90 10. การเรียนรู้ตามอัธยาศยั (non-formal learning) เมอื่ ผู้สอนได้ดําเนนิ การ 9 ข้อข้างตน้ แลว้ อาจมองออกนอกสถานศึกษา สร้างนิสัยการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้เป็นวัฒนธรรมของชุมชน ร่วมกันสร้างแหล่งเรียนรู้ด้านสะเต็มในท้องถ่ิน เช่น เข้าค่ายวิทยาศาสตร์ท่ีศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา หรือประยุกต์ความรู้สะเต็มเพื่อสนับสนุนแหล่งเรียนรู้วิถีชุมชน เช่น ส่งเสริมให้นักเรียนใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมนําเสนอข้อมูลภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมในชุมชนสร้างหอเกียรติยศสะเต็มของหมู่บ้านเพ่ือนําเสนอเร่ืองราวการใช้ความรู้สะเต็มในการพัฒนาอาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิต เช่นผลงานด้านการเกษตร ด้านสาธารณสุข ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เปน็ ต้น การส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาสําหรับการประดิษฐ์วัสดุใช้แล้ว เป็นความพยายามจากหลากหลายภาคส่วนในการขับเคล่ือนการจัดการศึกษา ให้พร้อมสําหรับการดํารงชีวิต ด้วยความรู้ความเข้าใจในความงามและคุณค่าของธรรมชาติ ด้วยความสามารถในการสร้างสรรค์วิธกี ารแก้ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งเปน็ ระบบดว้ ยกระบวนคดิเชิงวศิ วกรรม และการใชศ้ กั ยภาพของเทคโนโลยสี ่อื สารและทาํ งานร่วมกบั ผอู้ น่ื อย่างสร้างสรรค์
91 เรื่องท่ี 3 การประดษิ ฐ์วัสดใุ ชแ้ ลว้ 3.1 สงิ่ ประดิษฐจ์ ากวสั ดใุ ช้แลว้ ประเภทอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สิ่งประดิษฐ์จากวัสดุใช้แล้วประเภทอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการนําขยะที่เป็นเคร่ืองใช้อิเล็กทรอนิกส์ที่ท้ิงแล้ว เช่นเครื่องคอมพิวเตอร์และวัสดุคอมพิวเตอร์เก่ามาดัดแปลงเปน็ ของใช้ ได้แก่ CD/DVD มาทาํ เป็นของใชจ้ ุกจกิ น่ารกั สําหรบั วางตกแตง่ เพมิ่ ความสวยงามของสถานท่ีต่าง ๆ การนําแผ่นซีดีมาประดิษฐ์เป็นนาฬิกา ท่ีรองแก้ว เคร่ืองประดับ ช้ันวางของจุกจิก และอ่ืน ๆ การนําแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ (คีย์บอร์ด) เอาเฉพาะตัวอักษรมาเขียนสีตัวอักษรให้ชัดแล้วนํามาติดร้อยเรียงกันทําเป็นพวงกุญแจ การนําหลอดไฟนีออนกลมมาทําความสะอาดเอาไส้หลอดออกแล้วนํามาเป็นแจกันปลูกต้นไม้ประดับภายในอาคาร โทรทัศน์เก่านํามาทําเป็นท่ีนอนสัตว์เลี้ยง หรือตู้ปลา เป็นต้น ซ่ึงจะเป็นการป้องกันขยะอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม และลดความเส่ียงและผลกระทบจากปริมาณขยะ นอกจากน้ีแล้วยงั เป็นการสร้างงานสร้างรายไดใ้ ห้กับผทู้ ่ีคดิ คน้ ประดิษฐส์ ่งิ ของตา่ ง ๆ ออกจําหนา่ ยอีกดว้ ย ภาพที่ 5.1 เศษวสั ดอุ ิเล็กทรอนิกสท์ ถี่ กู นํามาประดษิ ฐเ์ ป็นของใช้ตา่ ง ๆ ทม่ี า : http://www.manager.co.thภาพที่ 5.2 ภาพท่ี 5.3 จอคอมพวิ เตอร์ ภาพท่ี 5.4 ต้ปู ลาจากโทรทัศนเ์ กา่หลอดไฟประดิษฐเ์ ป็นแจกัน ประดษิ ฐเ์ ปน็ ท่นี อนสตั วเ์ ล้ยี ง ทีม่ า : http://www.homedd4u.comท่มี า : http://www.manager.co.th ที่มา : http://www.creativemove.com
92 ข้อควรระวงั ในสิง่ ประดษิ ฐจ์ ากวสั ดุใช้แลว้ ประเภทอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนใหญ่มีสารอันตรายที่มีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมและสุขภาพ ได้แก่ สารตะก่ัว สารปรอท คลอรีน แคดเมียม โบรมีน ซึ่งจะทําให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย ดังนั้น กอ่ นการประดิษฐค์ วรศกึ ษาหาขอ้ มลู และวิธีการทําท่ีถูกต้องเพ่ือป้องกันอันตรายทีอ่ าจเกดิ จากสารพิษ 3.2 สง่ิ ประดิษฐ์จากวสั ดุใช้แลว้ ประเภทเศษเหล็ก ส่ิงประดิษฐ์จากวัสดุใช้แล้วประเภทเศษเหล็ก เป็นการนําเศษเหล็กช้ินเล็กช้ินน้อยมาปะติดปะต่อกันเกิดเป็นรูปร่างใหม่ อาจเป็นของใช้หรืองานศิลปะ งานประติมากรรมแล้วแต่ผู้ประดิษฐ์จะคิดค้นหรือสร้างสรรค์ นําเศษเหล็กเหล่าน้ันมาออกแบบ แล้วเชื่อมต่อกันเป็นรูปร่างตามท่ีออกแบบไว้ หรือตามประโยชน์ท่ีต้องการใช้สอย ตัวอย่างเช่น การนําท่อนํ้าประปาท่ีเป็นท่อเหล็กมาทําเป็นขาต้ังของโคมไฟ การทําเศษเหล็กหลายรูปแบบมาเช่ือมต่อกันเป็นรูปร่างงานประติมากรรม เช่น หุ่นยนต์ สัตว์ต่าง ๆ เป็นต้น นําเศษเหล็กมาทําเป็นเฟอร์นเิ จอรร์ ูปแบบต่าง ๆ ภาพท่ี 5.5 เศษเหลก็ ท่อประปานํามาประดษิ ฐเ์ ป็นขาต้งั โคมไฟ ที่มา : http://www.houzzmate.com ภาพที่ 5.6 เศษเหลก็ หลายประเภทนาํ มาประดษิ ฐเ์ ปน็ งานปติมากรรม ที่มา : http://www.nana108.com
93 ภาพที่ 5.7 เศษเหล็กประดษิ ฐเ์ ป็นห่นุ ยนตส์ รา้ งงานสร้างอาชีพให้แกผ่ ู้ประดิษฐ์ แหล่งผลิตหุ่นเหล็กยกั ษ์ส่งออก บ้านหนุ่ เหล็ก จังหวัดอ่างทอง ท่ีมา : http://www.thailovetrip.com ภาพที่ 5.8 เศษเหล็กประดษิ ฐเ์ ป็นโต๊ะเกา้ อี้ ทมี่ า : http://www.manager.co.th ข้อควรระวัง ในการประดิษฐ์เศษเหล็กน้ัน ผู้ประดิษฐ์ควรมีความรู้เร่ืองการเช่ือมเหล็ก และควรรู้จักการป้องกันเศษเหล็กหรือไฟจากการเช่ือมเหล็กเข้าตา ควรระวังไม่ใหเ้ ศษเหล็กบาดมอื หรือส่วนต่าง ๆ ของร่างกายซง่ึ อาจกอ่ ให้เกดิ โรคบาดทะยกั
94 3.3 สิ่งประดษิ ฐจ์ ากวสั ดุใชแ้ ลว้ ประเภทยางรถยนต์ ส่ิงประดิษฐ์จากวัสดุใช้แล้วประเภทยางรถยนต์ เป็นการนํายางรถยนต์เก่าโดยเฉพาะยางนอกนํามาดัดแปลงตกแต่งเป็นข้าวของเคร่ืองใช้และงานศิลปะต่าง ๆ เช่น ที่นอนสัตว์เล้ียง บ่อเล้ียงปลา เฟอร์นิเจอร์ กระถางต้นไม้ รูปสัตว์สําหรับตกแต่งสวนหรือบ้านเรือนถงั ขยะ และอีกมาก ซงึ่ จะทําให้ประหยัดค่าใช้จ่ายและยงั ชว่ ยใหผ้ ทู้ ค่ี ิดค้นประดษิ ฐ์สามารถมรี ายได้จากการจําหนา่ ยผลิตภณั ฑ์จากยางรถยนตอ์ กี ด้วย ภาพท่ี 5.9 ภาพที่ 5.10ยางรถยนตป์ ระดิษฐเ์ ป็นท่ีนอนสตั วเ์ ล้ียง ยางรถยนตป์ ระดิษฐ์เปน็ กระถางต้นไม้ ทีม่ า : https://www.iurban.in.th ภาพที่ 5.11 ภาพท่ี 5.12 ภาพท่ี 5.13 ยางรถยนตป์ ระดิษฐ์ ยางรถยนต์ประดษิ ฐ์ยางรถยนต์ประดิษฐ์เป็น เฟอ3ร.์น4เิ จสอิ่งรป ์ ระดษิ ฐ์จากวัสดุใเชปแ้ น็ ลสว้ นปารมะเเดภ็กทเลอน่ล ูมเิ นียม เป็นกรอบกระจก ทมี่ า : http://www.banidea.com
95 สิ่งประดิษฐ์จากวัสดุใช้แล้วประเภทอลูมิเนียม เป็นการนําเอาขยะท่ีเป็นกระป๋องอลูมิเนียม หรือฝาเปิดกระป๋อง นํามาประดิษฐ์ดัดแปลงใช้ประโยชน์ และจําหน่ายเป็นรายได้ ได้แก่ นํามาประดิษฐ์เป็นโคมไฟ ท่ีเก็บของรูปแบบต่าง ๆ เคสโทรศัพท์มือถือ กระเป๋ากระถางปลกู ตน้ ไม้ เปน็ ต้นภาพท่ี 5.14 กระป๋องประดิษฐเ์ ปน็ กระถางต้นไม้ ภาพท่ี 5.15 ทีเ่ ก็บของจากกระปอ๋ งเกา่ ที่มา : http://www.banidea.comภาพท่ี 5.16 ฝาเปดิ กระป๋องประดษิ ฐ์เป็นโคมไฟ ภาพที่ 5.17 ฝาเปดิ กระป๋องประดษิ ฐ์เป็น เครอ่ื งประดบั ท่ีมา : http://www.banidea.com ทีม่ า : http://women.kapook.comข้อควรระวงั ในการนาํ เศษอลูมิเนยี มหรือกระปอ๋ ง หรือฝาเปิดกระปอ๋ ง มาทาํ งานประดิษฐน์ น้ัควรระมดั ระวงั ไม่ให้บาดมอื หรอื เศษผงของอลมู ิเนียมเขา้ ตา ซ่งึ จะเป็นอันตรายต่อสขุ ภาพ
96 3.5 ส่ิงประดิษฐ์จากวัสดใุ ชแ้ ล้วประเภทขวดนาํ้ พลาสตกิ ส่ิงประดิษฐ์จากวัสดุใช้แล้วประเภทขวดน้ําพลาสติก ขวดนํ้าพลาสติกมีหลายประเภทเช่นขวดน้ําดื่มแบบอ่อนใส และแบบขาวขุ่น ขวดบรรจุภัณฑ์พลาสติกแข็งสามารถนํากลับมาสร้างสรรรค์เป็นงานประดิษฐ์ท่ีใช้ประโยชน์ได้จริงอีกครั้ง และสามารถสร้างงาน สร้างอาชีพใหแ้ กผ่ คู้ ดิ ค้นประดิษฐ์ได้อีกทางหนึ่งด้วย ตัวอย่าง เช่น การนํามาประดิษฐ์เป็นกระถางต้นไม้ โคมไฟ ม่านบังตา โรงเรือนเพาะปลูก โต๊ะ เก้าอี้ ช้ันเก็บของ และอ่ืน ๆ อีกมาก ภาพที่ 5.18 ขวดพลาสตกิ ประดิษฐเ์ ปน็ มา่ นบังตา โคมไฟ และโรงเรอื นเพาะชํา ภาพท่ี 5-19 ขวดพลาสตกิ ประดิษฐ์เปน็ รัว้ บ้าน และล้ินชักเกบ็ ของในบา้ น ที่มา : http://www.nonvisual.com
97 ภาพที่ 5.20 บา้ นที่ตกแต่งดว้ ยฝาขวดนา้ํ ดื่มพลาสตกิ ทีม่ า : http://www.bareo-isyss.com 3.6 สง่ิ ประดิษฐจ์ ากวัสดใุ ชแ้ ลว้ ประเภทเศษผา้ ส่ิงประดิษฐ์จากวัสดุใช้แล้วประเภทเศษผ้า เป็นการนําเศษผ้าที่เหลือจากการตัดเย็บเสื้อผ้า หรือเสื้อผ้าเก่าท่ีไม่ใช้มาดัดแปลงเป็นของใช้ต่าง ๆ เช่น พรมเช็ดเท้า ผ้ารองครกผา้ ห่ม ต๊กุ ตา ของที่ระลึก เบาะรองนงั่ เปน็ ต้นภาพที่ 5.21 เบาะรองนั่งจากเศษผ้า ภาพท่ี 5.22 กระถางตน้ ไม้จากเศษผ้าทม่ี า : http://p-dit.com ภาพที่ 5.23 พรมเชด็ เท้าจากเส้ือผ้าเกา่ ภาพที่ 5.24 หมอนอิงจากกางเกงยีนส์เก่า ทมี่ า : http://home.kapook.com
98 ภาพท่ี 5.25 พวงกญุ แจจากเศษผา้ ภาพที่ 5.26 ต๊กุ ตาจากเศษผา้ ท่ีมา : https://sites.google.com ท่มี า : http://www.ladysquare.com 3.7 สง่ิ ประดิษฐ์จากวัสดใุ ชแ้ ล้วประเภทเศษไม้ ส่ิงประดษิ ฐ์จากวัสดุใช้แล้วประเภทเศษไม้ เป็นการนําเอาเศษไม้ท่ีเหลือใช้จากงานก่อสร้าง หรือจากลังไม้เก่า หรือจากจุกเคร่ือมด่ืม มาประดิษฐ์ด้วยความคิดสร้างสรรค์ประดิษฐเ์ ปน็ ของใชใ้ หม่ ๆ เช่น โต๊ะเก้าอ้ีจากเศษไม้เก่า กรอบรูปหรือกรอบกระจก ชั้นวางของตุ๊กตา เป็นตน้ภาพท่ี 5.27 เศษไม้ประดิษฐ์เปน็ เคร่ืองใชป้ ระดับตกแต่งบา้ น ทมี่ า : http://www.diy-knight.com
99 3.8 ส่ิงประดษิ ฐ์จากวัสดใุ ชแ้ ลว้ ประเภทกระดาษ สงิ่ ประดษิ ฐจ์ ากวสั ดุใชแ้ ล้วประเภทกระดาษ เป็นการนํากระดาษประเภทต่าง ๆ เช่น กระดาษเอกสาร การดาษหนังสือพิมพ์ กระดาษนิตยสาร กระดาษรังไข่ กระดาษกล่องบรรจภุ ัณฑ์ นาํ มาประดิษฐด์ ัดแปลงเป็นของใช้ใหมเ่ พิ่มมูลค่า เปน็ ของใช้ใหมใ่ นครวั เรือนลดรายจ่ายและยงั เปน็ สินคา้ สร้างรายไดส้ ร้างอาชีพได้ เชน่ ทาํ เปเปอรม์ าเชร่ ์ ทาํ ดอกไม้สารเปน็ ตะกร้า โคมไฟ กรอบรูป โตะ๊ เก้าอี้ และเครอื่ งประดบั เป็นต้น ภาพท่ี 5.28 กระดาษประเภทต่าง ๆ ประดิษฐ์เปน็ ของใช้ในบา้ นและสินค้าเพ่อื จาํ หนา่ ย ทมี่ า : https://www.iurban.in.th ภาพท่ี 5.29 งานประดิษฐ์เปเปอรม์ าเช่จากกระดาษ ที่มา : http://www.kruwichan.com
100 3.9 สิง่ ประดิษฐ์จากวสั ดใุ ชแ้ ลว้ ประเภทถุงพลาสติก ส่ิงประดิษฐ์จากวัสดุใช้แล้วประเภทถุงพลาสติก เป็นการนําถุงพลาสติกท่ีใช้บรรจุส่ิงของจากห้างร้านต่างหรือร้านค้าต่าง ๆ มาทําความสะอาดให้แห้ง หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่าถุงกอบแก็บ หรือก๊อบแก๊บ นํามาตัดแล้วมัดต่อกันยาวเป็นเส้นเชือก แล้วนํามาถักเป็นส่ิงของเคร่ืองใช้ ได้แก่ ท่ีนอนฟูก กระเป๋า ที่รองจาน ที่รองแก้ว ไม้แขวนเสื้อ ถุงเท้า ท่ีใช่ของจุกจิกตามแตค่ วามคิดสรา้ งสรรค์ของผปู้ ระดิษฐ์ภาพท่ี 5.30 ถุงพลาสตกิ ที่นํามาประดิษฐเ์ ปน็ ท่รี องภาชนะ และใสข่ องจุกจิก ท่ีมา : http://joobbox.exteen.com ภาพท่ี 5.31 ฟูกท่ีถักจากถุงพลาสตกิ ภาพท่ี 5.32 รองเทา้ ที่ถกั จากถุงพลาติก ที่มา : http://www.posttoday.com ทม่ี า : http://www.jeab.com ภาพท่ี 5.33 กระเป๋าทถ่ี ักจากถงุ พลาสติก ท่มี า : http://p-dit.com ภาพท่ี 5.34 ดอกไม้ประดิษฐจ์ ากถงุ พลาสติก ที่มา : http://www.jeab.com
101 3.10 สง่ิ ประดษิ ฐ์จากวสั ดใุ ชแ้ ลว้ ประเภทขวดแกว้ การประดิษฐ์ขวดแก้ว เป็นการนําขวดแก้วเครื่องด่ืม หรือเคร่ืองปรุงต่างๆ นํากลับมาใช้ใหม่โดยอาจจะประดิษฐ์เปล่ียนรูปร่าง หรืออาจคงรูปร่างเดิมไว้แต่นําไปใช้ประโยชน์แบบใหม่ เช่น การนําประดิษฐ์เป็นงานศิลปะต่าง ๆ การนํามาทําเป็นโคมไฟ การนําไปทําเป็นกําแพงรั้วสวนหรือรั้วบ้าน การนําไปประกอบตกแต่งฝาผนังบ้านเพื่อเพิ่มแสงสว่างแทนบล็อกแกว้ ในการก่อสรา้ งบ้านเรอื น และอนื่ ๆ อกี มาก ภาพที่ 8.36 โคมไฟจากขวดแก้วภาพท่ี 8.35 งานศิลปะจากขวดแกว้ ทม่ี า : https://pinperty.com ทีม่ า : http://www.greenintrend.comภาพท่ี 8.37 ขวดแกว้ ใชป้ ระดบั ตกแต่งผนัง ภาพท่ี 8.38 ร้วั สวนจากขวดแก้ว บา้ นเพม่ิ แสงสวา่ งแทนบล็อกแก้ว ทมี่ า : https://benefitsofbeingfit. ท่ีมา : http://www.designrulz.com wordpress.com
102 จากตัวอย่างข้างต้น ยังมีขยะอีกหลายประเภทท่ีสามารถนํามาประดิษฐ์ได้ เช่นโฟมจากห่อบรรจภุ ัณฑ์ หรือโฟมบรรจุอาหาร เปน็ ต้น ซ่งึ สามารถศึกษาเพิ่มเตมิ ไดจ้ ากหนงั สอืทีม่ จี ําหนา่ ยตามรา้ นขายหนังสือและจากเว็บไซต์ต่าง ๆ จะเห็นได้ว่าการคัดแยกขยะมีประโยชน์และความจําเป็นอย่างมากในการลดปริมาณขยะ นอกจากจะขายเป็นเศษขยะได้แล้ว ยังนํามาดัดแปลงตกแต่ง เป็นข้าวของเครื่องใช้ หรือสินค้าใหม่ ลดรายจ่าย เพ่ิมรายได้ให้กับครอบครัวและหากรวมกลมุ่ กนั ทาํ ก็จะเพมิ่ รายไดใ้ หก้ บั ชมุ ชนดว้ ย กจิ กรรมทา้ ยหนว่ ยที่ 5 หลังจากทผ่ี เู้ รียนศึกษาเอกสารชดุ การเรยี นหนว่ ยท่ี 5 จบแลว้ ใหศ้ ึกษาค้นควา้เพิม่ เตมิ จากแหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ แล้วทาํ กิจกรรมการเรยี นหนว่ ยท่ี 5 ในสมดุ บันทึกกิจกรรมการเรยี นรู้ แล้วจัดส่งตามทีค่ รูผูส้ อนกาํ หนด
103 หนว่ ยที่ 6 เทคโนโลยกี ารกาจดั วัสดุสาระสาคัญ 1. การเผาเศษวัสดุเหลอื ท้งิ เป็นการจัดการเศษวัสดเุ หลือทง้ิ เป็นวิธที ่ีไดร้ บั ความนิยมสามารถกาจดั ของเสียท่มี าจากการรกั ษาพยาบาลและของเสียท่ีมีพิษได้ ดกี วา่ การกาจดั เศษวัสดุเหลอื ทงิ้ โดยวธิ ฝี ังกลบและอาจนาส่วนทเ่ี หลือนี้ไปใช้ประโยชนไ์ ด้ ผลกระทบทางระบบนเิ วศนก์ ็นอ้ ยกว่า 2. ความจาเป็นทจ่ี ะต้องแสวงหาแหลง่ พลงั งานหมนุ เวยี นทดแทนพลังงานเชื้อเพลงิฟอสซิลซึง่ นบั วนั จะมีปริมาณลดนอ้ ยลงและมีราคาสูงขึน้ เศษวัสดเุ หลอื ทิง้ เป็นอีก ทางเลือกหนง่ึด้านการผลิตพลงั งาน เพราะเศษวสั ดุเหลือท้งิ มีศักยภาพท่ีสามารถนามาใช้เพอ่ื ผลิตพลงั งานได้ทง้ั น้ี เนื่องจากมปี ริมาณมาก และไม่ตอ้ งซื้อหาแต่ในปจั จบุ ันมกี ารนาเศษวสั ดุเหลือทงิ้ มาผลติ เป็นพลงั งานน้อยมากเมอ่ื เทียบกับพลงั งานทดแทนดา้ นอื่น ๆตัวชวี้ ัด 1. อธิบายเทคโนโลยกี ารกาจดั เศษวัสดเุ หลือท้ิงดว้ ยการเผาได้ 2. อธิบายการผลิตพลงั งานจากเศษวัสดเุ หลือทิง้ ได้ขอบขา่ ยเน้ือหา 1. เทคโนโลยกี ารกาจดั เศษวสั ดเุ หลือทิ้งด้วยการเผา 2. การผลติ พลังงานจากเศษวัสดุเหลือท้ิง
104 หนว่ ยที่ 6 เทคโนโลยีการกาจัดวสั ดุเรื่องที่ 1 เทคโนโลยกี ารกาจดั เศษวัสดุเหลอื ทง้ิ ด้วยการเผา 1. เทคโนโลยีเตาเผาทีใ่ ช้กนั อยู่ปัจจุบนั เทคโนโลยีเตาเผา หรือ Incineration คือ การเผาไหม้มูลฝอยกับอากาศเพ่ือเกิดปฏกิ ิริยาการเผาไหม้ ที่ใหค้ วามรอ้ นและอณุ หภูมิเพอ่ื ทาลายมวลและปรมิ าตรของมลู ฝอยการเผาไหม้เกิดข้นึ ในเตาเผาทไ่ี ด้มีการ ออกแบบเป็นพเิ ศษเพ่อื ให้เขา้ กับลกั ษณะสมบตั ขิ องขยะมูลฝอย คือ อตั ราความช้ืนสูง และมีคา่ ความร้อนท่แี ปร ผันได้ การเผาไหม้จะต้องมีการควบคุมที่ดีเพ่อื จะป้องกันไมใ่ ห้เกิดมลพิษและการรบกวนต่อสภาพแวดล้อม เช่น ก๊าซพิษ เขมา่ กลิ่น เป็นต้นกา๊ ซซงึ่ เกิดจากการเผาไหมจ้ ะไดร้ ับการกาจดั เขม่าและอนุภาคตามทก่ี ฎหมาย ควบคุม กอ่ นท่ีปล่อยออกสู่บรรยากาศ ข้ีเถ้าซึ่งเหลือจากการเผาไหม้ ซ่ึงมีปริมาตรประมาณร้อยละ 10 และนา้ หนักประมาณรอ้ ยละ 25 ถึง 30 ของขยะทสี่ ง่ เขา้ เตาเผา สามารถนา้ ไปฝังกลบหรือใช้เปน็ วัสดุปูพ้นื สาหรับ การสร้างถนน ส่วนขี้เถา้ ที่มสี ่วนประกอบของโลหะ อาจถูกนากลับมาใช้ใหม่ได้นอกจากน้ันในบางพ้ืนท่ีทีม่ ี ปริมาณขยะมลู ฝอยอยู่มาก สามารถที่จะน้าพลังงานความร้อนที่ได้จากการเผาไหมม้ าใชใ้ นการผลิตไอน้า หรอื ทาน้ารอ้ น หรอื ผลติ กระแสไฟฟ้าได้ หวั ใจของโรงเผามูลฝอยคือระบบกานเผาไหม้ซ่งึ สามารถแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คือ 1. ระบบการเผาไหมม้ วล (Mass Burn System) ซ่ึงหมายถึง การเผาทาลายมูลฝอยในสภาพทรี่ ับเข้ามาโดยไม่ต้องมี กระบวนการจัดการเบ้ืองตน้ ก่อน 2. ระบบท่ีมีการจัดการเบื้องต้น (Burning of Preheated and HomogenizedWaste) หมายถึง ระบบการเผาไหม้มวลเป็นการเผาไหม้มูลฝอยที่มีองค์ประกอบท่ีหลากหลายโดยไม่ต้องมกี ารจดั การเบ้ืองต้นกอ่ น จากการศึกษารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยีเตาเผามูลฝอยระบบการเผาไหม้มวลท่ีมีอยู่ใน ปัจจุบัน พบว่า เตาเผาระบบการเผาไหม้มวลท่ีนิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบันสามารถจาแนกออกเปน็ 2 ประเภท หลกั ๆ คือ เตาเผาแบบตะกรับเคล่ือนที่ (Moving Grate) ซ่ึงเป็นเทคโนโลยีที่ใช้กันแพร่หลายและได้รับการ ทดสอบแล้ว มีสมรรถนะทางเทคนิคที่ยอมรับได้และสามารถรองรับการเผาทาลายขยะมูลฝอยที่มีองค์ประกอบ และค่าความร้อนที่หลากหลาย และเตาเผาแบบหมุน (Rotary Kiln) ซ่ึงเปน็ ระบบทไี่ ด้รับความนยิ มรองลงมา
105 ระบบท่ีมีการจดั การมูลฝอยเบื้องต้นก่อนทาการเผาต้องมรี ะบบเพ่ือการลดขนาด การบดตดั และการ คัดแยก หรอื ในบางครัง้ อาจมีระบบการผลิตเชื้อเพลิงจากมลู ฝอย (Refuse-DerivedFuel : RDF) ซงึ่ ทาใหม้ ี ความยุ่งยากในการปฏิบตั ิงานมากขึน้ ดังนัน้ ระบบดงั กล่าวจงึ มกี ารใช้งานอยูใ่ นวงจากดั ระบบทม่ี ีการจดั การมูลฝอยเบ้อื งตน้ ก่อนทาการเผาในทางทฤษฎีอาจจัดให้เตาเผาแบบฟลูอิดไดซเ์ บด (Fluidized Bed) จดั อย่ใู นพวกเดียวกันดว้ ย อยา่ งไรก็ตาม เทคโนโลยฟี ลอู ิดไดซ์เบดจดั วา่ เทคโนโลยที ่ีใหมอ่ ยู่ และมกี ารใช้งานเพ่ือการเผาทาลายขยะมูลฝอยในวงจากดั โดยท่ัวไปใช้ในการกาจดั เศษวัสดุอุตสาหกรรมอตุ สาหกรรม (มีตัวอย่างการใชง้ านในประเทศญ่ปี นุ่ ) นอกจากนีม้ ีเทคโนโลยไี พโรไลซิส-กา๊ ซซิฟเิ คชน่ั อีกด้วย โดยรายละเอียดของเตาเผาแตล่ ะเทคโนโลยี ทง้ั ทางด้านเทคนคิ วศิ วกรรม การจดั การสิง่ แวดล้อมการบริหารจดั การโรงแรม รายละเอยี ดคา่ ใชจ้ ่ายในการดาเนินงานและการบารุงรักษา จะไดก้ ล่าวถงึ ต่อไป 1.1 ประเภทของเทคโนโลยีและหลักการทางานของเทคโนโลยี เตาเผามลู ฝอยแบบการเผาไหม้มวลเป็นระบบท่ีใช้กนั อย่างแพร่หลาย ซ่ึงประกอบด้วยตะกรบั ทีส่ ามารถเคล่อื นท่ไี ด้และมี การเผาไหมบ้ นตะกรับนี้ โดยขยะเผา ไหม้ ตะกรับจะเคลอื่ นทแี่ ละลาเลียงมูลฝอยจากจดุ เรม่ิ ตน้ ถงึ จุดสุดท้าย ภาพท่ี 6.1 เตาเผาแบบตะกรบั เคลื่อนที่ ท่ีมา : http://bangkokgreencity.bangkok.go.th
106 ภาพที่ 6.2 ภาพถา่ ยแสดงให้เห็นตะกรบั ที่อยดู่ า้ นในของเตาเผามลู ฝอย ทีม่ า : http://bangkokgreencity.bangkok.go.th ก้ามปูของเครนเหนือเตา จะทาหน้าที่จับมูลฝอยเพือ่ ป้อนลงไปในช่องป้อนก่อนท่ีจะหล่นเข้าไป ในห้องเผาไหม้ของเตาเผาด้วยแรงโน้มถ่วง เมื่อมลู ฝอยตกลงไปวางบนตะกรับ ความร้อนในเตาเผาจะทาให้มูล ฝอยแห้งก่อนท่ีจะเกิดการเผาไหม้ด้วยอุณหภูมิสูงกับอากาศที่ใช้ในการเผาไหม้ ข้ีเถ้า (รวมทั้งส่วนประกอบของ มูลฝอยส่วนท่ีไม่สามารถเผาไหม้ได้ ) จะหลุดออกจากตะกรบั ในลกั ษณะของเถ้าลอย ลงสูห่ ลุมถ่ายข้เี ถ้า ตะกรบั จะทาหน้าท่ีเป็นเสมือนพนื้ ผวิ ด้านล่างของเตา การเคลอ่ื นท่ขี องตะกรับหากไดร้ บั การ ออกแบบ อย่างถูกตอ้ งจะทาให้มลู ฝอยมกี ารขนยา้ ยและผสมผสานกันอย่างมีประสิทธภิ าพและทาใหอ้ ากาศทใี่ ช้ในการ เผาไหมส้ ามารถแทรกซึมไปถั่วถึงพนื้ ผิวของมูลฝอยตะกรับอาจถูกจดั แบ่งให้เปน็ ท่ียอ่ ยเฉพาะ ซง่ึ ทาให้สามารถ ปรับปรมิ าณอากาศเพ่ือใช้ในการเผาไหม้ไดอ้ ยา่ งอสิ ระและทาให้สามารถเผาไหม้ได้แม้มูลฝอยท่ีมคี ่าความร้อนตา่
107 ภาพท่ี 6.3 สว่ นประกอบของตะกรบั ท่ีช่วยให้มูลฝอยเกิดการเคลอื่ นที่ ที่มา : http://bangkokgreencity.bangkok.go.th อากาศที่ใชใ้ นการเผาไหม้แบง่ ออกเปน็ อากาศปฐมภูมิ (Primary Air) ซงึ่ เปา่ ดา้ นลา่ งของผวิ ตะกรบั โดยทาหน้าท่ี ชว่ ยใหเ้ กิดการเผาไหม้ในภาคของแข็งและระบายความรอ้ นใหก้ ับตะกรบั อากาศทตุ ยิ ภมู ิ (Secondary Air) จะจ่ายเขา้ บรเิ วณด้านบนของหอ้ งเผาไหม้และทาหน้าท่ีเผาไหม้ก๊าซท่ีระเหยขน้ึ มาจากมลู ฝอยทีว่ างบนตะกรบั เพ่ือใหเ้ กิดการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ ตะกรบั ทใ่ี ช้กับระบบเตาเผามูลฝอยมีหลายแบบเชน่ กัน เคลอื่ นไปดา้ นหน้า(Forward Movement), เคลอื่ นไปด้านหลงั (Backward Movement), เคล่ือนท่แี ยกตวั(Double Movement Rocking) และ ลกู กล้งิ (Roller) เป็นต้น รูปท่ี 6.4 อากาศที่ใชใ้ นการเผาไหม้ทจี่ า่ ยเขา้ ตามส่วนต่าง ๆ ของห้องเผาไหม้ ท่มี า : http://bangkokgreencity.bangkok.go.th
108 ผนังของหอ้ งเผาไหมใ้ นเตาเผามูลฝอยมกั เปน็ แบบบุด้วยอฐิ ทนไฟ (Refractory Wall)หรอื แบบผนังนา้ (Water Wall) สาหรับแบบหลังน้ีส่วนมากจะปฏบิ ัตงิ านโดยใชอ้ ากาศส่วนเกินในปรมิ าณตา่ ซ่งึ ช่วยใหล้ ด ปรมิ าตรของหอ้ งเผาไหม้และลดขนาดของอุปกรณ์ควบคมุ มลพิษอากาศตารางที่ 6.1 ขอ้ ไดเ้ ปรยี บและข้อเสยี เปรยี บของเตาเผาแบบตะกรับเคลื่อนที่ข้อไดเ้ ปรยี บ ขอ้ เสยี เปรียบ1. ไมต่ ้องการคัดแยกหรือบดตัดมูลฝอยกอ่ น 1. เงนิ ลงทุนและบำรุงรกั ษา2. เป็นเทคโนโลยีทม่ี ีใช้กนั อยา่ งแพร่หลายและไดร้ บั ค่อนขา้ งสูงการทดสอบแล้วสำหรับการเผาทำลายมูลฝอยและมีสมรรถนะตรงตามวตั ถปุ ระสงค์3. สามารถจดั การกับมูลฝอยท่ีมอี งค์ประกอบและค่าความร้อนที่เปล่ียนแปลงตลอดเวลาได้เปน็ อย่างดี4. สามารถให้คา่ ประสิทธิภาพเชิงความร้อนได้สูงถึงร้อยละ 855. เตาเผาแต่ละเตาสามารถก่อสรา้ งใหม้ ีความสามารถในการเผาทำลายได้ถึง1,200 ตันต่อวัน (50 ตนั ต่อช่วั โมง)
109เตาเผาแบบหมุน (Rotary Kiln) ระบบเตาเผาแบบหมุนเป็นการเผาไหม้ มวลของมลู ฝอยโดยใช้ห้องเผาไหม้ทรงกระบอกซ่ึงสามารถ หมุนได้รอบแกน มูลฝอยจะเคลือ่ นตัวไปตามผนังของเตาเผ าทรงกระบอกตามการหมุน ของเตาเผาซ่งึ ทามมุ เอยี งกับแนวระดบั รปู ท่ี 6.5 ระบบเตาเผาแบบหมนุ ทีม่ า : http://bangkokgreencity.bangkok.go.th เตาเผาแบบหมุนส่วนใหญ่จะเป็นแบบผนังอิฐทนไฟ แต่ก็มีบ้างท่ีเป็นผนังถ้าทรงกระบอกอาจมีขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 1 ถึง 5 เมตร และยาวต้ังแต่ 8 ถึง 20 เมตรความสามารถในการเผาทาลายมูลฝอย มีต้ังแต่ 2.4 ตันต่อวัน (0.1 ตันต่อช่ัวโมง) จนถึงประมาณ 480 ตันต่อชว่ั โมง (20 ตันตอ่ ชั่วโมง) อัตราสว่ นอากาศสว่ นเกินทจี่ ะใช้มีปริมาณที่มากกว่าแบบที่ใช้กบั เตาเผาแบบตะกรบัและอาจจะมากกว่าท่ีใช้กับเตาเผาแบบฟลูอิดไดซเ์ บดด้วยสิ่งท่ีตามมาก็คือ เตาเผาแบบหมนุมปี ระสิทธภิ าพพลงั งานท่ี ต่ากว่าเล็กน้อย แต่ก็ยงั มีค่ามากกว่าร้อยละ 80 เนือ่ งจากว่าเวลาที่ใช้ในการเผาไหม้ (Retention Time) ของกา๊ ซไอเสยี คอ่ นขา้ งสนั้เกินไปสาหรับการทาปฏกิ ิริยาการเผาไหม้ในเตาเผาแบบหมนุ ดังน้นั เตาทรงกระบอกจงึ มักมีสว่ นตอ่ ทท่ี าเปน็ ห้องเผาไหม้หลงั (After-Burning Chamber) และหมักรวมอยู่ในส่วนของหมอ้น้าด้วย
110 ภาพท่ี 6.6 ระบบเตาเผาแบบหมนุ ท่ีตดิ ตั้งใช้งานจริง ท่มี า : http://bangkokgreencity.bangkok.go.thตารางท่ี 6.2 ขอ้ ไดเ้ ปรียบและข้อเสยี เปรยี บของเตาเผาแบบหมุน ขอ้ ได้เปรยี บ ข้อเสียเปรียบ1. ไมต่ ้องการการคดั แยกหรอื บดตดั มลู ฝอยกอ่ น 1. เป็นเทคโนโลยที ่ีมกี ารใชใ้ นการเผาทาลาย มูลฝอยคอ่ นข้างน้อย2. สามารถใหค้ ่าประสทิ ธิภาพเชงิ ความร้อนสูงถงึ 2. เงนิ ลงทนุ และบารงุ รกั ษาค่อนขา้ งสงูรอ้ ยละ 803. สามารถจดั การกับมูลฝอยทม่ี ีองคป์ ระกอบ 3. ความสามรถในการเผาทาลายสูงสดุ ต่อและค่าความรอ้ นท่เี ปล่ยี นแปลงตลอดเวลาได้ หนึง่ เตาประมาณ 480 ตันต่อวันเป็นอย่างดี (20 ตันต่อช่ัวโมง)
111เตาเผาแบบฟลูอดิ ไดซ์เบด (Fluidized Bed) เตาเผาแบบฟลูอิดไดซ์เบด ทางานโดยอาศัยหลักการท่ีอนุภาคของแขง็ ที่รวมตัวเป็น Bed ในเตาเผา ผสมเขา้ กบั มลู ฝอยที่ทาหน้าท่ีเป็น เชื้อเพลิงสาหรับการเผาไหม้ถกู ทาให้ลอยตัวขึ้น อันเน่ืองมาจากอากาศที่เป่า เข้าด้านข้างทาให้มันมีพฤติกรรมเหมือนกบั การไหลเตาเผาโดยทว่ั ไปจะมีรปู รา่ งเปน็ ทรงกระบอกต้ัง และวัสดุที่ทาผนังห้องเผาไหม้ มักทามาจากทรายซิลกิ า หนิ ปนู หรือวสั ดุเซรามกิ ส์ การใช้งานเตาเผาแบบฟลูอิดไดซ์เบดอยู่ในขั้นเร่ิมต้นเน่ืองจากมีการพัฒนาเทคโนโลยีเตาเผาอยู่อย่าง สม่าเสมอ โดยเตาเผามีข้อได้เปรียบที่สามารถลดปริมาณสารอนั ตรายได้ในผนังห้องเผาไหม้ และมีประสิทธิภาพเชิงความร้อนสูง สามารถใช้ได้กับเช้ือเพลิงหลากหลายประเภท ขอ้ เสยี เปรยี บหลักของเตาเผาแบบน้ีอย่ทู ต่ี อ้ งการกระบวนการในการจดั การมูลฝอยเบ้ืองต้นก่อนท่ีจะสามารถป้อนข้อมูลเข้าสู่เตาเผาได้ เพื่อให้มูลฝอยมีขนาด ค่าความร้อน ปริมาณข้ีเถ้าที่อยู่ข้างในและอื่น ๆ เพ่ือให้ตรงต่อข้อกาหนดในการปฏิบัติงานของเตาเผา และเนื่องจากมูลฝอย มีลักษณะสมบัติที่หลากหลาย จึงทาให้เกิดความยากลาบากในการทาใหไ้ ดเ้ ช้อื เพลงิ ท่ีตรงตามความต้องการ ภาพที่ 6.7 เตาเผาแบบฟลูอดิ ไดซเ์ บด ทม่ี า : http://bangkokgreencity.bangkok.go.th
112ตารางที่ 6. 3 ขอ้ ไดเ้ ปรียบและขอ้ เสียเปรียบหลกั ของเตาเผาแบบฟลอู ิดไดซ์เบด ขอ้ ไดเ้ ปรยี บ ข้อเสียเปรียบ1. เงินลงทุนและค่าใชจ้ ่ายในการบารงุ รักษา 1. ณ ปจั จุบันยงั จดั ว่าเป็นเทคโนโลยีท่ียงัค่อนข้างต่าเน่อื งจากออกแบบทีค่ ่อนขา้ งง่าย ต้องการการทดสอบอยู่สาหรบั เผาทาลายมูลฝอย ช2.มุ ชคนอ่ นข้างมีข้อจากัดด้านขนาดและ2. สามารถใหค้ ่าประสิทธิภาพเชงิ ความร้อนได้ องคป์ ระกอบของมูลฝอย โดยทวั่ ไปต้องมีสงู ถงึ รอ้ ยละ 90 กระบวนการในการจดั การมลู ฝอยกอ่ นส่งเข้า3. สามารถใชใ้ นการเผาทาลายเช้ือเพลิงท่ี เตาเผาหลากหลายประเภทและสามารถรับรองได้ท้งัและกากของแขง็ เหลวโดยเผาทาลายร่วมกันหรอื แยกจากกันเตาเผาแบบไพโรไลซิส - กา๊ ซซิฟเิ คชัน (Pyrolysis and Gasification) กระบวนการผลติ ก๊าซเชื้อเพลิงจากมูลฝอยชุมชน (MSW Gasification) เป็นกระบวนการทาให้มูลฝอยเป็นก๊าซโดยการทา ปฏิกิริยาสันดาปแบบไม่สมบูรณ์ (PartialCombustion) กล่าวคอื สารอินทรียใ์ นมูล ฝอยจะทาปฏิกริ ิยากบั อากาศหรือออกซิเจนปริมาณจากดั ทาให้เกิดก๊าซ ซึ่งมีองค์ประกอบหลกั ได้แก่ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรเจนและมเี ทนเรียกว่า Producer gas ในกรณีท่ีใช้อากาศเป็นก๊าซทาปฏิกิริยาก๊าซ เช้ือเพลิงท่ีได้จะมีค่าความร้อนต่าประมาณ 3 - 5 เมกะจูลต่อลูกบาศก์เมตร แต่ถา้ ใช้ออกซเิ จนเป็นก๊าซทาปฏิกิริยาก๊าซเช้ือเพลิง ที่ได้จะมีค่าความร้อนสูงกว่าคือ ประมาณ 15 - 20 เมกะจูลต่อลูกบาศก์เมตรกระบวนการผลติ ก๊าซเช้ือเพลิงจากเช้ือเพลิงแข็งประกอบไปด้วยกระบวนการสลายตัว(Decomposition) และกระบวนการกล่ันสลาย (Devolatilization) ของโมเลกลุ สารอนิ ทรีย์ ในมูลฝอยชุมชน ท่ีอุณหภูมิสูงประมาณ 1,200 - 1,400 องศาเซลเซียส ในบรรยากาศท่ีควบคุมปริมาณออกซิเจ น เพ่อื ผลิตสาระเหย และถ่านชาร์ (Char) ในข้ันตอนของกระบวนการกล่ันสลายที่เรียกว่าไพโรไลซิส (Pyrolysis) มูลฝอยจะสลายตัวด้วย ความรอ้ นเกดิ เป็นสาระเหย เช่นมเี ทน และส่วนทเ่ี หลอื ยังคงสภาพของแข็งอยู่เรียกว่า ถ่านชาร์ สารระเหยจะทาปฏิกิริยาต่อกบัอากาศ ออกซิเจน หรือไอน้า ไดเ้ ป็นกา๊ ซเชื้อเพลิง
113 ปฏิกิริยาที่เกิดข้ึนในกระบวนการแปรสภาพเป็นแก๊ส (Gasification Process)จะเปน็ ตัวกาหนดองค์ประกอบของกา๊ ซเชื้อเพลิง ซึ่งปัจจัยหลกั ทีก่ าหนดเกิดปฏิกิริยาดังกล่าวคือ อุณหภูมิ ภายในเครื่องปฏิกรณ์ เช่น ถ้าอุณหภูมิต่าเกนิ ไป จะทาให้โมเลกุลขนาดกลางไม่เกิดสนั ดาป และจะหลุดออกไปเกดิ การควบแนน่ เปน็ นา้ มันทาร์ ภาพท่ี 6.8 กระบวนการไพโรไลซิส ของบริษัท Compact Power® ที่มา : http://bangkokgreencity.bangkok.go.th เครอ่ื งปฏกิ รณผ์ ลิตก๊าซเชื้อเพลงิ (Gasifier) สามารถแบ่งออกได้เปน็ 4 ชนิดไดแ้ ก่ 1. ระบบผลติ กา๊ ซเช้ือเพลิงแบบไหลขน้ึ (Updraft Gasifier) 2. ระบบผลิตก๊าซเชอ้ื เพลิงแบบไหลลง (Downdraft Gasifier) 3. ระบบผลิตกา๊ ซเชอ้ื เพลิงแบบไหลขวาง (Cross-Current Gasifier) 4. ระบบผลิตก๊าซเชอื้ เพลิงแบบปอ้ นเชอ้ื เพลิงต่อเนื่อง (Fluid Bed Gasifier)โดยมีรายละเอียดดงั ต่อไปน้ี
1141) เคร่ืองปฏกิ รณ์แบบระบบผลติ ก๊าซเชอ้ื เพลงิ แบบไหลขน้ึ (Updraft Gasifier)เคร่ืองปฏิกรณ์แบบน้ีเป็นแบบที่ใช้เริ่มแรกและเป็นแบบที่ง่ายที่สุด เช้ือเพลิงจะถูกป้อนเข้าทางส่วนบนของเครื่องและอากาศจะถูกส่งผ่านตะแกรงเข้ามาทางด้านล่างบริเวณเหนือตะแกรงขึ้นไปมีการเผาไหม้ของเช้ือเพลิงขึ้น ซึ่งเรียกบริเวณน้ีว่า ส่วนเผาไหม้(Combustion Zone) เม่ืออากาศผ่านเข้าไปบริเวณส่วนเผาไหม้(Combustion Zone) จะเกิดปฏิกิริยาข้ึนได้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน้า ก๊าซร้อนที่ผ่านมาส่วนเผาไหม้(Combustion Zone) จะมีอุณหภูมิสูงและจะถูกส่งผ่านไปยังส่วนปฏิกิริยาเกิดก๊าซ (ReductionZone) ซ่ึงเป็นโซนที่มีปริมาณคาร์บอนมากเพียงพอทีจ่ ะกอ่ ใหเ้ กิดปฏกิ ิริยากับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน้า เกิดเป็นก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์และไฮโดรเจน หลังจากนั้นก๊าซท่ีจะไหลเข้าสู่บริเวณท่ีมีอุณหภูมิต่ากว่าในช้ันของเชือ้ เพลิง และกลัน่ สลายในชว่ งอณุ หภมู ิ200 - 500 องศาเซลเซียส หลังจากน้ันก๊าซก็จะไหลเข้าสู่ช้ันของเชื้อเพลิงที่ช้ืน เนื่องจากก๊าซยังคงมีอุณหภูมิสูงอยู่ จึงไประเหยน้าท่ีอยู่ในเชื้อเพลิงเหล่านัน้ ทาให้กา๊ ซทอี่ อกจากเครื่องปฏกิ รณม์ ี ภาพท่ี 6.9 ระบบผลิตก๊าซเชื้อเพลงิ แบบไหล ขน้ึ (Updraft Gasifier)อุณหภูมติ ่าลง สารระเหยและนา้ มนั ทาร์ ที่มา : http://bangkokgreencity.bangkok.go.thที่เกิดขึ้นในช่วงการกล่ันสลายจะติดออกไปกับก๊าซเชื้อเพลิงท่ีเกิดข้ึน ดังนั้นก๊าซเชื้อเพลิงที่ได้จากเครื่องปฏิกรณ์แบบผลิตก๊าซเช้ือเพลิงแบบไหลข้ึน (Updraft Gasifier) จะมีปริมาณของน้ามันทาร์มาก บางครัง้ อาจมมี ากถงึ รอ้ ยละ 20 ของน้ามันทาร์ท่ไี ด้จากการไพโรไลซิส
115 2) เครอื่ งปฏิกรณ์แบบระบบผลิตก๊าซเช้อื เพลงิ แบบไหลลง (Downdraftgasifier) เครื่องปฏิกรณ์แบบระบบผลิตก๊าซเช้ือเพลิงนี้ ออกแบบมาเพ่ือขจัดน้ามันทาร์ในก๊าซเช้ือเพลิง โดยเฉพาะ อากาศจะถูกดูดผ่านจากด้านล่าง ผ่านกลุ่มของหัวฉีดซึ่ง เรียกว่าTuyers บริเวณหัวฉีดจะเป็นบริเวณของโซนส่วนเผาไหม้ (Combustion) ก๊าซที่ได้จากโซนส่วนเผาไหม้ (Combustion) จะถูกลดขนาดลงในขณะที่ไหลงลงสู่ด้านล่างและผ่านช้ันของคาร์บอนทรี่ ้อนซึง่ อยู่เหนือตะแกรงเลก็ นอ้ ยขณะเดยี วกันในชั้นของเชอื้ เพลิงท่อี ยทู่ างด้านบนของโซนส่วนการเผาไหม้ จะมีปริมาณออกซิเจนน้อยมากทาให้เกิดการกลั่นสลายและน้ามันทาร์ท่ีเกิดจากการกลั่นสลาย จะไหลผ่านชั้นของคาร์บอนที่ร้อน ทาให้น้ามันทาร์เกิดการแตกตัวเปน็ กา๊ ซ ซง่ึ การแตกตวั นจ้ี ะเกิดที่อุณหภมู ิ คงท่ีในช่วงระหว่าง 800–1,000 องศาเซลเซียสถ้าอุณหภูมิสูงกว่า 1,000 องศาเซลเซียส ปฏิกิริยาดูดความร้อนจะทาให้ก๊าซที่ได้มีอุณหภูมิต่าลง แต่ถ้าอุณหภูมิต่ากว่าช่วงอุณหภูมิดังกล่าว ปฏิกิริยาคายความร้อนจะ ทาให้ก๊าซท่ีได้มีอุณหภูมิสูงข้ึน ก๊าซที่ผ่านโซนส่วนเผาไหม้ (Combustion) จะมีส่วนประกอบของน้ามันทาร์ลดลงเหลอื นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 10ของนา้ มนั ทาร์ที่ได้จากระบบผลติ ก๊าซเชอ้ื เพลิงแบบไหลข้ึน (Updraft gasifier) และกา๊ ซเช้ือเพลงิ ท่ไี ดจ้ ะสะอาดกว่าการผลิตกา๊ ซเช้อื เพลงิโดยเครอ่ื งปฏิกรณแ์ บบระบบผลติ ก๊าซเชื้อเพลิงแบบไหลลง (Downdraft gasifier) น้งี า่ ย และมีความนา่ เชือ่ ถือสาหรับเชือ้ เพลิงที่มีแห่ง(มคี วามชื้นตา่ กวา่ รอ้ ยละ 30) เนอื่ งจากวา่กา๊ ซเช้ือเพลงิ ท่ไี ด้มีปรมิ าณน้ามนั ทารต์ ่า ดงั นัน้เคร่อื งปฏกิ รณ์แบบระบบผลติ ก๊าซเชอื้ เพลิงแบบไหลลง (Downdraft gasifier) จึงเหมาะ รูปที่ 6.10 ระบบผลติ กา๊ ซเชื้อเพลงิกับเคร่อื งกาเนิดไฟฟ้าขนาดเลก็ ท่มี ีเครอ่ื งยนต์ แบบไหลลง (Downdraft gasifier)สนั ดาปภายในทมี่ ีขนาดกาลังการผลิตไม่เกิน ที่มา : http://biofuelsacademy.org500 กโิ ลกรมั ต่อช่วั โมง(kgh-1 ) หรือ 500 กิโลวัตต์
116 3) เครอื่ งปฏิกรณ์แก๊สซฟิ ายเออร์แบบไหลขวาง (cross draft gasifier) เครื่องปฏกิ รณแ์ กส๊ ซฟิ ายเออร์แบบไหลขวางน้มี ีหลักการทางานคอื ให้อากาศเขา้ ทางดา้ นขา้ งของเตาและก๊าซออกทางตรงขา้ ม อากาศจะถกู ดูดผา่ นหัวฉีดอยใู่ นแนวราบเขตเผาไหมจ้ ะอยูถ่ ัดจากหัวฉดี ออกไป และต่อจากนัน้ จะเข้าเขตรีดกั ชน่ั ความร้อนจะไหลออกสู่ภายนอก โดยผา่ นตะแกรงซึง่ อยรู่ อบๆเขตการเผาไหม้ และเขตรีดกั ชั่นจะเป็นบริเวณเขตกลั่นสลายน้ามนั ดนิ (ทาร์) ที่จะเกดิ จากเขตกลั่นสลายน้ีจะฝนุ่ เขตรีดกั ชั่นก่อน ทาให้นา้ มันดินเกิดแตกสลายก่อนออกสภู่ ายนอกรูปที่ 6.11 เครอื่ งปฏิกรณ์แก๊สซฟิ ายเออรแ์ บบไหลขวาง (cross draft gasifier) ทม่ี า : http://www.fao.org 4) เครอ่ื งปฏิกรณ์แบบระบบผลติ กา๊ ซเชอ้ื เพลิงแบบป้อนเช้ือเพลิงตอ่ เนอ่ื ง(Fluid Bed Gasifier) การทางานของเครื่องปฏิกรณ์ทก่ี ล่าวมาข้างต้นเป็น การทางานของกระบวนการในระบบซ่ึงจะข้ึนอยู่กับ ปฏิกิริยาเคมีและสภาพทางฟสิ ิกส์ของเชื้อเพลิง โดยจะเกดิ ปญั หาของขยะหลอมเหลว ท่ีเกดิ ขึ้นมากเกินไป จึ่งก่อให้เกิด การอุดตันในเคร่ืองปฏิกรณ์บ่อยครั้ง เพ่ือแก้ปัญหาดังกล่าว จึงได้มีการพัฒนาเครื่องปฏิกรณ์แบบ ระบบผลิตก๊าซเช้ือเพลิงแบบป้อนเช้ือเพลิงต่อเน่ืองข้ึน เคร่ืองปฏิกรณ์แบบนี้ อากาศจะไหลผ่านชั้นของเช้ือเพลิง เมื่อเราเพ่ิมความเร็วของอากาศที่ไหล ผ่านสูงจนกระท่ังทาให้เช้ือเพลิงที่วางอยู่เร่ิมลอยตัวข้ึนมีลักษณะคล้ายของไหล ภายในเคร่ืองปฏิกรณ์ จะใส่วัสดุเฉื่อย (Inert Material)ซ่ึงอาจเป็นทราย อลูมิน่า หรือออกไซด์ ของโลหะท่ีทนความร้อนสูงและไม่เกิดการหลอม
117รวมตัว โดยมแี ผน่ ที่เจาะรมู ารองรบั ตัวกลางเหลา่ นที้ ่ีตอนล่างของเครื่องปฏิกรณ์ แผ่นที่เจาะรูนจี้ ะชว่ ยทาให้เกดิ การกระจายตวั แบบฟลอู ิดไดเซชนั อย่างทั่วถงึ ของผนังห้องเผาไหม้ โดยการผ่านอากาศหรือออกซิเจนเข้าสู่ตอนล่างของแผ่นรองรับ ซึ่งความเร็วของอากาศหรือออกซิเจนท่ีผา่ นเข้าไปต้องมีค่าท่ีเหมาะ สม ทาให้ตัวกลาง มีสภาพแขวนลอย (Suspension)โดยปกติเช้ือเพลิงจะถูกเปล่ียนให้เป็นก๊าซเชื้อเพลิงภายในผนังห้องเผาไหม้ อย่างไรก็ตามปฏกิ ริ ยิ า Gasification อาจเกิดข้ึนที่ส่วนท่ีเป็นท่ีว่างเหนือผนังห้องเผาไหม้ โดยเป็นปฏิกิริยาของอนุภาคเช้ือเพลิงเล็ก ๆ ที่ปลิวหลุดออกมาจากผนังห้องเผาไหม้ หรือเป็นปฏิกิริยาการสลายตัวด้วยความร้อนของน้ามันทาร์ ก๊าซเชื้อเพลิงท่ีได้ จากเครื่องปฏิกรณ์แบบระบบผลิตก๊าซเช้ือเพลิงแบบป้อนเช้ือเพลิงต่อเนื่องจะมีปริมาณน้ามันทาร์อยู่ระหว่างก๊าซเช้ือเพลิงที่ได้จากเครอื่ งปฏกิ รณแ์ บบระบบผลิตก๊าซเชอ้ื เพลิงแบบไหลขึ้นและแบบระบบผลิตก๊าซเช้ือเพลิงแบบไหลลง เครอื่ งปฏิกรณแ์ บบระบบผลิตกา๊ ซเชือ้ เพลงิ แบบป้อนเช้ือเพลิงต่อเน่ือง มี ขอ้ ดี คือมีการผสมทป่ี ัน่ ปว่ นมาก ทาให้อตั ราการถ่ายเทความรอ้ นและการถา่ ยเทมวลมีค่าสูง มีการผสมท่ดี ีของวัสดกุ ่อนนามาป้อนเข้าเตา ทาใหอ้ ตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาสงู และสามารถควบคุมอณุ หภูมิในเคร่ืองปฏิกรณ์ได้ค่อนข้างง่าย ขอเสีย ของเคร่ืองปฏิกรณ์แบบนี้คือก๊าซเช้ือเพลิงที่ได้จะมีปริมาณเถา้ และฝุ่นถ่านชาร์ออกมาด้วย เนื่องจากความเร็วของอากาศภายในเคร่ืองปฏิกรณ์มคี ่าสูง จงึ ต้องนาระบบหมุนวนอากาศมาใชก้ ับระบบด้วย ภาพที่ 6.12 ระบบผลติ ก๊าซเช้ือเพลิงแบบปอ้ นเชื้อเพลงิ ตอ่ เน่ือง (Fluid Bed Gasifier) ทีม่ า : https://www.andritz.com
118 1.2 การนาพลังงานท่ีไดไ้ ปใช้ ประโยชน์หลักท่ีได้รับจากการเผาไหม้มูลฝอยในเตาเผา ได้แก่ การน้าเอาพลังงานท่ีมีอยู่ในมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ โดยการเผาทาลายขยะมูลฝอยในเตาเผาสามารถลดปรมิ าณการปลดปล่อยก๊าซมี แทนจากหลุมฝังกลบและสามารถใช้ทดแทนเชือ้ เพลงิฟอสสลิ ได้ นอกจากนย้ี งั เปน็ การลดการปลดปล่อยก๊าซ เรือนกระจกโดยรวมดว้ ย กา๊ ซรอ้ นท่เี กดิ จากการเผาไหม้ในเตาเผาจะมีพลังงานที่เกิดจากการเผาไหม้อยใู่ นตัวด้วยมันจะถกู ทาให้เยน็ ตัวลงในหม้อน้าก่อนท่ีไหลเข้าสู่อุปกรณ์ควบคุมมลพิษอากาศชนิดของหม้อน้าที่ติดต้ังขึ้นอยู่กับว่า ต้องการพลังงานในรูปของน้าร้อนเพ่ือใช้กับระบบน้าร้อน หรือไอนา้ เพ่อื ใชใ้ นกระบวนการอุตสาหกรรมหรือเพอ่ื การผลิตกระแสไฟฟา้ การนา้ พลังงานขน้ั สดุ ทา้ ยไปใช้งานกข็ น้ึ อยู่ตลาดพลังงาน ณ โรงเผามูลฝอยด้วยว่าเปน็ อย่างไร ซ่งึ อาจขนึ้ อยกู่ บั สงิ่ ตอ่ ไปนี้ - โครงขา่ ยระบบพลงั งาน เชน่ มโี ครงขา่ ยสายไฟฟ้า หรอื มโี ครงขา่ ยระบบน้าร้อนหรอื ไอน้า - รปู แบบการใช้พลังงานตลอดทงั้ ปี ต้องระลึกว่า โรงงานเตาเผาขยะมูลฝอยชมุ ชนมักมีการผลิต พลังงานทคี่ ่อนขา้ งจะไม่คงที่ - ราคาของแหลง่ พลงั งานอื่น ๆ และข้อตกลงการซอ้ื พลงั งานกบั ผู้ใช้ พลังงาน
119เร่ืองท่ี 2 การผลติ พลงั งานจากเศษวัสดุเหลอื ทง้ิ 2.1 การผลติ พลังงานโดยการหมักใชก้ ๊าซชวี ภาพ ในสภาวะท่ีประเทศไทยมีความจาเป็นท่ีจะต้องแสวงหาแหล่งพลังงานหมุนเวียนทดแทนพลังงานเช้ือเพลิงฟอสซิลซึ่งนับวันจะมี ปริมาณลดน้อยลงและมีราคาสูงข้ึนเศษวัสดุเป็นอีก ทางเลือกหนึ่งด้านการผลิตพลังงาน เพราะเศษวัสดุ มีศักยภาพท่ีสามารถนามาใช้เพื่อผลิตพลังงานได้ ทั้งน้ี เนื่องจากมีปริมาณมาก และไม่ต้องซ้ือหาแต่ในปัจจุบันมีการนาเศษวัสดุมาผลิต เป็นพลงั งานนอ้ ยมากเมอื่ เทยี บกบั พลังงานทดแทนด้านอน่ื ๆ ในสภาวะที่ประเทศไทย มีความจาเป็นท่ีจะต้องแสวงหาแหล่งพลังงานหมุนเวียน ทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิลซ่ึงนับวันจะมีปริมาณลดน้อยลงและมีราคาสูงข้ึนเศษวสั ดุเป็นอีกทางเลือกหนึ่งดา้ นการผลิตพลงั งาน เพราะเศษวัสดุมีศักยภาพท่ีสามารถนามาใช้เพ่อื ผลติ พลังงานได้ทง้ั น้ีเน่ืองจากมีปริมาณมากและไม่ต้องซื้อหาแต่ในปัจจุบันมีการนาเศษวัสดุมาผลิตเป็นพลังงานน้อยมากเมื่อเทียบกับพลังงานทดแทนด้านอ่ืนๆการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic Digestion) เป็นกระบวนการหมักของเสียในสภาวะที่ไร้ออกซิเจนเพ่อื ใหจ้ ุลินทรยี ย์ ่อยสลายสารอนิ ทรยี ใ์ หก้ ลายเปน็ กา๊ ซชวี ภาพ สาหรับใช้ผลิตพลังงานไฟฟ้าหรือความร้อนและสุดท้ายยังสามารถปรับสภาพดินให้สามารถนาไปใช้ในการเพาะปลูกพืชได้อย่างปลอดภัย ระบบย่อย สลายแบบไม่ใช้ออกซิเจนสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทหลัก ๆ ตามความเข้มข้นของ สารอนิ ทรีย์ท่ีป้องเขา้ ส่ถู งั หมกั ไดแ้ ก่ การหมักแบบแห้ง (Dry Digestion) ซึ่งมีความเขม้ ขน้ ของสารอินทรยี ์ประมาณรอ้ ยละ 20–40 และการหมักแบบเปียก (Wet Digestion)ซึ่งมคี วามเขม้ ข้นของสารอนิ ทรยี ์นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 20 นอกจากนี้ยังสามารถแบง่ ระบบหมกั ตามอุณหภูมิระดับกลาง (Mesospheric Digestion Process)และระบบหมักที่อุณหภูมิสูง(Hemophilic Digestion Process) ปริมาณและคุณภาพของก๊าซชีวภาพจากระบบย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจนขึ้นอยู่กับลักษณะของเศษวัสดุเป็นหลกั นอกจากนั้นยงั ข้ึนอยกู่ บั การควบคมุ ระบบและสภาพแวดล้อมของการหมัก ได้แก่ ปริมาณแบคทีเรียปริมาณสารอินทรีย์อุณหภูมิระยะเวลาการหมักการผสมคลุกเคล้าและปริมาณสารยับยั้งแบคทีเรีย ก๊าซชีวภาพท่ีผลิตได้สามารถนาไปใช้ในการผลิตพลังงานไดห้ ลายรปู แบบเชน่ ผลติ ไฟฟ้าโดยใชเ้ คร่ืองยนตก์ า๊ ซหรอื ใช้ เป็นเชือ้ เพลิงสาหรับหมอ้ นา้ เพอ่ื ผลติ น้ารอ้ นหรอื ไอน้า
120 รูปท่ี 6.13 การผลติ พลงั งานโดยใชก้ า๊ ซชวี ภาพจากหลมุ ฝงั กลบเศษวสั ดุ ทมี่ า : http://s2.thingpic.com เป็นการพัฒนาและปรับปรงุ ระบบฝงั กลบเศษวสั ดุเพ่อื ลดการปล่อยก๊าซชีวภาพออกและนา ก๊าซชีวภาพทีไ่ ดจ้ ากหลุมฝังกลบเศษวัสดุมาใช้พลังงานทดแทนก๊าซชีวภาพท่ีได้สามารถนาไป ใชป้ ระโยชน์เป็นเช้อื เพลิงพลังงานได้หลายทางเชน่ เดียวกับก๊าซชวี ภาพท่ีได้จากระบบย่อยสลายแบบไมใ่ ช้ออกซเิ จน แต่อาจมคี วามจาเป็นตอ้ งปรับปรุงคุณภาพก๊าซก่อนนาไปใช้ เช่น การกาจัดน้าคาร์บอนไดออกไซด์ และสารกัดกร่อนต่าง ๆ ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับข้อกาหนด คุณภาพ ก๊าซสาหรับการใช้ประโยชน์ในแต่ละรูปแบบ การผลิตเช้ือเพลิงเศษวัสดุ (Refuse Derived Fuel :RDF) เทคโนโลยีผลติ เชอื้ เพลงิ จากเศษวสั ดุ เปน็ การนาเศษวสั ดุมาผ่านกระบวนการจัดการต่าง ๆ ได้แก่ การคัดแยกด้วยมือหรือเคร่ืองจักรการลดขนาดการผสมการทาให้แห้งการอัดแท่งการบรรจุแลการเก็บ เพ่ือปรับปรุงคุณสมบัติ ทางกายภาพและเคมีให้กลายเป็นเชื้อเพลิงเศษวัสดุที่มีค่าความร้อนสูงสามารถนาไปใช้เป็นเช้ือเพลิงเพื่อผลิตพลังงาน อีกทั้งยังสะดวกต่อการจัดเก็บและขนสง่ การผลิตก๊าซเชื้อเพลิง (Gasification) การผลิตก๊าซเชื้อเพลิงจากเศษวัสดุในชุมชน(MSW Gasification) เป็นกระบวนการทาให้เศษวัสดุกลายเป็น ก๊าซโดยทาปฏิกิริยาสันดาปแบบไม่สมบูรณ์ (Partial Combustion) กล่าวคือ สารอินทรีย์ในเศษวัสดุจะทาปฏิกิริยากับอากาศหรอื ออกซเิ จนในปริมาณจากัดและทาใหเ้ กิดกา๊ ซซึง่ มอี งคป์ ระกอบหลักคือคาร์บอนมอนออกไซค์ไฮโดรเจนและมีเทน ท้ังนี้ องค์ประกอบของก๊าซเช้ือเพลิงจะขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่องปฏิกรณ์ (Gasifier) สภาวะความดนั อณุ หภมู แิ ละคณุ สมบัติของก๊าซเชื้อเพลิงแข็งก๊าซเชื้อเพลิงที่
121ผลิตได้สามารถใช้งานได้หลายรูปแบบเช่นเป็นก๊าซเช้ือเพลิงสาหรับผลิตไฟฟ้าการให้ความร้อนโดยตรง หรือใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับยานพาหนะท้ังนี้ การใช้งานจะต้อง คานึงถึงคุณภาพของก๊าซเช้ือเพลิงโดยอาจจาเป็นต้องทาความสะอาดก๊าซเชื้อเพลิง โดยการกาจัดก๊าซที่เป็นกรดสารประกอบของโลหะอัลคาไลน์ น้ามันทาร์และฝุ่นละออง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบลดปญั หาการเสยี หายของอุปกรณ์และป้องกันปัญหามลพษิ ทเ่ี กิดขน้ึ ศักยภาพสาหรับปริมาณเศษวัสดุท่ีเกิดขึ้นในประเทศไทยมียอดรวมประมาณ41,991 ตันต่อวันเป็นเศษวัสดุท่ีเกิดข้ึนในกรุงเทพฯ ถึง 9,400 ตันต่อวันซ่ึงจานวนเศษวัสดุที่เกิดข้ึนสามารถนามาผลติ เป็นพลังงานได้อยา่ งมากมายแต่สาเหตุท่ีการใช้พลังงานจากเศษวัสดุยังมีน้อย เน่ืองมาจากการขาดความพร้อมในหลายด้านท้ังงบประมาณเคร่ืองมืออุปกรณ์บุคลากรหรือแม้แตส่ ถานท่ีดงั น้ันการนาพลังงานจากเศษวัสดุมา ใช้ในประเทศไทยจึง ต้องอาศัยระยะเวลาในการพัฒนา อกี ระยะหนึ่ง จงึ จะ สามารถนาพลังงานดงั กล่าวมาใช้ได้อยา่ งเตม็ ประสิทธภิ าพ เศษวัสดุเป็นสิ่งท่ีเกิดข้ึนจากของเหลือใช้ในกิจวัตรประจาวันของมนุษย์ก่อนจะถูกทิ้งออกมาสู่สิ่งแวดล้อมเศษวัสดุเหล่านี้ หากไม่ได้รับการกาจัดอย่างถูกวิธีจะส่งผลกระทบกับสง่ิ แวดลอ้ มและสขุ ภาพอนามยั ของมนษุ ย์การนาเศษวสั ดุมาผลติ พลังงาน เปน็ อกี วิธีหน่งึท่ีสามารถช่วยกาจัดเศษวัสดุที่เกิดขึ้นได้อีกทั้งวิธีดังกล่าวยังทาให้ได้ประโยชน์จากเศษวัสดุกลับมาในรูปของ พลังงานจากเศษวัสดุซึ่งจะทาให้ประเทศมีแหล่งพลังงานเพ่ิมข้ึนแต่การใช้พลังงานอย่างค้มุ ค่า ที่สดุ ยงั คงเปน็ สิง่ สาคญั ต่อการอนรุ กั ษ์พลังงานในยุควิกฤตพลังงานเชน่ นี้ การผลิตเช้ือเพลิงจากเศษวัสดุ จุดเร่ิมต้นของมาใช้เช้ือเพลิงเศษวัสดุจะเร่ิมจากการใช้เศษวัสดุเหลือท้ิงท่ีเก็บรวบรวม ได้ไปใช้ในการเผาไหม้โดยตรง ซึ่งมักก่อให้เกิดความยุ่งยากในการใช้งาน เน่ืองจากความไมแ่ น่นอนและไมส่ ม่าเสมอในองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ (Non-homogeneousness)ท่ปี ระกอบกันข้ึนเป็นเศษวัสดุเหลือทิ้ง ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามชุมชนและตามฤดูกาล อีกทั้งเศษวัสดุเหลือทิ้งเหล่าน้ีมีค่าความร้อนต่า มีปริมาณเถ้าและความช้ืนสูง ส่ิงเหล่าน้ีก่อความยุ่งยากให้กับผู้ออกแบบโรงเผาและผู้ปฏิบัติ และยังควบคุมการเกิดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมได้ยากการแปรรูปเศษวัสดุเหลือทิ้งโดยผ่านกระบวนการจัดการต่างๆ เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพและคุณสมบัติทางเคมีของเศษวัสดุเหลือท้ิงเพื่อทาให้กลายเป็นเช้ือเพลิงเศษวัสดุ
122(Refuse Derived Fuel, RDF) จะสามารถแก้ปัญหาดังกล่าวมาข้างต้นได้ ซ่ึงเชื้อเพลิงท่ีได้น้ันสามารถนาไปใช้เป็นเช้อื เพลงิ เพื่อผลติ พลงั งานได้ เชือ้ เพลงิ เศษวสั ดุ (RDF) เป็นการปรับปรุงและแปลงสภาพของเศษวัสดุเหลือทิ้ง ให้เปน็ เช้อื เพลิงแขง็ ทม่ี ีคุณสมบัติในด้านค่าความร้อน (Heating Value) ความช้ืนต่า มีขนาดและความหนาแน่นเหมาะสมในการขนย้าย หรอื การเผา และมีองคป์ ระกอบท้งั ทางเคมีและกายภาพสมา่ เสมอ คุณลักษณะท่ัวไปของเชอื้ เพลงิ เศษวสั ดุประกอบดว้ ย ปลอดเชอื้ โรคจากการอบดว้ ยความร้อน ลดความเส่ยี งตอ่ การสมั ผัสเชือ้ โรคไม่มกี ลน่ิ มขี นาดเหมาะสมตอ่ การปอ้ นเตาเผา-หมอ้ ไอนา้ (เส้นผา่ นศูนย์กลาง 15-30 มลิ ลิเมตรความยาว 30 - 150 มลิ ลิเมตร) มีความหนาแน่นมากกวา่ เศษวสั ดเุ หลือทิ้งและชีวมวลท่ัวไป(450 - 600 กิโลกรมั ต่อลกู บาศกเ์ มตร) เหมาะสมตอ่ การจดั เกบ็ และขนสง่ มีคา่ ความร้อนสูงเทียบเท่ากบั ชวี มวล (ประมาณ 13 - 18 เมกะจลู ตอ่ ลกู บาศก์เมตร) และมีความช้นื ตา่(ประมาณร้อยละ 5 - 10) ลดปญั หามลภาวะจากการเผาไหม้ เช่น ไนโตรเจนออกไซค์ และไดออกซนิ และฟรู าน หลกั การทางานของเทคโนโลยนี ้ี เร่ิมจากการคัดแยกเศษวัสดุที่ไม่สามารถเผาไหม้ได้(โลหะ แกว้ เศษหนิ ) เศษวัสดุอันตราย และเศษวัสดุรีไซเคิลออกจาก มีเหลือเพียงเศษวัสดุท่ีเผาได้ประกอบด้วย เศษวัสดุอินทรีย์ ไม้ ผ้า ยาง หนัง ใสจุดนี้อาจจะมีการแยกซากเศษวัสดุอินทรีย์ซึง่ ไดแ้ ก่ เศษอาหาร เศษผกั ผลไมอ้ อก เพ่ือนาไปหมักผลติ กา๊ ซชีวภาพตอ่ ไป เศษวสั ดุทีเ่ ผาได้อน่ื ๆ จะถกู สง่ เข้าเคร่อื งสับ - ย่อยเพอ่ื ลดขนาด และเขา้ เตาอบเพอื่ ลดความชนื้ เศษวัสดุเศษวัสดุแหง้ จะมใี ห้นา้ หนักลดลงเกอื บร้อยละ 50 (สาหรับความชน้ื เหลือไม่เกินร้อยละ 15)ในขั้นตอนสดุ ทา้ ยเศษวัสดุจะถูกส่งไปเข้าเคร่ืองอัดเม็ด เพื่อทาให้ได้เช้ือเพลิงเศษวัสดุอัดเม็ดที่มีขนาดและความหนาแน่นเหมาะสมในข้ันตอนของการอัดเม็ด อาจมีการเติมหินปูน (CaO) เข้าไป เพือ่ ควบคุมและลดปริมาณก๊าซพษิ ทเี่ กิดขนึ้ จากการเผาไหม้ เชื้อเพลิงเศษวัสดุจะเป็นไปตามมาตรฐาน ASTM E-75 ในตอนน้ีเชื้อเพลิงจากเศษวัสดุก็พร้อมที่จะเผาแล้วนาความร้อนที่ได้ไปตม้ น้าเพื่อผลิตกระแสไฟฟา้ ต่อไป
123 ก๊าซชีวภาพ ก๊าซชวี ภาพก๊าซท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาติจากการหมักย่อยสลายของสารอินทรีย์ภายใต้สภาวะที่ปราศจากออกซิเจน (anaerobic digestion) ก๊าซชีวภาพโดยท่ัวไปจะประกอบด้วยแก๊สมีเทน(CH4) ประมาณร้อยละ 50 - 70 และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)ประมาณร้อยละ 30 - 40 ส่วนท่ีเหลือเป็นแก๊สชนิดอื่น ๆ เช่น ไฮโดเจน (H2) ออกซิเจน (O2)ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ไนโตรเจน (N) และไอน้า แต่เม่ือเรากล่าวถึงก๊าซชีวภาพเรามักจะหมายถึง ก๊าซมีเทน โดยหลักการ ก๊าซมีเทนจะเกิดการหมัก (fermentation) ของสารอินทรีย์โดยกระบวนการนี้สามารถเกิดข้ึนได้ในหลุมเศษวัสดุ กองมูลสัตว์ และก้นบ่อแหล่งน้าน่ิงกลา่ วคือเม่อื ไหรก่ ็ตาม ที่มีสารอนิ ทรีย์หมักรวมกนั เป็นเวลานานก็อาจเกิดก๊าซชวี ภาพ ก๊าซชีวภาพท่แี ตกต่างกนั จะมสี ดั ส่วนของก๊าซมีเทนและก๊าซอนื่ ๆ ที่แตกต่างกนั ซง่ึ กจ็ ะมีวธิ กี ารผลิตและวตั ถทุ น่ี ามาผลิตทแ่ี ตกต่างกัน โรงผลิตแกส๊ ชวี ภาพโดยท่วั ไปจะใช้มูลสกุ ร น้าเสยี จากโรงงานแปง้ มัน โรงงานปาล์ม โรงหมักเบียร์ โรงกลนั่ สุรา และโรงงานแปรรปูอาหาร รวมท้ังนา้ เสยี จากฟาร์มเล้ียงสตั ว์ การนาก๊าซชีวภาพไปใชจ้ าเปน็ ตอ้ งมีการปรบั ปรุงซง่ึสรปุ เป็นสามขอ้ ดังนี้ การปรับปรงุ คณุ ภาพก๊าซชวี ภาพ (Gas Purification) กอ่ นการนาไปใชง้ านมขี น้ั ตอนดงั นี้ 1. การดกั นา้ ในทอ่ สง่ ก๊าซชีวภาพ ปกติแล้วก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้มักจะมีความชื้นสูงเกือบถึงจุดอ่ิมตัว เมื่อก๊าซชีวภาพไหลผ่านท่อส่งก๊าซท่ีฝังอยู่ในดินที่มีอุณหภูมิต่ามักจะทา ให้ความชื้น(ไอน้า) ในก๊าซชวี ภาพกล่ันตวั เป็นหยดน้าและสะสมจนเกิดเปน็ อปุ สรรคในการสง่ ก๊าซไปตามท่อได้ ดังน้ันต้องมีการติดต้งั ชุดดกั น้าก่อนนากา๊ ซชวี ภาพไปใช้งาน 2. ปรับลดปริมาณกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) การปรับลดปรมิ าณก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) จากก๊าซชีวภาพน้ีจะปฏิบัตกิ ็ตอ่ เม่ือมีความจาเป็น เชน่ ในกรณีท่ีกา๊ ซชีวภาพทไี่ ด้มสี ัดส่วนของก๊าซมเี ทน (CH4)ต่ามากจนอยใู่ นระดบั ทจ่ี ดุ ไฟติดยาก คือประมาณเปอร์เซ็นต์ CH4 น้อยกว่า 45 เปอร์เซ็นต์แต่ในระบบผลติ กา๊ ซชีวภาพสาหรับฟารม์ สุกรนน้ั ไมม่ ีปญั หาในเรือ่ งนี้ ดงั นั้นการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จึงไม่จาเป็น
124 3. การปรบั ลดกา๊ ซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) การปรบั ลดกา๊ ซไฮโดรเจนซลั ไฟด์ (H2S) ท่ปี นเป้ือนในก๊าซชีวภาพน้นัมคี ุณสมบตั เิ ป็นกา๊ ซพิษและเมือ่ สัมผสั กับน้า หรือไอนา้ จะเปลี่ยนสภาพเป็นกรดซลั ฟูริค (H2SO4)ซ่ึงเปน็ สาเหตขุ องฝนกรดหรือไอกรดทสี่ ามารถกัดกร่อนโลหะและวัสดุอุปกรณ์ได้ ดังนั้นการลดปริมาณก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ในก๊าซชีวภาพก่อนการนาไปใช้ประโยชน์นั้นจะเป็นผลดีต่อสงิ่ แวดลอ้ มโดยท่ัวไป และจะชว่ ยยดื อายกุ ารใชง้ านของอปุ กรณใ์ ชก้ ๊าซดว้ ย การผลติ พลังงานไฟฟ้าจาก กา๊ ซชวี ภาพสามารถกระทาได้ด้วยวธิ หี ลกั ๆ 3 วธิ ีกล่าวคอื 3.1 ระบบกังหันไอนา้ 3.2 ระบบกังหันกา๊ ซเดินค่กู ับระบบกังหนั ไอน้า 3.3 ระบบเคร่อื งยนตก์ ๊าซสนั ดาปภายใน 1. การผลติ พลังงานไฟฟ้าดว้ ยระบบกงั หันไอน้า วิธีนี้เป็นวิธีท่ีใช้กันทั่วไป โดยระบบกังหันไอน้าแต่ละระบบจะต่างกันตรงชนิดเชื้อเพลิงท่ีนามาเผาให้ความร้อนแก่หม้อน้าเท่านั้น ระบบนี้เป็นการนาก๊าซชีวภาพมาเผาเพอ่ื ต้มน้าในหมอ้ นา้ โดยตรงให้กลายเปน็ ไอน้า จากนั้นใชไ้ อน้าไปหมุนกังหันไอน้าท่ีต่อกับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าอีกทอดหน่ึง อุปกรณ์หลักประกอบด้วย เตาเผาก๊าซชีวภาพ หม้อน้า (boiler)ระบบจา่ ยน้าและบาบดั น้า เครอื่ งควบแน่น (condenser) หอหล่อเย็น (cooling tower) กงั หันไอนา้ (turbine) และเครอื่ งกาเนดิ ไฟฟา้ ซึ่งประกอบดว้ ยอุปกรณ์สาคญั ที่ซบั ซอ้ นหลายชนิด 2. การผลิตพลงั งานไฟฟ้าดว้ ยระบบกงั หันกา๊ ซเดนิ คูก่ บั ระบบกงั หนั ไอนา้ วิธีนี้น่าจะมีประสิทธิภาพดีที่สุด หลักการทางานก็คือ ใช้ระบบกังหันก๊าซชนิดเดียวกับท่ีใช้ในเคร่ืองบินไอพ่น โดยอัดอากาศผ่านเคร่ืองอัดความดันสูง แล้วนาอากาศความดันสูงท่ีได้มาเผาร่วมกับก๊าซชีวภาพในห้องเผาไหม้ ซึ่งทาให้ก๊าซที่เผาไหม้แล้วเกิดการขยายตัวทนั ที กลายเปน็ พลังงานไปหมนุ เครื่องกาเนดิ ไฟฟ้า เนื่องจากก๊าซเสีย (กา๊ ซผสมทป่ี ล่อยทิง้ ) มีอุณหภมู ิสงู ถงึ 450 - 550 องศาเซลเซยี สดังนนั้ จึงสามารถนาไปใช้ให้ความร้อนแก่หม้อน้า เพื่อไปหมนุ กงั หนั ไอนา้ ทีใ่ ช้ขับเคลอ่ื นเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้าไดอ้ ีกทอดหนึง่ ระบบนีใ้ ห้ประสทิ ธภิ าพโดยรวมประมาณร้อยละ 30
125 3. การผลติ พลงั งานไฟฟ้าดว้ ยระบบเครอ่ื งยนตก์ า๊ ซสนั ดาปภายใน เครื่องยนต์สันดาปภายในเครื่องแรกท่ีใช้ก๊าซเป็นเชื้อเพลิง ผลิตขึ้นในปี ค.ศ.1876 ท่ีประเทศเยอรมันนี ต่อมาอีก 10 ปี เคร่ืองยนต์สันดาปภายใน 4 จังหวะท่ีใช้น้ามันเป็นเช้ือเพลิงได้ถือกาเนิดข้ึนที่เยอรมันเช่นกัน สาหรับเคร่ืองยนต์สันดาปภายในท่ีใช้ก๊าซธรรมชาติและใช้ก๊าซชีวภาพน้ัน การทางานของเคร่ืองยนต์จะมีลักษณะเหมือนกับการทางานของเครื่องยนตใ์ นรถยนตท์ ่ใี ช้นา้ มันเบนซิน ซ่ึงต้องมกี ารจดุ ระเบดิ โดยใช้หัวเทียน แต่มีส่วนประกอบหรือช้ินส่วนต่าง ๆ เหมือนกับเครื่องยนต์ดีเซลมากกว่า โดยก๊าซท่ีเผาไหม้ในกระบอกสูบของเครื่องยนต์ก๊าซสันดาปภายในที่จุดศูนย์กลาง อาจมีอุณหภูมิสูงถึง 1,400 องศา ทาให้ประสทิ ธภิ าพของการผลติ ไฟฟา้ ด้วยระบบนส้ี งู กว่าระบบทีใ่ ชก้ ังหันก๊าซ เดนิ คู่กับระบบกงั หันไอน้าโดยมีค่าอยู่ที่ร้อยละ 32 - 40 และค่าเฉล่ียท่วั ไปจะอยู่ที่ร้อยละ 35 ภาพท่ี 6.14 การผลิตพลงั งานไฟฟา้ ด้วยระบบเครอ่ื งยนตก์ ๊าซสันดาปภายใน ที่มา : http://www.thaiwaste.com
126 กิจกรรมท้ายหนว่ ยการเรยี นท่ี 6 หลังจากท่ีผู้เรียนศึกษาเอกสารชุดการเรียนหน่วยท่ี 6 จบแล้ว ขอให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ แล้วทากิจกรรมการเรียนรู้หน่วยท่ี 6 ในสมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ แลว้ จัดส่งตามที่ผสู้ อนกาหนด แนะนา แหลง่ เรียนรู้บนอินเทอรเ์ นต็ เตาเผาขยะลดมลพษิ _เทคโนโลยีล้านนา เชียงใหม่ https://www.youtube.com/watch?v=oBSNhNpSdmQ โครงการเตาเผาขยะในชุมชนไร้มลพษิ ไมใ่ ชเ้ ชือ้ เพลงิ https://www.youtube.com/watch?v=K0gOe1z7_tI เตาเผาขยะผลติ ไฟฟ้าเทศบาลนครภูเกต็ https://www.youtube.com/watch?v=K0gOe1z7_tI วชิ าการ.คอม http://www.vcharkarn.com/varticle/42732
127 บรรณานกุ รมสถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนงั สือเรียนสาระการเรียนรู้ พืน้ ฐานสารและสมบัติของสาร (พมิ พ์ครง้ั ท่ี 3). กรุงเทพ : โรงพิมพ์ครุ สุ ภาลาดพรา้ ว.สถบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2556). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้ พืน้ ฐานเคมี (พมิ พค์ รง้ั ท่ี 6). กรุงเทพ : โรงพมิ พค์ รุ ุสภาลาดพร้าว.สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2556). หนงั สอื เรียนสาระการเรียนรู้ พน้ื ฐานและเพ่ิมเตมิ เคมี (พมิ พ์ครง้ั ที่ 4). กรุงเทพ : โรงพมิ พ์คุรสุ ภาลาดพร้าว.___________. (2553). คมู่ อื ประชาชนการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกวธิ แี ละเพิ่ม มลู คา่ . กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัท ฮีซ์ จากดั .สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสงิ ห์บุรี. (2559). คู่มอื การสร้างวนิ ยั ส่กู ารจัดการ ขยะแบบครบวงจร (เอกวชิ าการลาดบั ที่ 6/2559). สิงห์บรุ ี:สานกั งานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศึกษาสงิ หบ์ ุรี.สานกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแกน่ . (ม.ป.ป.). ค่มู ือดาเนินการตง้ั ศูนย์เรยี นรู้การจดั การขยะชมุ ชนและศูนยร์ ไี ซเคลิ . ขอนแก่น : ม.ป.ท.สานักงานสงิ่ แวดลอ้ มภาคที่ 14.(2554). คมู่ ือการลด คัดแยก และใช้ ประโยชน์ขยะมลู ฝอย ชุมชน.สรุ าษฎร์ธานี : ม.ป.ท.
128 แหล่งอ้างองิ ออนไลน์นาว26. ขยะลน้ เมือง...ปัญหาใหญม่ ลพิษปี 59. เข้าถงึ ไดจ้ าก : http://www.now26.tv/view/66104. (วันทค่ี น้ ขอ้ มูล : 8 กุมภาพนั ธ์ 2560).พรทิพย์ ศริ ภิ ัทราชยั . วารสารนักบริหาร STEM Education กบั การพัฒนาทักษะในศตวรรษ ท่ี 21(2556). เข้าถึงได้จาก : http://www.scipnru.com/ materials/newsystem/materials.pdf. (วนั ที่คน้ ขอ้ มลู : 13 กมุ ภาพนั ธ์ 2560).รักษพล ธนานุวงศ์. Executive Journal ปีที่ 33 ฉบับที่ 2 เมษายน - มถิ นุ ายน 2556. รายงานสรปุ การประชมุ เชิงปฏิบตั ิการ STEM Education. เข้าถึงได้จาก: http://www.slideshare.net/ focusphysics/stem-workshop-. (วันทีค่ ้นข้อมูล : 14 กมุ ภาพนั ธ์ 2560).วชิ าการ.คอม. การผลติ ไฟฟ้าจากขยะ. เข้าถงึ ไดจ้ าก : http://www.vcharkarn.com/ varticle/42732. (วนั ทีค่ ้นขอ้ มลู : 10 กมุ ภาพนั ธ์ 2560)หอ้ งสมุดวสั ดเุ พอ่ื การออกแบบศูนย์สรา้ งสรรคง์ านออกแบบ. วสั ดุมาแรงในปี 2556 และใน อนาคต. เขา้ ถงึ ได้จาก : http://th.materialconnexion.com/admin/mainmenu. (วันที่คน้ ขอ้ มูล : 8 กมุ ภาพนั ธ์ 2560).อภิสิทธ์ิ ธงไชย และคณะ. สรุปการบรรยายพเิ ศษเรื่อง Science, Technology, Engineering, and Mathematics Education: Preparing students for the 21st Century. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://designtechnology.ipst.ac.th/ uploads/STEMeducation.pdf. (วันที่ค้นข้อมูล : 14 กุมภาพันธ์ 2560).เอไอดีเอ. การจัดทาคารบ์ อนฟตุ พร้นิ ท์ของผลติ ภัณฑ์ (Carbon Footprint Calculation). เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www.aida-2010.com/carbon-footprint.php. (วันท่ีคน้ ขอ้ มลู : 8 กุมภาพันธ์ 2560).โฮมโปร. 6 สญั ลักษณ์ รกั ษโ์ ลกกบั โฮมโปร. เข้าถึงไดจ้ าก : https://www.homepro.co.th/news/pr/927?lang=en. (วนั ท่ีคน้ ข้อมลู : 10 กมุ ภาพนั ธ์ 2560).Janjarus Srisomboon. วสั ดศุ าสตรแ์ ละเทคโนโลยี. เข้าถึงไดจ้ าก : https://preat55janjarus.wordpress.com/2013/01/23/. (วนั ทีค่ น้ ขอ้ มลู : 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2560).
129ทมี่ าภาพประกอบชดุ วชิ าหน่วยท่ี 1 หลักวัสดศุ าสตร์ ทม่ี า ภาพที่ ชื่อภาพ http://www.fsocial789013.blogspot.c 1.1 วสั ดุประเภทโลหะ 1.2 พอลเิ มอร์ธรรมชาติ om/p/blog-page_41.html 1.3 พอลิเมอร์สังเคราะห์ http://www.newsplus.co.th/images/2 1.4 โมเลกุลของโฮโมพอลิเมอร์ 016/02/93877/เส้นใยที่ปน่ั เป็น 1.5 โมเลกลุ ของโคพอลิเมอร์ ด้าย.jpg 1.7 เส้นใย 1.8 พลาสติก http://www.vcharkarn.com/uploads/ 43/44020.jpg 1.10 วสั ดปุ ระเภทวัสดุเซรามิกส์ ในชีวิตประจาวนั https://th.wikipedia.org/wiki/พอลเิ มอร์ https://th.wikipedia.org/wiki/พอลิเมอร์ http://santext.igetweb.com/article/ar t_42078094.jpg http://www.kanchanapisek.or.th/ kp6/sub/book/book.php?book =28&chap=8&page=t28-8- infodetail06.html http://www.thaiceramicsociety.com/ ts_waste.php http://www.hong-pak.com/ www.php?web=SORWASANA& lang=th&p=roomdetail&rid=10 37%20target=_blank%3E
130หนว่ ยที่ 2 การใช้ประโยชน์และผลกระทบจากวัสดุภาพที่ ช่ือภาพ ท่ีมา2.1 ผลติ ภัณฑท์ ที่ าจากพอลิเอทิลีน http://www.gacner.com/products/ pd001_plastic6.jpg2.2 ผลติ ภณั ฑท์ ี่ทาจากพอลิโพรไพ http://kanchanapisek.or.th/kp6/pictลนี ures28/l28-249.jpg2.3 พอลสิ ไตรนี http://kanchanapisek.or.th/kp6/pict ures28/l28-251.jpg2.4 พอลิเททระฟลอู อโรเอทิลีน http://kanchanapisek.or.th/kp6/pict ures28/l28-253.jpg2.5 ผลิตภัณฑเ์ ซรามิกส์ มี http://fieldtrip.ipst.ac.th/backend/หลากหลายรปู แบบ และสีสนั images/resources/hongtai/ content_pic/contents04_03. jpg
131หนว่ ยท่ี 3 การคดั แยกและการรไี ซเคลิ วัสดุภาพที่ ชอื่ ภาพ ที่มา 3.1 ภาพถงั ขยะประเภทต่าง ๆ http://www.promma.ac.th/main/ch 3.2 การรณรงค์ลดใชถ้ ุงพลาสติก emistry/boonrawd_site/plasti ของหน่วยงานตา่ ง ๆ c_waste.htm http://www.bloggang.com/m/viewd iary.php?id=shabu&group=1& month=11-2012&date=143.4 เก้าอี้จากขวดนา้ http://www.oknation.net/blog/hom e/blog_data/912/23912/imag es/rcjpg3.5 พรมเชด็ เท้าจากเศษผา้ https://www.l3nr.org/posts/5594603.6 กระถางต้นไมจ้ ากรองเทา้ เก่า http://www.thaitambon.com/produ ct/14128141743.7 ต๊กุ ตาตกแต่งสวนจากยาง http://www.jeab.com/home- รถยนต์เกา่ living/how-to/25-reuse- old-tires-ideas/attachment/ reuse-old-tires-23.8 การรีไซเคลิ หรือการแปรรูปเศษ https://www.dekd.com/activity/280วัสดุนากลบั มาใช้ใหม่ 28/3.9 ปา้ ยประชาสัมพนั ธก์ ิจกรรม http://www.siamgoodlife.com/inde 3R ของกรมควบคมุ มลพิษ x.php?route=product/produc t&product_id=1927
132ภาพที่ ชื่อภาพ ที่มา3.10 ตัวอย่างโลหะประเภท http://www.thaiceramicsociety.comเหล็กหล่อ เหล็กหนา และ /ts_waste.phpเหลก็ บาง3.11 อะลมู ิเนียมหนา และ http://images.recyclechina.com/imอะลูมิเนยี มบาง g/products/2012/7/3/134124 6610734839.jpg3.12 ดงึ แยกฝากระป๋องเครอ่ื งดื่ม http://nwnt.prd.go.th/centerweb/ออกแล้วทบุ ให้แบน news/NewsDetail?NT01_New sID=TNSOC5812140010034. jpg3.13 ตวั อย่างโลหะประเภท http://www.in.all.biz/img/in/catalogทองเหลือง ทองแดง และ /376264.jpegสแตนเลสท่ีนามารีไซเคลิ ได้3.14 สญั ลกั ษณ์รีไซเคลิ กระป๋อง https://img.kapook.com/u/surauch/โลหะและอะลูมเิ นยี ม movie2/page_68.jpg3.15 ตวั อยา่ งพอลิเมอร์ประเภท https://www.easypacelearning.comเทอร์โมเซตต้ิง /design/images/carparts.jpg3.16 ตวั อย่างพอลิเมอรป์ ระเภท https://sites.google.com/site/mypoเทอรโ์ มพอลิเมอร์ t24/_/rsrc/1395645629601/6- wasdu-chang/untitled 3232.png3.17 ซ้ายแก้วดนี ารยี สู ขวาแกว้ แตก http://pkrugreenlife.net23.net/img/เขา้ กระบวนการรีไซเคลิ re11.jpg3.18 สญั ลักษณร์ ีไซเคลิ แกว้ https://home.kapook.com/view743 26.html
133หนว่ ยที่ 4 แนวโน้มการใชว้ สั ดุและทิศทางการพฒั นาวัสดุในอนาคตภาพที่ ชื่อภาพ ที่มา4.1 Micro lattice โลหะเบาสุด https://www.electricallab.gr/images/ในโลก stories/science00.jpg4.2 Shape memory polymers http://www.ictp.csic.es/Boletin/Infoคนื รูปได้ แตกหัก – เสยี หาย CTP%20mayo2014/fotos/fotoซ่อมตัวเอง _2014/mayo/imagen-shape- memory2.jpg4.3 แกรฟนี วัสดทุ ่ใี ช้ทาหน้าจอสัมผสั https://d27v8envyltg3v.cloudfront.มลี กั ษณะบางมาก โปรง่ ใส net/tackk/614939/1393983495ยดื หยุน่ และนาไฟฟา้ 6169/cover.jpg4.4 วัสดุประเภทเซรามกิ ส์ในอนาคต https://img.grouponcdn.com/deal/its mGzPSgdRcXCwvXrX2/V7- 960x582/v1/c700x420.jpg4.5 วัสดุท่มี ีความเปน็ มิตรต่อ http://www.1000ideas.ru/wp-สง่ิ แวดลอ้ ม content/uploads/2013/08/Ban anas-foto2.jpg4.6 พลาสติกจากพืชที่แขง็ แรง https://s-media-cache-ak0.pinimg.ทนทาน com/originals/c9/c6/0a/c9c60 a250598491316722eb753e27d 2b.jpg4.7 วัสดุลกู ผสม http://www.alternative-energy-news. info/images/pictures/self- powered-devices.jpg4.8 สปันโพลเี อสเตอร์ http://www.msgtexmed.com/upload /articles/%E0%B9%80%E0%B 8%AA%E0%B9%89%E0%B8% 99%E0%B9%83%E0%B8%A2.jpg
134ภาพท่ี ชื่อภาพ ที่มา 4.9 เส้อื ผ้าทใี่ ช้เทคโนโลยนี าโนซิล https://s-media-cache-ak0.pinimg. เวอร์ com/originals/1c/2c/fd/1c2cfd4.10 สแคนเดียม 276044a42eddc0eeb592b684f4.11 โพรมเี ทียม 8.jpg4.12 สแคนเดยี ม https://www.webelements.com/_m edia/elements/element_pictu4.13 โพรมเี ทียม res/Sc.jpg4.14 โพรมีเทียม http://elements.vanderkrogt.net/4.15 โซลารเ์ ซล jdurg/Pm.jpg4.16 อิเลก็ ทรอนิกส์โปร่งใส http://98a4980578083abe0fc6- 26cdb33025b4deaf9c0a6e9a3 953d227.r43.cf2.rackcdn.com/ 5305AE2C-56DB-45FD-92D1- 617DDB107AD0.jpg http://www.rmutphysics.com/charud /specialnews/3/periodic3/Y. jpg http://vichakarn.triamudom.ac.th/co mtech/studentproject/sci/che me/periodic/pic/059_pr.jpg http://estaticos.qdq.com/swdata/cac he/ad/bc/adbc3a82744efe5ba 4d7670f11dc5d24.jpg https://s-media-cache-ak0.pinimg. com/736x/39/a9/0e/39a90e51 8154b6c75f941570eb4461f2. jpg
135หนว่ ยที่ 5 ส่ิงประดิษฐจ์ ากวสั ดุตามหลกั สะเตม็ ศกึ ษาภาพท่ี ชื่อภาพ ทม่ี า5.1 เศษวสั ดอุ ิเล็กทรอนกิ ส์ที่ถกู นำมำ http://www.manager.co.th/Science/ประดิษฐ์เป็นของใช้ต่ำง ๆ ViewNews.aspx?NewsID=9540000 1078695.2 หลอดไฟแปลงร่ำงเป็นแจกนั “..........................................................”5.3 จอคอมพวิ เตอร์แปลงร่ำงเป็นท่ี http://www.creativemove.com/creativนอนสตั ว์เลีย้ ง e/diy-monitor-cat-house/5.4 ต้ปู ลำจำกโทรทศั น์เก่ำ http://www.homedd4u.com/เรยี กวา่ เดด็ กับ-30-diy-ideas-นาของ/5.5 เศษเหลก็ ท่อประปานามาแปลง http://www.houzzmate.com/topic/รา่ งเป็นขาต้ังโคมไฟ 12151220124342525.6 เศษเหลก็ หลายประเภทนามา http://www.nana108.comไม่ใช่แคเ่ ศษแปลงร่างเป็นงานปติมากรรม เหลก็ -แต่เ/5.7 เศษเหล็กแปลงรา่ งเปน็ หุ่นยนต์ http://www.thailovetrip.com/สรา้ งงานสรา้ งอาชีพใหแ้ ก่ view.php?id_view=654ผปู้ ระดิษฐ์แหลง่ ผลิตห่นุ เหลก็ ยักษ์ส่งออก บา้ นหนุ่ เหลก็ จังหวดัอา่ งทอง5.8 เศษเหลก็ แปลงร่ำงเป็นโต๊ะ เก้ำอี ้ http://www.manager.co.th/iBizchannel /ViewNews.aspx?NewsID=952000 00708755.9 ยางรถยนต์แปลงร่างเปน็ ท่ีนอน https://www.iurban.in.th/greenery/สตั ว์เลยี้ ง brilliant-ways-to-reuse-and-5.10 ยางรถยนต์แปลงร่างเป็นกระถาง recycle-old-tires/ตน้ ไม้
136ภาพที่ ชื่อภาพ ท่ีมา5.11 ยางรถยนต์แปลงรา่ งเป็นสนามเดก็ http://www.banidea.com/diy-garden-เล่น in-can-ideas/5 .12 ยางรถยนตแ์ ปลงรา่ งเปน็ กรอบกระจก5.13 ยางรถยนต์แปลงร่างเปน็เฟอรน์ ิเจอร์5.14 กระปอ๋ งแปลงรา่ งเป็น กระถาง http://www.banidea.com/ideas-to-ต้นไม้ recycle-tin-cans/5.15 ทเ่ี ก็บของจากกระปอ๋ งเก่า5.16 ฝาเปิดกระปอ๋ งแปลงร่างเป็น http://www.banidea.com/lamp-โคมไฟ canned-aluminum/5.17 ฝาเปดิ กระป๋องแปลงร่างเป็น http://women.kapook.com/photoกาไลเครื่องประดับ ขอ้ มือ_3728html5.18 ขวดพลาสตกิ แปลงรา่ งเป็นม่าน http://www.nonvisual.com/2016/01/บงั ตา โคมไฟ แลโรงเรอื นเพาะชา diy.html5.19 ขวดพลาสตกิ แปลงร่างเป็นรั้วบ้าน http://www.nonvisual.com/2016/01/และลิ้นชักเกบ็ ของในบ้าน diy.html5.20 บ้านท่ีตกแต่งดว้ ยฝาขวด นา้ http://www.bareo-isyss.com/design-ดืม่ พลาสติก tips/161-diy-plastic-bottles. html5.21 เบาะรองนงั่ จากเศษผ้า http://p-dit.com/2013/12/08/3610/5.22 กระถางตน้ ไม้จากเศษผ้า http://p-dit.com/2016/08/09/8015/5.23 พรมเช็ดเท้าจากเสอ้ื ผา้ เกา่ http://home.kapook.com/view124978.5.24 หมอนองิ จากกางเกงยนี สเ์ กา่ html5.25 พวงกญุ แจจากเศษผ้า https://sites.google.com/site/fabrickey chain/home/phwng-kuycae- dxk-thiw-lip-cak-ses-pha
137ภาพที่ ชอ่ื ภาพ ท่ีมา5.26 ตกุ๊ ตาจากเศษผา้ http://www.ladysquare.com/forum_p osts.asp?TID=133936&PN=25.27 เศษไมแ้ ปลงรา่ งเปน็ เครอื่ งประดบั http://www.diy-knight.com/2015/06/ตกแต่งบ้าน diy-diy_1html https://decorationlite.wordpress.com/ 2013/01/18/พาเลทไม้เกา่ ๆอย่าท้ิง- เ/5.28 กระดาษประเภทตา่ ง ๆ แปลงร่าง https://www.iurban.in.th/inspiration/reเป็นของใชใ้ นบ้านและ สินคา้ เพือ่ cycle- newspaper-to-coo/จาหนา่ ย5.29 งานประดิษฐเ์ ปเปอรม์ าเช่จาก http://www.kruwichan.com/_files_schกระดาษ ool/00000647/activity/0000064 7_1_20131226-162208.jpg5.30 ถงุ พลาสติกท่ีนามาแปลงร่างเป็นท่ี http://joobbox.exteen.com/20080807/รองภาชนะ และใสข่ องจกุ จกิ entry http://www.babyfancy.com/printer_fri endly_posts.asp?TID=56203 http://home.sanook.com/5577/5.31 ฟกู ทถ่ี ักจากถุงพลาสตกิ http://www.posttoday.com/social/goo dstory/4591925.32 รองเท้าทีถ่ ักจากถงุ พลาติก http://www.jeab.com/home-living/ how-to/6-diy-plastic-bag-ideas5.33 กระเปา๋ ท่ีถักจากถงุ พลาสตกิ http://p-dit.com/2013/12/20/3721/5.34 ดอกไม้ประดิษฐ์จากถุงพลาสติก http://www.jeab.com/home-living/ how-to/6-diy-plastic-bag-ideas5.35 งานศลิ ปะจากขวดแก้ว http://www.greenintrend.com/งาน อาร์ตจากขยะขวดแก้ว/
138ภาพที่ ชอ่ื ภาพ ท่ีมา5.36 โคมไฟจากขวดแก้ว https://pinperty.com/blog/wine- bottle-crafts-4125.37 ขวดแก้วใชป้ ระดับตกแตง่ ผนงั http://www.designrulz.com/product-บา้ นเพมิ่ แสงสว่างแทนบล็อกแกว้ design/2012/08/20-ideas-of- recycle-wine-bottles/5.38 ร้ัวสวนจากขวดแก้ว https://benefitsofbeingfit.wordpress.co m/2015/03/17/make-use-of- you-glass-bottles/หน่วยท่ี 6 เทคโนโลยกี ารกาจดั วสั ดุภาพท่ี ชอื่ ภาพ ทมี่ า 6.1 เตาเผาแบบตะกรับเคลื่อนท่ี http://bangkokgreencity.bangkok.go.th/ Moving Grate kmedweb/pdf/Incinerator_tec hnology.pdf 6.2 ภาพถ่ายแสดงใหเ้ หน็ ตะกรบั http://bangkokgreencity.bangkok.go.th/ ทอี่ ยูด่ ้านในของเตาเผามลู ฝอย kmedweb/pdf/Incinerator_techn ology.pdf 6.3 ส่วนประกอบของตะกรับที่ช่วย http://bangkokgreencity.bangkok.go.th/ ใหม้ ูลฝอยเกิดการเคลื่อนท่ี kmedweb/pdf/Incinerator_techn ology.pdf 6.4 อากาศที่ใช้ในการเผาไหม้ทจี่ า่ ย http://bangkokgreencity.bangkok.go.th/ เข้าตามสว่ นต่าง ๆ ของห้อง kmedweb/pdf/Incinerator_ เผาไหม้ technology.pdf http://bangkokgreencity.bangkok.go.th/ 6.5 ระบบเตาเผาแบบหมนุ kmedweb/pdf/Incinerator_techn ology.pdf
139ภาพที่ ช่อื ภาพ ท่มี า6.6 ระบบเตาเผาแบบหมุนท่ีติดต้ัง http://bangkokgreencity.bangkok.go.th/ใช้งานจรงิ kmedweb/pdf/Incinerator_techn ology.pdf6.7 เตาเผาแบบฟลอู ดิ ไดซ์เบด http://bangkokgreencity.bangkok.go.th/ kmedweb/pdf/Incinerator_techn ology.pdf6.8 กระบวนการ Pyrolysis & http://bangkokgreencity.bangkok.go.th/Gasification ของ Compact kmedweb/pdf/Incinerator_technPower® ology.pdf6.9 ระบบผลิตกา๊ ซเชอื้ เพลิงแบบ http://www.kobelco/general/illist_haikiไหลขึน้ (Updraft Gasifier) _03.jpg6.10 ระบบผลติ กา๊ ซเช้อื เพลงิ แบบ http://biofuelsacademy.org/web_ไหลลง (Downdraft gasifier) images/CFBG/CFBG3.jpg6.11 เครอ่ื งปฏิกรณ์แกส๊ ซฟิ ายเออร์ http://www.fao.org/docrep/t0512e/T05แบบไหลขวาง 12e13.gif(cross draft gasifier)6.12 ระบบผลิตก๊าซเช้อื เพลงิ https://www.andritz.com/pp-แบบป้อนเช้อื เพลิงตอ่ เนื่อง powergeneration-bfb-gasifer-(Fluid Bed Gasifier) principle.jpg6.13 การผลติ พลงั งานโดยใช้ก๊าซ http://s2.thingpic.com/images/qC/KQyiชีวภาพจากหลมุ ฝงั กลบเศษวสั ดุ G99bQ5YfJYQNTVT2Nkqc.jpeg(Landf ill Gas to Energy)6.14 การผลติ พลงั งานไฟฟ้าดว้ ยระบบ http://www.thaiwaste.com/wp-เครอ่ื งยนต์กา๊ ซสันดาปภายใน content/uploads/2016/02/23514 3.jpg
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153