ปก
CONTENTS 10 26 40 36 03 26 42 Office of Knowledge Management and Development Word Power inside okmd next pert ทีป่ รกึ ษา ดร.อธปิ ตั ย์ บ�ำรงุ ศูนยก์ ลางการเรียนรู้ OKMD ก้าวทันโลก ผอู้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ ออนไลน์ Knowledge Portal ท่ามกลางวิกฤตโรค บรรณาธกิ ารบรหิ าร ดร.อภชิ าติ ประเสรฐิ 10 32 46 รองผอู้ �ำนวยการสำ� นักงานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้ the knowledge digitonomy 5ive ฝ่ายศลิ ปกรรมและภาพถ่าย เคร่ืองมือการเรียนรู้ รวมมิตรตวั เลข การใช้ แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ บริษทั โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด แห่งอนาคต : เรียนร้คู รบ ประโยชนจ์ ากโลกออนไลน์ ในยุค Knowledge 4.0 32 ซอยโชคชยั 4 ซอย 84 ถนนโชคชัย 4 แขวงลาดพรา้ ว จบท่ีเดียว ในช่วงโควิด-19 เขตลาดพรา้ ว กรุงเทพมหานคร 10230 โทรศัพท์ 0 2116 9959 และ 087 718 7324 18 36 50 one of a kind talk to zine จัดท�ำโดย DECODE สำ� นกั งานบรหิ ารและพฒั นาองคค์ วามรู้ (องคก์ ารมหาชน) Knowledge Portal A-Z เปดิ สมองไปกับวิธกี าร 69 อาคารวิทยาลัยการจดั การ มหาวิทยาลยั มหดิ ล ไขรหัสความส�ำเรจ็ เอไอเอส เรียนรใู้ นโลกใหม่ กับ ชน้ั 18-19 ถนนวภิ าวดีรังสติ แขวงสามเสนใน 20 และกูเกิลกับการจัดการ เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 next ความรู้อย่างเปน็ ระบบ Dr. Pasi Sahlberg โทรศพั ท์ 0 2105 6500 โทรสาร 0 2105 6556 อเี มล [email protected] โลกใหม่แห่งการเรียนรู้ 40 51 เว็บไซต์ www.okmd.or.th และทกั ษะทจี่ �ำเปน็ ในอนาคต ความรกู้ ินได้ what's going on อนุญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาต รแู้ ลว้ เลา่ ครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา-ไม่ใช้ นกั เลา่ เร่ืองสร้างสรรค์ - British Museum Online เพ่ือการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 - Smithsonian National ประเทศไทย จัดท�ำข้ึนภายใต้โครงการเผยแพร่กิจกรรมองค์ความรู้โดยส�ำนักงาน Museum of Natural History บรหิ ารและพฒั นาองคค์ วามรู้ (องคก์ ารมหาชน) เพอ่ื สรา้ งแรงบนั ดาลใจ ในการนำ� องคค์ วามรมู้ าผสมผสานกบั ความคดิ สรา้ งสรรค์ เพอ่ื ประโยชน์ ด้านการเรยี นรู้ ต่อยอดธรุ กิจ เพิม่ มลู ค่าเศรษฐกจิ ของประเทศ ผ้สู นใจรบั นติ ยสารโปรดติดต่อ 0 2105 6520 หรือดาวน์โหลดท่เี ว็บไซต์ www.okmd.or.th/knowledge/okmd-magazine
word power W 3 ศKูนยN์กOลWางLกEาDรGเรEยี นPรOู้อRอTนAไลLน์ สแกน QR Code เพ่อื รับชม Gif การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของโลกอนาคตท่ีเต็มไปด้วยพลวัตและการแข่งขัน ในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านการเรียนรู้และการน�ำความรู้ไปใช้ให้เกิดคุณค่าเพ่ิม ท้ังในด้านเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม และสง่ิ แวดลอ้ ม เปน็ เปา้ หมายทท่ี งั้ ภาครฐั และเอกชนใหค้ วามสำ� คญั และสนบั สนนุ ใหม้ กี ารดำ� เนนิ การ อย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้เกิดผลเป็นรูปธรรม น�ำไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ท่ีประชาชนเห็นความส�ำคัญของการเรียนรู้ ตลอดชีวิต และมีแหล่งเรียนรู้สาธารณะที่ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ในวงกว้างและสามารถตอบสนอง ความตอ้ งการเรียนรู้ได้ในหลากหลายรูปแบบ ด้วยเหตุนี้ ส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ แนวคิดข้างต้นให้ความส�ำคัญกับการเพิ่ม หรือ OKMD จึงมีแนวคิดที่จะพัฒนาระบบการเรียนรู้ ประสิทธิภาพและการสร้างคุณค่าด้วยนวัตกรรม สาธารณะหรือการเรียนรู้นอกระบบให้ทันสมัยและ เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นพ้ืนฐาน มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน โดยการจัดต้ังศูนย์กลาง ในการพัฒนาประเทศให้เกิดความยั่งยืนในโลก การเรียนรู้ออนไลน์ของประเทศ (Knowledge Portal) ปัจจุบัน โดยระบบการเรียนรู้สาธารณะรูปแบบใหม่นี้ เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสเข้าถึงองค์ความรู้ท่ีจ�ำเปน็ จะเป็นส่วนหน่ึงของบริการการเรียนรู้ของศูนย์การ ในวงกว้างเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เรียนรู้แห่งชาติ (National Knowledge Center) (Lifelong Learning) และการยกระดับศักยภาพ ซึ่งเป็นต้นแบบแหล่งเรียนรู้ขนาดใหญ่แห่งใหม่ของ การเรียนรู้และปรับตัวสู่การเป็นพลเมืองของโลก ประเทศ ที่เน้นการสร้างสมดุลการเรียนรู้ระหว่าง (World Citizen) รวมถึงให้สามารถน�ำทักษะความรู้ การเรียนรู้ออนไลน์และการเรียนรู้ทางกายภาพ ไปปรับใช้ในการประกอบอาชีพและในชีวิตประจ�ำวัน ซ่ึงอยู่ระหว่างการด�ำเนินการและคาดว่าจะสามารถ เพื่อสร้างสรรคค์ ุณคา่ ให้แก่เศรษฐกจิ และสังคม เปิดให้บริการแก่ประชาชนได้ภายในปี 2567
4 W word power 5 องค์ประกอบส�ำคัญของ ศูนย์กลางการเรียนรู้ออนไลน์ ของประเทศ E-LIBRARY ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบไปด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ ในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ นิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ หนังสือเสียง และ พอดแคสต์ โดยสามารถพฒั นาใหเ้ ชอื่ มโยงกบั ฐานขอ้ มลู ความรตู้ า่ งๆ ท่ัวโลก ครอบคลุมข้อมูลความรู้ท่ีหลากหลาย ทั้งในด้านเศรษฐกิจและ การบรหิ ารจดั การ วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละนวตั กรรม สงั คมวฒั นธรรม และภูมิปัญญาท้องถ่ิน ความรู้เฉพาะด้านในการประกอบอาชีพ และ ความรสู้ �ำหรบั เด็กและเยาวชน เป็นต้น
word power W 5 ONLINE LEARNING CENTER ศูนย์การเรียนรู้ออนไลน์เพ่ือพัฒนาทักษะ และเตรียมความพร้อม ประชาชน เปน็ ศูนย์กลางการเรียนรู้และพัฒนาทักษะออนไลน์ ท่ีประกอบด้วยคลิปความรู้ในด้านต่างๆ รวมถึงภูมิปัญญาท้องถ่ิน และทักษะความรู้ดั้งเดิมท่ีควรค่าแก่การอนุรักษ์และพัฒนาต่อยอด เพ่ือเพ่ิมคุณค่า นอกจากน้ียังมีหลักสูตรการเรียนการสอนออนไลน์ ทงั้ หลกั สตู รระยะสน้ั และระยะยาว ทผ่ี เู้ รยี นสามารถนำ� ไปเทยี บกบั รายวชิ า เดียวกนั ท่สี อนอยูใ่ นสถานศึกษาตา่ งๆ เพือ่ ต่อยอดการเรียนรู้ในอนาคต ONLINE PUBLIC SPACE พ้ืนท่ีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ออนไลน์ เปน็ พ้ืนท่ีออนไลน์สาธารณะท่ี ประชาชนสามารถน�ำข้อมูลความรู้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เป็นพื้นที่แสดงผลงานทางวิชาการเพอ่ื ใหค้ วามรู้ แลกเปลยี่ นมมุ มองและ ความคดิ เหน็ และเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรูใ้ นประเดน็ ต่างๆ ทีป่ ระชาชน มีความสนใจร่วมกัน รวมถึงเป็นพ้ืนที่อิสระที่ประชาชนสามารถเข้ามา แลกเปล่ียนมุมมองและแนวคิดเก่ียวกับสถานการณ์และปัญหาต่างๆ ทเ่ี กดิ ข้นึ ในชุมชนและสังคม AI SEARCH ENGINE ระบบค้นหาและแนะน�ำเว็บไซต์อัจฉริยะ เปน็ ระบบสืบค้นอัตโนมัติ ทงั้ ในรูปแบบหนุ่ ยนต์สนทนา (Chatbot) และปญั ญาประดษิ ฐ์ (Artificial Intelligence Search) ท่ีช่วยให้การสืบหาข้อมูลมีความสะดวกสบาย และรวดเร็วย่ิงข้ึน มีการคัดเลือกเว็บไซต์ที่มีข้อมูลความรู้ที่เป็นประโยชน์ มีความถูกต้อง และเช่ือถือได้ รวมถึงมีการแนะน�ำเว็บไซต์ท่ีมีเน้ือหา ความรู้ที่เกี่ยวข้องและเช่ือมโยงเพื่อให้ผู้ใช้งานได้รับข้อมูลความรู้ ทคี่ รบถว้ นและหลากหลายแง่มมุ INTELLIGENT SYSTEM ระบบวิเคราะห์ข้อมูลผู้ใช้บริการ เปน็ ระบบเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) เก่ียวกับการใช้งานระบบการเรียนรู้สาธารณะรูปแบบใหม่ ของประเทศ และระบบวิเคราะห์ข้อมูลแบบอัตโนมัติ เพ่ือรายงาน สถานการณ์การใช้บริการของประชาชน ปัญหา ความเส่ียง และความคิดเห็นของผู้ใช้งาน เพื่อน�ำผลการวิเคราะห์ไปปรับปรุง และพัฒนาระบบการเรียนรู้สาธารณะรูปแบบใหม่ของประเทศ ทั้งในส่วนของการบริการและการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ มากย่งิ ขึน้
6 W word power OKMD มแี นวทางในการพัฒนาเพ่อื เพิ่มประสิทธิภาพ การให้บริการและการบริหารจัดการการเรียนรูข้ องประชาชน ดงั นี้ การพฒั นาหอ้ งสมดุ ดจิ ทิ ัล การพฒั นาโมเดลธุรกจิ การเชือ่ มโยงระบบ E-Library ประชาชนสามารถเข้ามา ให้สามารถเลย้ี งตัวเองได้ กบั ฐานข้อมูลความรู้ท่ัวโลก ใชบ้ ริการความรู้ออนไลนภ์ ายใน ประชาชนสามารถเข้าถงึ ความรู้ ศนู ย์การเรยี นร้แู ห่งชาติ (NKC) และมีความยง่ั ยืน โดยมีการจัดเตรยี มพื้นที่ ส่วนของการจดั การพื้นที่ ทม่ี คี วามหลากหลาย เครือ่ งคอมพิวเตอร์ และ เอนกประสงค์ พ้ืนที่พร้อมอปุ กรณ์ ในด้านตา่ งๆ ทันตอ่ เหตกุ ารณ์ อปุ กรณท์ เี่ กี่ยวข้อง และระบบท่ที นั สมัย ท้งั ในส่วนของบรกิ ารฟรี เพ่ือให้บรกิ ารแกป่ ระชาชน เพอ่ื การจัดประชุม สมั มนา และทีต่ อ้ งเสยี ค่าใช้จ่าย การแสดง และอื่นๆ ในรูปแบบ เสมือนจริงและรูปแบบดิจทิ ัล กจิ กรรมการเรยี นรู้ออนไลน์ การใหค้ ำ� ปรึกษาออนไลน์ และอคี อมเมริ ์ซ การเชือ่ มโยงและผสมผสาน การพฒั นาระบบ การเชือ่ มโยงระบบ กจิ กรรมออนไลนแ์ ละออฟไลน์ แปลภาษาอัตโนมัติ Online Learning Center กบั หนว่ ยงานด้านการศึกษา จัดพืน้ ท่กี ายภาพเขา้ ดว้ ยกนั ทุกคนสามารถเขา้ ถงึ ข้อมลู ความรู้ รบั โอนชวั่ โมงเรยี น เพ่อื เปน็ การสง่ เสริมประสบการณ์ ท่ีเป็นภาษาต่างประเทศได้ และการใหป้ ระกาศนยี บัตรรบั รอง รวมถงึ การพฒั นาบริการ การเรียนรู้รปู แบบใหมๆ่ เพื่อรองรบั ผ้ใู ชบ้ ริการ เพื่อน�ำไปใชต้ อ่ ยอดการเรยี นรู้ ของประชาชน และเป็น ทเี่ ปน็ ผู้พิการหรอื ตอ้ งการ การสรา้ งสมดุลในการเรียนร้แู ละ ความช่วยเหลือพเิ ศษ พัฒนาทักษะอย่างเหมาะสม
word power Ww 7 กศาูนรยเร์กยี ลนางรู้ และอกปอารนระเพไทลศัฒน์ นา บทบาทส�ำคัญของ Knowledge Portal ในการสง่ เสริม การพัฒนาประเทศ 3 ประเดน็ ดังน้ี 1 การยกระดบั ศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ทน่ี ำ� ไปสู่การพัฒนาประเทศอย่างยง่ั ยืน ในขณะทอี่ งคค์ วามรแู้ ละเทคโนโลยใี หมๆ่ กอ่ ใหเ้ กดิ ความเปลยี่ นแปลง (Disruptive Changes) ท้ังในด้านการเรยี นรู้ การทำ� งาน และการดำ� เนนิ ชีวิตประจ�ำวัน การรู้เท่าทันการเปล่ียนแปลงและใช้ประโยชน์จากการ เปลี่ยนแปลงเพื่อเพ่ิมคุณค่าทางเศรษฐกิจและยกระดับคุณภาพชีวิต ถือเป็นส่ิงจ�ำเป็นท่ีคนไทยจะต้องตระหนักและเร่งพัฒนาตนเองอย่าง ไมห่ ยดุ นงิ่ ไมว่ า่ จะเปน็ การนำ� เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาใชจ้ ดั การเรยี นรรู้ ปู แบบใหม่ ที่ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการเรียนรู้ ให้มีความสะดวกสบาย สามารถ เข้าถึงได้ทุกท่ีทุกเวลา และเน้นความต้องการของผู้เรียนรู้เป็นส�ำคัญ หรือการน�ำระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) มาใช้เพ่ิม ประสิทธิภาพในการให้บริการและการบริหารจัดการองค์กร ซ่ึงนอกจาก จะช่วยลดรายจ่ายด้านบุคลากรแล้ว ยังสามารถให้บริการได้ตลอดเวลา ตามความสะดวกของผใู้ ช้บริการอกี ดว้ ย ในประเทศท่ีพัฒนาแล้ว การยกระดับศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ผ่าน กระบวนการเรยี นรทู้ ท่ี นั สมยั และการสรา้ งสงิ่ แวดลอ้ มทเ่ี ออื้ ใหค้ นสามารถ เรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเองไดต้ ลอดชวี ติ โดยเนน้ ใหค้ นสามารถพฒั นาตนเอง ไดต้ ามความถนดั และความชอบ ถอื เปน็ ยทุ ธศาสตรส์ ำ� คญั ของชาตใิ นการ ขบั เคลอ่ื นระบบเศรษฐกจิ ยกระดบั คุณภาพชีวติ และลดความเหล่ือมล้ำ� ในสงั คม
8 W word power 2 การลดความเหลอื่ มล้ำ� ในการเรียนรู้ การเพ่มิ โอกาสในการเข้าถงึ ความรู้ และการเพมิ่ ขดี ความสามารถ ในการแขง่ ขันของคนไทย โครงการพัฒนา Knowledge Portal ของประเทศเปน็ การสร้างแพลตฟอร์ม เพ่ือการเรียนรู้ออนไลน์ขนาดใหญ่ ซ่ึงประกอบด้วยข้อมูลความรู้จ�ำนวนมากและ มีการบริหารจัดการอย่างเป็นมืออาชีพ โดยมีการจัดหมวดหมู่ความรู้ท่ีชัดเจน มีการพัฒนาเน้ือหาให้ง่ายต่อความเข้าใจและสามารถน�ำไปใช้ได้ทันที มีรูปแบบ การน�ำเสนอที่ทันสมัยและหลากหลาย เพื่อตอบสนองความต้องการและพฤติกรรม การเรียนรู้ท่ีเปล่ียนแปลงไปของประชาชน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชน สามารถเขา้ ถงึ ความรใู้ นวงกวา้ ง และเพอ่ื ใหม้ นั่ ใจวา่ ความรทู้ ป่ี ระชาชนไดร้ บั สามารถ เชือ่ ถือได้ ถกู ต้อง ชดั เจน ครบถ้วน และทันต่อเหตุการณ์ การที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลความรู้ท่ีจ�ำเป็นและทันต่อสถานการณ์ ได้อย่างสะดวกสบายจะช่วยส่งเสริมอุปนิสัยรักการเรียนรู้ ซึ่งนอกจากจะน�ำไปสู่ การเปน็ สงั คมแหง่ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ แลว้ ยงั เปน็ การเพม่ิ ศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ ให้สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง สามารถน�ำเอาความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยช่วยให้รู้เท่ากัน สามารถปรับตัวรองรับ และใช้ประโยชน์จากการเปล่ียนแปลง ของโลกไดด้ ีขึ้น Knowledge Portal จึงมีบทบาทส�ำคัญในการลดความเหลื่อมล�้ำทางเศรษฐกิจ และสังคม ท้ังความเหลือ่ มล้�ำระหว่างประชาชนในเมอื งและชนบท ความเหลือ่ มล้�ำ ระหวา่ งเพศ และความเหลอื่ มลำ้� ระหวา่ งภาคเศรษฐกจิ ของประเทศ ไดแ้ ก่ ภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ รวมทง้ั ชว่ ยเพิม่ ศกั ยภาพของประเทศใหส้ ามารถ แขง่ ขันได้ในระดับโลก
word power Ww 9 3 ความเชอ่ื มโยงระหว่างพ้ืนทเ่ี รยี นร้ทู างกายภาพ และพ้ืนทีเ่ รยี นรู้ออนไลน์ในการเสรมิ สร้างศักยภาพ ทรพั ยากรมนษุ ย์ การเรียนรู้ท่ีได้รับการยอมรับว่ามีความเหมาะสมกับสถานการณ์ในโลกปัจจุบัน และอนาคตเป็นการเรียนรู้ท่ีเน้นความถนัดและความชอบของผู้เรียนเป็นส�ำคัญ โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถน�ำเอาองค์ความรู้ไปใช้พัฒนาต่อยอดให้เกิดประโยชน์ ในบริบทของผู้เรียนแต่ละคนได้อย่างเต็มที่ ดังนั้น การเรียนรู้และพัฒนาทักษะของ ผเู้ รยี นจงึ มใิ ชก่ ารเรยี นรจู้ ากสอ่ื การเรยี นรเู้ พยี งอยา่ งเดยี ว แตจ่ ะตอ้ งเนน้ กระบวนการท่ี ผเู้ รยี นไดเ้ หน็ จรงิ ไดล้ งมอื ทำ� แลกเปลยี่ นเรยี นรใู้ นมมุ มองทหี่ ลากหลาย วเิ คราะหแ์ ละ แก้ไขปัญหา ตลอดจนลงมือปฏบิ ัตซิ ้ำ� ๆ จนเกดิ ความชำ� นาญ ด้วยเหตุนี้ จึงจ�ำเป็นท่ีจะต้องอาศัยทั้งพื้นที่เรียนรู้ออนไลน์ที่ประชาชนสามารถ เขา้ ถงึ ไดอ้ ยา่ งสะดวกและครอบคลมุ ในวงกวา้ ง และพนื้ ทเ่ี รยี นรทู้ างกายภาพเพอื่ เปน็ พนื้ ทฝี่ กึ ฝน ทดลอง บม่ เพาะ และสรา้ งสรรคผ์ ลงานใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจทล่ี กึ ซง้ึ สามารถ น�ำองค์ความรู้และทักษะไปปรับใช้ได้ในการท�ำงานและการใช้ชีวิตจริง และเป็น การเรยี นรอู้ ยา่ งครบวงจร ทเี่ นน้ การสรา้ งสรรคค์ ณุ คา่ จากองคค์ วามรู้ เสมอื นกบั หว่ งโซ่ การผลิต ท่ีเริ่มจากการพัฒนาแนวคิดในส่วนของต้นน�้ำจนถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบรกิ ารในสว่ นของปลายน�้ำ 55ประชาชนไทยกวา่ ข ้ อ มู ล ค ว า ม รู ้ เ ก่ี ย ว กั บ กิ จ ก ร ร ม ล้านคน นันทนาการและการใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์ ใช้บรกิ ารอินเทอรเ์ น็ต ข้อมูลความรู้เพื่อความบันเทิงใจ ผา่ นโทรศพั ทม์ อื ถอื เป็นประจำ� การพักผ่อนหย่อนใจ และการเปิด ดังนน้ั การมี Knowledge Portal ประสบการณเ์ รยี นรูโ้ ลกกว้าง จะช่วยใหป้ ระชาชนทกุ วัยสามารถเข้ามา ข้อมูลความรู้ทั่วไปเรื่องสิทธิประโยชน์ สืบค้นข้อมูลความร้ทู ่จี ำ� เปน็ และ บรกิ ารภาครฐั กฎหมาย การดแู ลรกั ษา อยู่ในกระแสความสนใจได้ อาทิ สขุ ภาพและสขุ อนามยั แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว ข้อมูลความรู้ส�ำหรับนักเรียนและ นักศึกษา แนวทางการศึกษาต่อ และการประกอบอาชพี ในอนาคต ข้อมูลความรู้ทางวิชาการเก่ียวกับ การศกึ ษาวจิ ัยและนวตั กรรมต่างๆ ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการประกอบ อาชีพ และโอกาสใหม่ๆ ในการ ประกอบอาชีพ ท่มี า: จากตัวเลขสถิติของสำ� นกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ ในปี พ.ศ. 2562
10 Tt The Knowledge เคร่อื งมอื การเรียนรูแ้ หง่ อนาคต เรยี นรคู้ รบ จบทเี่ ดียว เมอ่ื ประเทศไทยผลกั ดนั ประเทศไปสู่Knowledge 4.0 ของคนยุคใหม่ที่ต้องการความง่าย สะดวก รวดเร็ว ตามการเติบโตของเทคโนโลยีและเศรษฐกิจดิจิทัล และนำ� ไปใชง้ านไดท้ นั ที ที่น�ำไปสู่ทักษะจ�ำเป็นอ่ืนๆ ท�ำให้คนไทยเริ่มต่ืนตัว การจัดการความรู้มีองค์ประกอบส�ำคัญ ได้แก่ และเหน็ ความสำ� คญั ของการมคี วามรู้ เพอื่ พฒั นาตวั เอง คน เทคโนโลยี และกระบวนการความรู้ กล่าวคือ สำ� หรบั อาชพี และธรุ กจิ ใหมท่ เ่ี กดิ ขนึ้ มี “คน” เป็นแหล่งความรู้และเป็นผู้น�ำความรู้ไปใช้ หากความรู้ยังกระจัดกระจายและเข้าถึงได้ยาก ใหเ้ กดิ ประโยชน์ โดยมี “เทคโนโลย”ี เปน็ เครอ่ื งมอื คน้ หา จะเป็นอุปสรรคต่อความก้าวหน้า จึงจ�ำเป็นต้องเกิด จัดเก็บ แลกเปล่ียน และน�ำความรู้ไปใช้ และมี การจัดการความรู้ (Knowledge Management: “กระบวนการความรู้” เป็นเครื่องมือบริหารจัดการ KM) อย่างเป็นระบบ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ เพื่อน�ำความรู้ จากแหล่งความรู้ไปให้ผู้ท่ีต้องการใช้ และเสริมศักยภาพท่ีแต่ละบุคคลมีเพ่ือน�ำมาพัฒนา องค์ประกอบ และขั้นตอนดังกล่าวท�ำให้เกิดการ ประเทศต่อไป โดยเฉพาะบนแพลตฟอร์ม หรือฐาน ปรับปรุงและการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ให้เกิดขึ้น การเรียนรู้ออนไลน์ท่ีตอบโจทย์พฤติกรรมการเรียนรู้ อยา่ งมากมายในยุคน้ี SCAN QR CODE เพื่อรบั ชม Clip
The Knowledge Wt 11 ศรจู้นู กั ย์กKลnาoงwกlาeรdแgลeกPเปoลrtีย่ aนl เรียนรู้ออนไลน์ Knowledge Portal เป็นระบบศูนย์กลางความรู้ ท่ีรวบรวมสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้และบริการด้าน การเรียนรู้จากแหล่งต่างๆ ให้มาอยู่ในท่ีเดียวกัน เพอ่ื อ�ำนวยความสะดวกให้กบั ผูใ้ ช้บรกิ าร ทำ� ให้ไม่ตอ้ ง เข้าหลายเวบ็ ไซต์เพือ่ ใชบ้ รกิ ารตา่ งๆ ในหนังสือ Knowledge Management Tools and Techniques Manual ของ Asian Productivity Organization (APO) จัดให้ Knowledge Portal เป็นเคร่ืองมือท่ีเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) เพื่อให้เกิดการแลกเปล่ียนข้อมูลและความรู้แบบ ชดั แจง้ (Explicit Knowledge) ซง่ึ เปน็ ความรทู้ สี่ ามารถ น�ำมาถ่ายทอดในรูปแบบต่างๆ เช่น ความรู้ในหนังสือ ความรู้ในส่ือต่างๆ รวมถึงความรู้จากประสบการณ์ โดยมกี ระบวนการ ดงั น้ี การสร้างความรู้ใหม่ การ Knowledge แสวงหาความรทู้ ง้ั จากภายใน Creation และภายนอก รวมถึงการ การสร้าง จัดเก็บความรใู้ หเ้ ปน็ ระบบ ความรู้ การจัดการให้ผู้ท่ีต้องการใช้ สามารถเขา้ ถงึ ความรไู้ ดส้ ะดวก และพรอ้ มตอ่ การใชง้ าน Knowledge Transfer การถา่ ยทอดความรู้ Knowledge Utilization การนำ� ความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ การแบ่งปันแลกเปล่ียนความรู้ระหว่างกัน รวมถงึ การประยกุ ต์ใชค้ วามรูใ้ ห้เกดิ ประโยชน์
12 Wt The Knowledge Knowledge Platform ทนี่ ่าลอง-เรยี น-รู้ Climate Change Knowledge Portal (CCKP) www.climateknowledgeportal.com ธนาคารโลก (World Bank) จัดท�ำเว็บไซต์ศูนย์กลางการเรียนรู้ ซึ่งรวบรวมข้อมูลและเครื่องมือการเรียนรู้ ท่ีเกี่ยวข้องกับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ท้ังในระดับโลก ภูมิภาค และประเทศ เพ่ือให้คนทั่วไปสามารถ เข้าถึงข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ได้ในที่เดียว รวมถึงสนับสนุนให้ผู้เข้ามาใช้บริการน�ำความรู้ท่ีได้ไปต่อยอด สร้างนโยบายหรือออกแบบโครงงานในการแก้ปัญหาโลกร้อน โดยในเว็บไซต์ประกอบด้วยชุดข้อมูล ด้านบริบทของพ้ืนที่ สภาพภูมิอากาศในพื้นท่ี สภาพแวดล้อมหรือสภาวะที่ก่อให้เกิดปัญหา รวมถึงผลกระทบ ทางส่ิงแวดล้อมและการประกอบอาชีพ นอกจากนี้ยังมีลิงก์อัจฉริยะไปยังแหล่งข้อมูลและเครื่องมืออื่นๆ อีกมากมาย ส�ำหรับผู้เข้าใช้ท่ีเป็นนักวิจัยหรือผู้ปฏิบัติงานที่เก่ียวข้องกับการพัฒนา สามารถใช้ข้อมูลเพ่ือต้ังสมมติฐาน วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างแผนงานการป้องกันและแก้ไขปัญหา ส่วนประชาชนท่ัวไปจะได้เรียนรู้ เกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศและผลกระทบท่ีเกิดข้ึน เพ่ือเตรียมความพร้อมรับมือและ ปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ โรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) www.ddc.moph.go.th กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข รวบรวม ข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์การติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19 ในประเทศไทยและต่างประเทศ จากแหลง่ ตา่ งๆเชน่ กระทรวงมหาดไทยกรมการแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมสนับสนุนบริการ สุขภาพ World Health Organization (WHO) และ Centers for Disease Control and Prevention (CDC) มาประมวลสรุปเป็นรายงานประจ�ำวันในรูปแบบ อินโฟกราฟิกท่ีเข้าใจง่าย โดยมีการแยกแยะจ�ำนวน ผู้ติดเชื้อใหม่ จ�ำนวนผู้ติดเช้ือท่ีรักษาหาย จ�ำนวน ผู้เสียชีวิต และแหล่งที่มาของเช้ือ เพ่ือให้ทราบว่า ผตู้ ิดเช้อื แตล่ ะคนอายเุ ทา่ ใด เริ่มติดเชือ้ เมอ่ื ใด ตดิ เช้ือ จากแหลง่ ใด โดยแบง่ หมวดหมขู่ องเนอ้ื หาใหเ้ หมาะกบั กลมุ่ ผู้ใชง้ าน ได้แก่ สอ่ื ความรู้สำ� หรับประชาชน องค์ความรู้ แนวทางการด�ำเนินงาน ข้ันตอน การประสานงาน และแบบฟอร์มที่เกี่ยวข้องส�ำหรับ บุคลากรทางการแพทย์ ข่าวสำ� หรบั ส่ือมวลชน
The Knowledge T 13 ตามติดปเที 2ร0น2ด0์ความรู้ 1. AI เป็นตวั หลกั 2. มนษุ ย์ไม่หยดุ พัฒนา หลายปีมาน้ี AI เรมิ่ เขา้ มามบี ทบาทมากขนึ้ ทกั ษะ เมื่อ AI มารวมกับเคร่ืองจักรอัตโนมัติหรือหุ่นยนต์ ทจ่ี ำ� เปน็ ในปจั จบุ นั จงึ มกั เกย่ี วขอ้ งกบั AI เชน่ Machine เสมือนเป็นการใส่สมองให้เครื่องจักรหรือหุ่นยนต์น้ัน Learning โมเดลที่สอนให้ปัญญาประดิษฐ์เรียนรู้ สามารถทำ� งานทซ่ี บั ซอ้ นมากยง่ิ ขนึ้ เกดิ โรงงานอจั ฉรยิ ะ ด้วยตัวเอง Artificial Neural Network โครงข่าย (SmartFactory)ทมี่ กี ระบวนการผลติ ทช่ี าญฉลาดมากขน้ึ ประสาทเทียมท่ีท�ำให้คอมพิวเตอร์สามารถท�ำงาน มีประสิทธิภาพและรวดเร็วขึ้น ปรับเปลี่ยนได้คล่องตัว เหมือนสมองมนุษย์ หรือแม้แต่ทักษะการใช้งาน AI มากขึ้นกว่าการผลิตแบบเดิม ท่ีส�ำคัญคือสามารถลด เพื่อประหยัดเวลาและทรัพยากรในการเรียนหรือ จ�ำนวนแรงงานมนุษย์ลง ทว่ามนุษย์ไม่จ�ำเป็นต้อง การท�ำงานก็เป็นส่ิงจ�ำเป็นท่ีต้องเรียนรู้เพ่ือให้สามารถ แข่งขันกับสมองกล แต่ควรหันไปพัฒนาทักษะและ ท�ำงานไดใ้ นโลกยุคใหม่ทม่ี ี AI เปน็ ตวั ขับเคลื่อน ความสามารถที่ AI และหุ่นยนต์ไม่สามารถแทนที่ได้ เพ่อื ให้ยงั คง “มที ่ยี นื ” ในองคก์ รและตลาดแรงงาน 3. ทุกอุตสาหกรรมแขง่ ขนั ด้วยขอ้ มูล โลกอยู่ในยุคท่ีทุกอุตสาหกรรมแข่งกันด้วยข้อมูล การมีข้อมูลจ�ำนวนมาก (Big Data) ในมือร่วมกับ เคร่ืองมือท่ีเหมาะสม สามารถสร้างการตัดสินใจ ในเรอ่ื งตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งเเมน่ ยำ� และมปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ กวา่ ก า ร อ า ศั ย สั ญ ช า ต ญ า ณ ห รื อ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ ข อ ง คนทำ� งาน รวมถงึ ใชเ้ วลาทส่ี นั้ กวา่ อกี ดว้ ย สง่ิ นอ้ี าจกลาย เปน็ ตวั แปรในมลู คา่ ของคนทำ� งานและนบั จากน้ีอายงุ าน หรือประสบการณ์อาจไม่ใช่ตัวชี้วัดความส�ำเร็จของ คนท�ำงาน ธุรกิจ หรือแม้แต่องค์กรอีกต่อไป แต่อยู่ท่ี ความสามารถในการไดม้ าและใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มลู แทน
14 T The Knowledge บนปแรพับลตตัวฟสูก่อารร์มเอรอียนนไรลู้ น์ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีท�ำให้การสร้าง Knowledge Portal เพ่ือรวบรวมองค์ความรู้กลายเป็นเร่ือง ทเ่ี ปน็ ไปไดจ้ รงิ สง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงในดา้ นการจดั การความรู้(Knowledge Management) ขอ้ มลู ความรู้ ท่กี ระจดั กระจายถูกรวบรวมไวอ้ ยา่ งเป็นระบบมากขึ้น เกิดการแบ่งปนั และแลกเปล่ยี นขอ้ มลู อยา่ งไร้พรมแดน ความก้าวหน้าด้านปัญญาประดิษฐ์หรือ AI เป็นอีกหน่ึงปัจจัยที่ผลักดันให้เกิดการเปล่ียนแปลงขึ้น ในทุกแพลตฟอร์ม รวมถึงก่อให้เกิดทั้งทักษะใหม่ อาชีพใหม่ ยกตัวอย่างเช่น นักจัดรายการเพ่ือการเรียนรู้ ทง้ั บนสอื่ วดิ ที ศั น์ และสอ่ื โสตทศั น์ นกั การตลาดบนสอื่ สงั คม เปน็ ตน้ รวมถงึ ทำ� ใหเ้ กดิ แหลง่ รวมทรพั ยากรความรู้ ใหมๆ่ นอกเหนอื จากห้องเรยี นและหอ้ งสมดุ ดงั เชน่ Crowdsourcing “หลายหัวดีกวา่ หัวเดียว” เกิดจากการรวมกันของค�ำว่า Crowd และ Outsourcing หมายถึงการกระจายปัญหาไปยัง กลมุ่ คนเพอ่ื คน้ หาคำ� ตอบและวธิ กี ารแกไ้ ขปญั หานน้ั ๆ โดยมีจุดประสงค์เป็นการแลกเปล่ียนแบ่งปันความรู้ และประสบการณซ์ งึ่ กนั และกนั เพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย ทว่ี างไว้ ตัวอย่างท่ีเห็นภาพได้ชัดเจนท่ีสุด คือ วิกิพีเดีย (Wikipedia) สารานุกรมเสรีซึ่งใช้วิธีให้คนทั่วไป เป็นผสู้ รา้ งขอ้ มลู แทนนกั เขยี นหรอื ผเู้ ชยี่ วชาญทจ่ี า้ งมา ผลที่ได้ก็คือ สารานุกรมที่มีความครอบคลุมและ ครบถว้ นแบบท่ีไมเ่ คยเกิดข้นึ มาก่อน แพลตฟอร์มออนไลนแ์ บบบูรณาการ ปัจจุบันเกิดการบูรณาการระหว่างแพลตฟอร์ม การเรียนรู้ออนไลน์ เพราะแรงจูงใจของผู้ผลิตเน้ือหา ในแต่ละแพลตฟอร์มเร่ิมเปล่ียนแปลงเข้าสู่เป้าหมาย เดียวกันมากขึ้น น่ันคือเข้าถึงผู้คนให้ได้จ�ำนวน มากท่ีสุด และสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ที่ราบร่ืน มากท่ีสุด จึงมีแนวโน้มที่จะมีการน�ำเทคโนโลยีดิจิทัล หลายอย่างมาใช้งานร่วมกันบนแพลตฟอร์มเดียว เช่น Learn OnLine (LOL) แพลตฟอร์มการเรียนรู้ ออนไลน์ของ European International University ทม่ี กี ารบรู ณาการรว่ มกนั ระหวา่ งบรกิ ารดา้ นการศกึ ษา และเทคโนโลยธี รุ กรรมทางการเงนิ ไดแ้ ก่
The Knowledge T 15 โปรแกรมการศึกษาออนไลน์แบบทั่วไปทีจ่ �ำกัดจ�ำนวนผเู้ รียนผา่ นการลงทะเบียนเรยี น Massive Open Online Course (MOOC) หลกั สตู รเรยี นออนไลนข์ นาดใหญซ่ ง่ึ เปดิ ใหใ้ ชง้ านฟรแี ละรองรบั ผเู้ รยี นแบบไมจ่ �ำกดั จำ� นวน เพศ วัย และเชอ้ื ชาติ เทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain) เป็นระบบที่น�ำมาใช้รองรับการช�ำระเงินค่าเรียนด้วย “เหรียญแอล โอแอลโทเคน” (LOLTOKEN) ซึ่งเป็นเงินตราเข้ารหัสที่สร้างข้ึนเพ่ือใช้ช�ำระค่าบริการและค่าเรียนคอร์สต่างๆ บนแพลตฟอร์ม Learn OnLine (LOL) ไลฟ์สด บันทึกการศกึ ษาหนา้ ใหม่ ไลฟส์ ด (Live Streaming) คือ การถา่ ยทอดสดการ สอนผา่ นแพลตฟอรม์ ออนไลน์ ถอื เปน็ ระบบการนำ� เสนอ เน้ือหาการศึกษาโฉมใหม่ เพ่ือรองรับกลุ่มผู้เรียน ออนไลนท์ ม่ี แี นวโนม้ เพมิ่ ขน้ึ โดยเฉพาะ ในสถานการณ์ ทโ่ี รคโควิด-19 ระบาด โรงเรียนและมหาวิทยาลัยต่างๆ ต้องปิดการเรียนการสอน ครูผู้สอนจึงต้องปรับเปลี่ยน วิธีการมาใช้การไลฟ์สดแทนการเรียนการสอนใน หอ้ งเรยี น รหู้ รอื ไม่ ประเทศที่นิยมเรยี นคอรส์ ออนไลน์ด้านเทคโนโลยี 3 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่ 1 23 สหรัฐอเมริกา อินเดีย บราซลิ 18 ประเทศไทย จดั อยู่ในอันดบั ที่ 18 ซึง่ แสดงให้เห็นวา่ คนไทยมคี วามสนใจเรยี นรู้ ผ่านเทคโนโลยีออนไลน์มากขนึ้ ท่ีมา: www.business.udemy.com
16 t The Knowledge 10 ทักษะก้าวล้�ำ AI แม้ AI จะพฒั นาความสามารถจนเขา้ มาแทนทก่ี ารทำ� งานของมนษุ ยไ์ ดบ้ างสว่ น แตม่ นษุ ยเ์ องกส็ ามารถ พฒั นาตอ่ ไปไดเ้ ชน่ กนั โดยเฉพาะทกั ษะดา้ นอารมณ์ (Soft Skills) ที่ AI ทำ� ไมไ่ ด้ เชน่ Growth Mindset ทศั นคติและแนวคดิ แบบยดื หยุน่ และเตบิ โตพฒั นาต่อไปข้างหน้า Innovation การคิดออกแบบและสร้างสรรคน์ วัตกรรม Focus Mastery ความสามารถในการมุ่งจดุ สนใจไปยังเรอ่ื งใดเรื่องหน่งึ Leadership ความสามารถน�ำพาองคก์ รไปข้างหนา้ ด้วยเสน้ ทาง ที่เหมาะสมด้วยภาวะความเป็นผูน้ �ำ Critical Thinking ความสามารถในการวเิ คราะห์ ประเมนิ และ วพิ ากษ์ส่ิงต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม Storytelling ความสามารถจดั ระเบียบความคดิ และขอ้ มลู จำ� นวนมากและออกแบบการสอ่ื สาร ท่ีมปี ระสิทธิภาพ Culture Awareness ความสามารถในการสร้างปฏิสัมพนั ธ์ ปรับตัว และ รบั มือกบั วฒั นธรรมองค์กร และความแตกต่าง ทางวฒั นธรรมของคนทรี่ ว่ มงานด้วย Creativity ความสามารถในการสร้างสรรคแ์ นวคิดใหมๆ่ และ ออกแบบวิธีแก้ปัญหาทตี่ ่างออกไปส�ำหรับปัญหาเดิม Communication Skills ทกั ษะการสื่อสารและการถา่ ยทอดขอ้ มลู ผา่ นการพดู ฟงั และสงั เกต Emotional Intelligence ความสามารถในการควบคมุ สอ่ื สาร และสงั เกตอารมณ์ต่างๆ ไม่วา่ จะเปน็ ของตนเอง หรือของผ้อู ่ืน
The Knowledge T 17 ไมห่ ยดุ พฒั นาทักษะดจิ ทิ ัล (Digital Skills) Tools & Technologies ความสามารถในการใช้เคร่ืองมือและเทคโนโลยีต่างๆ ทงั้ ฮารด์ แวร์หรือซอฟตแ์ วร์ Teach & Learn ความสามารถในการเรียนรู้และการถ่ายทอดความรู้ รวมถึงความสามารถในการใช้เทคโนโลยีการเรียน การสอนไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมปี ระสทิ ธภิ าพ Google Create & Innovate Google ความสามารถในการคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละการใชเ้ ทคโนโลยี Google ดิจิทัลในการสร้างนวัตกรรมในรูปแบบต่างๆ เป็น ปัจจัยส�ำคัญท่ีช่วยองค์กรเติบโต และสร้างมูลค่าเพ่ิม ทางธรุ กิจใหแ้ กบ่ ริษัท Identity & Wellbeing ความสามารGถใoนกoารgสรl้าeงอัตลักษณ์ หรือคุณสมบัติ ที่เป็นตัวตนของบุคคล รวมถึงการรักษาความสุข ในการทำ� งานอยา่ งสมดุล Google CคoวาmมสmาuมnารiGcถaใoนtกioาoรngสื่อ&lสeาCรoแlละlกaาbรปoรrะสaาtนeงานท่ีมี ประสทิ ธภิ าพในองคก์ ร ซงึ่ จะชว่ ยใหพ้ นกั งานทกุ ระดบั มีความสัมพันธ์อันดีในการท�ำงานร่วมกัน และสร้าง ความเข้าใจทีถ่ กู ต้องตรงกนั ในการปฏิบัติงาน Find & Use ความสามารถในการค้นหาข้อมูลจากกูเกิล (Google) และแพลตฟอรม์ คน้ หา (Search Engine) ตา่ งๆ รวมถงึ ความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลที่มีอยู่มากมาย รวมถึงการอ้างอิง ให้ที่มา และลิขสิทธ์ิของข้อมูล ทน่ี ำ� มาใช้ เมอื่ ประชาชนไมห่ ยดุ เรยี นรู้ จะเกดิ การพฒั นาทนุ มนษุ ยอ์ นั ยง่ั ยนื มกี ารนำ� ความรมู้ าพฒั นาและตอ่ ยอด ทกั ษะแหง่ อนาคตในดา้ นตา่ งๆ กระตนุ้ ใหเ้ กดิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ สรา้ งแรงจงู ใจใหน้ ำ� ความรทู้ ม่ี อี ยมู่ าใช้ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ สง่ ผลใหเ้ กดิ การพัฒนาและการสรา้ งความเปลย่ี นแปลงใหมๆ่ ในทุกระดบั ตั้งแต่ระดับ บุคคล องคก์ ร สังคม ไปจนถงึ ประเทศชาตแิ ละสังคมโลก
18 o one OF a kind ADOBE CREATIVE CLOUD Knowledge Portal ชุดโปรแกรมจากอะโดบี (Adobe) ซึ่งรวบรวมเคร่ืองมือจ�ำเป็นส�ำหรับ นกั ออกแบบกราฟกิ เพอื่ การสรา้ ง แกไ้ ข และแชร์ไฟลผ์ ลงานไดท้ กุ ทที่ กุ เวลา BRAND INSIDE CLASSROOM EDUCATIONAL PODCAST TRAINING DINGTALK TECHNOLOGY ช่องพอดแคสต์ท่ีน�ำเสนอ การอบรมแบบห้องเรียน ติงทอล์ก คือแพลตฟอร์ม เทคโนโลยีการศึกษา คือ เน้ือหาเกี่ยวกับเศรษฐกิจ เ น ้ น ก า ร บ ร ร ย า ย แ ล ะ ออนไลนเ์ พอ่ื การสอื่ สารและ ก า ร น� ำ วิ ท ย า ก า ร แ ล ะ ใหม่ (New Economy) อ ภิ ป ร า ย ภ า ย ใ น ห ้ อ ง การท�ำงาน ซ่ึงน�ำมาใช้กับ เทคโนโลยีมาจัดการเรียน เน้นท่ี 2 เร่ืองหลัก คือ เป็นหลัก แบ่งเป็นการ การเรียนการสอนออนไลน์ การสอนให้เกิดการเรียนรู้ การปรับตัวของธุรกิจเดิม อบรมภายในองค์กร และ ในประเทศจนี ในชว่ งโควดิ -19 อย่างมีประสิทธิภาพและ และแนวคดิ ของธรุ กจิ ใหม่ การอบรมภายนอกองค์กร เข้าถงึ ผคู้ นมากขนึ้ FRESHSERVICE GURU HASHTAG INFOGRAPHIC เฟรชเซอรว์ สิ คอื แพลตฟอรม์ กูรู เป็นซอฟต์แวร์เก็บ แฮชแทก็ คอื วลที ขี่ นึ้ ตน้ ดว้ ย อนิ โฟกราฟกิ คอื ภาพกราฟกิ บริหารองค์ความรู้ของ รวบรวมและเชื่อมโยง สญั ลกั ษณ์ # นยิ มใชใ้ นสอ่ื ท่ีน�ำเสนอข้อมูลอย่างย่อ องค์กรซึ่งเก็บรวบรวม องค์ความรู้ภายในองค์กร สังคมออนไลน์เพื่อจัดกลุ่ม และตวั เลขสถิตติ า่ งๆ ด้วย องคค์ วามรตู้ า่ งๆ ทพ่ี นกั งาน มี AI คอยแนะน�ำข้อมูลท่ี เน้ือหาและช่วยให้เน้ือหา รปู ภาพ สญั ลกั ษณ์ แผนภมู ิ สามารถค้นหาและเรียนรู้ คาดวา่ ตอ้ งใชโ้ ดยทผี่ ใู้ ชง้ าน ถกู คน้ พบงา่ ยขนึ้ ซง่ึ เขา้ ใจงา่ ยเพยี งกวาดตามอง ดว้ ยตนเอง ไมต่ อ้ งคน้ หาดว้ ยตวั เอง JOHNS HOPKINS KNOWLEDGE LEARNING CENTER MOOC: CHULA CENTER FOR MANAGEMENT ศนู ยก์ ารเรยี นร้เู ปน็ แพลตฟอรม์ คอร์สเรียนออนไลน์ฟรีของ COMMUNICATION การจัดการความรู้ คือการ ส�ำคัญในการสร้างองค์กร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวบรวม จัดเก็บ ถ่ายทอด แห่งการเรียนรู้ โดยเป็น สอนโดยคณาจารย์จาก PROGRAMS หนว่ ยงานของมหาวทิ ยาลยั และน�ำเสนอองค์ความรู้ แหล่งรวบรวมและส่งมอบ จุฬาฯ เพ่ือส่งเสริมให้การ จอหน์ ฮอปกินส์ ท�ำหนา้ ที่ ท่มี อี ยูใ่ หเ้ ป็นระบบ เพอ่ื ให้ อ ง ค ์ ค ว า ม รู ้ ร ว ม ถึ ง เรียนรู้ตลอดชวี ติ เกบ็ รวบรวมกลนั่ กรองนำ� เสนอ สามารถน�ำความรู้มาใช้ จดั ฝกึ อบรมใหแ้ กพ่ นกั งาน ข้อมูลทางการแพทย์ และ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ามเปา้ หมาย สง่ ตอ่ ขอ้ มลู ไปยงั ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน แ ล ะ เ พ่ื อ ก า ร พั ฒ น า ศกั ยภาพมนษุ ยเ์ ปน็ สำ� คญั
one Of a kind O 19 NATURAL LANGUAGE PROCESSING การประมวลผลภาษาธรรมชาติ เปน็ เทคโนโลยที ที่ ำ� ใหป้ ญั ญา ประดิษฐ์ (AI) เข้าใจค�ำส่ังเสียงของมนุษย์และแสดงผลเป็น ภาษามนุษยอ์ ย่างเป็นธรรมชาติ ONLINE RESPOSIVE EXPERIENCES PANTIP QUIP WEB DESIGN แพลตฟอรม์ ใหมจ่ ากAirbnb พนั ทปิ ถอื เปน็ แพลตฟอรม์ ควปิ คอื แพลตฟอรม์ จดั การ เพอื่ ใหน้ กั เดนิ ทางไดท้ อ่ งเทยี่ ว แลกเปลย่ี นเรยี นรแู้ บบไมเ่ ปน็ เอกสารและองค์ความรู้ ก า ร อ อ ก แ บ บ เ ว็ บ ไ ซ ต ์ ผา่ นโลกเสมอื นรว่ มกบั ผนู้ ำ� ทางการแหง่ แรกๆ ของไทย ผใู้ ชส้ ามารถสรา้ งและจดั เกบ็ ให้รองรับการใช้งานบน ทรปิ (Host)ซง่ึ เปน็ คนทอ้ งถนิ่ ในรปู แบบกระดานสนทนา ไฟล์ในระบบซึ่งง่ายต่อการ อุปกรณ์ทแี่ ตกตา่ งกนั เพอ่ื จากทว่ั โลก ทแ่ี บง่ เปน็ “หอ้ ง” ตามความ ค้นหา รวมถึงพูดคุยกับ ตอบโจทย์การท�ำงานและ สนใจ สมาชกิ ทมี ไดต้ ลอดเวลา การเรยี นรซู้ ง่ึ ไมจ่ ำ� กดั อยแู่ ต่ บนคอมพวิ เตอร์อีกต่อไป SCIMATH THAILAND USER EXPERIENCE VIRTUAL MEDICAL NEWS DESIGN CLASSROOM SciMathเปน็ แพลตฟอรม์ สอื่ ไทยแลนด์ เมดิคอล นิวส์ UXD เป็นศาสตร์ท่ีว่าด้วย หอ้ งเรยี นเสมอื น คอื การเรยี น การเรยี นรู้ การอบรมครู และ เป็นแพลตฟอร์มรวบรวม การออกแบบการใชง้ านทน่ี า่ การสอนออนไลนบ์ นอปุ กรณ์ การสอบออนไลน์ของสถาบนั ข่าวสารและองค์ความรู้ พงึ พอใจใหแ้ กล่ กู คา้ ถอื เปน็ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์โดยออกแบบ สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์ ทางการแพทยท์ ง้ั ในประเทศ ปัจจัยหน่ึงที่ช่วยวัดความ ห้องเรียนให้เป็นเสมือน และเทคโนโลยี (สสวท.) และตา่ งประเทศเลอื กอา่ นได้ สำ� เรจ็ ของสนิ คา้ และบรกิ าร ผเู้ รยี นและผสู้ อนไดพ้ บหนา้ ทงั้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ทงั้ ออนไลนแ์ ละออฟไลน์ กนั จรงิ WORK FROM HOME XML YELP ZOHO การท�ำงานจากบ้าน คือ ตัวย่อของ Extensible เยลป์ เป็นแพลตฟอร์ม โซโห คือแพลตฟอร์มการ การท�ำงานท่ีบ้านหรือ Markup Language หรือ รวบรวมข้อมูลสินค้าและ ท�ำงานที่มีแอปพลิเคชัน นอกสถานท่ี โดยอาศัย ภาษามาร์กอัปขยายได้ บรกิ ารในเมอื งตา่ งๆ พรอ้ ม ช่วยอ�ำนวยความสะดวก เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ เป็นภาษาที่ใช้ระหว่าง ความคิดเห็นและการให้ มากมาย เช่น การแก้ไข เครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ และ ระบบท่ีแตกต่างกัน เช่น คะแนนจากผทู้ เ่ี คยใชส้ นิ คา้ และจดั เกบ็ เอกสารออนไลน์ แพลตฟอรม์ ทำ� งานออนไลน์ คอมพิวเตอร์ท่ีมีระบบ หรอื บรกิ ารนน้ั มากอ่ น การฝึกอบรมออนไลน์ ปฏิบตั กิ ารคนละชนดิ
20 WN next แลOโะลทNกักLใษหINะมทEแ่ จ่ี หL�ำง่ เEกปAาน็ รRในเNรอยี IนNนารGคู้ ต ยุคนี้การศึกษาไม่จ�ำกัดอยู่เพียงแค่ในห้องเรียน คนรุ่นใหม่อาศัยประโยชน์ของเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในการสืบค้นและเข้าถงึ ข้อมลู ความรู้ตา่ งๆ ไดท้ ุกที่ทกุ เวลา ดังน้ัน การมีแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพและเข้าถึงง่ายบนแพลตฟอร์มออนไลน์จึงกลายเป็น เทรนด์ใหม่ท่ีทั้งผู้เรียนและผู้สอนต้องเตรียมพร้อมและปรับตัว โดยเฉพาะองค์ความรู้ แหง่ ศตวรรษที่ 21 ทีม่ หี ลากหลายมากขึน้ ในยุคท่ีทุกฝ่ายท้ังภาครัฐและภาคเอกชนทั่วโลกต่างตื่นตัวตอบรับนโยบายการท�ำงาน การเรยี นการสอน และการใชช้ วี ติ บนระบบออนไลนม์ ากยง่ิ ขนึ้ โดยการใชเ้ ทคโนโลยที มี่ อี ยเู่ ดมิ รวมถึงพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ให้ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานย่ิงข้ึน ผ่านแพลตฟอร์ม ดิจิทัลทส่ี ามารถเข้าถงึ ได้ทุกท่ี ทุกเวลา
next N 21 ตวั อยา่ ง 6 แพลตฟอร์มออนไลน์น่าสนใจ เรียน-ทำ� งานท่ีไหนก็ได้ Zoom Google Classroom หTรruอื eTVruiretuVaWl WOoRrLldD แ อ ป พ ลิ เ ค ชั น ที่ ค น ใ ช ้ บริการฟรีส�ำหรับชั้นเรียน แ พ ล ต ฟ อ ร ์ ม ส นั บ ส นุ น มากท่ีสุดในช่วงท�ำงานที่บ้าน หรือโรงเรียน โดยผสานรวม การท�ำงาน การเรียนรู้ และการ จากคุณสมบัติที่ช่วยอ�ำนวย กูเกิลไดรฟ์ ไดรฟ์จัดเก็บข้อมูล ใช้ชีวิตท่ีบ้าน ทุกที่ ทุกเวลา ความสะดวกในการจัดประชุม และจีเมลไว้ด้วยกัน เพ่ือให้ครู ประกอบด้วยห้องสนทนาแบบ ทางไกล เช่น การเชิญเข้าร่วม และนักเรียนสร้างและส่งงาน ขอ้ ความและวดิ โี อ ระบบจัดการ ประชุม การบันทึกการประชุม ถึงกันได้โดยสะดวก รวมถึง งานทไี่ ด้รับมอบหมาย หอ้ งสมุด การแชร์หน้าจอ หรือแม้แต่ คุณสมบัติอื่น เช่น การแสดง และคลงั ความรู้รวมถงึ แบบฟอรม์ ลกู เลน่ ทถี่ กู ใจวยั รนุ่ อยา่ งฟลิ เตอร์ ความคิดเห็นแบบเรียลไทม์และ เอกสารตา่ งๆ การปรบั ใบหนา้ ใหข้ าวเนยี น หรอื การติดตามผลการเรียนและ การเปล่ียนพ้ืนหลัง การให้คะแนน เปน็ ตน้ E-Academy World Digital Library Online Book Fair สถาบนั พฒั นาผปู้ ระกอบการ หอสมุดดิจิทัลแห่งโลก เป็น สมาคมผจู้ ดั พมิ พแ์ ละผจู้ ําหนา่ ย การคา้ ยคุ ใหม่ กระทรวงพาณชิ ย์ โครงการความร่วมมือระหว่าง หนังสือแห่งประเทศไทย ได้ย้าย จั ด ท� ำ ร ะ บ บ ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม ยูเนสโกและหอสมุดรัฐสภา งานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ ออนไลน์ (E-Learning) ด้าน อเมริกัน เป็นบริการห้องสมุด ครง้ั ท่ี48จากอมิ แพค็ เมอื งทองธานี การค้าระหว่างประเทศส�ำหรับ ออนไลน์ท่ีรวบรวมทรัพยากร มาเปน็ การจดั งานผา่ นแพลตฟอรม์ ผปู้ ระกอบการทส่ี นใจ โดยผเู้ รยี น ค ว า ม รู ้ ที่ เ ป ็ น ส ม บั ติ ท า ง ออนไลน์เป็นคร้ังแรกโดยได้ จะตอ้ งทำ� แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม พัฒนาเว็บไซต์ thaibookfair แ ล ะ เ มื่ อ เ รี ย น จ บ จ ะ ต ้ อ ง ท� ำ ของหลายประเทศทั่วโลก เช่น .com ให้เป็นพื้นที่จัดงานแสดง แบบทดสอบหลังเรียนให้ได้ หนังสือหายาก เอกสารต้นฉบับ สินค้าเสมือนจริง ปัจจุบัน คะแนนไม่น้อยกว่า 70% จึง ลายมือเขียนและฉบับพิมพ์ มีการต่อยอดเว็บไซต์ดังกล่าว จะถือว่าสอบผ่าน และขอรับ แผนท่ี รวมทั้งรปู ภาพ ส่อื บนั ทึก ให้เป็นศูนย์รวมหนังสือที่ใหญ่ วฒุ บิ ัตรได้ เสียง และภาพยนตร์ ในรปู แบบ ที่สุดในประเทศไทยท่ีสามารถ ดิ จิ ทั ล เ พื่ อ ใ ห ้ บ ริ ก า ร ฟ รี บ น เ ลื อ ก ซื้ อ ห นั ง สื อ ไ ด ้ ต ล อ ด อินเทอรเ์ นต็ 24 ชัว่ โมง SCAN QR CODE เพื่อรบั ฟง Audio Text
22 N next โลกมหาวิทยาลัย (กำ� ลงั ) เปลยี่ นไป B“Eacnoglkeo4k2” ความกา้ วหนา้ อยา่ งรวดเรว็ ในยคุ ขอ้ มลู ขา่ วสารไมเ่ พยี งเพมิ่ โอกาสใหม่ ให้ทุกคนเรียนฟรี ในการเขา้ ถงึ ความรู้แตย่ งั กอ่ ใหเ้ กดิ ความเปลย่ี นแปลงและความแปลกใหม่ ไมม่ อี าจารยส์ อน ในวงการศึกษา ในยุคนี้เองท่ีการสร้างการศึกษาไร้พรมแดนเกิดขึ้นได้จริง ไม่เรียนในหอ้ งเรยี น เช่น และไมม่ ปี ริญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีและการออกแบบแห่งสิงคโปร์ (SUTD) ทำ� ความรว่ มมอื กบั สถาบนั เทคโนโลยแี มสซาชเู ซตส์(MIT)แหง่ สหรฐั อเมรกิ า เปิดหลักสูตรปริญญาตรีช่ือ ดีไซน์และปัญญาประดิษฐ์ (Design and Artificial Intelligence : DAI) โดยเรม่ิ เปดิ สอนครง้ั แรกเมอ่ื เดอื นพฤษภาคม 2563 ทีผ่ ่านมา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเปิดหลักสูตรศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร บณั ฑิต สาขาวิชานวตั กรรมบรู ณาการ (Bachelor of Arts and Science in Integrated Innovation: BAScii) เป็นคร้ังแรกในเอเชีย โดยเน้นการ เตรยี มความพรอ้ มใหผ้ เู้ รยี นมที กั ษะทเี่ ปน็ ทตี่ อ้ งการในศตวรรษท่ี 21 ไดแ้ ก่ ความรู้เกี่ยวกับธุรกิจและเทคโนโลยี ผ่านการเรียนและการทําโครงงาน ทเี่ น้นการปฏิบตั ิจริง ภายใตก้ ารดูแลของผเู้ ชย่ี วชาญเฉพาะดา้ น สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั ดึง Ecole 42 สถาบันผลิตนักพัฒนาซอฟต์แวร์ช้ันยอดจากฝร่ังเศสมาเปิดสาขา ทปี่ ระเทศไทยในชอื่ “Ecole42Bangkok”ใหท้ กุ คนเรยี นฟรีไมม่ อี าจารยส์ อน ไม่เรียนในห้องเรียน และไม่มีปริญญา โดยใช้ระบบออนไลน์ให้นักเรียน ผา่ นบทเรยี นไปทีละด่านการเรยี นรู้คลา้ ยการเล่นเกมส์จนจบหลกั สตู ร
“ next N 23 “ การท�ำงานร่วมกนั อยา่ งไมม่ ขี ้อจ�ำกัด ท�ำให้เกิดความหลากหลาย กอ่ ให้เกิดเชื้อเพลงของความคิดสร้างสรรค์ และนวตั กรรม ผสมความรูผ้ สานทกั ษะ เมื่อทักษะที่จ�ำเป็นในอนาคตมีความหลากหลายไม่แน่ชัด และ ไม่แน่นอน คาดเดาได้ยากว่าวิชาใดจะเป็นท่ีต้องการ จึงท�ำให้เส้นแบ่ง แต่ละคณะ แต่ละภาควิชาคอ่ ยๆ หายไป ในหน่ึงคน หน่ึงอาชีพ อาจจ�ำเป็น ตอ้ งอาศยั หลายทกั ษะผสมผสานกนั เชน่ ดไี ซเนอรค์ วรรจู้ กั วธิ ใี ชเ้ ทคโนโลยี ปัญญาประดิษฐ์ Data Scientist ต้องมคี วามเข้าใจธุรกจิ จงึ จะประยกุ ตใ์ ช้ ขอ้ มลู ไดถ้ กู ตอ้ งแมน่ ยำ� หมออาจใชป้ ญั ญาประดษิ ฐช์ ว่ ยวนิ จิ ฉยั โรค เปน็ ตน้ ซึ่งการท�ำงานร่วมกัน อย่างไม่มีข้อจ�ำกัดนี้จะท�ำให้เกิดความหลากหลาย กอ่ ใหเ้ กดิ เชอื้ เพลงิ ของความคดิ สร้างสรรค์และนวตั กรรมข้ึน
24 WND next เพราะแหล่งความรู้ ทกุ ที่ ทุกเวลา ทุกคน ในอินเทอรเ์ นต็ มมี ากมาย การเรยี นรูจ้ ึงเกดิ ข้ึนได้ การเรียนรู้สามารถเกิดข้ึนได้ทุกที่ ทุกเวลา และ กับทุกคนเพราะแหล่งความรู้ในอินเทอร์เน็ตมีมากมาย ทกุ ท่ที กุ เวลา ต้ังแต่บทความ คลิปวิดีโอ ไฟล์เสียงพอดแคสต์ และกบั ทุกคน อีกท้ังมหาวิทยาลัยทั่วโลกยังเปิด คอร์สออนไลน์ ท่ีเรียกว่า Massive Open Online Course (MOOC) กว่า 10,000 คอร์สให้ผู้สนใจสามารถเข้าไปศึกษา เรยี นรไู้ ดท้ นั ที แตห่ ากยงั นกึ ไมอ่ อกวา่ จะเรมิ่ ตน้ อยา่ งไร ก็มีเคร่ืองอ�ำนวยความสะดวกเป็นเทคโนโลยีทาง การศึกษา เช่น แพลตฟอร์ม RiPPle ท่ีมหาวิทยาลัย ควีนส์แลนด์ประเทศออสเตรเลียใช้เป็นผู้ช่วยประเมิน ว่านักเรียนแต่ละคน มีจุดอ่อนด้านไหน ควรเรียนวิชา อะไร ควรทำ� งานกลมุ่ กบั เพอ่ื นคนใด และควรเนน้ ศกึ ษา เนื้อหาด้านใดเป็นพิเศษ โดยเนื้อหาเหล่านั้นอาจไม่ได้ มาจากต�ำราที่อาจารย์ใส่เข้ามาเท่าน้ัน แต่อาจรวมถึง สมุดโน๊ตสรุปวิชาต่างๆ ที่เพื่อนนักเรียนคนอื่นแชร์ไว้ บนออนไลน์ ซ่ึงเป็นมิติใหม่ของการเรียนรู้ท่ีอาจารย์ เป็นผู้น�ำการเรียนรู้ในห้องเรียน แต่ไม่ได้เป็นผู้ผูกขาด การสอนแตเ่ พียงผเู้ ดยี ว
next N 25 “81% ของคนรุ่นใหม่ คิดว่าการฝกึ งาน สำ� คญั เทียบเท่า หรือยิง่ กว่าการเรียน ในโรงเรียน การท�ำงานคือการเรียนรู้ ในยุคใหม่นี้ พรมแดนของนักเรียนและคนท�ำงาน เป็นเรื่องยาก ต้องอาศัยกระบวนการทางความคิด จะจางหายไป นักศึกษาต้องเร่ิมรู้จักการท�ำงานในโลก และการปรับทัศนคติให้เข้าใจถึงความส�ำคัญ ความจริงตั้งแต่อยู่ในมหาวิทยาลัย เพ่ือเรียนรู้จาก ของการไม่หยุดเรียนรู้และพัฒนาตนเอง เพ่ือเพ่ิม การทำ� จริง เรยี นรูช้ ีวติ เรยี นร้จู ากสงั คมจริง โดยขอ้ มลู ความสามารถในการปรับตัว ต่อการเปลี่ยนแปลง บทส�ำรวจเยาวชนอาเซียนของบริษัทเทคโนโลยี ทางเศรษฐกิจท่ีเกิดข้ึนตลอดเวลา รวมถึงพัฒนา Sea รว่ มกับ World Economic Forum (WEF) พบวา่ ขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ 81% ของคนรุ่นใหม่คิดว่าการฝึกงานส�ำคัญเทียบเท่า ในอนาคต หรือย่ิงกว่าการเรียนในโรงเรียน เพราะต้องการน�ำ ในยุค 2020 ทุกองค์กรจึงจ�ำเป็นต้องมีพ้ืนท่ี สิ่งท่ีเรียนมาจากในห้องเรียนไปลองใช้ในบริบท การเรียนรู้เสมือนเป็นมหาวิทยาลัยหรือสถาบัน การท�ำงานจรงิ การศึกษา เพื่อสร้างระบบนิเวศน์ที่กระตุ้นการเรียนรู้ ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น ค น ท� ำ ง า น ต ้ อ ง มี ความเป็น การพัฒนาตนเองตลอดเวลา โดยต้องมีการลงทุน นักเรียนตลอดเวลา ตามกระบวนการเรียนรู้ และสนับสนุนการเรียนรู้ทักษะใหม่ รวมถึงการรู้จัก ตลอดชีวิต จากทรัพยากรท่ีมีอยู่มากมายปัญหา น�ำเทคโนโลยีทางการศึกษาและแพลตฟอร์ม คือการผลักดันให้คนท�ำงานเกิดความกระตือรือร้น การเรียนรู้ต่างๆ เข้ามาใช้ประโยชน์และกระตุ้น อยากเรียนรู้และอยากพัฒนาตนเองตลอดชีวิตน้ัน ใหเ้ กิดการเรยี นรู้ทไี่ ม่ส้ินสุด
26 WI INSIDE Okmd KNOWLEODKGMEDPORTAL การมาเยอื นของวกิ ฤตโรคระบาดทำ� ใหเ้ กดิ คำ� ถามเกยี่ วกบั ระบบการเรยี นรหู้ ลากหลายดา้ น ของประเทศไทย ไม่วา่ จะเปน็ ประสิทธิภาพในการออกแบบการเรยี นรู้ในยคุ โควิด-19 ทักษะ และการเรยี นรทู้ จี่ ำ� เปน็ รปู แบบใหมใ่ นศตวรรษหนา้ และเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และความเหลอื่ มลำ้� ท่ีเกิดข้ึนในระบบการเรียนรู้ ในคอลัมน์น้ีเราจะหาค�ำตอบว่าประเทศสามารถเปลี่ยนวิกฤต ครั้งน้ีให้กลายเป็นโอกาสด้านการเรียนรู้และการด�ำรงชีวิตได้จริงหรือไม่ และการเดินหน้า สู่ความเป็นดิจิทัลและความเป็นไปได้ของประเทศไทยบนเส้นทางแห่งอนาคตจะเป็นไป อยา่ งไร เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั กลายเปน็ ทางออกทชี่ ว่ ยใหก้ ารเรยี น การทำ� งาน และการใชช้ วี ติ สามารถ ด�ำเนินต่อไปได้โดยไม่หยุดชะงัก ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนคือ “การท�ำงานจากท่ีบ้าน” (Work From Home) ไม่จ�ำเป็นต้องมีสถานที่ท�ำงานขนาดใหญ่อีกต่อไป พนักงาน สามารถท�ำงานจากที่ใดก็ได้ สามารถใช้ซอฟตแ์ วรป์ ระชมุ ออนไลน์ ทกุ อยา่ งอยใู่ นรปู แบบ ดจิ ทิ ลั การทำ� งานยคุ โควดิ ทำ� ใหผ้ คู้ นเรม่ิ คนุ้ เคยกบั การทำ� งานรปู แบบนี้ หรอื ถกู บงั คบั ใหเ้ รยี นรู้ ทกั ษะและวธิ กี ารทำ� งานทเ่ี ปลย่ี นไป โดยเฉพาะทักษะดา้ นดจิ ทิ ัล การท�ำงานออนไลนร์ ว่ มกับ ผู้ร่วมงาน และการมีทักษะในการสืบค้นข้อมูล ธุรกิจหลายประเภทท่ีได้รับผลกระทบ อาทิ ส่อื สงิ่ พิมพ์ การท่องเท่ยี ว การเรียน และการสมั มนา ก็จะมงุ่ ส่รู ะบบออนไลน์มากขน้ึ อาจใช้ เทคโนโลยี เออาร/์ วีอาร์ เข้ามาชว่ ยสมั มนาและการเรยี นการสอนมากข้ึน
INSIDE Okmd I 27 OKMD หรือส�ำนักงานบรหิ ารและพฒั นาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) มแี นวคดิ ทจ่ี ะพฒั นาระบบการเรียนรู้ สาธารณะ หรือ การเรียนรู้นอกระบบ ให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน รวมถึงมุ่งม่ันท่ีจะบริหารจัดการและ พัฒนาองค์ความรู้และการบริการที่สามารถตอบสนองความต้องการเรียนรู้ของคนไทย ให้ครอบคลุมในทุกพ้ืนที่ ผา่ นเทคโนโลยเี พอ่ื การเรยี นรทู้ ท่ี นั สมยั หลากหลายทส่ี ามารถเขา้ ถงึ ไดท้ กุ ทท่ี กุ เวลามากยง่ิ ขน้ึ ภายใตก้ ารดำ� เนนิ งาน ของ OKMD และหนว่ ยงานภายในอีก 2 หน่วย ไดแ้ ก่ สถาบนั พิพธิ ภณั ฑ์การเรียนรแู้ ห่งชาติ (NDMI : Museum Siam) และ สถาบนั อทุ ยานการเรยี นรู้ (TK Park) โดยจดั ทำ� เปน็ สอื่ ดจิ ทิ ลั ทร่ี วบรวมสาระและองคค์ วามรทู้ หี่ ลากหลาย ไวบ้ นเวบ็ ไซต์ ไมว่ า่ จะเปน็ หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอื่ วดิ ทิ ศั น์ และสอื่ โสตทศั น์ เพอื่ เปน็ แหลง่ เรยี นรอู้ อนไลนบ์ รกิ าร แกป่ ระชาชน สามารถเข้ามาใชบ้ ริการได้ทุกทที่ ุกเวลา OKMD Knowledge Portal ประกอบดว้ ย Knowledge Box อยู่ภายในเว็บไซต์ okmd.or.th เป็นแหล่งรวบรวม คลปิ วดิ โี อสาระความรใู้ นหลากหลายสาขา อาทิ อาชพี ใหมๆ่ ทน่ี า่ สนใจ การพฒั นาทกั ษะ เทคโนโลยอี นิ เทรนด์และ Startup Business Seriesโดยจดั ทำ� เปน็ คลปิ สนั้ ๆดงู า่ ยเขา้ ใจงา่ ย มากกว่า 650 คลปิ ให้เลอื กชม Knowledge Links อยู่ภายในเว็บไซต์ okmd.or.th เป็นแหล่งรวบรวมเว็บไซต์ ที่ผ่านการคัดสรรว่ามีเน้ือหาท่ีน่าสนใจในหลากหลายสาขา อาทิ การออกแบบและ ศิลปะ ธรุ กิจและการลงทุน การดูแลสุขภาพ โดยมีเว็บไซตท์ ผ่ี า่ นการคดั สรรและสรปุ ยอ่ เนอ้ื หามากกวา่ 1,500 เวบ็ ไซต์ สาระความรู้อ่ืนๆ ในรูปแบบนิตยสาร The Knowledge ท่ีจัดท�ำเป็นนิตยสาร อิเล็กทรอนกิ ส์ (E-Magazine) ใหส้ ามารถดาวนโ์ หลดไปอา่ นได้ตลอดเวลา จะเห็นได้ว่าคอนเทนต์หรือเนื้อหาต่างๆ จะต้องปรับรูปแบบเข้าสู่แพลตฟอร์มดิจิทัลมากข้ึนในอนาคต และหากเกิดการบูรณาการระหว่างแหล่งเรียนรู้ต่างๆ มากขึ้น ประชาชนก็จะได้รับประโยชน์ในการเข้าถึงความรู้ ไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเรว็ และสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การเรียนร้ไู ด้ทุกวัย ทุกท่ี ทกุ เวลา
28 I INSIDE Okmd TK Park ให้บริการ E-Library (ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์) มาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการจัดท�ำและพัฒนาองค์ความรู้ให้อยู่ ในรปู แบบสอ่ื การเรยี นรดู้ จิ ทิ ลั ไดแ้ ก่ หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Book) นิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-Magazine) หนังสือเสียง (Audio Book) พอดแคสต์ (Podcast) และชุดขอ้ มูลองคค์ วามรู้ ในรูปแบบ ส่ือเรียนรู้ดิจิทัลต่างๆ โดยพัฒนาให้เชื่อมโยงกับฐานข้อมูลความรู้ ตา่ งๆทวั่ โลกครอบคลมุ ขอ้ มลู ความรทู้ ห่ี ลากหลายทงั้ ในด้านเศรษฐกจิ และการบรหิ ารจดั การ วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม สังคม วฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ความรเู้ ฉพาะดา้ นในการประกอบ อาชีพ และความรสู้ ำ� หรับเดก็ และเยาวชน ในชว่ งทม่ี กี ารแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 TK Park ไดป้ รบั เปลย่ี น รปู แบบการใหบ้ ริการออนไลน์ ในหลายรปู แบบ อาทิ การถา่ ยทอดสด Online “Re: Learning for the Future 19 ความท้าทายใหม่ในโลกที่ (ไม่) เหมือนเดิม” โดยผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆ 19 คน มาถ่ายทอดประสบการณ์จากวิกฤติโควิด-19 เพื่อร่วม เรียนรู้ใหม่ คิดใหม่ ค้นพบโอกาสใหม่ เพื่อเตรียมพร้อมรับมือกับ “ความปกติใหม่” ได้อย่าง รู้เท่าทนั และพร้อมกา้ วตอ่ ไปให้ไกลกวา่ เดิม อาทิ New Normal วชิ านอกต�ำราที่ทุกคนตอ้ งรู้ ผคา่ ลอนิปุทเฟวยผดิซา่าถบนีโนอ่าุก๊กชมยแาอ่ าทรฟงเเอทผรนดียายเพสงนแดดจรพังู้ แรTกย่ลKลอ้ะ่าPนนวaหำ� rลkัง L i f e l o n g L e a r n i n g โ ค วิ ด - 1 9 สง่ ผลกระทบอยา่ งไรตอ่ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ กิจกรรม กจิ กรรม Read and Learn Online Family Read More the Series ชวนคุณพ่อคุณแม่พาเด็กๆ มานั่งล้อมวงฟังการเล่านิทาน อยู่บ้านไม่เหงา เสริมสร้างจินตนาการ โดยคัดเลือกนิทานคุณภาพจาก เพราะเราจะชวน นานาชาติ ได้แก่ นักอ่านมาชม “บทเพลงแห่งลำ� ธารสายนอ้ ย” โดย Etsuko Bushika และ ตอน วรรณกรรมเยาวชน โดย Yoshitaka Tagashira คั ด สุ ด ย อ ด ห นั ง สื อ ดี ม า แ น ะ น� ำ ไดแ้ ก่ “เจา้ ชายนอ้ ย” “โมโม”่ “ตน้ สม้ “เมอ่ื เราเปดิ กอ๊ กน้ำ� ” โดย Susumu Shinku แสนรกั ” และ “บา้ นเลก็ ในปา่ ใหญ่” “Before & After” โดย Jean Jullien “I Like, I don’t Like” โดย Anna Baccelliere “มะม้า! ซ้ือถั่วเขียว” โดย เฉินหยางซ่ิง และ หว่านหัวกั้ว นทิ านรางวัลวรรณเด็กยอดเย่ยี มจากไต้หวนั “สโี่ มงครงึ่ ” โดย Yoon Seok-Joong นทิ านรางวลั วรรณเดก็ ยอดเยย่ี มจากเกาหลีใต้
INSIDE Okmd I 29 TK on Tour ตอน Tour From Home พาเท่ียวท่ัวไทยไปรู้จักกับวิถีชีวิตพ้ืนเมืองอันแสนงดงาม พร้อมเพลิดเพลินกับกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ หลากหลายสไตล์ท่ีรว่ มสนกุ กันได้ทงั้ ครอบครัว โดยมเี ร่อื งราวทน่ี า่ สนใจ อาทิ ม่วนกุ๊บแบบเกินร้อยท่ีเมือง แวะเมืองกรุง เพลิดเพลินกับ แอว่ เมอื งสามหมอกทแ่ี มฮ่ อ่ งสอน ร้อยเอ็ด ลิ้มรสขนมหวานสุดแซ่บ นิทานแบบคามิชิไบ (Kamishibai) ชวนผ่อวัฒนธรรมไทใหญ่ต้ีงดงาม กับกิจกรรมสาธิต “เค้กวุ้นดอกไม้” หรอื ศลิ ปะการเลา่ เรอื่ งประกอบภาพ กับกิจกรรม “สร้างฝันสร้างคิดส์” โดยอทุ ยานการเรียนรูร้ ้อยเอด็ เรื่อง “ลูกแกะสามตัว” แล้วลงมือ รู้จักภาษาไทใหญ่และวัฒนธรรม วาดเส้นสร้างสรรค์งานประดิษฐ์ ท้องถิ่นผ่านสินค้าแม่ฮ่องสอน โดย แบบ D.I.Y. โดยอุทยานการเรียนรู้ อุทยานการเรียนรู้แมฮ่ อ่ งสอน (TK Park) กรุงเทพมหานคร แลเมืองไข่มุกอันดามัน ฟังนิทานเรื่อง “กุ๋งกิ๋ง ลอ่ งใตป้ ลายดา้ มขวานสเู่ มอื งพหวุ ฒั นธรรมทย่ี ะลา... เท่ียวภูเก็ต” พร้อมชิม “หมี่ฮกเกี้ยน” อาหารเด็ด เมืองน่าอยู่สนุกกับกิจกรรม “ทุกวันมีแต่ของอร่อย” ชาวภูเก็ตท่ีต้องยกน้ิวว่าหรอยแรง!! จากนั้นไปสนุก ชวนชิมอาหารมุสลิมชายแดนใต้ที่หากินได้ในเดือน กับ “โฮโลแกรม 3 มิติ” สรา้ งภาพเคลอื่ นไหวเสมอื นจริง รอมฎอน โดยอทุ ยานการเรียนรู้ยะลา ด้วยสมารต์ โฟน โดยอทุ ยานการเรียนร้ภู เู ก็ต กิจกรรม TK Park จัดกิจกรรมแนะแนวรูปแบบใหม่บนโลกออนไลน์ แนะให้แนว เพือ่ เปน็ การเตรียมความพร้อมใหก้ บั เยาวชน อาทิ “ชวี ติ จรงิ ต้อง Journey” Talk Session โดยเป็นการ Job Cafe ร่วมแลกเปลี่ยน ถา่ ยทอดสดออนไลนก์ บั เหลา่ คนดงั เรียนรู้ผ่านระบบวิดีโอคอลกับ ท่มี าสรา้ งแรงบนั ดาลใจ พร้อมแนะ เหล่ามืออาชีพที่มาช่วยแนะน�ำ วธิ แี ละเทคนคิ การเตรยี มตวั สอบเขา้ อาชีพท่ีสอดคล้องกับแนวโน้ม มหาวิทยาลัยรปู แบบใหม่ TCAS การเปล่ยี นแปลง Uni Talk โดยมีนิสิตนักศึกษา Workshop 5 อ อ น ไ ล น ์ มาถ่ายทอดประสบการณ์จริงใน เวริ ก์ ชอ็ ปทชี่ ว่ ยเพมิ่ ทกั ษะใหมใ่ หแ้ ก่ รั้วมหาวทิ ยาลยั ผ้สู นใจ
30 I INSIDE Okmd ด�ำเนินการพัฒนาเว็บไซต์ที่เป็นศูนย์รวมข้อมูลข่าวสาร เก่ียวกับพิพิธภัณฑ์ท่ัวประเทศไทย ปัจจุบันมีข้อมูล พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้ท่ีมีความเคลื่อนไหวจากการ แก้ไข ปรับปรุง และเพ่ิมเติมข้อมูลจากพิพิธภัณฑ์และแหล่ง เรียนรู้ออนไลน์ จ�ำนวนท้ังส้ิน 1,579 แห่ง โดยรวบรวมข้อมูล ท่ีมีประโยชน์ เช่น ที่ตั้ง รายละเอียดสิ่งที่จัดแสดง ร้านอาหาร ท่ีพัก แหล่งท่องเที่ยวท่ีอยู่ใกล้เคียง ฯลฯ สามารถสืบค้นได้ ผา่ นเว็บไซต์ www.museumthailand.com ในระบบKnowledgePortalของมวิ เซยี มสยามยงั ประกอบดว้ ย ระบบฐานข้อมูลแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ท่ีกระจายอยู่ในพื้นที่ ภูมิภาคและท้องถิ่นในประเทศ เป็นต้นแบบระบบการเรียน การสอนทางไกลเพ่ือการค้นคว้าและการเรียนรู้จากแหล่ง เรียนรู้และพิพิธภัณฑ์ในประเทศ รวมถึงมีบริการพิพิธภัณฑ์ อิเล็กทรอนิกส์ (E-Museum) เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถ รับชมนิทรรศการและเรียนรู้ผ่านสื่อมัลติมีเดียต่างๆ บนเวบ็ ไซต์ www.museumsiam.org Museum Siam ปรับรูปแบบการให้บริการความรู้ ภายใต้โครงการ #ให้ทุกการเรียนรู้ไม่ห่างอย่างท่ีคิด #museumsiamfromhome โดยมุ่งส่ือสารให้คนไทยไม่หยุดเรียนรู้ และร่วมกันสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ โดยเน้นการใชส้ ื่อดิจทิ ัลและการเผยแพรผ่ ่านช่องทางออนไลน์ ผ่านให้บรกิ ารความรู้ 6 รูปแบบ ดงั นี้ Virtual Exhibition ระบบ Digital Archive คลัง Marketing&Communication พิพิธภัณฑ์เสมือนจริง มีจุดเด่น ความรอู้ อนไลน์ ซ่ึงประกอบไปด้วย ใ น น� ำ เ ส น อ นิ ท ร ร ศ ก า ร ท่ี มี แ ส ง บ ท ค ว า ม เ ข ้ ม ข ้ น ส� ำ ห รั บ ค น รั ก ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร ต ล า ด แ ล ะ สี เสียงเสมือนจริง และสามารถ พิพิธภัณฑ์ (Museum’s Core) การสอ่ื สาร เพ่อื สร้างการมสี ่วนรว่ ม เทยี่ วชมไดแ้ บบ360องศาเพอื่ ใหค้ น นิตยสารสร้างสรรค์แรงบันดาลใจ กบั กลมุ่ เปา้ หมายของมวิ เซยี มสยาม ท่ัวทุกพ้ืนท่ีของประเทศสามารถ การเรยี นรู้ (Muse Magazine) คลงั ผ่านแคมเปญแบบปากต่อปาก ค ลิ ก เ ข ้ า ช ม ไ ด ้ ทุ ก ที่ ทุ ก เ ว ล า ภาพเกา่ (Photo Archive) บทความ (Viral Campaign) โดยสร้างสรรค์ โ ด ย นิ ท ร ร ศ ก า ร ท่ี อ ยู ่ ใ น ร ะ บ บ ข่าวสารจากพิพิธภัณฑ์ทุกมุมโลก กจิ กรรมสนกุ ทสี่ ามารถสรา้ งกระแส พิพิธภัณฑ์เสมือนจริงคัดเลือก (Muse Around the World) ขอ้ มลู การรับรู้และเป็นท่ีสนใจในวงกว้าง มาจากนิทรรศการหมุนเวียนที่ได้ การจดั การความรู้ และสอ่ื การเรยี นรู้ อาทิ รับความนิยมจากผู้เข้าชม อาทิ พพิ ธิ ภัณฑ์ นิทรรศการกินของเน่า ท่าเตียน “เมนูไข่ เมนูมัน” เชิญชวน ต้มยำ� กุ้งวทิ ยา ฯลฯ Online Activities การจัด ร่วมสรา้ งสรรคเ์ มนูไข่ กิจกรรม เสวนา และบรรยายผ่าน E-Library ห้องคลังความรู้ รปู แบบออนไลน์บนเฟซบกุ๊ แฟนเพจ บนั ทกึ ลบั กกั ตวั ทม่ี วิ เซยี มสยาม ของมิวเซียมสยาม เปิดให้บริการ Museum Siam (Museum Siam’s Diary Quarantine ยื ม - คื น ห นั ง สื อ ท า ง อ อ น ไ ล น ์ Day 25) โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ผู้ใช้บริการ E-Shopping การจ�ำหน่าย สามารถใช้อีเมล์ในการเข้าสู่ระบบ สนิ คา้ ของทรี่ ะลกึ ทางออนไลน์ และ #songkranfromhome เรียนรู้ เพื่อยืมหนังสือ และสามารถ บริการจัดส่งฟรีถึงบ้าน (Muse และสนกุ ไปกบั เสื้อลายดอก ส่งหนังสือคืนผ่านทางไปรษณีย์ Shop Online) หรือผใู้ หบ้ ริการส่งของเอกชน การแจกพ้ืนหลังรูปมิวเซียม สยาม เพ่ือเป็นพื้นหลังส�ำหรับ วิดีโอคอล
INSIDE Okmd I 31 นอกจากน้ี Museum Siam ได้มีการเตรียมมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด-19 ไว้ทั้งในส่วนของสถานที่ เจ้าหน้าที่ และผู้ใช้บริการ เมื่อรัฐบาลประกาศผ่อนปรนมาตรการฯ และให้พิพิธภัณฑ์ สามารถเปิดให้บริการได้ตามปกติ Museum Siam ได้กลับมาเปิดให้บริการอีกครั้ง พร้อมขานรับ นโยบายภาครัฐ ยกระดับการจัดการภายในพิพิธภัณฑ์ เข้มงวดด้านมาตรการป้องกันการแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโควิด-19 และรักษาระยะห่างทางสังคมเพ่ือให้สอดรับพฤติกรรม ไลฟ์สไตล์ ของผู้บริโภคแบบ New Normal ตามมาตรฐานสาธารณสขุ โดยมมี าตรการดังต่อไปน้ี มาตรการและขอ้ ปฏบิ ตั ิส�ำหรบั ผ้เู ขา้ รบั บริการ ขมอาตงเรจก้าาหรนแา้ ลทะข่ี อ้ ปฏบิ ตั งิ าน ขอความรว่ มมอื ผเู้ ขา้ รบั บรกิ ารปฏบิ ตั ติ ามขน้ั ตอนแนะนำ� ณ จดุ บรกิ าร ต่างๆ ภายใน Museum Siam โดยต้องสวมหน้ากากอนามัยทุกครั้ง เจ้าหน้าที่บริการของ Museum กอ่ นเขา้ รบั บริการ และรับการตรวจวัดอณุ หภมู ริ า่ งกาย พร้อมลงทะเบียน Siam ทุกคนจะสวมใส่หน้ากาก การเข้าใช้บริการ ณ จุดคัดกรอง บริเวณโถงทางเข้าหลักของอาคาร อนามัย หรือ Face Shield ตลอด นิทรรศการ ห้องคลังความรู้ และร้านอาหาร Muse Kitchen by Elefin ระยะเวลาท่ีให้บริการเพ่ือลด Coffee และใช้แอลกอฮอล์เจลลา้ งมอื กอ่ นเข้ารบั บรกิ าร การแพร่เช้ือและความปลอดภัย ในการให้บรกิ าร มาตรการและขอ้ ปฏบิ ัติด้านสถานท่ี การจัดให้มีการเว้นระยะห่าง การดูแลทำ� ความสะอาด พื้นท่ี การใช้เทคโนโลยีอบฆ่าเชื้อ (Social Distancing)โดยมกี ารจดั ทำ� บริการภายใน Museum Siam หลังเวลาปิดให้บริการเราจะมีการ จดุ ในการชมนทิ รรศการในแตล่ ะหอ้ ง จุดทีม่ ีการสมั ผัส อุปกรณ์ และวตั ถุ ใช้เทคโนโลยีการอบฆ่าเชื้อและ การจ�ำกัดจ�ำนวนผู้เข้าใช้บริการ จัดแสดงในนิทรรศการจะมีการ ท�ำความสะอาดพ้ืนที่การให้บริการ ในรา้ นคา้ ของทร่ี ะลกึ หอ้ งคลงั ความรู้ ทำ� ความสะอาดทกุ 2-3ชว่ั โมงรวมถงึ ทงั้ หมดเพอ่ื พรอ้ มบรกิ ารในวนั ถดั ไป และภายในร้านอาหารมีการจัดโต๊ะ หนังสอื ภายในห้องคลงั ความรู้ และ ส�ำหรับให้บริการแบบเว้นระยะห่าง สินค้าตัวอย่างหรือสินค้าทดลอง โดยขนาดเล็กน่ังได้ 1 คน สว่ นโต๊ะ ภายในรา้ นคา้ ของทรี่ ะลกึ Muse Shop ขนาดใหญ่จัดเก้าอี้เว้นระยะตาม ก็จะมีการท�ำความสะอาดฆ่าเชื้อ ความเหมาะสมและปลอดภยั ดว้ ยรงั สี UVC ในสว่ นของรา้ นอาหาร มีการป้องกันรักษาความสะอาด ท้ังพ้ืนท่ีภายในร้านและบริเวณ การปรงุ อาหารดว้ ย ท้งั นี้ มาตรการดังกล่าวเป็นมาตรการเสรมิ ท่ี Museum Siam ไดส้ รา้ งบรรทดั ฐานการเข้าชมใหม่ รวมถงึ มีการ เพ่มิ ความถี่ในการดูแลรักษาและท�ำความสะอาด พ้ืนท่ีบรกิ ารตา่ งๆ เพอื่ เพ่มิ ความมัน่ ใจในการเข้ามาใช้บริการท่ี Museum Siam อีกทงั้ ยงั มีบรกิ ารฟรี Wi-Fi อ�ำนวยความสะดวกใหก้ บั ผเู้ ขา้ ชมอีกด้วย
32 D Digitonomy รวมมิตรตวั เลข การใช้ประโยชนจ์ ากโลกออนไลน์ ในช่วงโควดิ -19 ก่อนหน้านี้ “โลกออนไลน์” คือพื้นที่ไร้พรมแดนท่ีเชื่อมโยงผู้คนทั่วโลกเข้าด้วยกัน ปัจจุบันนับต้ังแต่ การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 โลกออนไลน์ใบเดิมได้ทวีความส�ำคัญข้ึนแบบก้าวกระโดด โดยเฉพาะในพ้ืนท่ี ท่ีมีการล็อกดาวน์ ซึ่งปริมาณการใช้งานส่ือสังคม อีคอมเมิร์ซ แพลตฟอร์มการเรียนและการท�ำงานออนไลน์ รวมถงึ ความบันเทิงออนไลนไ์ ด้เพิม่ จ�ำนวนขึน้ ทัง้ ในแง่ของจ�ำนวนและสถติ ิ ล4า้ 7น.ค5น มาดกู นั ว่าช่วงวิกฤตโิ ควดิ -19 คนท่ัวโลก 17%มกี ารใช้งานอินเทอรเ์ นต็ เปลย่ี นไปอยา่ งไรบ้าง 00:00 คอื จ�ำนวนคนไทยที่ใช้อนิ เทอรเ์ นต็ คือปริมาณการใช้อินเทอร์เน็ต ในปี พ.ศ. 2562 คดิ เป็น 70% ของ ผ่านสมาร์ตโฟนที่เพิ่มขึ้น จากเดิม 12 GB/หมายเลข/เดือน ในเดือน ประชากรท้ังหมด มีนาคม พ.ศ. 2563 ล4า้ ,5น7ค0น ลา้ 1น2คน คือจ�ำนวนคนทว่ั โลกที่ใช้ คือจ�ำนวนคนไทยที่ต้อง อินเทอร์เนต็ ในเดือนเมษายน เกบ็ ตวั อยู่บ้านในช่วงทมี่ ี พ.ศ. 2563 เพิม่ ขึ้น 301 ล้านคน การแพร่ระบาดของโรค เมอื่ เทยี บกบั เดือนเมษายน เม่อื เทียบกับเดือนเมษายน พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2562 อา้ งอิง : We Are Social และ Hootsuite อ้างองิ : กระทรวงดิจิทลั เพ่ือเศรษฐกิจ และสังคมและกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
Digitonomy WD 33 New Normal ดา้ นการเรียนรู้ 2,400% ค้นหาเพอ่ื เรียนรู้ เรยี นออนไลน์ได้เกยี รตบิ ัตร คืออตั ราทเี่ พิ่มขึ้นของการค้นหาค�ำวา่ สอนออนไลน์ “เรยี นออนไลนไ์ ดเ้ กยี รตบิ ตั ร” บนกเู กิล 7 เท่าเม่ือเทียบกับเดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2562 คอื อัตราทผ่ี ู้สอนคน้ หาค�ำวา่ “สอนออนไลน”์ บนกเู กิล เม่อื เทียบกบั เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2562 อ้างองิ : กูเกลิ เทรนด์ (Google Trends) 325สอ่ งเทรนด์ 218% การเรียนออนไลน์ คือยอดขายท่ีเพ่ิมขึ้นเม่อื บรษิ ทั ใหพ้ นกั งานเรียน ในระดบั โลก ออนไลน์เพือ่ พฒั นาทักษะ ดอลพลนั าลรา้ส์ นหรัฐ อา้ งองิ : American Society for Training and Development คือประมาณการมูลค่าตลาด E-Learning ในปี พ.ศ. 2568 81% อ้างองิ : นิตยสารฟอรบ์ ส์ 49% คอื จำ� นวนนกั ศกึ ษาชาวอเมรกิ นั ทีเ่ ห็นวา่ การเรยี นออนไลน์ชว่ ยให้เกรดดีขึน้ คอื จ�ำนวนนักเรยี นทัว่ โลกทเ่ี คยเรยี น ออนไลน์ในช่วง 12 เดือนทีผ่ า่ นมา อา้ งอิง : Statista 5 อันดบั โปแลนด์ ประเทศที่ใชร้ ะบบ E-Learning มากท่สี ุด 38% 28% อนิ เดยี มาเลเซีย 53% 52% 41% จีน โรมาเนีย
34 D Digitonomy ชีวติ แบบปกติใหม่ในโลกออนไลน์ 50% 5อนั ดบั 45% ยกเลิกการเดินทาง พฤตกิ รรมท่เี ปลยี่ นแปลงไป ซอื้ ของกินของใช้ ท้งั ในประเทศและ ในยุคโควดิ -19 ส�ำหรับเวลาฉุกเฉนิ ต่างประเทศ 44% ท�ำงานที่บา้ น 41% 38% ใช้บริการจดั สง่ อาหารถึงบา้ น ลดการใชจ้ ่าย อ้างอิง : Kantar, GREYnJ United และ Mindshare (Thailand) ความปกติใหมอ่ ะไรบา้ งทท่ี ำ� ให้ การใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ เพิม่ ขนึ้ เทย่ี วทั่วโลก สั่งอาหาร ผ่านประสบการณ์ ออนไลนผ์ ่าน แอปพลิเคชัน เสมือน ชมภาพยนตร์ ประชมุ เรียนหนงั สอื ออนไลน์ ออนไลน์ผ่าน ผา่ น โปรแกรมต่างๆ ผา่ นเวบ็ สตรมี มงิ E-Learning ทำ� งานจาก ซอื้ ของออนไลน์ ทีไ่ หนกไ็ ด้ ผ่านส่ือสงั คมและ แพลตฟอรม์ มาร์เก็ตเพลส อา้ งองิ : สำ� นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ SCAN QR CODE เพอ่ื รับชม Gif
Digitonomy WD 35 สอ่ งพฤติกรรมการบริโภคชว่ งวกิ ฤตโควิด-19 แม้เศรษฐกิจชะลอตวั แต่ความตอ้ งการสนิ ค้าบางอยา่ งยังมีอยู่ 5 กลุ่มสนิ ค้าทม่ี ียอดขายเพมิ่ ข้นึ ในชว่ งนี้ ไดแ้ ก่ สนิ คา้ อปุ โภค หนังสอื สว่ นลดและ สนิ ค้า อุปกรณส์ �ำนักงาน ้อาง ิอง : Priceza Insight 139% 105%บรโิ ภคในครวั เรอื น แพ็กเกจทอ่ งเทีย่ ว แมแ่ ละเด็ก และเครื่องเขยี น 102% 96% 95% 5 แอปพลิเคชันท่ีเตบิ โตสูงสดุ ในไทยในยคุ โควิด-19 อZoนัomดบั 1 อSkันypดe ับ 2 อนั ดับ 3 ้อาง ิอง : บริ ัษท โทเ ิท่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเค ่ชัน จ�ำกัด (มหาชน) 828ผ้ใู ชง้ านเพ่ิมขึ้น ้ขอมูลระห ่วาง 1 มกราคม-19 มีนาคม 2563 % 215ผูใ้ ช้งานเพ่ิมขึ้น Google Hangouts % 67%ผ้ใู ชง้ านเพ่มิ ขึ้น อนั ดับ 4 อนั ดับ 5 Grab แFลaะceLbINoEokCMalel (sVsoeInPg)er 36%ผู้ใช้งานเพิ่มขน้ึ 17%ผใู้ ชง้ านเพ่ิมข้นึ ธนาคาร 4 ประเภท การขายสินคา้ อิเล็กทรอนกิ ส์ ธรุ กิจท่ีได้ประโยชนจ์ าก ออนไลน์ และแอปพลเิ คชัน วกิ ฤตโิ ควดิ -19 บริการส่งอาหาร ธนาคารบน ออนไลน์ สมาร์ตโฟน และอุปกรณ์ การจา่ ยเงิน ท�ำอาหาร โดย ไม่ใช้เงินสด อ้างอิง : กูเกิลเทรนด์ (Google Trends)
36 D DECODE เอไอเถออสดกรบั หกัสาครวจาัดมกสาำร�เครจ็วามรู้ อยา่ งเป็นระบบ ความรู้ท่ีมีอยู่มากมายมหาศาลจ�ำเป็นจะต้องได้รับการจัดการอย่างเป็นระบบ เพื่อให้สามารถเก็บรวบรวม จัดระเบยี บ ค้นหา และเลอื กใชข้ อ้ มลู ความรไู้ ดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ โดยเฉพาะในองค์กรตา่ งๆ ท้งั ภาครฐั และเอกชน ไม่ว่าจะเป็นองค์ขนาดขนาดใหญ่ ขนาดกลาง หรอื ขนาดเล็ก กต็ าม หากมกี ารบรหิ ารจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) อยา่ งเปน็ ระบบ โดยการรวบรวมความรู้ จากบคุ ลากรทกุ คน สนบั สนนุ ใหบ้ คุ ลากรแบง่ ปนั และแลกเปลย่ี นความรปู้ ระสบการณ์ และความคดิ ใหมๆ่ จะชว่ ย ลดเวลาในการเรียนรู้งาน ลดความผิดพลาดในการท�ำงาน รวมถึงกระตุ้นให้เกิดการต่อยอดความรู้และแนวทาง การทำ� งานใหม่ๆ ที่มีประสิทธิภาพดีย่ิงขึน้ ชว่ ยเพมิ่ ความสามารถในการแขง่ ขนั และเป็นปจั จัยขบั เคลอื่ นองคก์ ร ไปสเู่ ปา้ หมายแห่งความส�ำเร็จ แนวคิดในการจดั การความรู้ของเอไอเอส บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส เป็นองค์กรเอกชนขนาดใหญ่ที่ประสบ ความส�ำเร็จในอุตสาหกรรมการให้บริการด้านดิจิทัลไลฟ์ (Digital Life Service Provider) การเป็นองค์กรใหญ่ ในธุรกิจดิจิทัลซึ่งเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ไม่หยุดน่ิง ท้ังด้านเทคโนโลยี กระบวนการที่ซับซ้อน และพฤติกรรม ของลูกค้า ท�ำให้การพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้วยการ ฝกึ อบรม การแบง่ ปนั ความรตู้ ามอัธยาศยั และการเรยี นรู้ ด้วยตนเองไม่เพียงพอ องค์ความรู้ที่เกิดข้ึนในองค์กร ติดอยู่กับตัวบุคคลหรือถูกละเลยทอดท้ิง ขาดการ แลกเปล่ียนแบ่งปัน การเก็บรวบรวมความรู้ไม่มี ประสิทธภิ าพเพยี งพอ ท�ำใหก้ ารพฒั นางานและการสรา้ ง นวัตกรรมเกิดข้ึนช้า ไม่มีการต่อยอดความคิดหรือความรู้ จากผู้อื่น เอไอเอสจึงต้องน�ำการบริหารจัดการความรู้ มาเป็นเครือ่ งมอื ในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ผลสำ�เรจ็ ของการจัดการความรู้ 1 เกิดชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) กลุ่มผู้สอนงาน และแลกเปลี่ยนความรู้ รวมท้ังสร้างความสัมพันธ์ที่ดี (Mentor) วิทยากรภายใน และผู้เชี่ยวชาญ ซ่ึงเพิ่ม ในก4ล ุ่มพเนกักดิ งการนะบวนการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองและเรยี น จ�ำนวนจากกลุ่มเล็กๆ เป็นหลายสิบคนในแต่ละกลุ่ม ควา2ม รู้ มีการจัดการและจัดเก็บองค์ความรู้อย่าง รู้ร่วมกันระหว่างสายงานอย่างต่อเน่ือง การเรียนรู้และ เปน็ ระบบในคลงั ความรู้ Nokhook (AIS KM Platform) การแลกเปลย่ี นแบง่ ปนั ความรกู้ ลายเปน็ วฒั นธรรมของ เป็นองค์ความรู้พร้อมใช้ มีการอัปเดตให้เป็นปัจจุบัน องค5ก์ ร เกิดการพัฒนาคุณภาพงานอย่างเป็น และ3ส อดเคกลิด้อเงวก็บับบแอผรน์ดธทุรก่ีมิจีกขาอรงบองรคิห์การรจัดการข้อมูล รปู ธรรม มนี วตั กรรม บรษิ ทั บรรลเุ ปา้ หมายตามพนั ธกจิ และองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ สนับสนุนการแบ่งปัน มีความก้าวหน้าอย่างย่งั ยืน
DECODE D 37 เส้นทางการจัดการความรู้ของเอไอเอส กลา่ วโดยสรปุ โมเดล KM ของเอไอเอส ประกอบด้วย 3 สว่ นหลัก ไดแ้ ก่ การจดั เก็บรวบรวมความรเู้ พ่ือเป็นแหล่งเรยี นรู้ เร่ิมด้วยการท�ำแผนท่ีความรู้ (Knowledge Mapping) เพื่อส�ำรวจ ว่าองค์กรต้องการความรู้อะไร การแต่งต้ังคณะท�ำงานและผู้เชี่ยวชาญ หรือกูรูในแต่ละกลุ่มความรู้ การประชุมเพ่ือท�ำแผน KM ในการรวบรวม ผลติ และสง่ มอบองค์ความรู้ แลว้ เกบ็ รวบรวมไว้ท่คี ลงั ความรู้ Nokhook ซง่ึ เปน็ แพลตฟอรม์ KM ในระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ บบภายในองคก์ ร 1 (Intranet) ซ่งึ เข้าถงึ ไดเ้ ฉพาะบคุ ลากรของเอไอเอสเทา่ นัน้ 2 การนำ�ความรู้ มาใช้ใหเ้ ปน็ รูปธรรม มี Nokhook เป็นศูนย์กลางเก็บรวบรวมความรู้ เป็นเสมือนห้องเก็บองค์ความรู้ขนาดใหญ่ ใช้เป็น แหลง่ คน้ ควา้ ตามหมวดหมตู่ า่ งๆ โดยมโี ปรแกรม Fast Search ช่วยในการค้นหา 3 ชอ่ งทางแลกเปลย่ี นและแบง่ ปนั องคค์ วามรภู้ ายในองคก์ รคอื เวบ็ บอรด์ ซง่ึ แบง่ เปน็ หอ้ งตา่ งๆ ตามประเภทขององค์ความรู้ท่ีจ�ำเป็นต่อการปฏิบัติงาน และมีผู้เช่ียวชาญประจ�ำห้อง การแบ่งปัน คอยใหค้ ำ� ปรกึ ษา รวมถงึ มหี อ้ งสำ� หรบั แลกเปลยี่ นเรอื่ งทว่ั ไป เชน่ แฟชนั่ สถานทที่ อ่ งเทย่ี ว แลกเปลี่ยนความรู้ เทคโนโลยี นอกจากนย้ี งั มกี ารจงู ใจใหบ้ คุ ลากรสง่ มอบองคค์ วามรมู้ ายงั Nokhook ทงั้ แบบกำ� หนด เป็นหน้าทแี่ ละโดยสมคั รใจ เช่น การก�ำหนดให้บุคลากร B การจดั กจิ กรรมวนั วทิ ยากร การมอบรางวลั Nokhook ส่งม อ บ อ ง ค ์ ค ว า ม รู ้ ภายใน เพอื่ ยกยอ่ งเชดิ ชู MVP Awards ให้แก่ ตามจ�ำนวนท่ีก�ำหนด B เกียรตวิ ทิ ยากรภายใน ผู้สร้างองค์ความรู้ผ่าน ในชว่ งเวลาทกี่ �ำหนด ทาง Nokhook และผทู้ ี่ การก�ำหนดให้ผลการ เขา้ มาเรยี นรจู้ ากNokhook ประเมินด้าน KM มีผล และน�ำองค์ความรู้น้ัน ต่อการเพิ่มเงินเดือน ไปใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านจรงิ หรือเล่ือนตำ� แหนง่
38 WD DECODE กสูเก่กู ลิ ากรสารรจา้ งดั นกวาตั รกครวรามมรู้ ยกั ษใ์ หญแ่ หง่ วงการเทคโนโลยสี ารสนเทศของโลกอยา่ งกเู กลิ (Google) เปน็ อกี หนง่ึ องคก์ รทใ่ี หค้ วามสำ� คญั กบั การพัฒนาบุคลากร เพ่อื สรา้ งสมาร์ตครีเอทีฟ (Smart Creative) หรอื กลุ่มคนทำ� งานท่รี ูล้ กึ รู้จรงิ ในสายงาน ของตัวเอง รวมทั้งมีความรู้ความเข้าใจแง่มุมเชิงธุรกิจ รู้จักคิดวิเคราะห์ กล้าเสี่ยง กล้าลองผิดลองถูก และมี พลงั แหง่ การสรา้ งสรรคเ์ ตม็ เปย่ี ม โดยสงิ่ ทกี่ เู กลิ สรา้ งขน้ึ คอื “วฒั นธรรมการทำ� งาน” แบบสนกุ สนาน ผอ่ นคลาย เปิดกว้าง และเต็มไปด้วยความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเกิดขึ้นผ่านการบริหารจัดการ “สภาพแวดล้อม” ให้บรรดา สมารต์ ครเี อทฟี อยากมาท�ำงาน และปลดปลอ่ ยศักยภาพออกมาไดม้ ากท่ีสุด โดยส�ำนักงานของกูเกิลได้เน้นการจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเติบโตทางความคิด ช่วยบริหารความสุข กระตุ้นแรงบันดาลใจ และส่งเสริมการเรียนรขู้ องพนักงาน เชน่ hi! พน้ื ทท่ี ำ� งานขนาดเล็ก สวัสดกิ ารฟรสี ำ� หรับพนักงาน ของเลน่ วิดโี อเกม เพื่อใหพ้ นักงานพูดคุยสื่อสารกัน มอบบรกิ ารในรปู แบบตา่ งๆ เชน่ เพอ่ื ความผ่อนคลาย ไดต้ ลอดเวลาและโดยสะดวก อาหารและกาแฟ การดูแลรักษา สุขภาพ ทนั ตกรรม นวด ตัดผม และเสริมทักษะ ซักแหง้ โรงยมิ และสระวา่ ยน�้ำ รวมถึงห้องอาบนำ�้ และหอ้ งนอน พื้นที่สว่ นกลาง กระดาน คลาสเรียน คอรส์ อบรม เพอื่ พักผ่อนและ แบ่งปันไอเดีย จดั การบรรยายจากผนู้ �ำ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เพอื่ แลกเปลี่ยน ทางความคิดระดับโลก แบ่งปันไอเดยี รวมกนั SCAN QR CODE เคร่อื งมอื การท�ำงานท่ีทรงพลัง เพ่ือรบั ชม Clip เพ่อื ให้เข้าถงึ แหลง่ ข้อมูลทีด่ ที ่ีสุด ในโลกได้ไม่จำ� กดั
DECODE D 39 นอกจากนี้ เพ่ือให้องค์กรก้าวทันความเปล่ียนแปลงของโลกและ เป็นผู้น�ำในการสร้างนวัตกรรมต่างๆ อยู่เสมอ กูเกิลกระตุ้นให้พนักงาน มีความกระหายท่ีจะเรียนรู้สิ่งใหม่ตลอดเวลา ตามแนวคิด “Hungry but Humble” กระหายการเรยี นรู้ แต่ออ่ นนอ้ มถอ่ มตน โดยส่งเสริมให้พนักงานได้ซึมซับวัฒนธรรมการเรียนรู้ในองค์กรต้ังแต่ การปฐมนิเทศพนักงานใหม่ ไปจนถึงการเข้ารับการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มพูน ทกั ษะในด้านตา่ งๆ เชน่ ภาวะผู้น�ำ การบริหาร การพัฒนาทกั ษะเฉพาะด้าน เม่ือพนักงานเชี่ยวชาญในเร่ืองใดเรื่องหน่ึงแล้วก็จะต้องส่งต่อความรู้นั้น “องค์กรยุคใหม่ ให้เพือ่ นร่วมงานคนอ่นื ผา่ นโปรแกรมการเรียนรู้ เช่น Googler-to-Googler กบั การรียนรู้อนั ไม่สิน้ สุด” (G2G) ซ่ึงคิดเป็น 80% ของการถ่ายทอดความรู้และการจัดการความรู้ ท้งั หมดภายในกูเกลิ ผลสำ�เรจ็ ของการจดั การ ความรผู้ ่านโปรแกรม G2G 1 พนกั งานได้รับการส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวติ 2 พนกั งานมโี อกาสก้าวหนา้ จากการฝกึ ระหวา่ งปฏิบัตงิ านจรงิ (On the Job Training) 3 พนกั งานไดส้ ่งตอ่ ความรู้ที่ตนเองเช่ยี วชาญให้พนกั งานคนอนื่ ผ่านโปรแกรม G2G 4 กูเกิลมีการจัดการความรู้ที่ส่งเสริมให้เกิดการสร้างนวัตกรรม ท�ำให้สามารถสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ท่ีสร้าง ประโยชน์กับองค์กรและสังคมในดา้ นต่างๆ มากมาย เชน่ แพลตฟอรม์ บริการแผนท่ี การแสดง ระบบปฏบิ ัติการ สืบคน้ ขอ้ มลู Google Maps สภาพแวดล้อมเสมือน บนสมารต์ โฟน Google Search Google Street View Google Android 5 กูเกิลประสบความส�ำเร็จในการสร้างพนักงานที่มีความรู้ความเช่ียวชาญ มีศักยภาพ และมีแรงกระตุ้น ที่จะสรา้ งองค์กรแห่งการเรียนร้ตู ่อไปไม่สิ้นสุด ในยุคแห่งข้อมูลข่าวสาร ความรู้กลายเป็นสินทรัพย์ที่ มคี า่ มากทสี่ ดุ การบรหิ ารจดั การความรจู้ งึ เปน็ กลยทุ ธส์ ำ� คญั ในการ“สรา้ งและรกั ษาความสำ� เรจ็ ”ทอ่ี งคก์ รไมอ่ าจมองขา้ ม การมีแพลตฟอร์ม KM เป็นแหล่งรวบรวมความรู้ รวมถึง การสนับสนุนให้บุคลากรแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และความคิดใหม่ๆ คือแนวทางส�ำคัญ ในการพฒั นาบุคลากรให้มีคณุ ภาพ มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถคิดวิเคราะห์และคิดแก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ อันจะน�ำไปสู่ความพึงพอใจของลูกค้า และการเพ่ิมข้ึน ของรายได้ทัง้ จากสินคา้ และบริการอยา่ งเปน็ รปู ธรรม
40 Wค ความรูก้ นิ ได้ รูแ้ ล้วเล่า CONTENT CREATOR นักเลา่ เร่ืองสรา้ งสรรค์ ปัจจุบันเราอยู่ในยุคข้อมูลข่าวสารซ่ึงอินเทอร์เน็ต ความสามารถในการสืบค้นและรวบรวมข้อมูลจาก เปรียบเสมือนโกดังข้อมูลขนาดยักษ์ ข้อมูลท้ังหลาย แหล่งต่างๆ ไม่ว่าจะมาจากความรู้และประสบการณ์ ถูกเผยแพร่อยู่บนโลกออนไลน์ในหลากหลายรูปแบบ ของผู้สร้างคอนเทนต์เอง การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ขณะที่พฤติกรรมการบริโภคข่าวสารข้อมูลของคน การค้นคว้าในห้องสมุด การออกไปหาข้อมูล ยุคใหม่ก็เปล่ียนแปลงไป ท�ำให้เกิดช่องทางอาชีพใหม่ ภาคสนาม หรือแม้กระท่ังการค้นหาจากโกดังข้อมูล ทเ่ี รยี กวา่ “นกั สรา้ งคอนเทนต”์ (Content Creator) หรอื ขนาดยักษ์บนอินเทอร์เน็ต ซึ่งถือเป็นแหล่งข้อมูล นักเล่าเรือ่ งสร้างสรรค์ ส�ำคัญแห่งยุค โดยนักสร้างคอนเทนต์จะต้องรู้วิธีการ สืบค้น การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล นักสร้างคอนเทนต์ คือ ผู้ที่หยิบเอาเร่ืองราวต่างๆ ไปจนถึงการนำ� เสนอขอ้ มลู ในแนวทางของตวั เอง และ ทั้งข่าวสาร สาระความรู้ ความบันเทิง ตลอดจน ต้องรู้จักน�ำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพ่ิมความน่าสนใจ สถานการณ์ความเป็นไปของโลกมาบอกต่อผ่าน ให้ผลงานที่น�ำเสนอจึงจะสามารถสร้างประโยชน์ ช่องทางต่างๆ ได้อย่างน่าสนใจและสร้างสรรค์ ในงานให้มากที่สุด โดยไม่เพียงส่ือสารผ่านตัวหนังสือแบบบล็อกเกอร์ ในยุคก่อนแต่ยังเพ่ิมลูกเล่นด้วยภาพถ่าย คลิปวิดีโอ ท่ีส�ำคัญไปกว่านั้น หากสามารถผลิตคอนเทนต์ดีๆ ไฟลเ์ สยี งแผนท่ี เกม และอ่นื ๆ ท่สี ร้างความเพลิดเพลิน ที่ดึงดูดผู้คนให้เข้ามาติดตามได้เป็นจ�ำนวนมาก ไดม้ ากกวา่ เดมิ ก็อาจเป็นช่องทางสร้างรายได้ให้กับผู้สร้างคอนเทนต์ อยา่ งเปน็ กอบเป็นก�ำ นั ก ส ร ้ า ง ค อ น เ ท น ต ์ ที่ ดี จึ ง ต ้ อ ง มี ทั ก ษ ะ แ ล ะ เลา่ เรอ่ื งอยา่ งไรให้ดงึ ดดู ? ยุคนี้ผู้คนเหลือเวลาและความสนใจไม่มากนักให้กับคอนเทนต์ ยดื ยาวนา่ เบอ่ื การเลา่ เรอ่ื งใหด้ งึ ดดู ใจคนยคุ ใหมจ่ งึ ควรเนน้ ทค่ี วามกระชบั ตรงประเดน็ ตรงกบั ความสนใจและใหเ้ รอื่ งทเ่ี ลา่ เปน็ ตวั กำ� หนดความสน้ั ยาว ของเน้ือหา เร่ืองที่รายละเอียดไม่มากก็ควรสั้น เร่ืองท่ีมีรายละเอียดมาก อาจตอ้ งอธบิ ายยาวสกั หน่อย เพ่อื นำ� เสนอขอ้ มลู ทีค่ รบถ้วนสมบูรณ์ นักสรา้ งคอนเทนตต์ ้องทันต่อความเปน็ ไปในโลกอนิ เทอร์เนต็ สามารถ จบั กระแสปจั จบุ นั ไดว้ า่ อะไรกำ� ลงั “โดน” อะไรท่ี “ดบั ” ไปแลว้ ทสี่ ำ� คญั ควร ทราบว่าวิธีการน�ำเสนอรูปแบบใด ท่ีเหมาะกับเนื้อหาและมีวิธีท�ำอย่างไร ซึ่งไม่มีสูตรส�ำเร็จตายตัว นักสร้างคอนเทนต์ต้องพิจารณาเลือกแนวทาง ท่คี ดิ ว่าดที ส่ี ุดแลว้ ปล่อยให้ผ้ชู มเป็นคนตดั สนิ ใจวา่ ชอบหรือไม่ SCAN QR CODE เพื่อรับฟง Audio Text
ความร้กู นิ ได้ Wnค 41 เวบ็ ไซต์ magnetolabs.com องค์กรผู้เช่ียวชาญเรื่องการตลาดออนไลน์ ให้ข้อมูลว่า คอนเทนต์ที่มีคุณภาพน้ันควร สรา้ งสรรค์ขึ้นโดยค�ำนึงถึงส่ิงเหล่านี้ คอนเทนต์นั้นต้องให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ และควรมปี ระโยชนม์ ากกว่าแหล่งอน่ื ๆ คอนเทนต์จะต้องเชื่อถือได้ ควรอ้างอิง แหลง่ ท่มี าของข้อมลู ใหช้ ัดเจน คอนเทนต์ควรมีความเฉพาะเจาะจงและ ลงรายละเอียด และจะดียิ่งกว่าหากเนื้อหา ไม่ซำ้� ใคร สรา้ งสรรค์ รปู ภาพทส่ี วยงามเหมาะกบั เนอื้ หา และใชภ้ าษาอย่างถูกต้อง เป็นนกั สร้างคอนเทนต์ใหม้ ีรายได้ กล่าวกันว่าการท�ำคอนเทนต์โดยมุ่งเป้าไปท่ีรายได้เพียงอย่างเดียวอาจเป็นการเร่ิมต้นที่ไม่ถูกต้องนัก การสรา้ งคอนเทนตท์ ดี่ ตี า่ งหากทคี่ วรเปน็ เปา้ หมายหลกั โดยควรเนน้ การนำ� เสนอเนอื้ หาสาระทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ ผคู้ น และสามารถน�ำไปใชไ้ ดจ้ ริง มิเชน่ นัน้ ก็สร้างแรงบันดาลใจในเรื่องตา่ งๆ เช่น การเดนิ ทางท่องเท่ียว การทำ� อาหาร ไปจนถงึ How to ในการดำ� เนนิ ชีวิต เปน็ ต้น เมื่อมีคอนเทนต์ที่ดีและเผยแพร่อย่างสม�่ำเสมอจนมีผู้ติดตามมากข้ึน นักสร้างคอนเทนต์อาจกลายเป็น ผมู้ ชี อ่ื เสยี งบนโลกออนไลน์ (Influencer) ทสี่ ามารถดงึ ดดู เจา้ ของสนิ คา้ หนว่ ยงาน หรอื องคก์ รตา่ งๆ ใหต้ ดิ ตอ่ เขา้ มา ว่าจ้างให้โฆษณาสินค้าหรือผลิตคอนเทนต์ประชาสัมพันธ์ให้แก่หน่วยงาน ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้แก่ ผู้สร้างคอนเทนตเ์ ป็นจ�ำนวนมาก โดยปี พ.ศ. 2562 ท่ีผ่านมาถือเป็นปีทองของคนธรรมดาท่ีกลายเป็นคนดังจากการสร้างคอนเทนต์ในหมวด ไลฟ์สไตล์ ความงามและแฟชน่ั อาทิ ชีวิตติดรีวิว เฟซบุ๊กแฟนเพจที่มี มลิ คเ์ ศษใจ โด่งดงั จากการเขยี นและ ผ้ตู ดิ ตามมากกว่า 4 ล้านคน เน้นการ แชร์เน้ือหาเกี่ยวกับความงามและ แนะน�ำร้านอาหารและแจ้งโปรโมชัน ไลฟ์สไตล์บนทวิตเตอร์จนมีจ�ำนวน ทนี่ า่ สนใจ ผู้ตดิ ตามราว 1.2 ล้านคน พมิ ฐา เนต็ ไอดอลบนอนิ สตาแกรมทมี่ ี zbing z. ซีบ๊ิง ซี เกมเมอร์สาวและ ผตู้ ดิ ตาม4.3ลา้ นคนเพราะความนา่ รกั นักแคสต์เกมชื่อดังบนยูทูปท่ีมีสไตล์ ภาพถ่ายสวยๆ ในโทนสีละมุนละไม การรีวิวเกมแบบน่ารักสดใส ท�ำให้ และไลฟส์ ไตล์ในฝันของสาวๆ มีผู้ติดตามท้ังเด็กและผู้ใหญ่จ�ำนวน กวา่ 11.4 ลา้ นคน ท่มี า : https://forbesthailand.com/leaderboard/thailand-leaderboard/online-influencers-บนโลกออนไลน์กลายมาเป.html ในยุคที่ใครก็สามารถเป็นนักสร้างคอนเทนต์ได้ การสร้างรายได้อาจไม่ได้หยุดอยู่เพียงแค่การน�ำเสนอ คอนเทนตใ์ หโ้ ดนใจและสมำ�่ เสมอเทา่ นน้ั แตย่ งั มเี ครอ่ื งมอื ทางการตลาดออนไลนอ์ กี มากมายทนี่ กั สรา้ งคอนเทนต์ ต้องทำ� ความเขา้ ใจ เรยี นรูว้ ธิ ีการใช้งาน และนำ� มาวิเคราะหส์ ่ิงทีผ่ ูอ้ า่ นหรอื ผชู้ มต้องการจรงิ ๆ เพือ่ ใหก้ ารเลา่ เร่ือง อย่างสรา้ งสรรคเ์ ขา้ ใกลค้ วามสำ� เรจ็ มากยิง่ ขึน้
42 WN next pert ท่ามกก้าลวาทงวันิกโลฤกตโรค ในยคุ ทไ่ี วรสั โควดิ -19 กำ� ลงั ระบาดไปทว่ั โลก ทกุ ภาคสว่ นตา่ งไดร้ บั ผลกระทบ ตงั้ แตร่ ะดบั บคุ คล ชมุ ชน องคก์ ร บรษิ ัทหา้ งร้าน รวมถงึ สถาบันการศกึ ษา ต่างหยดุ ชะงักเพ่อื หยุดเชอื้ ไม่ให้แพร่ระบาดจนเกิดควบคมุ ในช่วงเวลาน้ี แพลตฟอร์มออนไลน์และเทคโนโลยีดิจิทัลกลายเป็นทางเลือกหลักที่พาทุกคนรอด ท้ังการ เปน็ แหลง่ รวบรวมขอ้ มลู เกย่ี วกบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด มาตรการของรฐั และการปฏบิ ตั ติ วั สำ� หรบั ประชาชน เปน็ แหลง่ จบั จา่ ยสนิ คา้ และอาหารทย่ี งั คงเปดิ ใหบ้ รกิ าร เปน็ ทที่ ำ� งานแหง่ ใหมท่ ช่ี ว่ ยใหธ้ รุ กจิ เดนิ หนา้ ตอ่ ไป รวมถงึ เป็นห้องเรยี นชั่วคราวในชว่ งเวลาทีผ่ ูเ้ รยี นและผสู้ อนมาสามารถใกลช้ ดิ กนั ได้ “ความไม่ปกต”ิ ขา้ งตน้ กลบั กลายเปน็ โอกาสให้คนบางกลุม่ สามารถผนวกเอาเทคโนโลยีดิจิทัลและความคดิ สร้างสรรค์มาน�ำเสนอทางออกท่ีตอบโจทย์รูปแบบการเรียน การท�ำงาน และการใช้ชีวิตท่ีเปล่ียนไป จนน�ำไปสู่ ความสำ� เรจ็ ในระดับที่ต้องนำ� มากลา่ วถงึ ไว้ในฉบบั น้ี
next pert WN 43 5Lab บริษัทเอกชนผู้คดิ คน้ COVID-19 TRACKER 5Lab คือ บริษทั เทคโนโลยนี ้องใหม่ท่ใี หบ้ ริการดา้ น เว็บไซต์ แอปพลิเคชัน อีคอมเมิร์ซ ไปจนถึงซอฟต์แวร์ ต่างๆ ภายใต้เป้าหมายท่ีต้องการให้เทคโนโลยีมีความ เป็นมติ รกบั ผูใ้ ช้งาน แม้เปิดทำ� การมาเพยี งแค่ 3 ปี แต่ทมี งานคนร่นุ ใหม่ ก็สามารถท�ำให้บริษัทเป็นท่ีรู้จักในวงกว้างได้ส�ำเร็จ ผ่านผลงานอันโดดเด่นและเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ในช่วงเวลาที่มีการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 นั่นคือ แผนทขี่ ่าว COVID-19 หรอื COVID Tracker CฮโีOรแ่VหIDง่ ขT้อrมaลูcker นับตั้งแต่พบการติดเชื้อและระบาดในประเทศ จีน และเริ่มตรวจพบผู้ติดเชื้อในประเทศไทย ส�ำนักข่าวและสื่อสังคมต่างอุทิศพื้นท่ีในการ น�ำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับโรคระบาดอย่างเต็มที่ รวมถึงประชาชนที่พร้อมใจกันส่งต่อข่าวสาร ท้ังจริงและเท็จ จนท�ำให้เกิดภาวะข้อมูลท่วมท้น (Information Overload) และก่อให้เกิดความ ต่ืนตระหนกไปทั่วประเทศ COVID Tracker จึง เปิดตัวขึ้นในฐานะแหล่งรวบรวมข้อมูลผู้ติดเช้ือ ไวรัสโควิด-19 พร้อมระบุพิกัดบนแผนท่ีให้เห็น แบบชดั เจน เขา้ ใจงา่ ยชว่ ยใหร้ ไู้ ดท้ นั ทวี า่ พน้ื ทใ่ี ดบา้ ง ทม่ี คี วามเสยี่ ง มีการกรองข้อมูลที่เป็นเท็จออกไป รวมถงึ แสดงทต่ี งั้ สถานพยาบาลทรี่ องรบั การตรวจหา เชื้อโควดิ -19 ซึ่งถือวา่ เขา้ มาตอบโจทย์ความสนใจ ของคนไทยได้อย่างถูกท่ีถูกเวลาท�ำให้มีผู้คน แวะเวียนเข้าไปดูข้อมูลบนแพลตฟอร์มนี้แล้ว มากกว่า 5 ลา้ นคนในเวลาเพียงเดือนเศษ
44 WN next pert แอZออOปนOพไMลลนิเท์คกี่ชันำ�ลวังิดมีโอาแแชรงต เมอ่ื ทกุ คนถกู สงั่ ใหอ้ ยบู่ า้ น แตย่ งั ตอ้ งทำ� งานหรอื เรยี นหนงั สอื ตามปกติ แพลตฟอรม์ การเรยี นรแู้ ละการทำ� งานออนไลนผ์ า่ นอนิ เทอรเ์ นต็ จงึ เขา้ มา มบี ทบาทสำ� คญั โดยหนงึ่ ในแอปพลเิ คชนั ทไี่ ดร้ บั ความนยิ มและไดร้ บั การ ดาวนโ์ หลดไปใช้งานมากทส่ี ดุ ในชว่ งท่ีผา่ นมา คือ Zoom (ซมู ) Zoom เป็นแอปพลิเคชันที่มีความโดดเด่นด้านประชุมทางไกลแบบกลุ่มผ่านวิดีโอ (Video Conference) เปิดให้บริการครั้งแรกในปี พ.ศ. 2556 โดย อีริค หยวน (Eric Yuan) นักพัฒนาซอฟต์แวร์ชาวจีน และใช้เวลาเพียง 5 เดือนในการสร้างฐานลูกค้าผู้ใช้งานมากกว่า 3,500 บริษทั ในปี พ.ศ. 2558 Zoom เตบิ โตอยา่ งตอ่ เนอ่ื งโดยใหบ้ ริการแก่บรษิ ัทและองคก์ รตา่ งๆ มากถงึ 65,000 แห่ง คิดเป็นจ�ำนวนผู้ใช้งานกว่า 40 ล้านคน ต่อมาในปี พ.ศ. 2562 Zoom ท�ำรายได้ มากกว่า 330 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัวเมื่อเทียบกับรายได้ในปีก่อนหน้า ตอ่ เนอื่ งมาสชู่ ว่ งไตรมาสแรกของปี พ.ศ.2563 ทบ่ี รษิ ทั สามารถสรา้ งรายไดเ้ พมิ่ เปน็ 623 ลา้ นเหรยี ญ สวนทกุ กระแสท่ามกลางวกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ ท่เี กิดขึน้ ท่ัวโลก
next pert N 45 3 ขอ้ ดี ทท่ี ำ�ให้คนนิยม ZOOM 1 2 3 ประชุมร่วมกนั ได้ รองรับผู้ใชง้ าน แบ่งปนั เนื้อหาได้ แม้ไม่เปน็ เพ่ือน มากถึง 100 คน หลากหลาย เมอื่ เขา้ มาในหอ้ งประชมุ ผใู้ ชง้ าน ห้องประชุมหน่ึงห้องสามารถ ผใู้ ชง้ านสามารถแชรภ์ าพหนา้ จอ สามารถกดท่ีหัวข้อ Manage รองรบั ผใู้ ชง้ านรว่ มกนั สงู สดุ 100 คน ของตวั เอง รวมถงึ สง่ ไฟลต์ า่ งๆ ใหก้ บั Participants (จัดการผู้เข้าร่วม) โดยสามารถใช้งานได้ทั้งบนเครื่อง ผู้ใช้งานในกลุ่มเดียวกันได้ง่ายๆ เพื่อดูรายช่ือของผู้ร่วมประชุม หรือ คอมพิวเตอร์หรือสมาร์ตโฟน และ ผ่านบริการคลาวด์ เช่น ดรอ็ ปบ็อกซ์ กด Invite (เชิญ) เพ่ือส่งค�ำเชิญ สามารถเลือกได้ว่าต้องการประชุม (Dropbox) วันไดรฟ์ (OneDrive) ไปยังผู้ท่ียังไม่ได้เข้าห้องประชุม แบบพมิ พข์ อ้ ความแชต (Chat) หรอื กเู กลิ ไดรฟ์ (GoogleDrive)พรอ้ มกนั นี้ โดยสามารถส่งค�ำเชิญส่งผ่านทาง แบบวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ท่ีคมชัด ยังมีบริการเรียกว่า “ไวท์บอร์ด” เฟซบุ๊ก เมสเซนเจอร์ (Facebook ทั้งภาพและเสียง หรือจะสลับ สำ� หรบั การระดมสมอง โดยผจู้ ดั การ Messenger) ระบบส่งข้อความสั้น ระหว่างการพิมพ์ข้อความและการ ประชมุ สามารถเปดิ หนา้ จอกระดาน (SMS) อเี มล (Email) รายชอ่ื ผตู้ ดิ ตอ่ พูดคยุ ผา่ นวิดีโอ สีขาวข้ึนมาเพ่ือให้ผู้เข้าร่วมประชุม ใน Zoom หรือจะคัดลอก URL คนอื่นพิมพ์ข้อความ วาดภาพ หรือ เพ่ือส่งค�ำเชิญผ่านช่องทางอ่ืน แบง่ ปนั ความคิดเหน็ ได้โดยสะดวก ที่สะดวก โดยไม่จ�ำเป็นต้องเพิ่ม ผู้ท่ีต้องการเชิญให้เข้ามาอยู่ใน รายช่ือเพ่อื นแตอ่ ย่างใด นอกจากบริการตา่ งๆ ท่คี รอบคลมุ และเพยี งพอส�ำหรบั การประชมุ การทำ� งานและการเรียนการสอนออนไลน์ Zoom ยังมีลูกเล่นที่ท�ำให้การประชุมสนุกสนานมากข้ึน เช่น การเปลี่ยนฉากหลังเพ่ือไม่ให้ผู้อ่ืนเห็นห้องส่วนตัว หรือการปรบั แต่งใบหน้าในรปู แบบตา่ งๆ เพือ่ ใหผ้ ู้เข้าประชุมดดู ีขนึ้ แม้ในยามท่ีแตง่ ตวั สบายๆ อย่ทู ่ีบ้าน ZOOM และ COVID Tracker คือตวั อยา่ งของธรุ กิจทมี่ องเหน็ โอกาสท่ามกลางวิกฤติ และประสบความสำ� เร็จ ในการท�ำใหต้ วั เองกลายเปน็ “ทางออก” ทช่ี ่วยให้การเรียน การท�ำงาน และการใชช้ วี ติ “งา่ ยขึน้ ” และดำ� เนินตอ่ ไป ได้อย่างใกลเ้ คยี งกับ “ความปกติ” มากทส่ี ุดในชว่ งเวลาที่ทั่วโลกก�ำลังล�ำบากและต้องปรับตวั ตาคณุ แลว้ ... คุณจะท�ำอะไรไดบ้ ้างเพื่อใหต้ วั เองกา้ วผ่านช่วงเวลาที่เศรษฐกิจชะลอตัว และกา้ วสคู่ วามส�ำเร็จ เปน็ คนถัดไป ถึงเวลาท่ีตอ้ งเริม่ คิดและลงมอื ท�ำแล้ว!
46 5 5ive 5 แหลง่ เรยี นรู้ออนไลน์ ในยุค Knowledge 4.0 ขอ้ ดีของการอยู่ในยคุ ดิจทิ ัลคือ การหาความรู้ท�ำได้ง่ายขน้ึ ไม่จ�ำเป็นต้องไปค้นหาหนังสือเป็นตั้งๆ ที่ห้องสมุดอีกต่อไป แต่มีแพลตฟอร์มความรู้ออนไลน์ถือก�ำเนิดข้นึ อย่างมากมาย และได้รวบรวมความรู้เฉพาะเรอ่ื งออกมาเล่าในวิธีของตัวเอง ไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์
5ive 5 47 1 APP: WolframAlpha แอปพลเิ คชนั ทชี่ ว่ ยหาคำ� ตอบในทกุ เรอ่ื งทเ่ี กยี่ วขอ้ ง กับการเรียนรู้ ต้ังแต่คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี สังคมและวัฒนธรรม และชีวิตประจ�ำวัน เพียงค้นหาดว้ ยค�ำ วลี หรอื ประโยคทีต่ อ้ งการ ลักษณะ การท�ำงานจะเป็นมากกว่าโปรแกรมค้นหา (Search Engine) ท่ัวไป ซึ่งรวบรวมลิงก์ท่ีพาไปยังจุดหมาย ทก่ี ำ� ลงั คน้ หา แต่ WolframAlpha จะใชฐ้ านขอ้ มลู ความรู้ ขนาดใหญ่และอัลกอริทึมในการประมวลผลและ นำ� เสนอคำ� ตอบทพ่ี รอ้ มใชง้ าน ในรปู แบบของบทความ สตู รและวิธกี ารคำ� นวณ แผนภูมิ รูปภาพ และอ่นื ๆ 2 APP: LearnEnglish Grammar แอปพลิเคชันรวบรวมความรู้ด้านไวยากรณ์ภาษา อังกฤษของสถาบันสอนภาษาอังกฤษช้ันน�ำอย่าง บริติช เคานซลิ (British Council) ภายในแอปพลเิ คชนั ประกอบด้วยบทเรียน แบบฝึกหัด และข้อสอบ โดยมใี หเ้ รียนกว่า 600 กจิ กรรม แยกเปน็ 25 หวั ข้อ เชน่ การเปล่ียนรูปกริยาตามกาลเวลา (Tense) วลีค�ำถาม (Question Tags) การใชค้ ำ� บพุ บท (Prepositions) และ แบง่ การวดั ระดบั เปน็ 4ขนั้ คอื ระดบั เรม่ิ ตน้ ระดบั พนื้ ฐาน ระดับกลาง และระดบั สูง มีค�ำถามมากกว่า 1,000 ข้อ นอกจากนี้ยังสามารถเลือกได้ว่าจะเรียนภาษาอังกฤษ แ บ บ บ ริ ติ ช ห รื อ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ แ บ บ อ เ ม ริ กั น ต า ม ความตอ้ งการใช้งาน
48 5 5ive 3 PODCAST: คำ� น้ดี ี พอดแคสต์ที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับศัพท์ภาษา อังกฤษที่น่าสนใจ คัดสรรโดย “บ๊ิกบุญ” ภูมิชาย บุญสินสุข เจ้าของหนังสือ “ศัพท์หมู” “พี่หมีหนวด กวดองั กฤษ” ฯลฯ เน้ือหาทน่ี ำ� เสนอในแต่ละตอนได้รับ แรงบันดาลใจมาจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เช่น รายการโทรทศั น์ เหตกุ ารณท์ พ่ี บเจอขา่ วหรอื เหตกุ ารณ์ ส�ำคัญต่างๆ โดยเรียบเรียงเนื้อหามาเล่าให้ฟังแบบ สนุกๆ เนน้ การสอดแทรกศัพทแ์ ละวลีทนี่ ำ� ไปใช้สอื่ สาร ได้จริงในชีวิตประจ�ำวัน ผสมกับการพูดคุยสัพเพเหระ เช่น ศัพท์ภาษาอังกฤษ เพ่ือติดตามข่าวโควิด-19 ท�ำอย่างไรใหค้ วามเครียดกลายเปน็ สิ่งดๆี สอบ IELTS อย่างไรให้ดงี ามและได้คะแนนตามความตั้งใจ 4 dWigEiBtaSl-ITpEh:otography-school.com เว็บไซต์ท่ีรวบรวมข้อมูลและองค์ความรู้เก่ียวกับ การถ่ายภาพ ถือเป็นโรงเรียนสอนถ่ายภาพออนไลน์ ท่ีช่างภาพหลายคนใช้เป็นแนวทางในการฝึกฝนและ พัฒนาทักษะ ภายในเว็บไซต์รวบรวมบทความส�ำคัญ ต่างๆ ทั้งการใช้เครื่องมือเก่ียวกับถ่ายภาพ เทคนิค และเคล็ดลับการถ่ายภาพผู้คน ส่ิงของ อาหาร และ สถานที่ การใช้โปรแกรมแต่งภาพเพ่ือท�ำให้ภาพ สมบูรณ์ขึ้น รวมถึงธุรกิจเกี่ยวกับการถ่ายภาพ มีการ จำ� หนา่ ยหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ นะนำ� เกย่ี วกบั ถา่ ยภาพ รวมถึงมีคอร์สเรียนออนไลน์แบบฟรีและมีค่าใช้จ่าย ท่ีสามารถฝึกได้แม้อยู่บ้าน พร้อมท้ังพ้ืนท่ีพูดคุย แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้ท่ีชื่นชอบการถ่ายรูป จากท่วั โลก
5ive 5 49 5 YOUTUBE: Point of View ชอ่ งยทู ปู ของ “ววิ ” ชนญั ญา เตชจกั รเสมา ซงึ่ นำ� เสนอ สาระน่ารเู้ ก่ียวกบั วรรณกรรม วรรณคดี นิทานพ้นื บ้าน ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม ท้ังของไทยและ นานาชาติ โดยหยบิ เกรด็ เลก็ เกรด็ นอ้ ยของเรอ่ื งราวตา่ งๆ มาเล่าได้อย่างสนุก น่าฟัง และชวนติดตาม อาทิ ประวัติศาสตร์ราชวงศ์เกาหลีต้ังแต่ต้นจนล่มสลาย นทิ านอาหรบั ราตรี ทม่ี าของอะลาดนิ เลา่ ขนุ ชา้ งขนุ แผน สบิ นาทจี บ Black Death โรคร้ายฆา่ คนตาย 25 ล้าน เปน็ ตน้ โดยแตล่ ะคลปิ มคี วามยาวประมาณ 10-20 นาที ปัจจบุ นั มีผูต้ ดิ ตามกวา่ 9 แสนคน
50 T TALK TO ZINE New LearnINg Skills IN THE Dynamic World เปดิ สมองไปกบั วธิ กี ารเรยี นรู้ ในโลกใหม่ ในโลกแห่งการเรียนรู้ยุคเทคโนโลยี การเรียนรู้ที่ดีมีประสิทธิภาพ ก็ตอ้ งพฒั นาควบคู่กันไปดว้ ย Dr. Pasi Sahlberg ผูน้ ำ� ความคดิ และ นักการศึกษาระดับเวิลด์คลาสของฟินแลนด์ จะมากล่าวถึงความ ท้าทาย 3 ประการของการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ในงาน “มันส์สมอง มหกรรมความรู้ครั้งท่ี 5” หรือ okmd Knowledge Festival 2016 ตอน ถอดรหสั ปฏริ ูปการศึกษา ดงั น้ี “ในงานวิจัยเก่ียวกับสมองพบว่าการใช้เทคโนโลยี โซเชียลมีเดีย และอุปกรณ์ดิจิทัลมากๆ เราจะสรุปผลข้อมูลได้ในลักษณะตื้นๆ เท่านั้น ไม่ได้เข้าใจอย่างลึกซึ้ง นอกจากน้ีการอ่านข้อมูลจาก อินเทอร์เน็ตที่มีมากมาย เป็นการยากท่ีจะแยกแยะได้ว่าข้อมูลไหน คือข้อเท็จจรงิ และขอ้ มลู ไหนคือการโกหก เทคโนโลยีท�ำใหไ้ มม่ ีสมาธิ ไมส่ ามารถถา่ ยทอดไดม้ ากเทา่ ทคี่ วร และการเรยี นรแู้ บบ Multitaskers หรอื การทำ� หลายๆ สงิ่ พรอ้ มกนั เปน็ การใชส้ มองไดไ้ มด่ ี และกอ่ ใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงในการควบคุมตนเอง ท�ำให้คนสามารถควบคุม ตวั เองไดล้ �ำบากมากข้ึน” ทีม่ า : http://www.okmd.or.th/knowledge-festival/video/kf6/663/ SCAN QR CODE เพื่อรับชม Clip Dr. Pasi Sahlberg
Search