออกแบบปก นางสาวอาลติ ตา นาควจิ ติ ร ครูชำนาญการพิเศษ กศน.อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ คู่มอื ระบบดูแลช่วยเหลือผเู้ รยี นของสถานศกึ ษา สงั กัด สำนักงาน กศน.จังหวดั เพชรบูรณ์

35 คู่มอื ระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผเู้ รียนของสถานศกึ ษา สังกัด สำนักงาน กศน.จังหวดั เพชรบูรณ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook