Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore STEM EDUCATION

STEM EDUCATION

Published by inno vation, 2021-04-17 04:59:15

Description: The_Knowledge_vol_9.pdf

Search

Read the Text Version

CONTENTs 08 03 14 03 12 19 Office of Knowledge Inside okmd Management and Development Word Power Nextpert ทปี่ รึกษา Inside EEC ดร.อธิปัตย์ บ�ำรุง STEM Education: หน่ึงใน เปดิ มมุ มองการขบั เคลอื่ น ผ้อู �ำนวยการส�ำนกั งานบริหารและพฒั นาองค์ความรู ้ บรรณาธิการบริหาร เครอ่ื งมอื ปฏริ ปู การเรยี นรขู้ องไทย STEM Education ดร.ปรียา ผาตชิ ล รองผ้อู �ำนวยการส�ำนกั งานบริหารและพฒั นาองค์ความรู ้ 06 14 20 หวั หน้ากองบรรณาธิการ ดร.อภิชาติ ประเสริฐ Oneof a kiNd DigitOnomy 5ive ผ้อู �ำนวยการสำ� นกั โครงการและจดั การความรู ้ ฝ่ ายศลิ ปกรรมและภาพถ่าย STEM Education A-Z รวมมติ รตวั เลขทเี่ กยี่ วขอ้ ง 5 แอปพลเิ คชนั เรยี นรเู้ รื่อง บริษัท โคคนู แอนด์ โค จ�ำกดั 32 ซอยโชคชยั 4 ซอย 84 ถนนโชคชยั 4 แขวงลาดพร้าว กบั STEM Education STEM เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร 10230 โทรศพั ท์ 0 2116 9959 และ 087 718 7324 08 16 22 จดั ทำ� โดย Decode Next whaT's goiNg oN สำ� นกั งานบริหารและพฒั นาองคค์ วามรู้ (องคก์ ารมหาชน) 69 อาคารวิทยาลยั การจดั การ มหาวิทยาลยั มหิดล สะเตม็ ศึกษากบั การพัฒนา ทศิ ทางการเรียนรแู้ บบ STEM Events in Thailand ชนั้ 18-19 ถนนวภิ าวดีรังสติ แขวงสามเสนใน ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 STEM Education 2018 เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศพั ท์ 0 2105 6500 โทรสาร 0 2105 6556 10 18 Talk tO ZiNe อีเมล [email protected] The Knowledge BBL เวบ็ ไซต์ www.okmd.or.th Knowledge Innovation STEM รหสั (ไม)่ ลบั BBL & STEM Trend: Thailand’s Do or Die อนุญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาต การเรยี นรู้สู่อนาคต คเพร่ือีเอกทาีฟรคค้าอ-อมนมุญอนาสต์แแบสบดเงดทีย่ีมวกาั-นไม3่ใ.ช0้ 23 ประเทศไทย Special FeaTure จดั ท�ำขึน้ ภายใต้โครงการเผยแพร่กิจกรรมองค์ความรู้โดยส�ำนกั งาน บริหารและพฒั นาองค์ความรู้(องค์การมหาชน) เพอ่ื สร้างแรงบนั ดาลใจ เตมิ เตม็ STEM ในการนำ� องคค์ วามรู้มาผสมผสานกบั ความคดิ สร้างสรรค์ เพอ่ื ประโยชน์ ดว้ ย A และ AT ด้านการเรียนรู ้ ตอ่ ยอดธรุ กิจ เพ่ิมมลู คา่ เศรษฐกิจของประเทศ ผู้สนใจรับนติ ยสารโปรดติดตอ่ 0 2105 6520 หรอื ดาวน์โหลดท่เี ว็บไซต์ www.okmd.or.th/knowledge/okmd-magazine

WORD POWER W 3 STEM EDUCATION หน่ึงในเคร่อื งมือปฏริ ูป การเรยี นรู้ของไทย สะเตม็ ศกึ ษาคอื อะไร? แนวทางการจดั การศกึ ษาทบ่ี รู ณาการความรู้ใน 4 สหวทิ ยาการ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมโลก โดยเฉพาะ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) ด้านเทคโนโลยีการส่ือสาร การค้า และการคมนาคมขนส่ง ท�ำให้ วศิ วกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณติ ศาสตร์ (Mathematics) หลายประเทศหนั มาให้ความส�ำคญั กับการเตรียมคนรุ่นใหม่ให้ โดยเน้ นการน�ำความรู้ไปใช้ แก้ ปัญหาในชีวิตจริง รวมทัง้ สามารถด�ำรงชีวิตและประกอบอาชีพได้ในสภาพสังคมและ การพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ท่ีเป็ นประโยชน์ เศรษฐกิจที่เปล่ียนแปลงไป ซ่ึงการจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการ ตอ่ การด�ำเนินชีวติ และการท�ำงาน ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education) คือหน่ึงใน เ ค รื่ อ ง มื อ ป ฏิ รู ป ก า ร เ รี ย น ร้ ู ท่ี จ ะ ช่ ว ย เ พ่ิ ม ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น การแข่งขันของคนในประเทศให้ สูงขึน้ Science Technology Engineering Mathematics สะเตม็ ศึกษาในประเทศไทย ปั จจุบันอันดับความสามารถใน การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี โดย สะเต็มศึกษาแห่งชาติอาศัยเครือข่าย การแข่งขันของไทยยังปรับตัวช้ าเม่ือ เฉพาะอย่างย่ิงการสร้ างและพัฒนา อุดมศึกษาในการยกระดับคุณภาพ เทียบกับหลายประเทศ จากปั ญหา บคุ ลากรในสาขาสะเตม็ และการสนบั สนนุ การศึกษา โดยเป็นการปรับเปลี่ยนวิธี ด้านคณุ ภาพคน คณุ ภาพของโครงสร้าง การดำ� เนินงานอยา่ งเป็นเครือขา่ ยระหวา่ ง การเรี ยนการสอนและการวัดผลให้ พืน้ ฐาน และขาดการลงทนุ ด้านการวิจยั สถาบันวิจัย สถาบันการศึกษา ภาครัฐ สอดคล้องกบั แนวทางสะเตม็ ศกึ ษา การจดั และพฒั นา ดงั นนั้ แผนพฒั นาเศรษฐกิจ ภาคเอกชน และภาคประชาชน/ชุมชน เนือ้ หาให้เชื่อมโยงกบั การประกอบวชิ าชีพ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 จึงเน้น ด้วยการส่งเสริมการจัดการเรียนรูต้ าม โดยให้ภาคเอกชนเข้ามามสี ว่ นร่วม รวมถงึ การด�ำเนินการในทุกด้านเพื่อขบั เคล่ือน แนวทางสะเตม็ ศกึ ษา การพฒั นากำ� ลงั คน การสร้ างความตระหนักในการพัฒนา การพฒั นาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ทมี่ ีทกั ษะด้านสะเต็ม รวมถึงการสง่ เสริม สงั คมไทยให้เป็นสงั คมวิทยาศาสตร์ และ และนวตั กรรมของประเทศ เชน่ การพฒั นา และพัฒนาอาชีพส�ำหรับก�ำลังคนด้าน การกระจายอ�ำนาจไปส่ทู ้องถิ่นเพื่อสร้าง ผู้ประกอบการให้เป็นผู้ประกอบการทาง สะเตม็ ความยั่งยืนและการมีส่วนร่วมของภาค เทคโนโลยี (Technopreneur) การพฒั นา ส�ำหรับกลไกการขับเคล่ือนสะเต็ม ประชาสงั คม และยกระดบั โครงสร้างพนื ้ ฐานให้ตอบสนอง ศึกษาในประเทศไทยตามแนวนโยบาย สแกน QR CODE เพอื รับชม Clip/GIF

4 W WORD POWER หน่วยงานหลกั ท่ีดำ� เนนิ งานดา้ นสะเตม็ และตวั อยา่ งโครงการตน้ แบบ หน่วยงาน สำ� นกั งานพฒั นา หนว่ ยงาน ส�ำนกั งาน หน่วยงาน สำ� นกั งานคณะกรรมการนโยบายวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วทิ ยาศาสตร์และ คณะกรรมการ และนวตั กรรมแหง่ ชาติ (สวทน.) สำ� นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และ การอาชวี ศกึ ษา (สอศ.) เทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) องค์การพพิ ธิ ภณั ฑ์วทิ ยาศาสตร์แหง่ ชาติ (เทสวคทโนชโ.ล) ยแี หง่ ชาติ (อพวช.) สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื ้ ฐาน (สพฐ.) สำ� นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา (สอศ.) สถาบนั สง่ เสริมการ โครงการ บา้ นนกั วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย โครงการ วทิ ยาลยั เทคโนโลยี สอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสำ� นกั งานคณะกรรมการ พฒั นาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ประเทศไทย ฐานวทิ ยาศาสตร์ จดุ เด่น จุดเดน่ โครงการ Enjoy Science: สนกุ วทิ ย์ พลงั คดิ เพอ่ื อนาคต การสง่ เสริมการเรียนรู้ การจดั การเรียนรูต้ ามแนวทาง ด้านสะเตม็ สะเตม็ ศกึ ษาแบบเข้มข้น จดุ เดน่ ในการศกึ ษาสายอาชีพ ของเดก็ ปฐมวยั ความร่วมมือกบั เชฟรอน ประเทศไทย ซงึ่ เป็นภาคเอกชน หน่วยงาน สำ� นกั งานคณะกรรมการนโยบาย หนว่ ยงาน สถาบนั สง่ เสริม หนว่ ยงาน สำ� นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม การสอนวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) แหง่ ชาติ (สวทน.) และเทคโนโลยี (สสวท.) โครงการ การพฒั นาหลกั สตู รดา้ นวทิ ยาศาสตร์ โครงการ ศนู ยส์ ะเตม็ ศกึ ษาแหง่ ชาติ โครงการ การพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร เทคโนโลยี และนวตั กรรมให้ ศนู ยส์ ะเตม็ ศกึ ษาภาคและ เพอ่ื การวจิ ยั และพฒั นาส�ำ หรบั สอดคลอ้ งกับการเพิม่ โรงเรยี นเครอื ขา่ ยสะเตม็ ภาคอตุ สาหกรรม (STEM ขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน ศกึ ษา Workforce) ของประเทศดา้ นระบบขนส่งทางราง จุดเด่น จดุ เด่น จุดเดน่ การให้ทนุ การศกึ ษาแก่อาจารย์ของ การพฒั นาบคุ ลากรเพอ่ื รองรบั การถา่ ยทอด การจดั การเรียนรู้ มหาวทิ ยาลยั และสถาบนั ที่มีนกั ศกึ ษาระดบั เทคโนโลยแี ละอตุ สาหกรรมระบบขนสง่ ทางราง ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา ปริญญาโท/เอก อยรู่ ะหวา่ งศกึ ษา และมี ในศนู ย์ฯ ซงึ่ ตงั้ อยทู่ วั่ ประเทศ โครงการวจิ ยั /โครงงานท่ีท�ำร่วมกบั 10 กลมุ่ อตุ สาหกรรมเป้ าหมายของรัฐบาล หน่วยงาน ส�ำนักงานเพ่ือการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ หน่วยงาน สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ภาคตะวันออก (สกรศ.) และส�ำนักงานบริหารและ สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื ้ ฐาน (สพฐ.) สำ� นกั งาน พฒั นาองคค์ วามรู้ (องคก์ ารมหาชน) หรอื OKMD พฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และประสานงานการวจิ ยั เพอื่ การปกครองตนเองของท้องถนิ่ (สปวท.) โครงการ คา่ ยวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั และมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี (มจธ.) อตุ สาหกรรมใหม่ ภายใตโ้ ครงการศกึ ษาและ จดั ท�ำ มาตรการส�ำ คญั ภาครฐั เพอ่ื พฒั นา โครงการ การพฒั นาผู้มคี วามสามารถพเิ ศษทางวทิ ยาศาสตร์ บคุ ลากรรองรบั EEC คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศไทย จุดเด่น จุดเด่น การศกึ ษา วิจยั จดั ท�ำหลกั สตู ร และจดั ฝึกอบรม การสง่ เสริมการเรียนรูด้ ้านสะเตม็ ในระดบั มธั ยมศกึ ษา เชน่ ตามหลกั สตู รที่ศกึ ษาและก�ำหนดส�ำหรับ โครงการโอลมิ ปิกวิชาการ / โครงการห้องเรียนพิเศษวทิ ยาศาสตร์ ระดบั มธั ยมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น / โครงการโรงเรียนวทิ ยาศาสตร์ภมู ิภาค / โครงการสนบั สนนุ การจดั ตงั้ ห้องเรียนวทิ ยาศาสตร์ ในโรงเรียนโดยการกำ� กบั ดแู ลของมหาวทิ ยาลยั (โครงการ วมว.)

WORD POWER W 5 OKMD กับการจดั การ แม้ในประเทศไทยมีการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ศกึ ษาตามแนวทาง มาระยะหน่ึงแล้ว แต่ปัญหาที่เกิดขึน้ คือบุคลากรทางการศึกษายงั ขาด ความรู้ ความเข้าใจ และทกั ษะในการบูรณาการ 4 สหสาขาวิชาลงใน สะเต็มศกึ ษา การจดั การเรียนการสอนภายในชนั้ เรียนได้อย่างทวั่ ถึงเท่าเทียม อีกทงั้ การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาส่วนมากยังคงจ�ำกัดอยู่ใน สถานศึกษาเท่านัน้ ภาคเอกชนและผู้ประกอบการยังมีส่วนร่วมใน การจดั การเรียนรู้คอ่ นข้างน้อย ดงั นนั้ เพ่ือให้การจดั การเรียนรู้ตามแนวทาง สะเต็มศึกษาด�ำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพย่ิงขึน้ และสามารถเข้าถึงได้ ในการจดั การเรียนรู้ตามอธั ยาศยั ส�ำนกั งานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้ หรือ OKMD จงึ มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในประเดน็ ใหญ่ๆ ดงั นี ้ สง่ เสริมการบรู ณาการระหวา่ งหนว่ ยงานภาครัฐและเอกชนในการวางแผนและด�ำเนินงานร่วมกนั เพ่ือสนบั สนนุ การจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษาที่มีคณุ ภาพและทว่ั ถงึ พฒั นาบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษาอยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ ซงึ่ OKMD มีความพร้อมที่จะให้ความรู้และค�ำปรึกษาแกบ่ คุ ลากรทางการศกึ ษาในเร่ืองการจดั การ เรียนรู้ตามหลกั การพฒั นาสมองของผ้เู รียนทกุ ชว่ งวยั (Brain-based Learning) ศกึ ษาและจดั ท�ำฐานข้อมลู องค์ความรู้ด้านสะเต็มที่ส�ำคญั ซง่ึ จะน�ำไปสกู่ ารพฒั นาหลกั สตู รและกระบวนการ จดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาครบทกุ ระดบั ชนั้ และสาขาวิชา รวมถึงการพฒั นาสื่อ อปุ กรณ์ และ เคร่ืองมือการเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษาให้มคี วามเหมาะสมและเพยี งพอ โดย OKMD สามารถมสี ว่ นร่วม ในการจดั ทำ� หลกั สตู ร กระบวนการจดั การเรียนรู้ และสอ่ื ตวั อยา่ ง เพอื่ ให้ครู ผ้ปู กครอง และผ้เู รียนน�ำไปใช้ในการ พฒั นาทกั ษะและค้นหาความรู้ด้วยตนเองผา่ นระบบการเรียนรู้แบบเปิด สร้างความตระหนกั ถึงความสำ� คญั ของการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศกึ ษาให้แก่ผ้ปู กครองและผ้เู รียน ในวงกว้าง โดย OKMD มีแผนประชาสมั พนั ธ์และจดั กจิ กรรมการเรียนรู้สาธารณะตลอดทงั้ ปี สร้างแรงบนั ดาลใจและกระต้นุ ให้เด็กและเยาวชนรักการเรียนรู้ สนใจพฒั นาทกั ษะด้านสะเต็มผ่านกิจกรรมท่ี OKMD จดั ขนึ ้ เช่น คา่ ย กิจกรรมสญั จร เวทีประกวดแข่งขนั รวมถึงกิจกรรมประจ�ำสปั ดาห์ของห้องสมดุ และ พพิ ธิ ภณั ฑ์ สร้างกลไกสนบั สนนุ ผ้มู ีความสนใจและมีความถนดั ด้านสะเต็มให้สามารถต่อยอดความรู้และทกั ษะในระดบั ที่สูงขึน้ ซึ่ง OKMD สามารถประสานเครือข่ายสถานศึกษาและสถานประกอบการท่ีเก่ียวข้องเพ่ือจัดค่าย ปฏิบตั กิ ารระดบั กลางและระดบั เชี่ยวชาญ รวมถงึ การเช่ือมโยงผ้เู รียนกบั สถานศกึ ษาที่สงู ขนึ ้ หรือระหวา่ งผ้เู รียน กบั สถานประกอบการ เพ่ิมความร่วมมือกบั ภาคเอกชนในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษาให้แก่เดก็ และเยาวชน ซงึ่ OKMD สามารถสนบั สนนุ ต้นแบบการจดั การองค์ความรู้ของ OKMD ผ้เู ช่ียวชาญ รวมถงึ สอื่ และอปุ กรณ์การเรียนรู้ตา่ งๆ เผยแพร่ องค์ความร้ ู และกระบวนการจัดการเรี ยนร้ ู ตามแนวทางสะเต็มศึกษาสู่บุคลากรการศึกษาให้ ท่ัวถึง เทา่ เทียม โดย OKMD มีการเผยแพร่องค์ความรู้ผา่ นระบบการจดั การเรียนรู้แบบเปิด รวมทงั้ ส่อื ออนไลน์ตา่ งๆ ที่สามารถให้บริการครูและผ้สู นใจในวงกว้าง ส่งเสริมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาให้เป็นการเรียนรู้ตามอธั ยาศยั ผ่านระบบการเรียนรู้สาธารณะ โดย OKMD สามารถดำ� เนินการผา่ นการจดั มหกรรม เวทีแลกเปลย่ี น และเวทีประกวดความสามารถด้านสะเตม็ ประเทศไทยไดอ้ ะไรจากสะเตม็ ศกึ ษา? นบั จากนีส้ ะเต็มศึกษาจะเป็นเครื่องมือส�ำคญั ในการขบั เคลื่อนประเทศ ผ่านการสร้างเยาวชนรุ่นใหม่ให้เป็นก�ำลงั คน ในอนาคตท่ีมีทกั ษะด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ มีความคดิ สร้างสรรค์และความสามารถ ในการแก้ปัญหาซง่ึ เป็นการเพม่ิ ขดี ความสามารถของคนในชาติและยกระดบั ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศในระยะยาว และยงั่ ยืน สแกน QR CODE เพอื รบั ฟงั Audio text

6 O One of a kiNd Ada Lovelace STEM A-Z เอดา เลิฟเลซ สุภาพสตรี ชาวอังกฤษในศตวรรษท่ี 19 Education เป็ นผู้คิดค้ นภาษาส�ำหรับ คอมพิวเตอร์ต้นแบบและได้รับ ยกย่องให้ เป็นโปรแกรมเมอร์ คนแรกของโลก Brightstorm China Discover Cybermission Engineering™ แพลตฟอร์มการศกึ ษาออนไลน์ จีน คือประเทศท่ีมีจ�ำนวน เว็บไซต์ของกองทัพบกสหรัฐ บนยูทูปท่ีมีคลิปวิดีโอสาระ ผ้จู บการศกึ ษาด้านสะเตม็ มาก เว็บไซต์เพื่อการส่งเสริมและ ซง่ึ สง่ เสริมให้นกั เรียนรวมกลมุ่ กนั ความรูร้ ายวิชาต่างๆ ส�ำหรับ ที่สดุ ในปี พ.ศ. 2559 คิดเป็น กระต้นุ ให้เดก็ และเยาวชนสนใจใน น�ำเสนอแนวคิดและท�ำภารกิจ ผ้เู รียนระดบั มธั ยมศกึ ษาจำ� นวน 4.7ล้านคนรองลงมาคอื อนิ เดยี สาขาวชิ าและอาชพี ด้านวศิ วกรรม เพอ่ื แก้ปัญหาในชมุ ชน ภายใต้ มากกวา่ 1,300 คลปิ 2.6 ล้านคน และสหรัฐอเมริกา โดยให้ข้อมลู เกี่ยวกบั การเรียน ค�ำแนะน�ำของผ้เู ชี่ยวชาญด้าน 568,000 คน และเส้นทางอาชพี อยา่ งเจาะลกึ สะเตม็ Figure This! GEMS HippoCampus.org เว็บไซต์ส�ำหรับนักเรียนระดบั ยอ่ มาจากGirlsinEngineering, แหล่งเรียนรูส้ �ำหรับเด็กของ องค์กรไม่แสวงหาผลก�ำไรที่ให้ มธั ยมศกึ ษาทตี่ ้องการเพม่ิ ทกั ษะ Math, and Science ซง่ึ เป็น Monterey Institute for การสนบั สนนุ นกั เรียน นกั ศกึ ษา ด้านคณติ ศาสตร์ รวมทงั้ ครูและ โครงการรณรงค์และสนบั สนนุ Technology and Education และชุมชนในการจัดกิจกรรม ผ้ปู กครองทก่ี ำ� ลงั มองหาเครอ่ื งมอื ให้ผ้หู ญิงทำ� งานด้านวศิ วกรรม ประกอบด้วยวิดีโอส่ือการสอน ด้านสะเตม็ ทงั้ ในด้านการระดม การสอนคณติ ศาสตร์สำ� หรบั เดก็ คณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ ด้ านสะเต็มและสังคมศาสตร์ เงนิ ทนุ และการให้องคค์ วามรู ้ จ�ำนวนกวา่ 6,800 เรื่อง James Dyson Kinetic City Left Brain Craft Maker Space Foundation เว็บไซต์สง่ เสริมการเรียนรู้ด้าน Brain พืน้ ท่ีส�ำหรับนกั สร้างสรรค์และ นวตั กรเข้ามาหาความรู้ แบง่ ปัน มลู นิธิท่ีมีภารกิจในการสง่ เสริม วิทยาศาสตร์ โดยผู้เล่นต้อง เว็บไซต์จากแนวคิดของอดีต ประสบการณ์ และท�ำโครงงาน การเรียนการสอนด้านสะเต็ม ทดลองและเล่นเกมต่างๆ เพอ่ื วศิ วกรทก่ี ลายมาเป็น “คณุ แม”่ ร่วมกนั เชน่ KXของมหาวทิ ยาลยั การสนบั สนนุ สื่อการสอน และ ชว่ ยโลกจากไวรัส Knowledge ซ่ึงรวบรวมเกมและกิจกรรม เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี การมอบรางวลั ให้แก่นกั ศกึ ษา -Eating ส่งเสริ มการเรี ยนร้ ู ด้ านสะตีม และคนทำ� งานด้านการออกแบบ (สะเต็ม+ศิลปะ) ส�ำหรับเด็ก วศิ วกรรม เล็กไว้ หลายร้ อยรายการ

One of a kiNd O 7 Newton Fund ทนุ สนบั สนนุ ด้านการวจิ ยั และ นวตั กรรมจากสหราชอาณาจกั ร เพื่อสง่ เสริมความเป็นเลศิ ด้าน การวจิ ยั ให้แกป่ ระเทศพนั ธมติ ร ซงึ่ รวมถงึ ประเทศไทย OPT STEM Extension Peter Faletra Qatar RepRap Project มาตรการพเิ ศษของสหรฐั อเมรกิ า ปีเตอร์ ฟาเลตรา คือผ้เู สนอให้ ป ร ะ เ ท ศ ก า ต า ร์ ส นับ ส นุน ก า ร โครงการของ University of ซง่ึ อนญุ าตให้นกั ศกึ ษาตา่ งชาติ ใช้คำ� วา่ STEMแทนคำ� วา่ METS เรียนร้ดู ้านสะเตม็ ในโรงเรียนมธั ยม Bath แห่งสหราชอาณาจักร ที่จบการศึกษาด้ านสะเต็ม เพ่ือแสดงถึงการบูรณาการ อยา่ งจริงจงั หนง่ึ ในนนั้ คอื การจดั เพ่ือพฒั นาเครื่องพิมพ์สามมิติ สามารถพ�ำนกั ต่อในประเทศ องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ โครงการ AL-Bairaq ซง่ึ เป็นการ ต้นทุนต�่ำ ปัจจุบันกลายเป็น ได้อีก 17 เดือนเพื่อฝึกอบรม เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ และ แข่งขนั ทกั ษะด้านการแก้ปัญหา เครื่องมอื สำ� คญั สำ� หรบั การเรียนรู ้ ภาคปฏบิ ตั เิ สริม คณิตศาสตร์ ของเดก็ ด้านสะเตม็ STEM Ambassador TeacherPD UNESCO’s STEM and Vietnam กลมุ่ อาสาสมคั รทมี่ คี วามรู้และ ระบบอบรมครูออนไลน์ของ Gender Advancement ประเทศเวียดนามเริ่มจัดการ ประสบการณ์ด้านสะเต็ม ท�ำ สสวท. ซง่ึ เน้นให้ครูด้านสะเตม็ นโยบายของยเู นสโกเพอื่ แก้ปัญหา เรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา หน้าทถ่ี า่ ยทอดความร้แู ละสร้าง ส า ม า ร ถ จัด ก า ร เ รี ย น ร้ ู ต า ม ความไม่เท่าเทียมทางเพศใน ในปี พ.ศ. 2555 และก�ำหนดให้ แรงบันดาลใจด้ านสะเต็ม แนวทางสะเตม็ ศกึ ษาในโรงเรียน การศึกษาและการท�ำงานด้าน มวี นั สะเตม็ แหง่ ชาตเิ ป็นครงั้ แรก แก่นกั เรียน ก่อตงั้ โดย STEM ให้ สอดคล้ องกับบริบทของ สะเต็ม โดยไทยคือประเทศแรก ในปี พ.ศ. 2558 Learning ประเทศองั กฤษ ท้ องถิ่น ในเอเชยี แปซฟิ ิกทด่ี ำ� เนนิ การตาม นโยบายดงั กลา่ ว #weneedmore Xiangzhong Youth Digital Zap Zap Math โครงการของ Verizon ซึ่ง \"Jerry\" Yang หนง่ึ ในเวบ็ ไซต์ทไ่ี ด้ช่ือวา่ มีคอร์ส แอปพลเิ คชนั สง่ เสริมการเรียนรู้ สนับสนุนเงินทุน เทคโนโลยี ด้านเทคโนโลยีท่ีดีท่ีสดุ ส�ำหรับ วิชาคณิตศาสตร์ส�ำหรับเด็ก และสื่อการเรียนรู้ เพ่ือมอบ หยางเซย่ี งจง คอื นกั เทคโนโลยี เด็กอายุ 8-14 ปี มีจุดเด่น ประถมศกึ ษา ซงึ่ เน้นการฝึกฝน โอกาสให้ เยาวชนเข้ าถึง ชีวภาพชาวจีนสญั ชาตอิ เมริกนั ด้านการเขียนโค้ด การสร้ าง ทักษะการค�ำนวณ การคิด อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ด้ า น ส ะ เ ต็ ม ท่ีมีชื่อเสียงจากการโคลนวัว แอนิเมชัน และการออกแบบ วเิ คราะห์ และการคดิ สร้างสรรค์ และฝึ กฝนทักษะการเป็ น “เอมี่” ได้ส�ำเร็จเป็นครัง้ แรก ที่สนกุ และเข้าใจง่าย ผา่ นเกมแสนสนกุ ผ้ปู ระกอบการ ในสหรัฐอเมริกา

8 d DECODE สะเต็มศึกษา ท่ามกลางกระแสความเปล่ียนแปลงของโลก พลวัตของเทคโนโลยี สมัยใหม่มีผลกระทบโดยตรงต่อการดำ� เนินชีวติ ของมนุษย์ทุกด้าน โดยเฉพาะ กับการพัฒนา ใคนวดาม้ านสาเศมราษรถฐใกนิจกทาี่เรทแคขโ่ งนขโันลทยีามงีผธลุรตก่ อิจกแารลเะพใ่ินมดป้ ารนะสสิัทงคธมิภทาี่พเทกคาโรนผโลลิตยแีช่ ลวยะ ยกระดบั คุณภาพชีวติ และอำ� นวยความสะดวกในแทบทกุ ด้าน ทักษะในศตวรรษท่ี การเป็นผ้คู ิดค้นและสร้างสรรค์นวตั กรรม และทักษะในระดับที่สูงขึน้ สามารถ ผ้กู �ำกบั ดแู ล และผ้บู ริหารจดั การในระดบั สรา้ งสรรค์คุณค่าจากองค์ความรู้ ต่างๆ 21 ท่ีสงู ขึน้ เพื่อไม่ให้ถกู จกั รกลเข้ามาแทนท่ี ให้ กับองค์กร สามารถปรับตัวและ อย่างไรก็ดี โอกาสมักมาพร้ อมกับ ด้วยเหตุนี ้ การเตรียมความพร้ อมให้แก่ พัฒนาตนเองตลอดเวลา และอยู่ใน ความท้าทายเสมอ ในด้านหนง่ึ เทคโนโลยี บุคลากรรุ่ นใหม่ตัง้ แต่ก่อนวัยเรี ยน สังคมได้ อย่างเป็ นสุข จึงเป็ นปั จจัย ถูก น� ำ ม า ใ ช้ แ ท น ที่ แ ร ง ง า น ม นุษ ย์ จนถึงวัยท�ำงานให้ มีความพร้ อมรับ ส�ำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและ โดยเฉพาะในงานที่ใช้ทกั ษะต่�ำหรืองาน การเปลี่ยนแปลง สามารถพฒั นาความรู ้ สงั คมท่ียั่งยืน ที่ท�ำซ�ำ้ ๆ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพและลด ค่าใช้จ่าย ในอีกด้านหนึ่งมนุษย์จ�ำเป็น ต้องพฒั นาตนเองและปรับบทบาทไปสู่ สะเต็มศึกษา (STEM Education) ช่วยได้อย่างไร? “สะเต็มศึกษา” เป็นนวตั กรรมและความพยายามปฏิรูป Soft Skills หรือทกั ษะด้านอารมณ์ ได้แก่ การศึกษาและการเรียนรู ้ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้เด็กและ • Communication ทกั ษะในการตดิ ตอ่ สอ่ื สารสร้างความเข้าใจ เยาวชนสามารถบูรณาการความคิดอย่างรอบด้าน รูเ้ ท่าทัน • Collaborationทกั ษะในการสร้างความร่วมมอื และทำ� งานเป็นทมี สถานการณ์และส่ิงแวดล้อม สามารถตัดสินใจแก้ไขปัญหา • Critical Thinking ทกั ษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล รวมถงึ สรา้ งสรรค์นวตั กรรมทงั้ ในด้านความคดิ กระบวนการ และ • Creativity ทกั ษะในการคิดสร้ างสรรค์ ส่ิงประดิษฐ์ต่างๆ ซ่ึงเชื่อว่าเป็นหน่ึงในแนวทางการเรียนรู ้ ที่เหมาะกบั การสรา้ งก�ำลงั คนแหง่ อนาคตมากท่ีสดุ ในขณะนี ้ นอกจากนีเ้ ด็กและเยาวชนยังจ�ำเป็นต้องมีทักษะพืน้ ฐาน ท่ีจะช่วยในการเรียนรู้และแก้ไขปัญหา ไม่ว่าจะเป็นทักษะ อย่างไรก็ดี การเรียนรูแ้ บบสะเต็มในปัจจบุ นั ไม่ได้เป็นเพียง ด้านการอ่านเขียน รวมถึงทักษะด้านการคิดวิเคราะห์และ การบรู ณาการการเรยี นรูด้ ้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีวศิ วกรรมศาสตร์ คิดสรา้ งสรรค์ ซึ่งทกั ษะเหล่านีเ้ รียกว่า “ศิลปะ” (A-Art) และ และคณิตศาสตร์อยา่ งทห่ี ลายคนเข้าใจ เน่ืองจากยงั มที กั ษะอนื่ ๆ เรียกการเรียนรูต้ ามแนวทางสะเต็มศึกษาท่ีน�ำทักษะพืน้ ฐาน ท่ีจ�ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 โดยเฉพาะทักษะ 4Cs ท่ีถือเป็น มาประกอบเข้าด้วยกันว่า STEAM Education

DECODE d 9 =STEM STEAM การจัดการเรียนรู้ซ่ึงบูรณาการ Education ความรู้ใน 4 สหวิทยาการเข้ากับ + ศิลปะ เพ่ือเพิ่มพูนทักษะในการคิด และแกป้ ัญหาดว้ ยความคดิ สรา้ งสรรค์ A S TEAM เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา (STEM Education) เป็นอย่างไร? เน้นเทคโนโลยี ประเมินผลโดย สมัยใหม่ ค�ำนึงถึงความ แตกต่างของผู้เรียน เ พ่ื อ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ เน้นการประเมินผลแบบ ของเด็กยุคดิจิทัล ต่อเน่ืองและเป็นระยะ เพ่ือให้ ส า ม า ร ถ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร เ รี ย น รู้ เรียนรู้จาก ให้เด็กเป็น แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ที่เกิดข้ึนกับ ประสบการณ์จริง ศูนย์กลาง เ ด็ ก ไ ด้ อ ย่ า ง ใ ก ล้ ชิ ด แ ล ะ การเรียนรู้ มีประสิทธิภาพ เน้นการท�ำงานกลุ่มเพ่ือให้ เด็กรู้จักรับผิดชอบ แบ่งปัน ค้นคว้า ทดลอง และพัฒนา และท�ำงานเป็นทีมอย่างมี แ น ว ท า ง ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ประสิทธิภาพ ในมุมมองของเด็ก เม่ือโลกเคลื่อนเข้าสู่ยุคแห่งการเรียนรู ้ ซ่ึงความส�ำเร็จ แนวทางสะเตม็ ศกึ ษายงั คงมีอยู่ ไมว่ า่ จะเป็นการปรับปรุงเนือ้ หา และความล้มเหลวของมนุษย์ขึน้ อยู่กับความสามารถในการ หลักสูตรและแนวทางการจัดการเรี ยนรู้ การพัฒนาครู น�ำทกั ษะความรู้ไปสร้างสรรค์ให้เกิดคณุ ค่าและความแตกต่าง และผู้บริหารให้ มีทักษะความรู้ และเห็นความส�ำคัญของ ในขณะเดียวกันต้องสามารถแก้ไขปัญหาอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ การเปล่ียนแปลง การพัฒนาเทคโนโลยีและส่ือการเรียนรูท้ ี่ การปฏริ ูปการเรียนรู้โดยน�ำเอาแนวทางสะเต็มศึกษามาปรับใช้ เหมาะสม รวมถงึ การสร้างความเข้าใจท่ีถกู ต้องกบั เดก็ ผ้ปู กครอง จึงเป็ นส่ิงที่น่าสนใจและท้ าทายยิ่ง เพราะเป็ นแนวทาง และสังคม ซ่ึงความท้ าทายเหล่านีเ้ ป็ นเร่ืองที่ผู้ก�ำหนด ที่ท�ำให้ เด็กได้ พัฒนาการเรียนรู้ของต น เ อ ง ต ล อ ด เ ว ล า นโยบาย นกั การศกึ ษา โรงเรียน ผ้ดู แู ลงบประมาณ ผ้เู กยี่ วข้อง ทัง้ ในด้ านศาสตร์และศิลป์ รวมถึงมีเสรีภาพในการคิดและ กบั เทคโนโลยกี ารเรียนรู้ ภาคประชาสงั คม และภาคเอกชนที่เป็น ทดลอง ซึ่งเป็ นตัวแปรส�ำคัญท่ีจะน�ำไปสู่การสร้ างสรรค์ ผู้ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรมนุษย์จะต้องร่วมมือกัน เพื่อให้ นวัตกรรมต่างๆ ท่ีเป็นที่ต้องการทัง้ ในปัจจุบันและอนาคต การปฏิรูปการเรียนรู้ครัง้ นีเ้ ป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ราบรื่น และยงั่ ยืน อย่างไรก็ตาม ความท้าทายของการจัดการเรียนรู้ตาม

10 t The Knowledge STEM รหสั (ไม)่ ลบั การเรียนรสู้ ูอ่ นาคต สะเตม็ หรอื STEM มาจากอกั ษรตวั แรกในชอื่ ภาษาองั กฤษ ของศาสตรส์ �ำคญั 4 สาขาวชิ า ไดแ้ ก่ วทิ ยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วศิ วกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณติ ศาสตร์ (Mathematics) เพื่อสะทอ้ นความเชอื่ มโยง ขององคค์ วามรทู้ างวชิ าการของศาสตรท์ ้งั 4 ซ่งึ จำ� เปน็ ตอ้ ง บรู ณาการเขา้ ดว้ ยกนั เพ่ือใชป้ ระโยชนใ์ นการดำ� เนนิ ชวี ติ และ การทำ� งาน จากค�ำกล่าวของ ดร.พรพรรณ ไวทยางกูร ผู้อ�ำนวยการ ทงั้ นีค้ �ำวา่ STEM ถกู น�ำมาใช้ครัง้ แรกในสมยั ที่สหรัฐอเมริกา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท่ีว่า ประสบปัญหาเร่ืองผลการทดสอบในโครงการประเมนิ ผลนกั เรียน “การตอบโจทย์ทกุ อยา่ งในโลกใบนีไ้ มไ่ ด้ตอบได้ด้วยศาสตร์เดยี ว ร่วมกบั นานาชาติ (Programme for International Student เราต้องเริ่มจากส่ิงท่ีสามารถน�ำไปใช้ได้จริงในชีวิต จากนนั้ คอ่ ย Assessment หรือ PISA) ต่�ำกว่าหลายประเทศ รัฐบาลจึงมี เชื่อมโยงกับเนือ้ หาบทเรียน ผู้เรียนจึงจะรู้สึกว่าน่าสนใจและ นโยบายส่งเสริมการศึกษาตามแนวทางสะเต็มศึกษา หรือ เกิดการประยุกต์ใช้กับชีวิตประจ�ำวนั หรือเรียนรู้ท่ีจะปรับเข้า STEM Education โดยมีเป้าหมายที่จะพฒั นาความสามารถ กบั การประกอบอาชีพในอนาคต สง่ิ เหลา่ นี ้ คือ 'สะเต็มศึกษา' \" ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวศิ วกรรมของเยาวชน รวมถงึ ชีใ้ ห้เห็นว่าการเรียนรู้สู่อนาคตจ�ำเป็นต้องถอดรหัส “STEM” ยกระดบั ผลการทดสอบ PISA ให้สงู ขนึ ้ มาเป็นเคร่ืองมือสำ� คญั ในการเรียนรู้ เรยี นแบบสะเตม็ สะเตม็ ศกึ ษาไมเ่ น้นการทอ่ งจำ� ทฤษฎี กฎ หรอื สตู ร แตใ่ ห้ความสำ� คญั กบั การทำ� ความเข้าใจเนอื ้ หาวชิ าผา่ นการปฏบิ ตั จิ ริง ควบคกู่ บั การพัฒนาทักษะการคิด การตัง้ ค�ำถาม การแก้ปัญหา การหาข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล ซ่ึงจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถ น�ำความรูท้ ุกแขนงมาใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทงั้ พฒั นากระบวนการและสรา้ งสรรค์นวตั กรรมที่จะเป็นประโยชน์ต่อ การดำ� เนินชีวติ และการทำ� งาน โดยครูอาจารย์จากหลายสาขาวชิ าร่วมมือกนั จดั แนวทางการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา 5 ประการ ได้แก่ 4 ท้าทายความคิดของนกั เรียน 1 เน้นการบรู ณาการ 5 เปิดโอกาสให้นกั เรียนแสดงความคดิ เหน็ และความเข้าใจ 2 ชว่ ยให้นกั เรียนสร้างความเชื่อมโยงระหวา่ งเนือ้ หาวชิ า ทงั้ 4 กบั ชีวิตประจ�ำวนั และการประกอบอาชีพ ที่สอดคล้องกบั เนือ้ หาวชิ า 3 เน้นการพฒั นาทกั ษะในศตวรรษที่ 21 สะเต็มศึกษาจึงเป็นการฉีกกฎเกณฑ์ของระบบการศึกษาในอดีต จากเดิมท่ีเน้นให้เด็กเรียนรูท้ ฤษฎีก่อนไปส่กู ารปฏิบัติ ซง่ึ เป็นเร่ืองยากและใช้เวลานานเกนิ ไปเป็นการเรียนรูจ้ ากตวั อยา่ งหรือสถานการณ์จริงกอ่ นจะย้อนกลบั ไปหาทฤษฎีซง่ึ เป็นกระบวนการ เรียนรูท้ ี่สนกุ สนาน น่าสนใจ และเข้าใจง่ายกว่า และยอมรับกนั ว่าเป็นการเรียนเพื่อต่อยอดไปส่กู ารประยกุ ต์ ใช้ในการท�ำงาน ซงึ่ เป็นแนวทางของการสรา้ งแรงงานท่ีมีศกั ยภาพในอนาคต

ทักษะในศตวรรษที่ 21 คืออะไร? The Knowledge t 11 World Economic Forum (WEF) ให้นิยามไว้ครอบคลุมใน 3 ด้าน ได้แก่ GOOD TO SHARE 1 1 2 3 QR CODE 2 ทกั ษะในการด�ำรงชีวติ เชน่ ความสามารถในการแก้ปัญหา บคุ ลกิ ภาพแบบใหม่ เชน่ การอา่ น-เขียน คณิตศาสตร์ ท่ีซบั ซ้อน เชน่ การคดิ เชิงวิพากษ์ ความมีจิตอาสา ความเป็นผ้นู �ำ 3 ความคดิ สร้างสรรค์ การสื่อสาร และ วทิ ยาศาสตร์ ความเป็นผ้รู ิเร่ิม การท�ำงานเป็นทีม สะเตม็ เปน็ เรือ่ งใกลต้ ัว หลายคนยงั เข้าใจวา่ ทกั ษะด้านสะเตม็ จำ� เป็นตอ่ เฉพาะอาชพี ในสายงานวทิ ยาศาสตร์ วศิ วกรรม หรือเทคโนโลยี เท่านัน้ แต่ความจริงสะเต็มเป็นเรื่องใกล้ตัวที่สามารถน�ำมาใช้ในชีวิตประจ�ำวัน และยังเป็นทักษะพืน้ ฐาน ในเกือบทกุ สาขาอาชีพ ในทกุ อตุ สาหกรรมในปัจจบุ นั ST EM Science Technology Engineering Mathematics เป็นเครื่องมือชว่ ยให้มนษุ ย์ เป็นวชิ าท่ีชว่ ยให้เข้าใจ เป็นวชิ าที่เกี่ยวกบั เป็นพืน้ ฐานสำ� คญั ตอ่ การพฒั นา เข้าใจธรรมชาตมิ ากย่ิงขนึ ้ กระบวนการท�ำงานเพ่ือ การสร้างสรรค์นวตั กรรมหรือ ความคดิ ทงั้ การคดิ สร้างสรรค์ แก้ปัญหา ปรับปรุงแก้ไข หรือ สร้างสง่ิ ตา่ งๆ เพ่ืออ�ำนวย ความสะดวกให้แก่มนษุ ย์ การคดิ อยา่ งมีแบบแผน พฒั นาสงิ่ ตา่ งๆ การคดิ วเิ คราะห์ และการตดั สนิ ใจ สะเตม็ ศกึ ษาจงึ ไมเ่ พียงเป็นแนวทางสง่ เสริมให้ผ้เู รียนรักและเหน็ คณุ คา่ ของกลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ หากยงั เป็น เคร่ืองมือปลกู ฝังการคิดอย่างมีระบบ ท�ำให้เด็กรู้จกั เชื่อมโยงองค์ความรู้เข้ากับส่ิงรอบตวั และประยุกต์ใช้ เพ่ือแก้ปัญหาด้วยเหตแุ ละผล ซงึ่ เป็นแนวทางสำ� คญั ในการสร้าง “คนเกง่ คนดี คนที่มีคณุ ภาพ” ซง่ึ จะเป็นก�ำลงั ขบั เคล่อื นประเทศในอนาคต

12 N Nextpert เปิดมุมมองการขับเคล่ือน STEM Education “การสนบั สนุนกระบวนการเรียนรู้ด้วยสะเต็มศึกษาเป็ น “การจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู้ นอกห้องเรี ยนตามหลักการ สิ่งส�ำคญั จึงควรเน้นกิจกรรมที่บูรณาการด้านวิทยาศาสตร์ สะเตม็ ศึกษาที่ ฯพณฯ นายกรฐั มนตรี พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพือ่ เชื่อมโยง เนน้ ย�้ำและใหค้ วามส�ำคญั ตลอดมา เป็นการบูรณาการความรู้ ความรู้สู่การท�ำงานในชีวิตจริง ผู้เรียนจะเรียนวิทยาศาสตร์ ทีเ่ กี่ยวกบั สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ด้วยความสนุก พร้อมทงั้ ตระหนกั ถึงคุณค่า และคณิตศาสตร์ ซึ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถน�ำไปแก้ปัญหา ของการเรียนรู้ ย่ิงไปกว่านน้ั นกั เรียนต้องมีความรู้ด้านศิลปะ ที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจ�ำวนั ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ทกั ษะ ภาษา สงั คมศาสตร์ และอืน่ ๆ ร่วมดว้ ย กระบวนการเรียนรู้นีย้ งั ที่จ�ำเป็นในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงจะช่วยเสริมสร้างความเข้าใจใน กระต้นุ ให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และการท�ำงานร่วมกนั เป็น ทฤษฎีหรือบทเรียนในหอ้ งเรียนผ่านการปฏิบตั ิจริง รวมทง้ั ช่วย กระบวนการเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็ นฐาน เพื่อแก้ไขปัญหา พฒั นาทกั ษะการคิด การตง้ั ค�ำถาม การคน้ หาขอ้ มลู การวิเคราะห์ สร้างองค์ความรู้ และนวตั กรรมใหม่ๆ” ขอ้ คน้ พบใหม่ๆ และการน�ำขอ้ คน้ พบนนั้ ไปบูรณาการใชใ้ นชีวิต ประจ�ำวัน ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาการศึกษา สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในอนาคตของกระทรวงศึกษาธิการ” พระราชดำ� รัสเปดิ การประชุมโต๊ะกลมไทย-สหรฐั ฯ ครัง้ ที่ 7 พลอากาศเอก ประจิน จ่ันตอง วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 รองนายกรฐั มนตรี “เรื่องก�ำลังคนทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ คำ� กล่าวเปดิ “โครงการจัดทำ� กิจกรรมการเรียนรนู้ อกห้องเรียน นวตั กรรม เป็นเรื่องทีท่ า้ ทายและส�ำคญั มาก เพราะเป็นพืน้ ฐาน : ตดิ ปกี ความรู้ สู่นอกหอ้ งเรยี น” ของการพฒั นาในทุกรูปแบบ ซึ่งตอนนี้ถึงเวลาแล้วที่จะต้อง วันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ปรบั เปลีย่ นการสอน ครูตอ้ งใชว้ ิธีการตา่ งๆ ระดบั มธั ยมจะตอ้ งน�ำ เรื่องสะเตม็ ศกึ ษาเขา้ มาใชม้ ากกวา่ เดิม นอกจากเรื่องหลกั การแลว้ “การศึกษาด้านสะเต็ม คือ การเชื่อมโยงกบั ส่ิงที่เป็ นจริง สิ่งส�ำคัญคือเรื่องของการน�ำไปสู่การปฏิบัติ และส่ิงส�ำคัญ สามารถน�ำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปสร้างสรรค์ส่ิงดีๆ โดยการ ที่ขาดไม่ได้คือภาคเอกชนต้องเข้ามามีส่วนร่วม เพราะหาก ปลูกฝงั ใหเ้ ด็กมีทกั ษะดา้ นวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ รวมทง้ั ไม่ค�ำนึงถึงปลายทางก็ไม่รู้จะผลิตและพฒั นาเพือ่ อะไร” สามารถประยกุ ต์ใช้ให้เกิดของจริงข้ึนมาด้วยการใช้เทคโนโลยี และกระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร์ อย่างไรก็ตาม เราต้อง ดร.พิเชฐ ดรุ งคเวโรจน์ สอนให้เด็กมีคุณธรรมควบคู่กบั ความรู้ เพื่อน�ำวิทยาศาสตร์ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ไปใชไ้ ดอ้ ย่างถูกตอ้ ง” การบรรยายพิเศษในงานสัมมนาระดมความคดิ นพ.ธรี ะเกียรติ เจรญิ เศรษฐศิลป์ เร่อื ง STEM Education : นโยบายเชงิ รกุ ในการพัฒนาก�ำลังคน รฐั มนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร การบรรยายพิเศษในการประชุมโต๊ะกลมไทย-สหรฐั ฯ ครั้งท่ี 7 ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม วันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2558 วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

Nextpert N 13 “สะเต็มศึกษาช่วยส่งเสริ มให้การปฏิรูปการศึกษาทงั้ ใน “การกระตุ้นให้สงั คมตระหนกั ถึงความส�ำคญั ของสะเต็ม ระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน อาชีวศึกษา และอดุ มศึกษาเป็นไป ศึกษาจะก่อเกิดกลไกในการพฒั นาก�ำลงั คนด้านวิทยาศาสตร์ อย่างเป็ นระบบ สะเต็มศึกษานี้จะช่วยพฒั นาก�ำลังคนที่มี เทคโนโลยี และนวตั กรรมใหแ้ ก่ประชาสงั คม และการรบั ฟงั ความ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์นวตั กรรมและองค์ความรู้รูปแบบใหม่ๆ คิดเห็นขององค์กร หน่วยงาน และภาคีต่างๆ โดยเฉพาะผู้ที่ เ พื่อ ร อ ง รั บ ก า ร เ ข้ า สู่ ต ล า ด แ ร ง ง า น แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ใชผ้ ลผลิตจากสะเตม็ ศึกษามีสว่ นเกีย่ วขอ้ งในการพฒั นาก�ำลงั คน ในอนาคต และช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขนั ของ และจะช่วยผลกั ดนั ให้เกิดนโยบายแห่งชาติเพื่อรองรับระบบ ประเทศในเวทีโลกต่อไป” นวตั กรรมของประเทศได”้ นายตวง อันทะไชย พลอากาศเอก ชาลี จนั ทร์เรือง ประธานคณะกรรมาธกิ ารการศึกษาและการกฬี า สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติ ประธานคณะกรรมาธิการการส่ือสารมวลชน การวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสารสนเทศ สภานิตบิ ัญญตั แิ หง่ ชาติ “รายงานขอ้ เสนอเชิงนโยบายสะเต็มศึกษา (STEM Education) “รายงานข้อเสนอเชงิ นโยบายสะเตม็ ศึกษา (STEM Education) นโยบายเชิงรุกเพ่ือพัฒนาเยาวชนและกำ� ลังคนด้านวทิ ยาศาสตร์ นโยบายเชงิ รกุ เพ่ือพัฒนาเยาวชนและกำ� ลงั คนดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณติ ศาสตร”์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณติ ศาสตร์” วนั ท่ี 4 กันยายน พ.ศ. 2558 วันท่ี 4 กนั ยายน พ.ศ. 2558 “ดงั ทีท่ ราบกนั วา่ เรามีความตอ้ งการดา้ นก�ำลงั คน แตก่ ารจดั ทำ� “การจะน�ำสะเต็มเข้ามาใช้กบั สถานศึกษาวิชาชีพนน้ั ยาก สะเต็มศึกษานนั้ มิได้เป็นเพียงเพือ่ ให้บุคลากรมีงานท�ำเท่านนั้ เพราะครู ในสถานศึกษาไม่เคยท�ำงานจริ งในสถานประกอบการ เราก�ำลงั กล่าวถึงประชากรไทยทงั้ ประเทศว่าจะท�ำงานต่อไป แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม ความเหมาะสมคือควรใชค้ รูทงั้ สองฝง่ั ทงั้ ครูพเี่ ลีย้ ง ในอนาคตอยา่ งไร คนไทยตอ้ งมีทกั ษะในศตวรรษที่ 21 ดว้ ยเหตนุ ี้ ฝ่ังโรงงานและครูในมหาวิทยาลยั ร่วมกันเรียนรู้กับนกั ศึกษา จึงตอ้ งมีทกั ษะเช่นนีใ้ นอนาคตอนั ไม่แน่นอนนีด้ ว้ ย” ไปพร้อมกนั ” ศาสตราจารย์เกียรติคุณ มนตรี จฬุ าวัฒนฑล ดร.นวิ ตั ร มูลปา ประธานกรรมการสถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผ้อู �ำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวทิ ยาการ การบรรยายพิเศษในงานสัมมนาระดมความคดิ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา เร่ือง STEM Education : นโยบายเชงิ รกุ ในการพัฒนากำ� ลังคน การน�ำเสนอตัวอย่างในงานสัมมนาระดมความคดิ เร่ือง STEM Education : นโยบายเชิงรกุ ในการพัฒนากำ� ลงั คน ดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม วนั ท่ี 27 เมษายน พ.ศ. 2558 ดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม วนั ท่ี 27 เมษายน พ.ศ. 2558 “การน�ำแนวคิดต่างๆ มาปรับเปลีย่ นแนวทางในการจดั การ ศึกษาเดิมนนั้ จ�ำเป็นอย่างยิ่งทีน่ กั การศึกษา ผูท้ ีเ่ กี่ยวข้อง ครู อาจารย์ และผูบ้ ริหาร จะตอ้ งวิเคราะห์และท�ำความเขา้ ใจอย่าง ถ่องแทเ้ พือ่ ทีจ่ ะน�ำไปใชไ้ ดอ้ ย่างถูกตอ้ ง การน�ำสะเต็มศึกษามา ใชใ้ นประเทศไทยก็เช่นเดียวกนั เพือ่ ปอ้ งกนั มิใหเ้ กิดความเขา้ ใจ คลาดเคลือ่ น ซ่ึงจะก่อใหเ้ กิดผลกระทบในการจดั การศึกษาใน อนาคต หรือส่งผลใหก้ ารใชส้ ะเต็มศึกษาไม่บรรลเุ ปา้ หมาย” พรทพิ ย์ ศิรภิ ทั ราชยั มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ บทความเร่อื ง “STEM Education กบั การพัฒนาทักษะ ในศตวรรษที่ 21” วารสารนักบริหารปที ่ี 33 ฉบบั ที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2556

14 D DigitOnomy รวมมติ รตัวเลขท่เี ก่ยี วขอ้ งกับ STEM EducaTioN ผลทดสอบในโครงการประเมนิ ผลนักเรยี นรว่ มกับนานาชาติ ปี 2558 (PISA 2015) ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และการอา่ น อนั ดบั 1 ดา้ นวิทยาศาสตร์ อนั ดบั 1 ด้านคณิตศาสตร์ อนั ดบั 1 ด้านการอ่าน สงิ คโปร์ 556 คะแนน 535 คะแนน 564 คะแนน อนั ดบั 54 อนั ดบั 54 อนั ดบั 57 421 คะแนน 409 คะแนน 415 คะแนน ไทย ทมี า : PISA 2015 Results in Focus, OECD 2018 ผลทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ผลการทดสอบทางการศกึ ษา ปี การศึกษา 2559 เปรียบเทยี บกับปี 2558 Professional Aptitude Test ความถนดั ทางด้านวชิ าชพี และวิชาการ ปี การศึกษา 2560 ประถมศกึ ษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ความถนัดทาง ปี ที่ 6 คณิตศาสตร์ 40.47 คะแนน 41.22 คะแนน ลดลง 6.9% ลดลง 3.21% ความถนัดทาง 42.82 คะแนน วทิ ยาศาสตร์ ลดลง 18.6% มัธยมศกึ ษา 29.31 คะแนน 34.99 คะแนน ปี ท่ี 3 ลดลง 9.53% ลดลง 7.01% 79.59 คะแนน จากปี 2559 31.62 คะแนน เพม่ิ ขน้ึ 4.28% ความถนดั ทาง ลดลง 5.32% วศิ วกรรม จากปี 2559 95.91 คะแนน มัธยมศกึ ษา 24.88 คะแนน เพม่ิ ขน้ึ 15.9% ปี ท่ี 6 ลดลง 6.43% จากปี 2559 หมายเหตุ : คะแนนเตม็ 100 คะแนน หมายเหตุ : คะแนนเต็ม 300 คะแนน ทีมา : สถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแหง ชาติ (องคก ารมหาชน)





Next N 17 โดยมากกว่าครึ่ งหนึ่งของงานด้ านสะเต็มต้ องการคนที่ • การน�ำเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้สนับสนุน จบการศึกษาในระดับต�่ำกว่าปริญญาตรี ซ่ึงหมายความว่า การเรียนการสอน บุคลากรในระดับอาชีวศึกษาจะเป็นท่ีต้องการมากขึน้ ของ • การสนบั สนนุ ครผู ้สู อนทงั้ ในด้านการพฒั นาทกั ษะความรู้ ตลาดแรงงานในอนาคต นอกจากนีย้ งั พบว่าค่าตอบแทนของ การจดั หาสอื่ และเครื่องมือการสอนท่ีเหมาะสม บคุ ลากรท่ีจบการศกึ ษาด้านสะเตม็ สงู กวา่ ผ้ทู ี่ไมไ่ ด้จบการศกึ ษา • การสนบั สนนุ ในด้านอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การลงทนุ ด้านสะเตม็ ถงึ ร้อยละ 26 ในท�ำนองเดียวกนั ในประเทศองั กฤษ เพ่ือพฒั นานวตั กรรมการสอน การสร้างแรงจูงใจแก่ มีการประเมินว่า The Royal Academy of Engineering ครูผ้สู อนในการพฒั นาศกั ยภาพการสอน การร่วมมอื กบั จะต้องผลิตบัณฑิตใหม่อย่างน้อยปีละ 100,000 คน จนถึง ภาครัฐและเอกชนท่ีเก่ียวข้องกับสะเต็มศึกษาและ ปี พ.ศ. 2563 จงึ จะเพยี งพอตอ่ ความต้องการบคุ ลากรด้านสะเตม็ สาขาอาชีพด้านสะเต็ม การพัฒนาครูรุ่นใหม่และ ในสาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ของประเทศ เช่นเดียวกับ การสร้ างแรงจูงใจให้ผ้ทู ี่มีความรู้ความสามารถด้าน ประเทศเยอรมนีที่ขาดแคลนบุคลากรด้ านคณิตศาสตร์ สะเต็มเข้ามาอยู่ในสายอาชีพครูมากขึน้ รวมถึง วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ วทิ ยาศาสตร์ธรรมชาติ และสาขาวิชา การกระจายครูผ้มู ีความสามารถในการจดั การเรียนรู้ ที่เก่ียวข้องกบั เทคโนโลยีมากกวา่ 210,000 คน ตามแนวทางสะเต็มศึกษาเพ่ือให้เด็กได้รับโอกาส ด้วยเหตุนีป้ ระเทศในอเมริกาและยุโรปจึงให้ความส�ำคญั ในการเรียนรู้รูปแบบใหมอ่ ยา่ งทวั่ ถงึ และมีมาตรการส่งเสริมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ส�ำหรับสถานการณ์ของสะเต็มศึกษาประเทศไทยพบว่า อย่างเต็มรูปแบบ ทัง้ ในด้านการวางยุทธศาสตร์การศึกษา แม้มีการจดั การเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ฟิ สกิ ส์ ชีววิทยา ของชาติและการจดั สรรงบประมาณเพื่อด�ำเนินโครงการต่างๆ เคมี และอิเลก็ ทรอนิกส์ในสถานศกึ ษาทวั่ ไป แตจ่ �ำนวนนกั เรียน ไมว่ า่ จะเป็น ท่ีเข้าถึงวิชาเหล่านีก้ ลับมีไม่มากนัก ไม่นับรวมถึงคุณภาพ การเรียนการสอนที่ไม่น่าสนใจและไม่เอือ้ ให้เกิดการบรู ณาการ • การพัฒนาหลกั สูตรและกระบวนการสอนแบบใหม่ ข้ามศาสตร์ หรือส่งเสริมให้เกิดการน�ำองค์ความรู้ไปประยุกต์ ส�ำหรับเด็กตัง้ แต่ก่อนวัยเรียนจนถึงมัธยมศึกษา ใช้ในการสร้ างสรรค์นวตั กรรมและสิ่งประดิษฐ์เพ่ือการพฒั นา ตอนปลาย และแก้ไขปัญหาตา่ งๆ โดยเฉพาะในสถานศกึ ษาขนาดเลก็ และ • การสนบั สนนุ เด็กและเยาวชนผ้มู ีความสามารถพิเศษ อยู่ห่างไกล ซึ่งส่งผลให้เกิดช่องว่างทางการเรียนรู้ระหว่าง ด้านสะเต็ม เด็กในเมืองและเด็กต่างจังหวัด และในระยะยาวอาจน�ำไปสู่ • การสร้างแรงจงู ใจให้สงั คม พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง และเดก็ ชอ่ งวา่ งทางเศรษฐกจิ และสงั คมระหวา่ งคนทงั้ สองกลมุ่ กอ่ ให้เกดิ หนั มาสนใจสะเต็มศกึ ษามากขึน้ ความเหลอ่ื มลำ� ้ ทางสงั คม โครงสร้างเศรษฐกจิ ทไี่ มย่ ง่ั ยนื รวมถงึ • การพฒั นาการเรียนรู้แบบสะเตม็ ในระดบั มหาวทิ ยาลยั ปัญหาการเมืองและความมนั่ คงที่เกิดจากความแตกต่างของ • การแนะแนวและกระต้นุ ให้เด็กท่ีไม่สนใจในสาขาวิชา คนในประเทศ และอาชีพท่ีเกี่ยวข้องกบั สะเต็มให้อยากเข้ามาศกึ ษา ถึงเวลาแล้วท่ีทุกภาคส่วนจะต้องตระหนกั ถึงความส�ำคญั ในสาขาวชิ าที่เกี่ยวข้องมากขนึ ้ เร่งด่วนในการปฏิรูปการศึกษาของประเทศ ตงั้ แต่ระดบั ก่อน • การออกแบบหลกั สูตรในระดับที่สูงกว่าปริญญาตรี วยั เรียนจนถงึ ระดบั การศกึ ษาเพอ่ื ประกอบอาชีพ โดยตงั้ เปา้ สรา้ ง การพฒั นาในทกุ มิติ เร่ิมตงั้ แต่การปรับแนวคิดของผ้เู กี่ยวข้อง ให้สามารถทำ� งานได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพในโลกอนาคต กบั การศกึ ษาของเด็กและเยาวชน การพฒั นาหลกั สตู ร/เนือ้ หา ที่เน้นการคิดแบบหลากหลายมิติและการสร้างสรรค์ และกระบวนการเรียนการสอนให้เป็นการเรียนรู้ทพ่ี ฒั นาไปสคู่ วาม ผลงาน ชำ� นาญทแี่ ท้จริง การสร้างวฒั นธรรมการเรียนรู้เพอื่ การทำ� งานจริง สว่ นสถานศกึ ษาเองก็มีการปรับตวั และสนบั สนนุ การจดั การ จากประสบการณ์จริง ไปจนถงึ การสง่ เสริมการบรู ณาการความรู้ เรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษาด้วยวิธีการตา่ งๆ อาทิ ท่ีหลากหลายเพื่อสร้ างสรรค์นวตั กรรม และการสร้ างอุปนิสยั • การจดั กระบวนการสอนและการพฒั นาเนอื ้ หาความรู้ท่ี ใฝ่ หาความรู้ตลอดชีวิตให้คนรุ่นใหม่ซ่ึงจะเติบโตขึน้ เป็นก�ำลงั ตอบโจทย์ความต้องการและความจ�ำเป็นของเดก็ สำ� คญั ในการขบั เคลื่อนประเทศในอนาคต

18 B BBL BBL & STEM ใครก็รู้วา่ การเรียนรู้ต้องใช้ “สมอง” ดงั นนั้ การเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกบั การท�ำงานของสมอง หรือ Brain–based Learning (BBL) จงึ เป็นแนวทางที่ท�ำให้มนษุ ย์สามารถเรียนรู้และปลดปลอ่ ยศกั ยภาพของตนเองอยา่ งเตม็ ท่ี BBL จงึ ได้รับการยอมรับ ในวงกว้างวา่ เป็นหนง่ึ ในแนวทางการเรียนรู้ที่มีประสทิ ธิภาพและเหมาะกบั ยคุ สมยั เรียน-ร้แู บบ BBL BBL กับ STEM การเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมองนัน้ เป็นไปตามธรรมชาติ สมองเป็นอวัยวะ ส� ำ ห รั บ ผ้ ูเ รี ย น ส่ว น ใ ห ญ่ วิ ช า ใ น ทต่ี ้องการอาหาร นำ� ้ และออกซเิ จนเชน่ เดยี วกบั อวยั วะอนื่ ๆ และสมองยงั ต้องการอาหารใจ กลมุ่ สะเตม็ ทงั้ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี มาหลอ่ เลยี ้ งให้เตบิ โตและทำ� งานได้ดีเชน่ ความรกั ความสนกุ สนานความตน่ื เต้นความท้าทาย วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ความประทบั ใจ และความภาคภมู ใิ จ เมื่อสมองพร้อมเรียนรู้ การได้รับประสบการณ์ตรง จดั วา่ เป็นวชิ าทยี่ ากจะเข้าใจและนำ� ไป การลงมอื ปฏบิ ตั ิ และการเข้าสสู่ ถานการณ์จริงหรือเสมอื นจริง จะทำ� ให้สมองรวบรวมข้อมลู ประยกุ ต์ใช้ แตใ่ นความเป็นจริงสมอง น�ำไปเช่ือมโยงกบั ประสบการณ์เดมิ ที่มีอยู่ และประมวลผลเป็นความเข้าใจและความจ�ำ ของมนุษย์มีศักยภาพท่ีจะเรี ยน ย่ิงลงมือฝึกฝน ท�ำซ�ำ้ และปรับปรุงแก้ไขอยู่เสมอ สมองก็จะย่ิงคล่องแคล่วแม่นย�ำ และเชื่อมโยงความรู้เหล่านัน้ ผ่าน จนเกิดเป็นความช�ำนาญ และหากน�ำมาใช้บอ่ ยๆ สมองก็จะย่ิงวอ่ งไว แมน่ ย�ำ เฉียบคม กระบวนการเ รี ย น ร้ ู ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ กลายเป็นความเชยี่ วชาญฝังลกึ ทพ่ี ร้อมจะตอ่ ยอดแตกแขนงไปสกู่ ารเรียนรู้ใหมๆ่ ไมส่ นิ ้ สดุ ของสมอง 4 ข้ันตอนสู่ความเป็นเลศิ ดา้ นสะเตม็ ด้วย BBL 1) กอ่ นเรียนรู้ 2) เรม่ิ เรยี นรู้ เตรียมสมองให้พร้ อมเปิดรับความรู้ สร้ าง ควรเร่ิมต้นด้วยการดงึ ความรู้เดมิ ของผ้เู รียนออกมาเช่ือมโยง แรงจงู ใจด้วยเรื่องราวทส่ี นกุ สนานและท้าทายหรือ กับความรู้ใหม่ ในขัน้ ตอนนี ้ ย่ิงสมองเกิดความฉงนสนเท่ห์ กระต้นุ ให้เห็นถึงประโยชน์และความส�ำคญั ของ กับสิ่งใหม่ที่ได้เห็นและได้สมั ผสั มากเท่าใด สมองก็จะย่ิงสนใจ สิ่งที่จะเรียนรู้ จะเป็นการช่วยให้สมองเปิดรับ เปิดรับการเรียนรู้มากขึน้ เท่านัน้ และหากสิ่งใหม่ท่ีได้เรียนรู้ ข้อมลู ได้ดีกวา่ การปอ้ นความรู้เข้าไปตรงๆ มคี วามแปลกใหม่ นา่ ตน่ื ตาตนื่ ใจ และแตกตา่ งจากประสบการณ์ เดิมของผ้เู รียนก็จะยิ่งส่งเสริมให้เกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์ คดิ แก้ปัญหา และคดิ สร้างสรรค์ 3) ลงมือทำ� 4) ตอกย้ำ� การเรยี นรู้ ขัน้ ต่อมาควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนถ่ายทอด เมื่อเรียนได้ดี สมองจะเกิดแรงกระตุ้นให้ต้องการเรียนรู้ ความคดิ ออกมาเป็นรูปธรรมด้วยการทดลองทำ� จริง ในขัน้ ท่ีสูงขึน้ จึงเป็นเหตุผลว่าท�ำไมเราชอบเรียนวิชาที่เรียน หรือการลงมอื ปฏบิ ตั ติ ามภาพร่างความคดิ จนเกดิ ได้ ดี แต่หากล้ มเหลวในการคิดสร้ างสรรค์หรือแก้ ปัญหา เป็นชิน้ งานหรือแก้ปัญหาได้ส�ำเร็จ ซึ่งจะช่วย ให้ถือเป็นการเรียนรู้เชน่ เดยี วกนั การชีใ้ ห้เหน็ ถงึ ข้อบกพร่องและ ตอกย�ำ้ การเรียนรู้ให้ฝังลกึ ยิ่งขนึ ้ ความพยายามปรบั ปรุงคอื สง่ิ ทช่ี ว่ ยให้สมองเกดิ การปรบั แตง่ แก้ไข และน�ำไปสกู่ ารเรียนรู้ใหมไ่ ด้ คงเห็นแล้วว่า BBL เป็นแนวทางที่เหมาะจะน�ำมาใช้ในการจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศกึ ษา เพราะนอกจากจะช่วยให้ ผ้เู รียนรักและสนใจในวชิ าด้านสะเตม็ ยงั สามารถสร้างเสริมเตมิ เตม็ ประสทิ ธิภาพการเรียนรู้ให้ดียิ่งขนึ ้ อยา่ งเป็นรูปธรรม สแกน QR CODE เพือรบั ชม Clip/GIF

Inside Inside okmd I 19 EEC คงเคยได้ยินผู้ใหญ่ถามเด็กเล็กๆ ว่า “โตข้ึนหนูอยากเป็นอะไร” เด็กบางคนตอบได้ในทันที แต่เด็กอีก หลายคนยังคงค้นหาค�ำตอบไม่เจอ ซ่ึง ไม่ใช่เรือ่ งผิดหรือน่าประหลาดใจ เพราะ กว่าที่มนุษย์คนหน่ึงจะค้นพบตัวตนและ ความตอ้ งการทแี่ ทจ้ รงิ ไดน้ ้นั อาจใชเ้ วลา ยาวนานจนแทบไม่เหลือเวลาที่จะท�ำตาม ความชอบหรอื ความถนัดของตนได้ ยูนิเซฟ ประเทศไทย กล่าวไว้ว่า “เด็กในวันนีค้ ือผู้ทีจ่ ะ ส�ำหรับแนวทางการส่งเสริมศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ขับเคล่ือนอนาคตของประเทศในวันข้างหน้า” แต่มีเด็ก ใน 3 จงั หวดั EEC ประกอบด้วย มากมายที่ไม่ได้เกิดมามีโอกาสท่ีเท่าเทียม หลายคนไมส่ ามารถ 1) การจัดทมี ปฏบิ ตั กิ ารลงพ้ืนท่ี เลอื กชีวติ แบบที่ใฝ่ฝันได้ และขาดโอกาสในการเติบโตอย่างเต็ม เพอื่ ไปทำ� งานอยา่ งใกล้ชดิ กบั เยาวชนระดบั มธั ยมศกึ ษาซงึ่ เป็น ศกั ยภาพ รัฐบาลไทยเห็นความส�ำคญั ของการมอบโอกาสและ กลมุ่ ท่ีสามารถกระต้นุ ให้เกิดแรงบนั ดาลใจในการเลอื กสาขา พฒั นาศกั ยภาพเดก็ ให้เทา่ เทยี มทว่ั ถงึ จงึ เป็นทม่ี าของการท�ำงาน วชิ าชีพที่จะรองรับอตุ สาหกรรมเปา้ หมาย เพื่อบ่มเพาะและสร้ างแรงบันดาลใจให้แก่เด็กและเยาวชน ใน 3 จงั หวดั ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก (Eastern 2) การจดั ท�ำกจิ กรรมประกอบหลกั สูตร Economic Corridor หรือ EEC) ซง่ึ ประกอบด้วย ฉะเชิงเทรา และการจดั ท�ำฐานข้อมลู เพ่ือใช้ในการขยายผลตอ่ ไป ชลบุรี และระยอง ผ่านการจัดกิจกรรม \"ค่ายวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมใหม่ หรือ EEC 3) การจดั คา่ ยวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี Innovation Youth Camp\" ซ่ึงเป็นโครงการความร่วมมือ ท่ีเก่ยี วข้องกบั อตุ สาหกรรมใหม่ ระหว่างส�ำนักงานเพ่ือการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ จ�ำนวน 4 กิจกรรม ได้แก่ เทคโนโลยีหนุ่ ยนต์ เทคโนโลยีเกม ภาคตะวันออก (สกรศ.) และ ส�ำนักงานบริหารและพัฒนา และแอนเิ มชนั อนิ เทอร์เนต็ ของสรรพสง่ิ หรือIoTและเทคโนโลยี องค์ความรู้ (องค์การมหาชน) หรือ OKMD การบินและอวกาศ ซ่ึงใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวทาง “สะตมี ศกึ ษา” (STEAM Education) ซงึ่ ประกอบด้วย 5 สาขา โดยใช้แนวทาง STEAM + BBL เน้นการส่งเสริมให้ วชิ า ได้แก่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ ศลิ ปะ นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง หลังจากได้รับความรู้พืน้ ฐาน และคณิตศาสตร์ ร่วมกับการจัดการเรียนรู้ตามหลักการ ด้านเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกบั อตุ สาหกรรมใหม่ เช่น เทคโนโลยี พฒั นาสมอง (Brain-based Learning: BBL) และวิศวกรรมห่นุ ยนต์เบือ้ งต้น องค์ประกอบและหลกั การของ เกมคอมพิวเตอร์และแอนิเมชนั ความรู้พืน้ ฐานและความเข้าใจ เกี่ยวกบั อิเลก็ ทรอนิกส์ ระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง พืน้ ฐาน ทางวงจรไฟฟ้า อุปกรณ์และวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ระบบ ไมโครคอนโทรลเลอร์ การน�ำเคร่ืองมือควบคมุ อจั ฉริยะไปใช้งาน ไปจนถงึ พืน้ ฐานท่ีเก่ียวข้องกบั การบิน อากาศยาน และอวกาศ พืน้ ฐานด้ านกลศาสตร์ และระบบควบคุมกลไกอัตโนมัติ นอกจากนยี ้ งั ได้ฝึกฝนด้านการออกแบบเคร่ืองร่อนและเครื่องบิน การทดลองควบคุมอากาศยานด้ วยซอฟต์แวร์ จ�ำลองการบิน และอากาศยานต้นแบบ เป็นต้น ซง่ึ คาดว่าจะช่วยให้นักเรียน เกิดแรงบนั ดาลใจอนั ย่ิงใหญ่และได้ค้นพบทางเลือกท่ีสามารถ น�ำไปต่อยอดในสาขาอาชีพที่ตนอยากเรียนต่อไป

20 5 5ive เแรอยี ปนพรเู้ ลรเิอื่ คงชSนั TEMทุกวันนี้โลกแห่งการเรียนรู้ไม่ได้อยู่เพียงแค่ในห้องเรียน ห้องสมุด และต�ำรับต�ำราต่างๆ หากแต่ขยายไปสู่โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และสมาร์ตโฟน ซ่ึงช่วยอ�ำนวย ความสะดวกให้คนรุ่นใหม่สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาและ 5 ทุกเร่ืองท่ีต้องการ ดังเช่น 5 แอปพลิเคชันต่อไปนี้ที่เข้ามา ชว่ ยใหก้ ารเรยี นรเู้ รอ่ื ง STEM เปน็ เรอ่ื งงา่ ย สะดวก และสนกุ ข้นึ คณิตศาสตร์ | GeoGebra แอปพลิเคชันสอนคณิตศาสตร์ที่รวบรวมองค์ความรู้ด้ าน คณิตศาสตร์อยา่ งครบครัน ไมว่ า่ จะเป็นเรขาคณิต พชี คณิต ตรีโกณมติ ิ สถิติ แคลคลู สั รวมถึง สตู รค�ำนวณและกระบวนการประยกุ ต์ใช้ใน รูปแบบตา่ งๆ โดยนำ� เสนออยา่ งละเอยี ด ใช้งานงา่ ย สามารถใช้งานได้ ฟรีรองรับหลายภาษา รวมทงั้ ภาษาไทย และรองรับการใช้งานใน หลากหลายระบบปฏิบตั กิ าร จงึ จดั เป็นเครื่องมือสนบั สนนุ การจดั การ เรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาด้วยนวตั กรรมรูปแบบใหม่ท่ีน่าจะ ถกู ใจทงั้ ผ้สู อนและผ้เู รียน www.geogebra.org ดาราศาสตร์และอวกาศ | NASA แ อ ป พ ลิ เ ค ชัน ข อ ง อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ก า ร บิ น แ ล ะ อ ว ก า ศ แหง่ ชาติ หรือ นาซา ซง่ึ รวบรวมข้อมลู และองค์ความรู้จากนาซา ท่ีเกี่ยวกับโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศไว้มากมาย น�ำเสนอ อยา่ งนา่ สนใจในหลากหลายรูปแบบ อาทิ ภาพนิ่งและบทความ วีดทิ ศั น์ รายการโทรทศั น์ ขา่ วและสารคดี รายการวทิ ยุ ข้อความ จากทวิตเตอร์ การถ่ายทอดสดจากบนดาวเทียม และอื่นๆ ที่จะ ชว่ ยให้ผ้เู รียนสนกุ สนานและตน่ื ตาตน่ื ใจไปกบั ข้อมลู องค์ความรู ้ เก่ียวกบั ดาวเคราะห์และระบบสรุ ิยจกั รวาล รวมถึงภารกิจของ มนษุ ย์ที่เกี่ยวข้องกบั โลกและอวกาศ www.nasa.gov/nasaapp

5ive 5 21 ชีววิทยา | Anatomy 4D แอปพลเิ คชนั ที่นิยามตวั เองวา่ เป็น “พาหนะ” พาผ้ใู ช้งาน เดินทางส่ภู ายในร่างกายมนุษย์ เพ่ือดูและเรียนรู้เกี่ยวกับ รูปร่าง ลกั ษณะ หน้าที่ และการท�ำงานของอวยั วะตา่ งๆ ผา่ น เทคโนโลยี Augmented Reality (AR) ที่จะชว่ ยให้การเรียน การสอนวชิ าชีววทิ ยาสนกุ สนาน นา่ สนใจ และสมจริงยิ่งขนึ ้ เพียงพิมพ์รูปอวยั วะท่ีต้องการศกึ ษาลงบนกระดาษ จากนนั้ ใช้สมาร์ตโฟนสแกนรูป แอปพลเิ คชนั จะเปลี่ยนรูป 2 มิติให้ กลายเป็นรูป 4 มิตแิ บบเสมือนจริง ซงึ่ ผ้เู รียนสามารถเลือกดู แตล่ ะสว่ นของอวยั วะอยา่ งละเอยี ด ขยายเพอ่ื ดใู นเชงิ ลกึ หรือ จะเปลย่ี นมมุ มองระหวา่ งเพศชายและเพศหญิงก็ได้ http://anatomy4d.daqri.com วทิ ยาศาสตร์และวศิ วกรรม | Science360 แอปพลิเคชนั ของ National Science Foundation (NSF) ท่ี รวบรวมความรูด้ ้านวทิ ยาศาสตร์และวศิ วกรรมทน่ี า่ สนใจจากทวั่ โลก น�ำเสนอในรูปแบบแกลเลอรีภาพถา่ ยและคลปิ วดิ โี อในมมุ มองแบบ 360 องศาอนั นา่ ตื่นตาต่ืนใจ ผ้ใู ช้งานสามารถคลกิ ท่ีแกลเลอรีเพื่อ เลือกดเู นือ้ หาของภาพถ่ายและวิดีโอที่สนใจ ดาวน์โหลดรูปภาพ แบบความละเอียดสงู เซฟวดิ ีโอไว้ดวู นั หลงั แชร์ให้เพ่ือนดผู า่ นทาง สื่อสงั คม รวมถึงติดตามข่าวสารเกี่ยวกบั การวิจยั และการค้นพบ ใหมๆ่ จากมหาวิทยาลยั และสถาบนั ที่ได้รับการสนบั สนนุ จาก NSF www.nsf.gov/news/special_reports/apps เรขาคณิต | isosceles : geometry sketchpad แอปพลเิ คชนั จากฝีมอื ของนกั พฒั นาแอปฯ วยั ทนี ซงึ่ ต้องการสร้างอปุ กรณ์ทจ่ี ะ ชว่ ยให้การเรียนการสอนหรือการทำ� งานด้านเรขาคณิตกลายเป็นเรื่องงา่ ยและสนกุ สำ� หรับนกั เรียน ครูผ้สู อน ไปจนถงึ คนทำ� งาน เชน่ สถาปนกิ วศิ วกร และคณิตกร โดยผ้ใู ช้งานสามารถใช้เคร่ืองมอื หลากหลายชนดิ ในแอปพลเิ คชนั เพอื่ วาดแผนภมู ิ สร้างรูปทรงเรขาคณิต รวมถงึ หาคา่ ความชนั ความยาวเส้นรอบวง และรัศมีของ รูปทรงที่ต้องการ นอกจากนีย้ งั สามารถแทรกข้อความ สตู รการค�ำนวณ รูปภาพ หรือแผนภูมิต่างๆ ไว้ในภาพ รวมถึงเชื่อมต่ออุปกรณ์กับจอโทรทัศน์ส�ำหรับ การสอนหรือการน�ำเสนองาน https://base12innovations.wordpress.com/apps

22 W whaT's goiNg oN / Talk tO ZiNe WHAT'S GOING ON 11-13 22-24 JUL อาคารเคเอกซ์ - Knowledge Exchange: AUG ไบเทคบางนา 2018 KX มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี 2018 The 3rd International STEM Education Conference AGRITECHNICA ASIA & Horti ASIA 2018 (iSTEM-Ed 2018) การกลบั มาอีกครัง้ ของงานแสดงเทคโนโลยีเคร่ืองจักรกล การรวมตัวของนักการศึกษา นักวิจัย และผู้ทรงคุณวุฒิ การเกษตรและนวัตกรรมเพ่ือการเกษตรและปศุสัตว์ หรือ ด้านสะเต็มศึกษาจากนานาประเทศ เพื่อแลกเปล่ียนความรู ้ “อะกริเทคนิก้า เอเชีย” และงานแสดงเทคโนโลยีและนวตั กรรม ประสบการณ์ เทคนคิ การสอน และแนวทางการสง่ เสริมการเรียนรู้ ด้านพืชพรรณ ผกั ผลไม้ ดอกไม้ และกล้วยไม้แห่งเอเชีย หรือ ในด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ คณิตศาสตร์ “ฮอร์ติ เอเชีย” เพ่ือกระต้นุ ตลาดสินค้าและส่งเสริมนวตั กรรม และศิลปะ รวมถึงบูรณาการความร่วมมือด้านสะเต็มศึกษา เพื่อการเกษตรในเอเชีย โดยเป็นการจดั แสดงและจดั จ�ำหน่าย ระหว่างประเทศ โดยเปิดเวทีบรรยายและแลกเปล่ียนภายใต้ เทคโนโลยี เคร่ืองจกั ร และอปุ กรณ์การเกษตรจากผ้ปู ระกอบการ หวั ข้อ STE(A)M Education: Step Forward to a Smart World ชัน้ น�ำจากทั่วยุโรป พร้ อมด้วยการสัมมนาทางวิชาการจาก เพอ่ื สะท้อนให้เหน็ ความสำ� คญั ของสะเตม็ ศกึ ษาและสะตมี ศกึ ษา นกั วิชาการเกษตรและผ้ปู ระกอบการด้านเทคโนโลยีการเกษตร อนั เป็นรากฐานสำ� คญั ทจี่ ะน�ำพาประเทศก้าวสโู่ ลกใหม่ ผ้ทู ส่ี นใจ จากยโุ รปในหวั ข้อทน่ี า่ สนใจและตอบโจทย์การพฒั นาการเกษตร สามารถเข้าร่วมฟังบรรยายได้โดยไมม่ ีคา่ ใช้จา่ ย ของไทยตงั้ แตต่ ้นน�ำ้ ถงึ ปลายน�ำ้ http://istem-ed.com/istem-ed2018/home.php www.agritechnica-asia.com | www.horti-asia.com TALK TO ZINE Knowledge InnovaTiOn Trend: ThailaNd's Do or Die ทำ�ความเข้าใจ “นวัตกรรม” และเรียนรู้ความสำ�คัญของนวัตกรรมในด้านการพัฒนา เศรษฐกจิ และสงั คมไทยกับ OKMD THE KNOWLEDGE TALK: “The Knowledge INNOVATION ดSรe.riไeพsร”นิ ใทนรท์ ชอโู ลช์คตพิถาเิ ศวษร ว\"ัKนnทo่ี 1w9leพdฤgศeจInิกnาoยvนat2io5n59Trend: Thailand’s Do or Die\" จาก “นวตั กรรมไม่ใช่วิทยาศาสตร์ แตเ่ ป็นความรู้สกึ ท่ีวา่ สิ่งนนั้ สามารถขายได้ ซง่ึ เป็นผล มาจากการสะสมความรู้และสญั ชาตญาณ แนวคิดเก่ียวกบั นวตั กรรมมีอยู่ 2 แนวทาง หนง่ึ คือแนวคิดทางฝั่งอเมริกาท่ีมองวา่ นวตั กรรมสามารถเรียนรู้ได้จากห้องเรียน สว่ นอีก แนวคิดหน่ึงมาจากทางฝ่ั งยุโรปท่ีเช่ือว่านวัตกรรมเป็ นส่ิงที่ติดตัวมาแต่ก� ำเนิดและ ไมส่ ามารถเรียนรู้ได้จากห้องเรียนซงึ่ ยงั ไมม่ ขี ้อยตุ วิ า่ แนวคดิ ใดถกู ต้องอยา่ งไรกด็ ี นวตั กรรม ต้องมี 2 องค์ประกอบ คือ 1) ท�ำให้ผ้บู ริโภคได้รับประสบการณ์ใหม่ และ 2) ท�ำให้เกิด ผลกระทบในวงกว้าง” ความแตกต่างระหว่าง “นวตั กรรม” กบั “ประดิษฐกรรม” ยุคสมัยของการวจิ ัยและพัฒนาผลิตภณั ฑ์ (R&D) สรา้ งความยง่ั ยนื ใหธ้ รุ กจิ ดว้ ยนวตั กรรมทต่ี อบสนองความตอ้ งการของลกู คา้ สแกน QR CODE เพ่ือดูคลิปเพิ่มเตมิ

Special FeaTure s 23 เตมิ เตม็ STEM STEAM ดว้ ย A และ AT = ปัจจุบัน นอกจากค�ำว่า STEM ที่รูจ้ ักกันท่ัวไปแล้ว ยังมี ค�ำใหม่เกิดขึน้ คือ STEAM ซึ่งมีแนวคิดท่ีเหมือนกับ STEM STEM + (Art & Design) ทกุ ประการ หากแตเ่ พ่ิมตวั “A” ซงึ่ มาจาก Art ที่แปลวา่ “ศลิ ปะ” เข้าไปด้วย แต่ Art กไ็ มไ่ ด้มาแบบเดยี่ วๆ เพราะพว่ งคำ� วา่ Design หรือการออกแบบ เข้ามาด้วยเป็น Art + Design ท�ำไม STEM ตอ้ งมี A? ก้าวไปอีกข้ันกับ STEM + AT ปัจจุบนั เป็นยุคความคิดสร้างสรรค์ 4.0 (Creativity 4.0) อีกหน่ึงแนวคิดที่น่าสนใจเก่ียวกบั องค์ความรู้ท่ีเข้ามาเสริม ซงึ่ ใครกส็ ามารถเป็นนกั สร้างสรรค์ได้แม้จะไมม่ สี นิ ค้าหรือบริการ STEM คือแนวคิด STEM + AT ขององค์กรเพ่ือการพัฒนา เป็นโจทย์ก็ตาม นนั่ เป็นเพราะทกุ วนั นีเ้ราอยใู่ นโลกยคุ 4.0 หรือ ระหวา่ งประเทศแหง่ สหรัฐอเมริกา (United States Agency for โลกยุคหลังเทคโนโลยีสารสนเทศ ซ่ึงอะไรก็เป็นไปได้แม้แต่ International Development: USAID) โดย AT มาจากค�ำวา่ การน�ำเอาโลกเสมือนมาผสานเข้ากบั โลกความเป็นจริง Accounting (การบญั ชี) และ Tourism (การทอ่ งเท่ียว) หนง่ึ ในความคดิ สร้างสรรคท์ ป่ี ระสบความสำ� เร็จอยา่ งยงิ่ ใหญ่ เน่ืองจาก USAID เห็นว่าล�ำพงั STEM ไม่เพียงพอในโลก ในยคุ ความคดิ สร้างสรรค์ 4.0 คือ เกม Pokémon GO! ซง่ึ เป็น ความเป็นจริง แม้เตมิ A หรือ Art เข้าไปก็ยงั ไมเ่ พียงพอ เพราะ ตวั อยา่ งของการหลอมรวมความคดิ สร้างสรรค์เข้ากบั เทคโนโลยี ในยคุ ที่ผ้คู นและวฒั นธรรมมีการเคล่ือนย้ายและเชื่อมโยงกัน ใหม่ล่าสุดในขณะนัน้ อย่าง Augmented Reality (AR) ซ่ึง อยา่ งไร พ้ รมแดน T หรือ Tourism กลายเป็นธรุ กิจทรงคณุ คา่ น�ำพาวตั ถุในโลกเสมือนเข้ามาอยู่ในโลกจริงจนเกิดเป็นเกมท่ี ของประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติและแหล่งท่องเท่ียวชนั้ น�ำ เปลี่ยนประสบการณ์การเลน่ เกมของคนไปอยา่ งสนิ ้ เชิง ท�ำให้มี ระดบั โลก ยง่ิ เมอ่ื เตมิ A หรือ Accounting เข้าไปกจ็ ะชว่ ยเสริมให้ ผ้ดู าวน์โหลดเกม Pokémon GO! มาเลน่ มากกวา่ 100 ล้านคน STEM มที ศิ ทางของธรุ กจิ หรือทกั ษะการเป็นผ้ปู ระกอบการซงึ่ เป็น ทว่ั โลก สร้างรายได้ให้บริษัทผ้ผู ลติ ราว 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐ หนงึ่ ในทกั ษะส�ำคญั ในศตวรรษท่ี 21 หรือประมาณ 35,000 ล้านบาท ในระยะเวลาเพียง 5 สปั ดาห์ ตวั อย่างของ STEM + AT ที่ประสบความส�ำเร็จอย่างสงู หลงั การเปิดตวั คือ airbnb สตาร์ตอปั ที่ชวนคนทวั่ โลกให้สรา้ งรายได้จากการ Pokémon GO! จงึ เป็นตวั อย่างความส�ำเร็จในระดบั ท่ีเป็น “เปิดห้องวา่ งเป็นห้องพกั ” ซงึ่ ตอบโจทย์การทอ่ งเท่ียว 4.0 ท่ีผ้คู น เลศิ ของแนวคิด STEAM (STEM + A) กลา่ วคือเป็นการผนวก นิยมจองห้องพกั และตวั๋ เดินทางด้วยตวั เอง ท�ำให้ในปีที่ผ่านมา Science (วทิ ยาศาสตร์) Technology (เทคโนโลย)ี Engineering airbnb สรา้ งรายได้มากถึง 2,600 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือ (วิศวกรรมศาสตร์) และ Mathematics (คณิตศาสตร์) ซง่ึ เป็น ราว 91,000 ล้านบาท รากฐานของการผลติ เกมทว่ั ไปเข้ากบั Art (ศลิ ปะ) และ Design ย่างเข้าสปู่ ีที่ 18 ของศตวรรษที่ 21 โลกยงั คงหมนุ เร็วตาม (การออกแบบ) จนได้เป็นเกมที่มีรูปแบบการเล่นแปลกใหม่ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ทวา่ แค่รู้ด้าน STEM กลบั ไม่พอ มีภารกิจชวนตดิ ตาม และมีการออกแบบอยา่ งประณีตสวยงาม โลกต้องการทรัพยากรมนษุ ย์ท่ีรูร้ อบไม่ว่าจะเป็นด้าน STEAM หรือ STEM + AT เพราะสามารถตอบโจทย์โลกยคุ ใหมไ่ ด้อยา่ ง เทา่ ทนั มากกวา่ สแกน QR CODE เพ่ือรับฟัง Audio text

\" จะดีแคไ หน ถามี Knowledge Center เกิดขึน้ ทยี่ า นสยามสแควร...\" สำนกั งานบริหารและพัฒนาองคความรู (องคการมหาชน) The Office of Knowledge Management & Development


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook