Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore EDUCATION PLATFORM FOR THAILAND 4.0

EDUCATION PLATFORM FOR THAILAND 4.0

Published by inno vation, 2021-04-17 05:03:23

Description: The_Knowledge_vol_6

Search

Read the Text Version

THE เดอะ โนวเลจ ปที ่ี 1 ฉบบั ที่ 6 สิงหาคม - กนั ยายน 2560 ISSN 2539-5882 KNOWLEDGE EDUCATION PLATFORM นิตยสารพัฒนาความร้แู ละความคิดสร้างสรรค์ เพื่อเพิ่มศักยภาพทุนมนษุ ย์ ผ่านกระบวนการเรยี นรสู้ าธารณะ

Contents 08 03 12 16 Office of Knowledge Management and Development 03 12 19 ทีป่ รกึ ษา Word Power NextPert Inside OKMD ดร.อธิปัตย์ บำ�รงุ Education Platform Homework Revolution ทศิ ทางธรุ กจิ การศึกษาไทย ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นักงานบรหิ ารและพฒั นาองคค์ วามรู้ for Thailand 4.0 บาลานซก์ ารบา้ น บรรณาธิการบริหาร ขาเลาะเปลยี่ น ขาเรยี นปลมื้ 20 ดร.ปรยี า ผาติชล 06 5ive รองผู้อำ�นวยการส�ำ นกั งานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้ ONE OF A KIND 14 5 Edutainment for หวั หน้ากองบรรณาธกิ าร Learning A-Z DigiTOnomy Everyday Learning ดร.อภิชาติ ประเสริฐ รวมมิตรตัวเลข ผู้อำ�นวยการสำ�นกั โครงการและจดั การความรู้ 08 การศึกษาของโลก ฝา่ ยศลิ ปกรรมและภาพถ่าย Decode บรษิ ทั พเี ค ดดี ีดี จ�ำ กัด SIRIUS Model ตน้ แบบ 16 22 134/367 ถนนนนทบรุ ี ต�ำ บลท่าทราย ศูนยพ์ ัฒนาปัญญาเลิศ อำ�เภอเมืองนนทบุรี กรุงเทพมหานคร 11000 Next WHAT’S GOING ON โทรศพั ท์ 0 2192 0564 10 จัดท�ำ โดย The Knowledge Digital Knowledge Trends International Education ส�ำ นักงานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) Blended Learning 69 อาคารวิทยาลัยการจัดการมหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ชวั่ โมงน้ี ดที ส่ี ุด แนวการเรยี นรยู้ คุ ดจิ ทิ ลั Events You Don't ชน้ั 18-19 ถนนวภิ าวดีรังสติ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 Want to Miss โทรศัพท์ 0 2105 6500 โทรสาร 0 2105 6556 อเี มล [email protected] 18 23 เวบ็ ไซต์ www.okmd.or.th ความรู้กินได้ Special FeAture อนุญาตให้ใช้ไดต้ ามสัญญาอนุญาต ครเี อทฟี คอมมอนส์ แสดงทม่ี า-ไมใ่ ช้ การจดั การองค์ความรู้ เพ่ือการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย มุ่งสู่ SMART FARMER PLAY + LEARN = PLERN จดั ท�ำ ขน้ึ ภายใตโ้ ครงการเผยแพร่กจิ กรรมองค์ความรู้ โดยสำ�นกั งาน บรหิ ารและพฒั นาองคค์ วามรู้ (องคก์ ารมหาชน) เพอ่ื สรา้ งแรงบนั ดาลใจ ในการน�ำ องคค์ วามรมู้ าผสมผสานกบั ความคดิ สรา้ งสรรค์ เพอ่ื ประโยชน์ ด้านการเรียนรู้ ต่อยอดธรุ กจิ เพ่ิมมูลค่าเศรษฐกิจประเทศ ผสู้ นใจรบั นิตยสารโปรดตดิ ตอ่ 0 2105 6520 หรอื ดาวนโ์ หลดทเี่ ว็บไซต์ www.okmd.or.th/knowledge/okmd-magazine

3 W Word Power EDUCATION PLATFORM FOR THAILAND 4.0 ใ น ยุ ค เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ดิ จิ ทั ล ปัจจุบัน ในโลกธุรกิจมีค�ำว่า ธุรกิจแพลตฟอร์ม (Platform Business) ค�ำส� ำคัญท่ีได้ยินกันบ่อยคร้ัง ซ่ึงเข้ามาปฏิวัติรูปแบบการด�ำเนินธุรกิจในหลายวงการ และมีการพัฒนา คือ แพลตฟอร์ม (Platform) รูปแบบใหม่ๆ ไม่หยุดนิ่ง ส่งผลให้ธุรกิจรูปแบบเดิมท่ีไม่มีการปรับตัวต้อง แลว้ แพลตฟอรม์ คอื อะไร? สะดดุ ลม้ หรือสูญหายไป

ตัวอยา่ ง Uber, Grab Taxi ธรุ กิจแพลตฟอรม์ ในปั จจบุ นั แพลตฟอร์มให้บริการ ร ถ แ ท็ ก ซี่ ที่ อ�ำ น ว ย ค ว า ม สะดวกให้ผู้ให้บริการและ Amazon, ผู้ใช้บริการมาพบกัน โดย Alibaba, Lazada เจ้าของแพลตฟอร์มอย่าง อูเบอร์ (Uber) และ แกร็บ แพลตฟอร์มที่ท�ำให้ผู้ขายสินค้าและผู้ซ้ือสินค้ามาเจอ (Grab) ท�ำหน้าท่ีเป็นเพียง กันบนโลกออนไลน์ โดยท้งั อะเมซอน (Amazon) อาลีบาบา ตั ว ก ล า ง โ ด ย ไ ม ่ ไ ด ้ เ ป ็ น (Alibaba) และ ลาซาด้า (Lazada) ไม่จ�ำเป็นต้องมีสินค้า เจ้าของรถท่ีใหบ้ ริการ เปน็ ของตัวเอง WORD POWER W 4 Airbnb, Lending Club Nornn สตางค์ดี.คอม แพลตฟอรม์ ส�ำหรบั ลงประกาศ แพลตฟอร์มการกู้ยืมเงิน ให้เช่าที่พัก รวมถึงค้นหาและจอง ออนไลน์แบบบุคคลต่อบุคคล ทพ่ี กั ท�ำใหค้ นทว่ั โลกมรี ายไดจ้ าก (Peer-to-Peer Lending) การใหเ้ ชา่ หอ้ งวา่ งผา่ นแพลตฟอรม์ ท�ำหนา้ ทเี่ ปน็ จดุ เชอื่ มโยงระหวา่ ง ทช่ี ว่ ยอ�ำนวยความสะดวกดา้ นการ ผู้ที่ต้องการลงทุนและผู้ต้องการ ตดิ ตอ่ กบั ผเู้ ชา่ และการรบั ช�ำระเงนิ กู้เงินให้มาพบกันผ่านระบบ ออนไลน์ กลา่ วไดว้ า่ แพลตฟอรม์ คอื พน้ื ทสี่ �ำหรบั เมื่อโลกธุรกิจมีการสร้างสรรค์แพลตฟอร์มรูปแบบต่างๆ เพื่อขยายขอบเขตของธุรกิจ ผู้ผลิตและผู้ซื้อ หรือ ผู้ให้บริการและผู้ใช้ และเพ่ิมขีดความสามารถให้แข่งขันได้ในยุคดิจิทัล แล้วในโลกการศึกษามีการใช้ประโยชน์ บริการ มาท�ำธุรกรรมผ่านระบบออนไลน์ท่ี จากแพลตฟอร์มหรือไม่ และอะไรคือแพลตฟอร์มการศึกษาส�ำหรับประเทศไทย 4.0 ท่ีต้อง สามารถสรา้ งมลู ค่าใหแ้ ก่ทั้ง 2 ฝา่ ย ขบั เคลือ่ นดว้ ยนวตั กรรมและองค์ความรู้? แพลตฟอรม์ การศกึ ษา เรยี นรู้ไมว่ า่ จะเปน็ ในหรอื นอกหอ้ งเรยี นออนไลนห์ รอื ออฟไลน์มรี ปู แบบโครงสรา้ งชดั เจน ส�ำ หรบั ประเทศไทย 4.0 หรอื ไมก่ ็ตาม จะหลดุ พ้นจากกระบวนการเรยี นรู้แบบเดมิ ทีเ่ คยเป็นมา” นัน่ หมายถึงวา่ แพลตฟอร์มการศึกษาจะกลายเป็นที่ที่ผู้สอนและผู้เรียนสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เคลย์ตัน คริสเต็นเซน (Clayton หรือท�ำกจิ กรรมแลกเปลยี่ นที่สรา้ งมูลคา่ ให้แก่ทั้งผสู้ อนและผเู้ รยี น ดงั นน้ั แพลตฟอร์ม Christensen, 2560) กล่าวไว้ว่า การศึกษาท่ีสามารถขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ได้นั้น ควรเป็นแพลตฟอร์มที่สร้าง “นักการศึกษาได้ถกเถียงถึงวิธีการอัน การเขา้ ถงึ องคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรมทช่ี ว่ ยใหผ้ สู้ อนและผเู้ รยี นมปี ฏสิ มั พนั ธก์ นั ไดส้ ะดวก หลากหลายในการเข้าถึงเนื้อหาของ รวดเรว็ ขนึ้ บนโลกออนไลน์ การศึกษาและกระบวนการเรียนรู้ใน ทกุ ระดบั วา่ จ�ำเปน็ ตอ้ งมกี ารเปลย่ี นแปลง ในอนาคต โดยชี้ให้เห็นว่าการศึกษา

จากห้องเรยี น สู่แพลตฟอรม์ ปจั จบุ ัน องค์ความรู้ในศาสตรต์ า่ งๆ พัฒนาไปอย่างรวดเรว็ โดยเฉพาะองคค์ วามรู้ ด้านเทคโนโลยี การเรียนรู้จึงมิได้จ�ำกัดอยู่เพียงแค่การถ่ายทอดความรู้จากผู้สอนสู่ ผเู้ รยี น ซง่ึ เปน็ การเรยี นการสอนในระบบหอ้ งเรยี นแบบเดมิ ๆ แตต่ อ้ งมกี ารน�ำเทคโนโลยี มาใช้เป็นเคร่ืองมือในการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งการส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหา ความรู้ด้วยตนเองจากส่ือการสอนทุกรูปแบบ ทั้งส่ือสิ่งพิมพ์และสื่อดิจิทัล ร่วมกับ การท�ำงานเปน็ กลมุ่ และการน�ำสอ่ื สงั คมออนไลน์ (Social Media) เขา้ มาเปน็ เครอื่ งมอื ในการพฒั นาการเรียนการสอนใหท้ ันสมัยยิ่งขึ้น ปเี ตอร์ ฟสิ ก์ (Peter Fisk, 2560) จากที่กล่าวมาข้างต้น คงมองเห็น และคณิตศาสตร์เข้าด้วยกันเพ่ือการ 5 W Word Power ไดแ้ สดงวสิ ยั ทศั นใ์ นหวั ขอ้ “Changing แนวโนม้ ของแพลตฟอรม์ การศกึ ษา 4.0 ที่ สร้างนวัตกรรม ไปจนถึงการประมวลผล the Game of Education” ไวว้ า่ จาก ผนวกเอาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ คอมพวิ เตอร์ (Computing) ทเี่ ปน็ การเรยี น แนวคิดของการใช้ชีวิตที่ยืนยาวขึ้น สอ่ื สาร (ICT) เขา้ มาใชใ้ นการสง่ เสรมิ การ เกยี่ วกบั โปรแกรมทใี่ ชค้ วบคมุ การท�ำงาน \"100 Year-Life\" ส่งผลให้รูปแบบ เรียนรู้และพัฒนาเน้ือหาสาระการเรียนรู้ ของเครอ่ื งจกั ร เครอ่ื งกล เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นรจู้ กั การเรียนรู้มีบทบาทมากข้ึนในสังคม รว่ มกบั การเรยี นการสอนแบบมปี ฏสิ มั พนั ธ์ สรา้ งนวตั กรรมและรเู้ ทา่ ทนั เทคโนโลยี โ ด ย เ ป ็ น ก า ร เ รี ย น รู ้ ต ่ อ เ น่ื อ ง จ า ก (Interactive Learning) ซ่ึงผู้เรียนเป็น โรงเรยี นและมหาวทิ ยาลยั สกู่ ารเรยี นรู้ ผู้ควบคุมการเรียนรู้ของตนเองและสร้าง การที่สังคมแห่งการเรียนรู้ยุคใหม่ ในการท�ำงาน และการเรียนรู้ ความรู้ด้วยตนเอง เช่น แพลตฟอร์ม มงุ่ เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นมใิ ชเ่ พยี งไดร้ บั ความรู้ แต่ ตลอดชีวิต \"การศึกษา 4.0\" จึงเป็น e-Learning หรอื Massive Open Online ต้องเป็นผู้ท่ีสร้างสรรค์นวัตกรรม ท�ำให้ วิสัยทัศน์ส�ำหรับอนาคตของการ Courses (MOOCs) ซึ่งเป็นการจัดการ ผสู้ อนตอ้ งพฒั นาศกั ยภาพของตนเองเชน่ กนั ศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของ เรียนการสอนออนไลน์ระบบเปิดส�ำหรับ โดยการปรบั ตวั ใหท้ นั การเปลย่ี นผา่ นความรู้ \"อุตสาหกรรม 4.0\" หรือการปฏิวัติ มหาชน ท่ีคาดว่าจะแพร่หลายมากขึ้นใน ยุคใหม่ที่เป็นไปอย่างรวดเร็วและไม่มีท่ี อตุ สาหกรรมยคุ ท่ี4ซงึ่ มคี วามเปน็ ไปได้ อนาคตอนั ใกล้ สิ้นสุด ปรับแนวทางการเรียนการสอน ที่มนุษย์และเครื่องจักรจะท�ำงานได้ ให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้เรียนท่ี ใกลเ้ คยี งกนั มากจนเกอื บแทนทก่ี นั ได้ แนวโน้มท่ีเกิดขึ้นเป็นผลจากการที่ เปล่ียนแปลงไป รวมถึงการประยุกต์ใช้ และความสามารถในการใชป้ ระโยชน์ คนยุคน้ีใช้ชีวิตอยู่กับเครื่องจักรอัจฉริยะ เทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นเคร่ืองมือกระตุ้น จากศักยภาพของเทคโนโลยีดิจิทัล (Smart Machine) มากขึ้น ข้อมูลท่ีมีอยู่ การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นซง่ึ นบั เปน็ ความทา้ ทาย ท�ำให้การเชื่อมต่อกับเทคโนโลยีและ ทว่ั ไปท�ำใหค้ นมคี วามรมู้ ากขน้ึ การแสวงหา อยา่ งยง่ิ ส�ำหรบั ผสู้ อนยคุ ใหม่ในการกา้ วผา่ น ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นไปโดยสะดวก ความรทู้ �ำไดง้ า่ ยและรวดเรว็ ขนึ้ เทคโนโลยี การเรยี นการสอนในแพลตฟอรม์ เดมิ เขา้ สู่ อีกท้ังการแข่งขันกันสร้างนวัตกรรม ปรบั เปลย่ี นวถิ ชี วี ติ และวธิ กี ารท�ำงานของ ระบบการเรยี นการสอนแบบใหม่หรอื ทเ่ี รยี ก อย่างไม่หยุดย้ังท�ำให้เกิดความ ผคู้ นตวั แปรดา้ นระยะทางเวลาและสถานที่ วา่ Education Platform for Thailand 4.0 ต้องการทักษะใหม่และองค์ความรู้ เปลยี่ นไป นอกจากน้ี การเชอ่ื มตอ่ กบั โลก ใหมเ่ พอื่ ใหท้ นั กบั การเปลยี่ นแปลง (Global Connect) ท�ำใหเ้ กดิ การตน่ื ตวั ใน Education Platform for Thailand 4.0 การเตรยี มคนเพอื่ อนาคต ดงั นนั้ แนวโนม้ จงึ เปน็ แพลตฟอรม์ ทจี่ ะสรา้ งความเทา่ เทยี ม ดังนั้น ในการจัดการศึกษาจึง กระบวนการเรยี นรหู้ รอื การศกึ ษาในอนาคต และทวั่ ถงึ ดา้ นการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยกี าร ต้องมีการทบทวน (Reeducation) จงึ จ�ำเปน็ จะตอ้ งปรบั เปลย่ี น โดยค�ำนงึ ถงึ ส่ือสาร (Communication Technology) แพลตฟอร์มการศึกษาท่ีตอบสนอง การสรา้ งแพลตฟอรม์ การศกึ ษาและเนอ้ื หา และทรพั ยากรการเรยี นรแู้ บบดจิ ทิ ลั (Digital ต่อความตอ้ งการดงั กล่าว ซง่ึ แน่นอน การเรยี นการสอนทส่ี อดรบั กบั องคค์ วามรู้ LearningResource)เพอื่ ใหผ้ คู้ นทง้ั ในเมอื ง วา่ แพลตฟอรม์ ทผี่ สานความกา้ วหนา้ ในโลกยุคใหม่ เช่น ความรู้ด้าน STEM และในพน้ื ทชี่ นบทหา่ งไกลสามารถเขา้ ถงึ ดา้ นดจิ ทิ ลั และนวตั กรรมการเรยี นรู้คอื (Science/Technology/Engineering/ องคค์ วามรทู้ ม่ี คี ณุ ภาพไดโ้ ดยสะดวกซงึ่ เปน็ รปู แบบทต่ี อบโจทยก์ ารเรยี นรสู้ �ำหรบั Mathematics) ซ่ึงผสมผสานความรู้ด้าน บทบาทและภารกจิ ทที่ า้ ทายของOKMDใน ประเทศไทยในยคุ 4.0 มากทสี่ ดุ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ การสง่ เสรมิ การเรยี นรนู้ อกหอ้ งเรยี นส�ำหรบั คนทกุ กลมุ่ และทกุ ชว่ งวยั

LEARNING C A Andromo เว็บไซต์ที่ช่วยให้ทุกคนสามารถสร้าง A-Z แอปพลิเคชันส�ำหรับระบบปฏิบัติการ แอนดรอยด์ด้วยตัวเอง และติดต้ังลงใน B สมารต์ โฟนไดท้ ันที DE Book Fairy Cybrarian Delft Cultural EdTech โครงการชวนนักอ่านน�ำหนังสือ บรรณารักษ์ยุคใหม่ซึ่งคอย Heritage Browser ไปซ่อนตามท่ีต่างๆ ผู้ที่หาเจอ แนะน�ำหนงั สอื และแหลง่ เรยี นรู้ กลุ่มบริษัทสตาร์ตอัป (Startup) สามารถน�ำหนังสือไปอ่านได้ แต่ ทหี่ ลากหลาย สว่ นใหญใ่ ชบ้ ลอ็ ก ห้องสมุดมีชีวิตสไตล์ดัตช์ ซึ่ง ด้านนวัตกรรมการศึกษา ซ่ึงน�ำ ต้องน�ำกลับมาซ่อนเพ่ือส่งต่อให้ (Blog) เปน็ เครอื่ งมอื สอ่ื สารกบั ร ว บ ร ว ม แ ล ะ น�ำ เ ส น อ ม ร ด ก เทคโนโลยมี าใชส้ ง่ เสรมิ การเรยี น นักอ่านคนถดั ไป กลมุ่ เปา้ หมาย ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม ข อ ง เ มื อ ง การสอนทงั้ ในและนอกหอ้ งเรยี น เดลฟท์ (Delft) ในรูปแบบไฟล์ ONE OF A KIND O 6 อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละแอปพลเิ คชนั F G HI Flipped Google HegartyMaths Instapaper Classroom Classroom แพลตฟอรม์ ออนไลนส์ �ำหรบั การ แอปพลิเคชันในเครือ Pinterest การจัดการเรียนการสอนแบบ บริการจากกูเกิลท่ีช่วยให้ครู เรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ที่ช่วยให้นักอ่านสามารถบันทึก กลับด้าน โดยให้นักเรียนเรียน นกั เรยี น และผปู้ กครอง สามารถ ประกอบด้วยวิดีโอส่อื การสอนท่ี ขา่ วสาร บทความ หรอื วดิ โี อจาก ด้วยตัวเองท่ีบ้านผ่านวิดีโอการ มอบหมายงานสง่ งานประเมนิ ผล เขา้ ใจงา่ ย และเครอ่ื งมอื ตดิ ตาม เวบ็ ไซตต์ า่ งๆ ไวอ้ า่ นในภายหลงั สอนของครู แลว้ มาอภปิ รายหรอื แสดงความคิดเห็น และติดต่อ ความกา้ วหนา้ ของนกั เรยี น ท�ำแบบฝึกหัดในชัน้ เรียน สือ่ สารกัน J KL M Just In Time Kahoot! LanSchool mBot Learning แอปพลิเคชันส�ำหรับสร้างเกม ซอฟต์แวร์ตรวจสอบหน้าจอ หุ่นยนต์ส�ำหรับเด็กซึ่งออกแบบ แ น ว ท า ง ก า ร เ รี ย น รู ้ ซ่ึ ง เ น ้ น ตอบค�ำถามออนไลน์ซง่ึ ท�ำใหก้ าร ค อ ม พิ วเ ต อ ร ์ ข อ ง นั ก เ รี ย น มาเพ่ือให้เด็กเรียนรู้เรื่องไมโคร องคค์ วามรทู้ ต่ี อ้ งใชง้ านหรอื จ�ำเปน็ เรยี นรสู้ นกุ ขนึ้ รวมถงึ ชว่ ยในการ นักศึกษาในระหว่างเวลาเรียน/ คอมพวิ เตอร์ การเขยี นโปรแกรม ต่อการท�ำงาน เพื่อให้ผู้เรียน ประเมนิ ผลและจดั อนั ดบั ผเู้ รยี น สอบ เพื่อป้องกันการกระท�ำท่ี และการสร้างห่นุ ยนต์ มคี วามรแู้ ละทกั ษะเพยี งพอทจี่ ะ ไมเ่ หมาะสม เชน่ การโกงการสอบ ท�ำงานได้จรงิ

NOPQ Numonics OSMO Piscataway QR Code Intelliboard ของเล่นเสริมทกั ษะที่เปิดโอกาส Public Library บารโ์ คด้ 2 มิติ ซึ่งสามารถบรรจุ กระดานอัจฉริยะซึ่งสามารถ ให้เด็กได้ใช้มือวาดภาพ ต่อชิ้น ห ้ อ ง ส มุ ด ใ น รั ฐ นิ ว เ จ อ ร ์ ซี ย ์ คลงั ความรขู้ นาด 4000 ตวั อกั ษร ฉายข้อความ ภาพ และวิดีโอ สว่ น และใชโ้ คด้ ค�ำสง่ั แบบงา่ ยๆ สหรัฐอเมรกิ า ที่เน้นสง่ เสรมิ การ ที่อ่านได้ผ่านสมาร์ตโฟน เช่น ความละเอียดสูงจากหน้าจอ เพ่ือควบคุมตัวละครในเกมบน เรียนรู้ผ่านการลงมือท�ำ โดยมี การให้ข้อมูลต้นไม้ในโรงเรียน คอมพวิ เตอร์รวมถงึ เขยี นขอ้ ความ ไอแพด เครอื่ งมอื ทนั สมยั ไวใ้ หบ้ รกิ าร เชน่ นำ้� ยนื วทิ ยา จงั หวดั อบุ ลราชธานี ดว้ ยปากกาสไตลสั (Stylus) หนุ่ ยนตแ์ ละเครอ่ื งพมิ พส์ ามมติ ิ R S TU Romibo School in the Tanvas Underground 7 O ONE OF A KIND หุ่นยนต์ท่ีสามารถเสริมสร้าง Clouds เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ เ ป ลี่ ย น ห น ้ า จ อ Education พัฒนาการด้านการส่ือสารและ การทดลองของ ซูกาตา มิตรา สัมผัส (Touch Screen) ให้มี การจดั การศกึ ษาทเ่ี นน้ การเรยี นรู้ การเขา้ สงั คมใหแ้ กเ่ ดก็ ออทสิ ตกิ (Sugata Mitra) ทใ่ี หเ้ ด็กยากจน ผิวสัมผัสเหมือนจริง เช่น เล่น จากสถานการณ์จริง เพ่ือให้ รวมท้ังส่งเสริมการเรียนรู้ด้าน ใช้คอมพิวเตอร์โดยไม่มีคนสอน กีตาร์ออนไลน์โดยรู้สึกเหมือน ผเู้ รยี นมอี งคค์ วามรแู้ ละเครอ่ื งมอื ท่ี ภาษาแกเ่ ดก็ ทว่ั ไป ซ่ึงพิสูจน์ให้เห็นว่าเด็กเรียนรู้ได้ สัมผสั สายกตี ารจ์ ริง เหมาะสมตอ่ การใชช้ วี ติ ในโลกจรงิ ด้วยตัวเองหากมีเคร่ืองมือการ นอกหอ้ งเรยี น เรียนรู้ V WX Y Voice of America Write About Xcode YouTube EDU Learning English ชุมชนออนไลน์ที่ส่งเสริมให้ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการพัฒนา เ ว็ บ ไ ซ ต ์ ร ว บ ร ว ม วิ ดี โ อ เ พื่ อ แหล่งเรียนรู้และพัฒนาทักษะ นั ก เ รี ย น ฝ ึ ก ฝ น ทั ก ษ ะ ด ้ า น แ อ ป พ ลิ เ ค ชั น ส�ำ ห รั บ ร ะ บ บ การศึกษาจากวิทยาลัยและ ภาษาอังกฤษจากส่ือมวลชน การเขยี นผา่ นการเขยี นเรยี งความ ปฏิบัติการ iOS ซ่ึงท�ำงานบน มหาวิทยาลัยกว่า 100 แห่ง ช่ือดังอย่าง Voice of America เชงิ สรา้ งสรรคใ์ นหวั ขอ้ ทสี่ นใจ คอมพิวเตอร์แมค ไอโฟน และ รวมถงึ คลปิ วดิ โี อความรใู้ นหวั ขอ้ โดยแบง่ เนอ้ื หาเปน็ 3 ระดบั ตาม ไอแพด ต่างๆ จากบคุ คลทัว่ ไป พน้ื ฐานของผู้เรยี น Z ZenFone AR สมาร์ตโฟนท่ีรองรับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมและ ความเป็นจริงเสมือน (Virtual Reality: VR) อย่างเต็ม รปู แบบรุ่นแรกๆ ของโลก

SIRIUS MODEL ต้นแบบศูนยพ์ ัฒนาปั ญญาเลิศ (Gifted Center) DECODE D 8 การจัดการศึกษาของไทยในอดตี เปน็ การจัดกระบวนการเรยี นการสอนตามหลกั สูตรที่ เน้นเน้ือหาทางวชิ าการเปน็ หลัก แตป่ ัจจุบันมีแนวทางการจัดการเรียนการสอน แบบใหมท่ ีค่ ำ� นึงถงึ ธรรมชาติ ความสนใจ ความแตกต่างระหว่างบุคคล และศักยภาพของผู้เรียน เพิ่มข้ึนเปน็ จ�ำนวนมากทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ เนอ่ื งจากในบางครง้ั กระบวนการเรยี น ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ ท ฤ ษ ฎี ก า ร เ รี ย น รู ้ ท่ัวประเทศ ทุกโรงเรียนมีเด็กปัญญา การสอนในรูปแบบดั้งเดิม (Traditional ด้วยตนเอง (Constructivism) ภายใต้ เลิศ แต่การค้นหาท�ำได้ยากและบางครั้ง Classroom) หรือ การเรียนรู้โดยการฟัง รปู แบบการเรยี นรตู้ ามแนวคดิ ของเปยี เจต์ กว่าจะค้นพบก็สายเกินไป สอดคล้อง บรรยาย (Lecture-Based Learning) (Piaget) ที่มีการเชื่อมโยงกระบวนการ กับงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการจัดการ อาจท�ำให้ผู้สอนมองข้ามเด็กปัญญาเลิศ จัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการเรียนรู้ด้วย เรียนการสอนให้แก่เด็กปัญญาเลิศใน (Gifted Children) ท่ีมีศักยภาพและ ตนเองกับเด็กปัญญาเลิศ ซึ่งสรุปว่า หลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมรกิ า องั กฤษ ความสามารถพเิ ศษท�ำใหข้ าดความตอ่ เนอื่ ง ทว่ั โลกมเี ดก็ ปญั ญาเลศิ หรอื เดก็ ทมี่ คี วาม แคนาดา และออสเตรเลีย ซ่ึงพบว่า ดา้ นพฒั นาการในเยาวชนกลมุ่ ดงั กลา่ ว สามารถพิเศษประมาณร้อยละ 5 ของ เดก็ ปญั ญาเลศิ จ�ำนวนไมน่ อ้ ยจ�ำเปน็ ตอ้ ง เด็กนักเรียนท้ังหมด โดยเด็กปัญญาเลิศ เลกิ เรยี นกลางคนั เนอ่ื งจากไมส่ ามารถอยู่ เดก็ ปั ญญาเลิศ มักมีพฤติกรรมแตกต่างจากเด็กท่ัวไปท่ี ในระบบการศกึ ษาแบบชน้ั เรยี นทวั่ ไปเพอื่ อยใู่ นวัยเดียวกันอยา่ งเห็นไดช้ ดั เรียนในส่ิงท่ีตนรแู้ ละเขา้ ใจแลว้ คือ เด็กท่ีแสดงออกซ่ึงความ สามารถอันโดดเด่นด้านใดด้าน ส�ำหรับประเทศไทย ผศ.ดร.อุษณีย์ การจัดการศึกษาส�ำหรับเด็กปัญญา หนึ่งหรือหลายด้าน อาทิ สติปัญญา อนุรุทธ์วงศ์ (2551) ผู้เช่ียวชาญด้านการ เลิศจึงเป็นดัชนีบ่งชี้แนวโน้มการพัฒนา ความคิดสร้างสรรค์ ความเป็นผู้น�ำ พัฒนาศักยภาพและอัจฉริยภาพมนุษย์ ประเทศ ในต่างประเทศถือว่าการจัดการ ภาษา ศลิ ปะ ดนตรี กฬี า วทิ ยาศาสตร์ พบว่ามีจ�ำนวนเด็กปัญญาเลิศเฉลี่ย ศึกษาส�ำหรับเยาวชนกลุ่มดังกล่าวเป็น คณิตศาสตร์ หรือความสามารถ แล้วไม่น้อยกว่าประเทศอื่นๆ กล่าวคือ การลงทุนที่ได้รับผลตอบแทนสูง โดย ทางวิชาการสาขาใดสาขาหนึ่ง หรือ เดก็ ไทยประมาณรอ้ ยละ 3 มแี ววทจ่ี ะเปน็ อานสิ งสท์ ่จี ะเกดิ ข้นึ กบั สงั คมคอื เร่อื งของ หลายสาขา เมื่อเปรียบเทียบกับเด็กท่ี เด็กอัจฉริยะในแต่ละสาขา แต่ไม่ได้ถูก สิทธิความเท่าเทียมและมนุษยธรรม โดย มีอายุระดับเดียวกัน และอยู่ในสภาพ ค้นพบ เพราะเด็กเหล่านี้อยู่รวมกับเด็ก เฉพาะการยกระดับคุณภาพการศึกษา แวดล้อมเดียวกัน ปกติและกระจายอยู่ตามโรงเรียนต่างๆ ของประเทศในอนาคต

นอกจากสหรฐั อเมริกา องั กฤษ แคนาดา และออสเตรเลียแลว้ ประเทศที่มีการจัด การเรียนการสอนให้แก่เด็กปัญญาเลิศยังรวมถึง เยอรมนี สิงคโปร์ เกาหลีใต้ จีน ไตห้ วนั เวียดนาม และรสั เซยี โดยเฉพาะท่ีเมืองโซชี (Sochi) ของรัสเซีย ได้มีการจัดตั้ง ศูนย์พัฒนาเด็กผู้มีความสามารถพิเศษซิริอุส (SIRIUS Educational Center) เพ่ือ คัดกรอง พฒั นา และสนับสนนุ เด็กท่มี คี วามสามารถพิเศษใน 3 ดา้ น คอื 1 2 3 ศิลปะ กีฬา วิทยาศาสตร์ ประกอบดว้ ย การวาดภาพ การเลน่ ดนตรี ประกอบด้วย ฟิกเกอร์สเก็ต ประกอบด้วย คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ ไดแ้ ก่เปยี โนเครอื่ งสายเครอ่ื งเปา่ และเครอื่ งตี ฮ็อกกี้นำ้� แข็ง และหมากรกุ เคมี และชวี วิทยา และการออกแบบและก�ำกับท่าทาง ได้แก่ บลั เลตแ์ ละนาฏศิลป์ ศูนย์พัฒนาเด็กผู้มีความสามารถ ในค่ายซิริอุสไม่เพียงได้รับการพัฒนา สามารถพิเศษซิริอุสคือต้นแบบส�ำคัญ 9 D DECODE พิเศษซิริอุสจัดต้ังข้ึนจากงบประมาณ ศกั ยภาพตามสาขาทแ่ี ตล่ ะคนถนดั แตย่ งั ในการจัดต้ังศูนย์พัฒนาอัจฉริยภาพ สนับสนุนของกองทุนการศึกษาส�ำหรับ ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้และฝึกฝน และศักยภาพผู้มีความสามารถพิเศษ ผู้มีความสามารถพิเศษ หรือ Talented ทักษะในอีกสองสาขาที่เหลือจนครบท้ัง เชงิ บรู ณาการหรอื ศนู ยพ์ ฒั นาปญั ญาเลศิ and Success Educational Fund ซึ่ง 3 ด้าน รวมท้ังยังได้รับการสนับสนุนด้าน (Gifted Center) ในประเทศไทย โดยท่ี ก่อตั้งข้ึนในปี พ.ศ.2557 ภายใต้ความ การเรียนรู้นอกห้องเรียนและการอ�ำนวย ผ ่ า น ม า ส�ำ นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร ส ภ า ร่วมมือระหว่างนักวิทยาศาสตร์ นักกีฬา ความสะดวกเรื่องความเป็นอยู่ในค่าย การศกึ ษาไดเ้ ขา้ รว่ มสงั เกตการณค์ า่ ยซริ อิ สุ และศิลปินสาขาต่างๆ ของรัสเซีย โดย อย่างเต็มท่ี โดยภายในศูนย์พัฒนาเด็ก และน�ำมาจัดท�ำโครงการน�ำร่อง “ค่าย มีประธานาธิบดี วลาดิเมีย ปูติน เป็น ผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษซริ อิ สุ ประกอบดว้ ย บูรณาการกิจกรรมพัฒนาความเป็นเลิศ ประธาน โดยคดั เลอื กเดก็ และเยาวชนทมี่ ี ทพี่ กั หรรู ะดบั โรงแรม 5 ดาว หอ้ งพยาบาล ด้านวิทยาศาสตร์ กฬี า ดนตรีและศิลปะ” ความสามารถพเิ ศษอายรุ ะหวา่ ง10-17ปี หอ้ งสมดุ ศนู ย์ ICT โรงอาหาร สระวา่ ยนำ�้ หรือ Talented Science, Sport, Music, จากทว่ั ประเทศจ�ำนวน 600 คน แบง่ เปน็ สนามฟุตบอล สนามวอลเลย์บอล and Art Youth Camp ครง้ั ที่ 1 เม่อื เดอื น ด้านศิลปะ 200 คน กีฬา 200 คน และ สนามบาสเก็ตบอล สนามเทนนิส สนาม เมษายน พ.ศ. 2560 เพอื่ ใหเ้ ยาวชนไทยผมู้ ี วิทยาศาสตร์ 200 คน เพ่ือเข้ารับการ แบดมินตนั โต๊ะปงิ ปอง ลานสเก็ตน�้ำแขง็ ความสามารถพิเศษได้มีโอกาสพัฒนา พัฒนาศักยภาพเป็นเวลา 24 วัน โดยครู ห้องบัลเลต์ ห้องหมากรุก โรงภาพยนตร์ ศักยภาพของตนเองตามความถนัด และ โคช้ และผเู้ ชยี่ วชาญในแตล่ ะสาขาจากใน ไปจนถึง ร้านกาแฟ ไนต์คลับ สปา และ สร้างแรงบันดาลใจให้เยาวชนกลุ่มนี้น�ำ ประเทศและตา่ งประเทศจ�ำนวน 100 คน โปรแกรมเที่ยวชมเมือง ความเป็นเลิศในศาสตร์ของตนเองมาใช้ ในการพฒั นาตนเองและประเทศตอ่ ไป ภายใน 24 วัน เด็กและเยาวชน กล่าวไดว้ า่ ศนู ย์พฒั นาเดก็ ผู้มคี วาม อา้ งอิง : จอมหทยาสนทิ พงษ์เสฐียร (2559), เฉลยี ว ศรี พิบลู ชล (2551), ทรรศนยั โกวทิ ยากร (2551), ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษา แหง่ ชาติ (2552), อษุ ณยี ์ อนรุ ทุ ธว์ งศ์ (2551), Susan Pass (2547)

THE KNOWLEDGE K 10 BLENDED LEARNING ช่ัวโมงน้ี ดีท่สี ุด ปัจจบุ นั แนวคดิ Bring Your ในปี พ.ศ. 2559 คณะกรรมาธิการ วิชาชีพครู พัฒนาหลักสูตรครูในสถาบัน Own Device (BYOD) หรอื การ ยุโรปได้เผยแพร่เอกสารเก่ียวกับการ อดุ มศกึ ษาใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพปจั จบุ นั เชอ่ื มตอ่ อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อนุญาตให้นักเรียน นิสิต นักศึกษาน�ำ จัดอบรมให้ความรู้และปรับทัศนคติ ส่ ว น บุ ค ค ล เ ข้ า กั บ ร ะ บ บ โทรศพั ทม์ อื ถอื แทบ็ เลต็ หรอื คอมพวิ เตอร์ ของครูในการจัดการเรียนรู้สมัยใหม่ เ น็ ต เ วิ ร์ ก ข อ ง ห น่ ว ย ง า น / โนต้ บุก๊ ส่วนตัวมาใชใ้ นหอ้ งเรียน โดยช้ีวา่ ส่งเสริมให้ครูน�ำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยใน องค์กรก�ำลังเป็นท่ีนิยมในภาค มีทิศทางเชิงบวกในหลายประเทศ และมี การจัดการเรียนการสอนและพัฒนา ธุรกิจ และมีการขยายเข้าสู่ แนวโน้มการน�ำแนวคิด BYOD มาใช้ใน ตนเอง รวมทั้งใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ แวดวงการศึกษาท่วั โลก สถานศกึ ษาในยโุ รปสงู ขึ้นเร่อื ยๆ แ ล ะ ก า ร สื่ อ ส า ร เ ข ้ า ม า ช ่ ว ย ใ น ก า ร พัฒนาครู ตลอดจนสร้างระบบการโค้ช อา้ งอิง : คณะกรรมาธกิ ารยโุ รป (2559), ทว่า Bring Your Own (Coaching) โดยใหค้ รทู ม่ี คี วามเชย่ี วชาญ ภาสกร เรอื งรอง (2557), Device ยังเปน็ เร่อื งยากใน ในการจัดการเรียนการสอนเป็นผู้ฝึก Ambient Insight (2560) ปฏิบัตใิ หแ้ ก่ครูที่ยงั ขาดความช�ำนาญ ระบบการศึกษาไทย การน�ำระบบการโค้ชมาใช้ในยุคการ ปัญหาส�ำคัญอยู่ท่ีบุคลากรทาง ศึกษา 4.0 จึงอาจเป็นการล้มกระดาน การศึกษาของไทยจ�ำนวนหน่ึงยังตาม ส่ิงท่ีเคยเป็นมาในอดีต จากเดิมที่ เทคโนโลยีไม่ทัน ดังที่ ภาสกร เรืองรอง ครูอาวุโสเป็นพี่เลี้ยงให้แก่ครูใหม่หรือ (2557) ได้ให้ข้อเสนอแนะไว้ในการวิจัย ครูฝึกสอน มาสู่ยุคท่ีครูรุ่นใหม่กลายเป็น เร่ือง เทคโนโลยีการศึกษากับครูไทย โค้ชให้แก่ครูอาวุโส โดยเฉพาะในเร่ือง ในศตวรรษท่ี 21 ว่าควรมีการส่งเสริม เก่ียวกับเทคโนโลยีการศึกษา และเปิดมุมมองของการพัฒนาครูใน ศตวรรษที่ 21 โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง Blended Learning จงึ น่าจะ จะต้องก�ำหนดนโยบายเพื่อเป็นกรอบใน เปน็ คำ� ตอบท่ีดีส�ำหรบั แวดวง การผลติ และพฒั นาครู ก�ำหนดมาตรฐาน การศึกษาไทยในชว่ั โมงน้ี

BARISTA 4.0 กบั การศกึ ษาไทย การสรา้ งสว่ นผสมทกี่ ลมกลอ่ มใหแ้ ก่ เน่ืองจากในห้องเรียน Blended Blended Learning 11 K THE KNOWLEDGE การเรียนการสอนแบบ Blended Learning นั้น แม้สนับสนุนการจัดการ คือค�ำตอบสุดท้าย Learning นั้น จ�ำเป็นต้องอาศัยบาริสต้า เรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ เพื่อให้ (Barista) หรือนักชงมือฉมังท่ีจะท�ำ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่าง Blended Learning อาจดเู หมอื นเปน็ หน้าที่ผสมระบบการเรียนการสอนแบบ ต่อเนื่องทุกเวลาและทุกสถานท่ี ผ่านสื่อ แนวโนม้ ใหมห่ รอื เปน็ บนั ไดขนั้ พกั ระหวา่ ง ด้ังเดิม หรือ Lecture-Based Learning การเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ แต่ใน การเปลี่ยนผ่านจากยุค Lecture-Based ท่ีมีการเผชิญหน้าระหว่างผู้เรียนกับ ขณะเดียวกันก็ยังสนับสนุนการพบปะ Learning สยู่ คุ Online-Based Learning ผู้สอนในช้ันเรียน (Face-to-Face) ให้ และแลกเปลี่ยนในห้องเรียนระหว่าง ของไทย เน่ืองจากเป็นช่วงเวลาท่ีมี ผสานเขา้ กบั การจดั การเรยี นการสอนผา่ น ผู้สอนกับผู้เรียน รวมถึงผู้เรียนกับผู้เรียน การผสมผสานกันระหว่างครูสองรุ่น คือ ระบบอินเทอร์เน็ต หรือ Online-Based ด้วยกันผ่านการท�ำงานกลุ่ม ครอู าวโุ สกบั ครรู นุ่ ใหม่ ผา่ นการบรู ณาการ Learning อย่างลงตวั ระหว่างการเรียนการสอนในช้ันเรียนกับ “ครู” ซึ่งรับบทบาทบาริสต้าใน การใหค้ วามรผู้ า่ นระบบออนไลน์ แตห่ ลกั Blended Learning จึงเปน็ เคร่อื งมอื ระบบการศึกษายุค 4.0 จึงไม่เพียงต้อง ใหญ่ใจความของ Blended Learning ก็ ส�ำคญั ในการแสวงจดุ ร่วม - สงวนจดุ ต่าง เชย่ี วชาญในการใชเ้ ครอื่ งไมเ้ ครอื่ งมอื ICT คือการค้นหาเคร่ืองมือที่มีประสิทธิภาพที่ ระหว่าง Lecture-Based Learning กับ เพื่อจัดการเรียนการสอน ยังต้องช�ำนาญ จะเข้ามาช่วยเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน Online-Based Learning ทั้งยังเป็นการ ในการใหก้ ารศกึ ษาผา่ นหอ้ งเรยี นรปู แบบ และสร้างสมดุลในเรื่องการใช้เวลาใน ประนีประนอมระหว่างครูอาวุโสที่คุ้นเคย ดงั้ เดมิ และตอ้ งเปน็ นกั ปรงุ มอื ฉมงั เพอื่ ให้ ชน้ั เรยี นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม กับการเรียนการสอนแบบด้ังเดิมกับครู รสชาติการเรียนรู้ท้ังสองส่วนผสมผสาน รุ่นใหม่ท่เี ตบิ โตมากับระบบอินเทอร์เน็ต กันอย่างกลมกลอ่ มอกี ด้วย ดงั น้นั ไมว่ ่าจะเปน็ BYOD หรือ Face-to-Face จะ GAMES-BASED Online หรือ Offline หัวใจ LEARNING เกมการเรียนรู้ ส�ำคัญในยคุ เปลีย่ นผ่านน้กี ็คือ การน�ำ Blended Learning Games-Based Learning หรือ เกมการเรียนรู้ เปน็ อกี แนวทางหนงึ่ ของ มาใช้โดยค�ำนึงถงึ ความ การประยุกต์ใช้แนวคิด Edutainment ซึ่งผสมผสานการศกึ ษา (Education) เสมอภาคทางการศึกษา ซ่งึ กบั ความบนั เทงิ (Entertainment) เขา้ ดว้ ยกนั โดยเปน็ การน�ำเกมเขา้ มาใชใ้ น อาจกลา่ วได้วา่ เปน็ แนวทางที่ การจดั การเรยี นการสอนเพอื่ ตอบโจทยผ์ เู้ รยี นทไี่ มช่ อบบรรยากาศเครง่ เครยี ด เหมาะสมท่สี ุดส�ำหรับบรบิ ท ในห้องเรียน แนวคิดนี้ก�ำลังเป็นท่ีสนใจในแวดวงการศึกษาท่ัวโลก กระท่ัง บรษิ ทั ของเลน่ ชนั้ น�ำอยา่ ง LEGO ยงั ตอ้ งตงั้ แผนกการศกึ ษาขนึ้ มาโดยเฉพาะ การศึกษาไทยทีก่ ำ� ลัง เรียกว่า LEGO Education ก้าวไปสู่ยุค 4.0 โดยปัจจุบันเกมประเภท Serious Game ซ่ึงเป็นเกมเพ่ือการเรียนรู้หรือ เพม่ิ พนู ทกั ษะ ก�ำลงั ไดร้ บั ความนยิ มอยา่ งสงู จากพอ่ แมผ่ ปู้ กครองทต่ี อ้ งการให้ เดก็ ๆ ใชป้ ระโยชนจ์ ากแอปพลเิ คชนั บนสมารต์ โฟน แทบ็ เลต็ และคอมพวิ เตอร์ พีซี มากกว่าส่อื สงั คมหรอื เกมคอมพวิ เตอรท์ ีร่ ุนแรงและอนาจาร สถาบนั วจิ ยั ดา้ นการศกึ ษา Ambient Insight (2560) คาดการณว์ า่ ตลาด ของSeriousGamesหรอื Games-BasedLearningจะเตบิ โตจาก1.5พนั ลา้ น เหรยี ญสหรฐั หรอื ราว 50.75 พนั ลา้ นบาท ในปี พ.ศ. 2555 ไปเปน็ 2.3 พนั ลา้ น เหรยี ญสหรฐั หรอื ราว 77.80 พนั ลา้ นบาท ในปี พ.ศ. 2560 สว่ นตลาดเกมการ เรียนรู้ทั้งหมด ซึ่งครอบคลุมถึงเกมฝึกอบรมทักษะขององค์กรธุรกิจและเกม เพ่ือการศึกษาท่ัวไป คาดว่าจะเติบโตข้ึนจาก 3.9 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือ ราว 131.94 พันลา้ นบาท ในปี พ.ศ. 2555 ไปเปน็ 8.9 พันล้านเหรียญสหรฐั หรอื ราว 301.09 พันล้านบาท ในปี พ.ศ. 2560 โดยรายไดท้ ีเ่ พ่ิมข้นึ สว่ นใหญ่ มาจากเกมและแอปพลิเคชนั บนสมารต์ โฟน ตัวอย่างของ Serious Game ท่ีโด่งดังระดับโลก อาทิ SimCity, Angry Birds, Sesame Street และล่าสุดคือเกม DragonBox ซึ่งก�ำลังเป็นท่ีนิยม ท้ังในอเมริกาเหนือและยุโรป

HOME- WORK REVOLU- TION บาลานซ์ การบ้าน ขาเลาะเปลีย่ น ขาเรียนปล้มื NEXTPERT N 12 หากกล่าววา่ “เดก็ ในวนั น้ี คือผใู้ หญใ่ นวนั หนา้ ” ไทยคงเปน็ มหาอำ� นาจที่อุดมดว้ ย ทรพั ยากรมนษุ ยอ์ ันทรงคณุ ค่าไม่แพ้ใครในโลก เพราะพ่อแมบ่ างคนใหล้ กู ท่องตารางธาตุ ต้ังแต่อยชู่ น้ั ประถมศึกษา และผูป้ กครองบางส่วนเช่อื ว่า “อย่าให้ลกู เลน่ เกม” เม่ือผู้ปกครองจ�ำนวนมากมุมานะ การทเ่ี รายงั ยนื อยจู่ ดุ น้ี อาจเปน็ เพราะ ควรจะได้ใช้ในการคิดวิเคราะห์ส่ิงที่อยู่ ปลุกปั้นลูกให้เป็นอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ค่านิยมผิดๆ ท่ีว่า เด็กท่ีจะแข่งขันได้ รอบตวั แสดงออก วาดฝนั หรอื จนิ ตนาการ ท้ังที่ลูกอาจเห็นคริสเตียโน โรนัลโด หรือ ต้องเป็น “เด็ก (เกรด) 4.0” ในทุกวิชา สง่ิ ใหมๆ่ จงึ ลดนอ้ ยถอยลงตามภาระงาน คริสเตียน ลูบูแตง เป็นไอดอล แถม ไม่ว่าครูจะออกข้อสอบมหาโหดชนิด หลังเลิกเรียน ท้ังที่วัยเด็กเป็นช่วงเวลา ด้วยจ�ำนวนชั่วโมงที่เด็กไทยคร่�ำเคร่ง ท่ีว่าไม่มีใครในห้องเรียนตอบได้ หรือ ที่มนุษย์เรามีความคิดสร้างสรรค์สูงสุด ปั่นการบ้านในแต่ละคืน น่าจะสะท้อน สง่ั การบา้ นคดั ลายมอื ครง้ั ละสบิ หนา้ หรอื น�ำมาซงึ่ ค�ำถามวา่ การเป็นสังคมที่วิริยอุตสาหะได้อย่างดี ให้โจทย์ที่ท้าทายเกินวัย (ดังรูป) เช่น ให้ แตเ่ หตใุ ด “คน” ยงั เปน็ ขอ้ จ�ำกดั เรอ้ื รงั ของ เด็กชั้นอนุบาลศึกษาท่ียังไม่เคยเรียน ปรมิ าณ รปู แบบ และ ชาติ ทฉ่ี ดุ รง้ั การกา้ วขนึ้ เปน็ ประเทศ 4.0 ท่ี เรขาคณติ ยงั ทอ่ ง A ถงึ Z ไมไ่ ด้ เขยี นชอื่ ระดบั ของการบา้ นที่ อาศัยการขับเคล่ือนด้วยองค์ความรู้และ รูปทรงต่างๆ เป็นภาษาอังกฤษ ท่ีแม้แต่ เหมาะสมอยตู่ รงไหน? นวตั กรรม? ผู้ใหญ่บางคนก็ยังไม่ทราบ! เวลาที่เด็ก การบา้ นของ เด็กช้นั อนบุ าลปที ี่ 2 ในปั จจบุ ัน ภาพ : https://pantip.com/topic/32143448

ผลงานวิจัยระดับนานาชาติพบว่า ไม่ เปรียบเทยี บจ�ำนวนชว่ั โมงท�ำการบา้ น สามารถหาความเชื่อมโยงระหว่างปริมาณ กบั อันดับของระบบการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน การบ้านกับความส�ำเร็จทางการศึกษาได้ อยา่ งชดั เจน ในทางกลบั กนั ปรมิ าณการบา้ น ประเทศ จำ� นวนชวั่ โมงทำ� การบา้ น อนั ดบั ของระบบการศึกษา ที่มากเกินไปอาจส่งผลเชิงลบต่อความ (ตอ่ สัปดาห)์ ขนั้ พื้นฐาน ประจำ� ปี พ.ศ. 2557 สามารถของเด็กด้วยซ้�ำ โดยเด็กไทยและ อติ าลี อายุ 15 ปี ใชเ้ วลาท�ำการบา้ น 5.6 และ เกาหลใี ต้ 2.9 1 8.7 ช่ัวโมง/สัปดาห์ตามล�ำดับ แต่กลับได้รับ การประเมนิ ในวชิ าวทิ ยาศาสตรต์ ำ่� กวา่ เดก็ ชาว ญป่ี นุ่ 3.8 2 ฟนิ แลนดแ์ ละญปี่ นุ่ ทใี่ ชเ้ วลาท�ำการบา้ นเฉลยี่ เพียง 2.8 และ 3.8 ชั่วโมง/สัปดาห์ แม้แต่ ฟนิ แลนด์ 2.8 5 เดก็ ชาวเกาหลใี ตซ้ ง่ึ เปน็ ประเทศทมี่ รี ะบบการ ศกึ ษาเปน็ อนั ดบั ท่ี 1 ของโลก ยงั ใชเ้ วลาท�ำการ สหราชอาณาจกั ร 4.9 6 บา้ นเฉลย่ี เพยี งแค่ 3.9 ชวั่ โมง/สปั ดาหเ์ ทา่ นน้ั รสั เซยี 9.7 13 ผสู้ อนในหลายประเทศ เชน่ สหรฐั อเมรกิ า จงึ เสนอใหย้ กเลกิ การบา้ น แลว้ หนั ไปสนบั สนนุ ออสเตรเลยี 6.0 15 การเรียนรู้ตลอดชีวิตแทน เพราะในโลก อนั กวา้ งใหญใ่ บนม้ี บี ทเรยี นทมี่ คี า่ ยงิ่ กวา่ ต�ำรา อสิ ราเอล 4.6 17 เรียนเล่มใด และทุกคนสามารถเสริมสร้าง ศกั ยภาพไดท้ กุ ที่ ทกุ เวลา สหรฐั อเมรกิ า 6.1 17 ฝรงั่ เศส 5.1 23 อติ าลี 8.7 25 13 N NEXTPERT อารเ์ จนตนิ า 3.7 37 บราซลิ 3.3 38 อ้างองิ : www.businessinsider.com/education-homework-differs-around-the-world-2016-11 การบ้านไม่ใช่สิ่งท่ีเป็นพิษภัยหาก แกป้ ญั หาอาจชว่ ยเดก็ ใหอ้ ยรู่ อดในระยะสน้ั รวมทั้งปรับระดับความยากของการบ้าน อยู่ในปริมาณและระดับที่เหมาะสมกับ แตผ่ ปู้ กครองเคยคดิ หรอื ไมว่ า่ สดุ ทา้ ยแลว้ ใหต้ รงกบั พนื้ ฐานของแตล่ ะคน แต่ละบุคคล เพราะมีส่วนช่วยกระตุ้นให้ คนที่คุณรักจะเติบโตท่ามกลางความ เกิดการเรียนรู้นอกห้องเรียน หรือแม้แต่ คนุ้ ชนิ กบั การทจุ รติ โดยไมร่ ตู้ วั กล่าวได้ว่า การบ้านไม่ควรเป็นแค่ สรา้ งปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งเดก็ กบั ผปู้ กครอง เครอ่ื งมอื วดั คะแนน แตเ่ ปน็ กลไกประเมนิ แต่หากมากเกินความพอดี นอกจาก ในท่ีสุด ส�ำนักงานคณะกรรมการ และเสริมสร้างความก้าวหน้าของเด็ก เยาวชนจะสูญเสียโอกาสท�ำกิจกรรม การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานจงึ ก�ำหนดแนวปฏบิ ตั ิ แต่ละคน ปรับปรุงหลักสูตรและแนวทาง เพ่ือพัฒนาสมองและร่างกาย หรือท�ำ การให้การบ้านนักเรียน ตามประเด็น การเรียนการสอนของบุคลากรทางการ ประโยชน์ต่อส่วนรวมอันจะช่วยสร้าง ขอ้ สง่ั การของคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ศึกษาให้ตอบโจทย์ท่ีแท้จริงของเด็ก เสริมความฉลาดทางอารมณ์แล้ว ยังก่อ (คสช.)โดยก�ำชบั ให้\"ครพู จิ ารณามอบหมาย รวมท้ังพัฒนาความสัมพันธ์อันดีภายใน ให้เกิดช่องว่างทางความรู้มากขึ้นด้วย การบา้ นใหน้ กั เรยี นอยา่ งเหมาะสม ไมย่ าก โรงเรียนและบ้าน ไม่ต่างจากการให้ลูก เพราะเด็กบางกลุ่มมีทุนทรัพย์พอท่ีจะ เกนิ ไป ไมม่ ากเกนิ ไป และควรมอบหมาย เลอื กอา่ นหนงั สอื เอง พาไปเทยี่ วสวนสตั ว์ เรียนพิเศษ ท�ำให้ได้เปรียบในการท�ำ ให้นักเรียนท�ำงานเป็นกลุ่มมากข้ึน ซึ่งจะ ชมการแสดง หรอื เขา้ รว่ มเปน็ อาสาสมคั ร การบ้านหรือสอบวัดผล แต่รายท่ีเรียน สอดคลอ้ งกบั การด�ำเนนิ ชวี ติ จรงิ มากกวา่ ” ไมท่ นั เมอื่ เหน็ การบา้ นซง่ึ เนน้ ทฤษฎแี ละ คลา้ ยคลงึ กบั แนวทาง \"การบา้ นคณุ ภาพ\" เดก็ จะฉลาด ชาตเิ จรญิ การท่องจ�ำ แทนท่ีจะกระตุ้นให้เกิดความ ของ ดร.อมรวชิ ช์ นาครทรรพ ผอู้ �ำนวยการ หรอื เด็กจะเออื ม สนใจหรอื ความคดิ สรา้ งสรรค์อาจกลบั รสู้ กึ สถาบนั รามจติ ตซิ ง่ึ ระบวุ า่ ควรตงั้ โจทยใ์ ห้ เบื่อหน่าย ท้อแท้ จนอาจรู้สึกว่า “เรียน เขา้ กบั บรบิ ทและความสนใจของนกั เรยี น ชาตเิ ส่ือมเสีย (โอกาส) ไม่ได้” หรืออาจหันไปใช้บริการรับจ้าง แต่ละคน เช่น แทนท่ีจะให้เขียนประวัติ จงึ มใิ ช่แคก่ ารเมือง ท�ำการบ้านหรือท�ำรายงานที่มีให้เห็น วดั พระแกว้ ซง่ึ ลอกตอ่ ๆ กนั ได้ ควรเปลยี่ น แต่เปน็ เร่ืองการบ้าน! อยู่ท่ัวไปบนโลกออนไลน์ การใช้เงิน เป็นการเล่าประวัติและวิเคราะห์สิ่งของ ในบา้ นแทน โดยครมู หี นา้ ทเี่ รยี นรจู้ ากเดก็

รวมมติ รตัวเลขการศึกษาของโลก ภาพรวมการศึกษาโลก พ.ศ. 2558 อา้ งอิง : UNESCO (2558) ผใู้ หญ่ 782 ลา้ นคน เดก็ 250 ลา้ นคน ปี พ.ศ. 2563 จะขาดแคลน ครปู ระถมศึกษา ไมส่ ามารถอา่ นออก ไมไ่ ดร้ บั การศึกษา เขยี นได้ ขนั้ พ้ืนฐาน 12.6 ลา้ นคน ภาพรวม การอา่ นออก งบประมาณ 4.1% การฝกึ อบรม 100% การศึกษาอาเซยี น เขยี นได้ การศึกษาตอ่ GDP ครปู ระถมศึกษา 96.7% อ้างองิ : Human Development Report 2016 บรูไน DIGITONOMY D 14 (พ.ศ. 2559) ไทย จำ� นวนนกั เรยี นตอ่ 15 คน จำ� นวนปเี ฉลย่ี ท่ี 7.9 ปี ครปู ระถมศึกษา ไดร้ บั การศึกษา กัม ูพชา การอา่ นออกเขยี นได้ 77.2% การอา่ นออกเขยี นได้ 96.4% การอา่ นออกเขยี นได้ 96.3% งบประมาณ การฝกึ อบรม งบประมาณ การฝกึ อบรม ฟิ ิลป ิปน ์ส งบประมาณ การฝกึ อบรม การศึกษาตอ่ GDP ครปู ระถมศึกษา การศึกษาตอ่ GDP ครปู ระถมศึกษา การศึกษาตอ่ GDP ครปู ระถมศึกษา 2.0% 100% 3.8% 87% 3.4% 100% จำ� นวนนกั เรยี นตอ่ จำ� นวนปเี ฉลย่ี ที่ จำ� นวนนกั เรยี นตอ่ จำ� นวนปเี ฉลยี่ ท่ี จำ� นวนนกั เรยี นตอ่ จำ� นวนปเี ฉลย่ี ที่ ครปู ระถมศึกษา ไดร้ บั การศึกษา ครปู ระถมศึกษา ไดร้ บั การศึกษา ครปู ระถมศึกษา ไดร้ บั การศึกษา 45 คน 4.7 ปี 10 คน 12.5 ปี 31 คน 9.3 ปี การอา่ นออกเขยี นได้ 94.6% การอา่ นออกเขยี นได้ 93.1% การอา่ นออกเขยี นได้ 79.9% มาเลเ ีซย งบประมาณ การฝกึ อบรม เ ีมยนมา งบประมาณ การฝกึ อบรม ลาว งบประมาณ การฝกึ อบรม การศึกษาตอ่ GDP ครปู ระถมศึกษา การศึกษาตอ่ GDP ครปู ระถมศึกษา การศึกษาตอ่ GDP ครปู ระถมศึกษา 6.1% 99% - 100% 4.2% 98% จำ� นวนนกั เรยี นตอ่ จำ� นวนปเี ฉลยี่ ท่ี จำ� นวนนกั เรยี นตอ่ จำ� นวนปเี ฉลยี่ ท่ี จำ� นวนนกั เรยี นตอ่ จำ� นวนปเี ฉลยี่ ท่ี ครปู ระถมศึกษา ไดร้ บั การศึกษา ครปู ระถมศึกษา ไดร้ บั การศึกษา ครปู ระถมศึกษา ไดร้ บั การศึกษา 11 คน 10.1 ปี 28 คน 4.7 ปี 25 คน 5.2 ปี การอา่ นออกเขยี นได้ 94.5% การอา่ นออกเขยี นได้ 96.8% การอา่ นออกเขยี นได้ 93.9% เวียดนาม งบประมาณ การฝกึ อบรม ิสงคโป ์ร งบประมาณ การฝกึ อบรม ิอนโด ีนเ ีซย งบประมาณ การฝกึ อบรม การศึกษาตอ่ GDP ครปู ระถมศึกษา การศึกษาตอ่ GDP ครปู ระถมศึกษา การศึกษาตอ่ GDP ครปู ระถมศึกษา 6.3% 100% 2.9% 94% 3.3% - จำ� นวนนกั เรยี นตอ่ จำ� นวนปเี ฉลยี่ ท่ี จำ� นวนนกั เรยี นตอ่ จำ� นวนปเี ฉลย่ี ท่ี จำ� นวนนกั เรยี นตอ่ จำ� นวนปเี ฉลย่ี ที่ ครปู ระถมศึกษา ไดร้ บั การศึกษา ครปู ระถมศึกษา ไดร้ บั การศึกษา ครปู ระถมศึกษา ไดร้ บั การศึกษา 19 คน 8.0 ปี - 11.6 ปี 17 คน 7.9 ปี

การศึกษาเรยี นรผู้ า่ นอนิ เทอรเ์ นต็ ของคนไทยในแตล่ ะชว่ งวยั 1,313,941 คน รอ้ ยละ 26.03 1,005,471 คน 734,626 คน 296,836 คน รอ้ ยละ 19.92 รอ้ ยละ 14.55 รอ้ ยละ 5.88 505,355 คน 318,960 คน รอ้ ยละ 10.01 รอ้ ยละ 6.32 50,085 คน รวม รอ้ ยละ 0.99 5.05 376,670 คน 244,645 คน 200,876 คน ลา้ นคน รอ้ ยละ 7.46 รอ้ ยละ 4.85 รอ้ ยละ 3.98 6-10 11-14 15-19 20-24 25-29 30-34 35-39 40-49 50-59 60 ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ข้นึ ไป อ้างองิ : ส�ำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ (2558) ชอ่ ง YouTube การเรยี นรผู้ า่ น MOOCs 15 D DIGITONOMY ทางการศึกษาทมี่ ี ผตู้ ดิ ตามสูงสุด จำ� นวน จำ� นวน จำ� นวนครงั้ จ�ำนวนผเู้ รยี น Coursera edX XuetangX ผตู้ ดิ ตาม วดี ทิ ศั น์ การเปดิ ดู (ลา้ นคน) (ล้านคร้งั ) 58 23 10 6 (เรอ่ื ง) ลา้ นคน ลา้ นคน ลา้ นคน ลา้ นคน FutureLearn Udacity 9.6 451 11,260 54 ลา้ นคน ลา้ นคน 6.3 87,200 1,240 วศิ วกรรมศาสตร์ คณติ ศาสตร์ 6.32% 3.64% ธรุ กจิ และ ศิลปะและ การจดั การ การออกแบบ 19.3% 6.47% คอมพิวเตอร์ และการเขยี น 5.5 675 536 สุขภาพและ มหาวทิ ยาลยั โปรแกรม การแพทย์ มากกวา่ 17.4% 5.0 331 5,660 7.68% 700 การศึกษา แหง่ และการสอน จ�ำนวนหลกั สูตร 9.26% 6,850 หลกั สูตร 4.7 252 356 มานษุ ยวทิ ยา สังคมศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 9.82% 9.82% 10.4% อา้ งองิ : Social Blade LLC (2560), VidStatsX (2560) อ้างอิง : www.class-central.com (2559)

DIGITAL KNOW- LEDGE TRENDS แนวการเรยี นรยู้ คุ ดจิ ิทัล NEXT N 16 ในยุคดิจิทัลซ่ึงข้อมูลข่าวสาร แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ท� ำ ใ ห้ เ กิ ด ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง รู ป แ บ บ ก า ร 10 เทรนด์รปู แบบ เรยี นรแู้ ละการศึกษา องคค์ วามรู้ การเรยี นรใู้ นยคุ ดจิ ทิ ลั และข้อมูลมหาศาลสามารถหาได้ งา่ ยข้นึ ตลาดแรงงานมอี าชพี ใหม่ ปั ญญา การบรู ณาการ เกิดข้ึน ส่วนอาชีพเก่าบางอาชีพ ประดษิ ฐ์ แพลตฟอร์ม กลบั ลดความส�ำคญั ลง (Artificial ออนไลน์ Intelligence: ซงึ่ สง่ ผลใหเ้ กดิ แนวโนม้ เกยี่ วกบั ความ AI) แนวโน้มการบูรณาการระหว่าง จ�ำเป็นของกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต แ พ ล ต ฟ อ ร ์ ม ต ่ า ง ๆ จ ะ ท�ำ ใ ห ้ เ กิ ด เนื่องจากรูปแบบการศึกษาแบบเก่าอาจ ความก้าวหน้าทางปัญญา แพลตฟอร์มการเรียนรู้ที่มีรูปแบบผสม ไมร่ องรบั อาชพี ทเี่ หมาะสมกบั โลกยคุ ใหม่ ประดิษฐ์ที่คิดอ่านแทนมนุษย์ได้ ผสานมากขน้ึ อาทิ หลกั สตู รออนไลนแ์ บบ ผปู้ ระกอบอาชพี จงึ ตอ้ งปรบั ตวั และพรอ้ ม ในบางเรื่องจะเข้ามาพัฒนาและ เปดิ หรอื Massive Open Online Courses เรยี นรใู้ หมอ่ ยเู่ สมอ สว่ นอตุ สาหกรรมตอ้ ง ส ร ้ า ง ค ว า ม เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ใ ห ้ แ ก ่ (MOOCs) ไดม้ กี ารใชแ้ พลตฟอรม์ อนื่ เพอ่ื พัฒนาทักษะของลูกจ้างให้เหมาะสมยุค ทุกแพลตฟอร์มการศกึ ษา เช่น ระบบ สนับสนุนการเรียนรู้ ไม่ว่าจะเป็นการ สมยั ยง่ิ ขนึ้ พี่เลี้ยงอัตโนมัติ ท่ีใช้ข้อมูลจากระบบ เผยแพรว่ ดี ทิ ศั นบ์ นยทู ปู (YouTube) หรอื วเิ คราะหข์ อ้ มลู ในการใหค้ �ำแนะน�ำแก่ ใชเ้ กมเพอื่ ดึงดูดความสนใจ เปน็ ตน้ รูปแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับ ผู้เรียนท่ีมีความสามารถแตกต่างกัน ยุคดิจิทัลคือรูปแบบที่สามารถน�ำข้อมูล หรือ โปรแกรมพูดคุยอัตโนมัติ ขา่ วสารและเทคโนโลยมี าใชป้ ระโยชน์ ซงึ่ (Chatbot) ทช่ี ว่ ยในการเรยี นการสอน ไมว่ า่ ใครกส็ ามารถเรยี นรไู้ ด้ แตต่ อ้ งเรยี น เป็นตน้ รู้ให้เหมาะสมกับความสนใจและความ สามารถของแต่ละบุคคลด้วย ปัจจุบันจึง เกดิ รปู แบบการเรยี นรใู้ หมข่ น้ึ มากมาย ซงึ่ นับเป็นโอกาสของคนรุ่นใหม่ท่ีสามารถ เลือกรูปแบบการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับ ตนเองมากทส่ี ดุ

ภมู ิปั ญญาจาก สื่อโสตทัศน์ สื่อสังคมออนไลน์ ฝงู ชน (Crowd- (Audio Media) (Social Media) sourcing) แนวคิดการระดมความคิดจากกลุ่ม คอนเทนต์เสียงกลายเป็นส่ือการ การใช้ส่ือสังคมออนไลน์เพ่ือสร้าง คนท่ีหลากหลาย ซ่ึงไมจ่ �ำกดั อย่เู พียงการ เรยี นรทู้ ไ่ี ดร้ บั ความนยิ มแพรห่ ลายในยคุ น้ี และแบ่งปันข้อมูล รวมถึงแลกเปลี่ยน รวบรวมข้อมูล ความรู้ และสติปัญญา เพราะนอกจากเหมาะกับพฤติกรรม ความคิดเห็นต่างๆ มีแนวโน้มท่ีจะถูกน�ำ แต่ยังรวมถึงแรงงานและเงินทุนด้วย ซ่ึง ของคนรุ่นใหม่ท่ีอ่านหนังสือน้อยลง ยัง มาใช้อย่างหลากหลายมากขึ้น ไม่ว่าจะ ท�ำใหเ้ กดิ แพลตฟอรม์ การเรยี นรยู้ คุ ใหมท่ ่ี ช่วยลดความเหล่ือมล้�ำทางการเรียนรู้ เป็นการสร้างสื่อสังคมเฉพาะกลุ่ม เช่น รวบรวมองคค์ วามรแู้ ละแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ โดยเฉพาะในผู้พิการทางสายตาหรือ เครือข่ายหางาน การใช้สื่อสังคมเพ่ือ ระหวา่ งผคู้ นทม่ี คี วามรแู้ ละประสบการณ์ ผสู้ งู อายทุ มี่ ปี ญั หาดา้ นสายตา ในอนาคต ค้นหาข้อมูล การติดต่อส่ือสารกับครูและ ดา้ นตา่ งๆ เพอื่ การเรยี นรทู้ เี่ ปดิ กวา้ งยง่ิ ขนึ้ เราอาจได้เห็นการบูรณาการระหว่าง เพื่อนร่วมช้ันผ่านส่ือสังคม รวมถึงสร้าง เช่น เวบ็ ไซต์สารานกุ รมออนไลน์ทีเ่ ปดิ ให้ สอื่ โสตทศั นก์ บั สอ่ื ขอ้ ความอยา่ งกวา้ งขวาง เครอื ขา่ ยในการแลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ว่ มกนั คนทั่วไปเข้ามาแบ่งปันความรู้ในเร่ืองท่ี รวมท้ังการใช้เสียงสังเคราะห์เพื่อการฟัง ตนเชยี่ วชาญ แบบเร่งด่วน ส�ำหรับการบริโภคข้อมูล มากขน้ึ ในระยะเวลาอนั สน้ั หลักสูตร เกม (Game) การเรียน 17 N NEXT ออนไลนแ์ บบ รอู้ อนไลน์ เปดิ (MOOCs) (e-Learning) รูปแบบการเรียนรู้นอกระบบผ่าน เกมเป็นหน่ึงในรูปแบบการเรียนรู้ การสร้างรูปแบบการเรียนรู้ใหม่ๆ หลักสูตรออนไลน์แบบเปิด ซึ่งใครก็ตาม ท่ีสอดคล้องกับลักษณะนิสัยและความ ผ ่ า น สื่ อ ก า ร เ รี ย น รู ้ อ อ น ไ ล น ์ จ ะ ต ้ อ ง จากทใ่ี ดกต็ ามในโลก สามารถสมคั รเรยี น สนใจของคนรุ่นใหม่อย่างมาก เกมและ ตอบสนองพฤติกรรมการเรียนรู้ของ ได้ จะกลายเปน็ เทรนดก์ ารศกึ ษาทเ่ี ตบิ โต ของเลน่ ยคุ ใหมต่ อ้ งไมเ่ พยี งใหค้ วามรู้ แต่ คนรนุ่ ใหม่ท่เี ปลี่ยนแปลงไป เชน่ มีหัวข้อ แบบกา้ วกระโดด โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมอ่ื ยังต้องสามารถเพ่ิมทักษะหลากหลายให้ การเรียนรู้หลากหลาย และมีรูปภาพ หลายแห่งเร่ิมมีการมอบประกาศนียบัตร แกผ่ ้เู ลน่ สว่ นการใช้ความเปน็ จรงิ เสมือน มากกว่าตัวหนังสือ นอกจากน้ีผู้สอนควร ให้แก่ผู้เรียน และอาจมีการน�ำ AI (VR) ความเป็นจริงเสริม (AR) และ มีความรู้ในเรื่องที่สอน ซึ่งจะช่วยกระตุ้น เข้ามาช่วยวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อปรับ ความเป็นจริงผสม (MR) ก็จะช่วยให้ ให้สื่อออนไลน์บนอินเทอร์เน็ตน่าสนใจ การเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและ ผู้ใช้ได้สัมผัสกับประสบการณ์เสมือนจริง และนา่ ใช้งานมากขน้ึ เขา้ ถงึ ผู้เรยี นมากข้นึ ช ่ ว ย เ ส ริ ม ส ร ้ า ง แ ร ง บั น ด า ล ใ จ แ ล ะ อาชีพใหม่ สื่อวีดิทัศน์ จนิ ตนาการไดด้ ว้ ย (New Cutting- (Video Media) Edge Jobs) การใช้สื่อวีดิทัศน์เพื่อการเรียนรู้หรือ อ้างองิ : ง านศึกษาวิจัย หวั ขอ้ รูปแบบการเรยี นรู้ อาชีพใหม่ท่ีเกิดข้ึนจากการพัฒนา ประกอบการสอนอาจไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่ ส�ำหรับคนรนุ่ ใหม่ โดย ส�ำนักงานบริหาร ด้านเทคโนโลยีและรูปแบบการเรียนรู้ที่ ส่ือวีดีทัศน์ยุคใหม่จะต้องทันสมัยและมี และพัฒนาองคค์ วามรู้ รว่ มกับมหาวทิ ยาลยั เปลี่ยนไป อาทิ อาชีพครูผู้สอนหลักสูตร ลกู เล่นมากขึน้ เช่น วดี ิทศั นร์ อบทศิ (360 เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี (2560) ออนไลน์แบบเปิด นักจัดรายการเพ่ือ Video) วีดิทัศน์สามมิติ (3D Video) การเรียนรู้บนส่ือวีดิทัศน์และโสตทัศน์ วีดิทัศน์ความเป็นจริงเสมือน (Virtual ไปจนถงึ นกั วจิ ารณส์ อ่ื การเรยี นรอู้ อนไลน์ Reality Video) รวมถึงการถ่ายทอดสด (Commentator หรือ Recommender) บทเรยี นบนยทู ปู หรอื เฟซบกุ๊ (Facebook) เปน็ ตน้

การจดั การองค์ความรูม้ ุ่งสู่ SMART FARMER เ ห็ น ไ ด ้ ว ่ า ใ น ก า ร พั ฒ น า ที่ผ่านมา หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานด้านการเกษตร และ ศักยภาพและสมรรถนะเกษตรกร หน่วยงานอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง ตลอดจน สถาบันการศึกษา และ และชมุ ชนในแตล่ ะพนื้ ทน่ี น้ั จ�ำเปน็ ภาคเอกชนไทย ต่างระดมการสนับสนุนท้ังด้านปั จจัยและการ อยา่ งยง่ิ ทจี่ ะตอ้ งเขา้ ใจและเขา้ ถงึ อบรมเพ่ือพัฒนาผลิตภัณฑ์ภาคการเกษตรและวิสาหกิจชุมชน เกษตรกรในพื้นท่ี ด้วยการรับฟัง ในภาคการเกษตร เพ่ือสร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกรและ ปญั หา และเรยี นรปู้ จั จยั แวดลอ้ ม กลุ่มเกษตรกรของประเทศ และบริบทของชุมชนอย่างรอบ ด้านผ่านการลงพ้ืนท่ีจริง จากนั้น ความ ู้ร ิกนได้ ค 18 ขณะเดียวกัน มีการน�ำองค์ความรู้ อ ง ค ์ ค ว า ม รู ้ แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม ด ้ า น น�ำข้อมูลกลับมาวิเคราะห์ปัญหา ชมุ ชนซงึ่ ประกอบดว้ ยวถิ ชี วี ติ การประกอบ การเกษตรทภี่ าครฐั เขา้ ไปสง่ เสรมิ ในพน้ื ที่ ทั้งระบบ โดยสังเคราะห์ในแต่ละ อาชพี และภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ มาพฒั นาและ คอื การบรหิ ารจดั การความรู้(Knowledge กระบวนการของห่วงโซ่อุปทาน บรหิ ารจดั การความรใู้ หเ้ ปน็ ระบบ รวมถงึ Management: KM) ท่ีเป็นระบบและ (Value Chain) และปจั จยั ทสี่ ง่ ผล ใหค้ นในชมุ ชนประเมนิ ศกั ยภาพของชมุ ชน ตอ่ ยอดความคดิ สรา้ งสรรค์ โดยสรา้ ง ตอ่ ความส�ำเรจ็ ในแตล่ ะกระบวนการ และวางกลยทุ ธก์ ารพฒั นาชมุ ชนดว้ ยตนเอง กระบวนการเรียนรู้และพัฒนากลไก ก่อนถ่ายทอดองค์ความรู้ในการ ผา่ นการคดิ และวางแนวทางทเี่ กดิ จากการ ความคิดและการวางแผน ให้ชุมชน วางแผนและสรา้ งกลยทุ ธใ์ หช้ มุ ชน เรียนรู้ร่วมกัน และระดมความคิดร่วมกัน เขา้ ใจและสามารถสรา้ งกลยทุ ธใ์ นการ ท้ายท่ีสุดคือ สร้างกระบวนการมี เพื่อสร้างแนวทางการพัฒนาชุมชนท่ีเกิด พฒั นาดว้ ยตนเอง OKMD จงึ ไดพ้ ฒั นา สว่ นรว่ มของคนในชมุ ชน ผา่ นการ จากกระบวนการมสี ว่ นรว่ มของคนในชมุ ชน กระบวนการเรียนรู้ผ่านวิธีการจัดการ ระดมความคิด ร่วมกันก�ำหนด ผลกั ดนั ตอ่ ยอดใหเ้ กดิ โดยคนในชมุ ชน และ องค์ความรู้ (KM) โดยมีรูปแบบการ เป้าหมายและทางเลือกในการ น�ำมาสกู่ ารพฒั นาในชมุ ชนไดจ้ รงิ และยงั่ ยนื ด�ำเนนิ การ ดงั นี้ พฒั นาประเมนิ ศกั ยภาพและตดั สนิ ใจเลือกกลยุทธ์ที่เหมาะสมให้แก่ ชมุ ชนของตน กระบวนการดังกล่าว น อ ก จ า ก เ ป็น ก า ร ตั ด สิ น ใจจากความตอ้ งการของ ชุมชนแล้ว คนในชุมชน เองจะเป็นกลจักรส�ำคัญ ใ น ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น แ ผ น แ ล ะ ก ล ยุ ท ธ ก า ร พั ฒ น า ให้เกิดผลได้จริง และ น�ำไปสู่ การพั ฒนาที่เป็น รปู ธรรมอยา่ งยงั่ ยนื ถาวร อา้ งองิ : กรมการคา้ ระหวา่ งประเทศ (2559), Technavio (2559), thumbsup (2558)

ทศิ ทางธุรกจิ นบั ตงั้ แตเ่ ขา้ สู่ศตวรรษที่ 21 ถอื ไดว้ า่ 19 I INSIDE OKMD การศึกษาไทย แวดวงการศึกษาของไทยมี ความเปลยี่ นแปลงหลายประการ อาทิ การส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การมสี ่วนรว่ มใน การจดั การเรยี นการสอนของทกุ ภาคส่วน ทง้ั ในและนอกระบบโรงเรยี น และ การสนบั สนนุ ใหป้ ระเทศไทยเปน็ ศูนยก์ ลางการศึกษาในกลมุ่ ประเทศ เพ่ือนบา้ น โดยเฉพาะการจดั การศึกษา ขนั้ พ้ืนฐานนานาชาติ ซ่งึ เปน็ ไปตาม พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 รวมไปถงึ การอนมุ ตั ใิ ห้ จดั ตง้ั โรงเรยี นนานาชาตเิ พิ่มเตมิ จาก นโยบายเปดิ เสรเี มอ่ื ปี พ.ศ. 2534 ทำ� ใหม้ โี รงเรยี นนานาชาตมิ าเปดิ ใน ประเทศไทยมากถงึ 120 แหง่ ปจั จยั ขา้ งตน้ มคี วามเชอื่ มโยงและน�ำ กบั โรงเรยี นนานาชาติ จงึ เปน็ แรงจงู ใจให้ สถาบนั อดุ มศกึ ษา ทง้ั หลกั สตู รมาตรฐาน ไปสู่การเปล่ียนแปลงในวงการการศึกษา พ่อแม่รุ่นใหม่ส่งลูกเข้าเรียนในโรงเรียน หลกั สตู รเฉพาะทาง หรอื หลกั สตู รระยะสนั้ ของไทยทงั้ ในเชงิ คณุ ภาพและเชงิ ปรมิ าณ นานาชาตทิ มี่ มี าตรฐานสากลมากขน้ึ เพื่อรองรับความต้องการของผู้เรียนที่ โดยเฉพาะประเด็นการปฏิรูปการศึกษา หลากหลายและเปน็ กลมุ่ ยอ่ ยมากขนึ้ โดย ที่เปิดกว้างมากกว่าเดิมในแง่ของสิทธิใน ดูเหมือนว่าประเด็นเร่ืองมาตรฐาน ปัจจุบันมีมหาวิทยาลัยท่ีเปิดหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ของหน่วยงานต่างๆ สากลท้ังความได้เปรียบด้านภาษา นานาชาตปิ ระมาณ 30 แหง่ ทวั่ ประเทศ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน แม้ว่าจะยังคง ความต่อเน่ืองของโครงสร้างหลักสูตร อยู่ภายใต้การก�ำกับดูแลของกระทรวง และการเทียบโอน เป็นสิ่งที่ผู้ปกครอง นอกจากน้ี การปรับเปลี่ยนระบบ ศกึ ษาธกิ ารกต็ าม ให้ความส�ำคัญในการส่งบุตรหลานเข้า การสอบเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยใน ศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2561 เปน็ ระบบ Clearing House เม่ือประกอบกับกระแสโลกาภิวัตน์ หรือมหาวิทยาลัยนานาชาติ ซึ่งรัฐบาล ซึ่งก�ำหนดให้ผู้เรียนต้องยืนยันสิทธ์ิการ และเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่ท�ำให้การ ชุดปัจจุบันมีนโยบายเปิดกว้างให้เข้ามา เข้าศึกษาเพียงแห่งเดียว ท�ำให้นักเรียน เข้าถึงความรู้เป็นเรื่องง่ายข้ึน แนวโน้ม ด�ำเนินธุรกิจในประเทศไทย โดยกลุ่ม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายต้องขวนขวาย ของคนรุ่นใหม่ท่ีนิยมมีบุตรน้อยลง ท�ำให้ ลูกค้าของมหาวิทยาลัยระดับอินเตอร์ไม่ หาความรู้นอกห้องเรียนเพ่ิมเติม เป็นผล พ่อแม่สามารถทุ่มเทด้านการศึกษา เพียงแค่กลุ่มลูกค้าชาวไทย แต่ยังรวมถึง ใหธ้ รุ กจิ โรงเรยี นกวดวชิ าทง้ั ออนไลนแ์ ละ ให้แก่บุตรมากข้ึนกว่าในอดีต รวม ประชาคมอาเซียนและชาวจีนท่ีเป็นกลุ่ม ออฟไลน์เติบโตไปพร้อมกับระบบการ ทั้งความต้องการของตลาดแรงงานท่ี ลูกค้าหลกั ของมหาวิทยาลัยเอกชนหลาย สอบเขา้ และมมี ลู คา่ ทางการตลาดสงู ตาม ต้องการบุคลากรท่ีมีความรู้และทักษะ แหง่ ในเวลานี้ ไปดว้ ย ความช�ำนาญท่ีหลากหลาย ล้วนมีผลต่อ หลกั สตู ร แนวทางการเรยี นการสอน และ หากมองในแง่การแข่งขันทั้งในเชิง ในทางกลบั กนั ปจั จบุ นั คนรนุ่ ใหมอ่ กี คณุ ภาพของสถานศกึ ษา และถอื เปน็ โจทย์ ธุรกิจและวิชาการ ล้วนมีส่วนกระตุ้นให้ กลมุ่ หนงึ่ มมี มุ มองตอ่ การศกึ ษาเปลยี่ นไป หลกั ในใจของผปู้ กครองและผเู้ รยี น สถาบนั การศกึ ษาในประเทศไทยทงั้ ระดบั จากค่านิยมปริญญามาสู่การเรียนรู้ตาม ขั้นพื้นฐานและระดับอุดมศึกษาต้อง ความตอ้ งการทแี่ ทจ้ รงิ ท�ำใหม้ โี รงเรยี นและ แ ม ้ ว ่ า โ ร ง เ รี ย น ป ร ะ จ�ำ จั ง ห วั ด เร่งปรับตัวเพ่ือรองรับการแข่งขันท่ีมาก มหาวิทยาลัยเฉพาะทางเกิดขึ้นมากมาย โรงเรียนเอกชน โรงเรียนทางเลือก หรือ ขึ้น จึงเป็นท่ีมาของการเปิดหลักสูตร เช่น สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ โรงเรยี นสาธติ จะมชี อื่ เสยี งในดา้ นคณุ ภาพ สองภาษาและหลายภาษาในสถานศกึ ษา โรงเรียนสอนท�ำอาหารและขนมอบ ไป การจัดการศึกษา ทว่าด้วยข้อจ�ำกัดด้าน ขั้นพ้ืนฐาน รวมถึงการเปิดหลักสูตร จนถงึ โรงเรยี นสอนการแสดง ซงึ่ เปน็ โอกาส จ�ำนวนนักเรียนที่สามารถรับได้ ปัญหา นานาชาติหรือ International Program และความทา้ ทายทางการศกึ ษาใหมๆ่ ใน การคมนาคม และค่าใช้จ่ายท่ีใกล้เคียง และการเพิ่มหลักสูตรที่หลากหลายใน ยคุ สงั คมความรู้ อา้ งองิ : http://oknation.nationtv.tv/blog/political79-2/2016/08/26/entry-1, https://th.wikipedia.org/wiki/หมวดหม่:ู สถาบันอุดมศึกษานานาชาตใิ นประเทศไทย

5 เรยี น-รู้ | อา่ น Edutainment Amazon Kindle for Everyday Learning นวัตกรรมการอ่านหนังสือยุคดิจิทัล จากฝีมือและมันสมองของยักษ์ใหญ่ ในธรุ กจิ จ�ำหนา่ ยหนงั สอื ออนไลนอ์ ยา่ งอะเมซอน (Amazon) โดยพฒั นาใหเ้ ปน็ เครื่องมือท่ีเหมาะกับการอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ตัวเคร่ืองมีขนาดกะทัดรัด และน้�ำหนักเบากว่าหนังสือพ็อกเก็ตบุ๊กท่ัวไป เพื่อให้พกพาสะดวก โดยมีคลัง หนังสือนับล้านเล่มจากทั่วโลกที่สามารถสั่งซ้ือและดาวน์โหลดมาอ่านได้โดย ไม่ต้องออกจากบ้าน รวมถึงลูกเล่นต่างๆ ท่ีตอบโจทย์นักอ่านยุคใหม่ อาทิ การปรบั ขนาดตวั อกั ษรตามตอ้ งการ การตรวจสอบความหมายของค�ำศพั ทจ์ าก พจนานุกรมที่ติดต้ังอยู่ในเคร่ือง ไปจนถึงการให้คะแนนหนังสือ และการแชร์ ประโยคเดด็ ใหเ้ พอื่ นอา่ นผา่ นสอ่ื สงั คมตา่ งๆ www.amazon.com 5IVE 5 20 รปู แบบการเรยี นรใู้ นยคุ ดจิ ทิ ลั เรยี น-รู้ | ฟัง ไมไ่ ดจ้ ำ� กดั อยใู่ นหอ้ งเรยี นหรอื Podcast หอ้ งสมดุ อกี ตอ่ ไป หากแต่ ขบั เคลอ่ื นดว้ ยการลงมอื ปฏบิ ตั ิ แอปพลเิ คชนั ส�ำหรบั การรบั ชมและรบั ฟงั คอนเทนตด์ ๆี จากทวั่ โลกแบบ หรอื สมั ผสั ของจรงิ ผา่ นเครอ่ื งมอื ฟรๆี บนอนิ เทอรเ์ นต็ ในรปู ไฟลเ์ สยี งหรอื คลปิ วดิ โี อการบรรยาย การสมั ภาษณ์ และแหล่งเรยี นร้ตู า่ งๆ ทม่ี ีอยู่ ทอลก์ โชว์ และการแสดงสด แตบ่ างครง้ั อาจพบการน�ำเสนอแบบผสมผสาน มากมาย แม้แตท่ ่บี ้าน เช่น วิดีโอและเอกสาร โดยเฉพาะในกลุ่มเน้ือหาด้านการศึกษา เพ่ือให้ การเรยี นการสอนมปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ขน้ึ ตวั อยา่ งพอ็ ดคาสท์(Podcast)ทจี่ ะชว่ ย มาท�ำความรูจ้ กั กบั 5 เพมิ่ พลงั สมองของผฟู้ งั อาทิTEDTalksซง่ึ เนน้ ใหค้ วามรแู้ ละสรา้ งแรงบนั ดาลใจ เอดูเทนเมนต์ (Edutainment) Stuff You Should Know ซึ่งพูดคุยเก่ียวกับเร่ืองควรรู้ในชีวิตประจ�ำวัน ยคุ ดิจิทลั ทีช่ ว่ ยใหท้ ุกคนสามารถ ไปจนถึงพ็อดคาสต์ท่ีเกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆ เช่น The Podcast History เรียนร้ไู ดท้ ุกท่ี ทกุ เวลา และ of Our World (ประวัติศาสตร์) The Skeptics’ Guide to the Universe ตลอดชวี ิต (วทิ ยาศาสตรแ์ ละดาราศาสตร)์ และ Listen Money Matters (เศรษฐศาสตร์ การเงนิ และการลงทนุ ) www.apple.com/itunes/podcasts ภาพ : iwnw-ywo.ujer-sesaicrsa-mmuyr-nfaavnoer.itceosm-p/godetc-athsetss/e-

เรยี น-รู้ | พิมพ์ MakerBot เทคโนโลยีการพิมพ์แบบสามมิติที่เข้ามาพลิกโฉม โลกแห่งการเรียนรู้ในปัจจุบัน สร้างสรรค์โดยทีมงาน เมกเกอร์บอต (MakerBot) ซึ่งเป็นผู้ผลิตรายแรกท่ีน�ำเสนอ เครื่องพิมพ์สามมิติในงานแสดงนวัตกรรมท่ีใหญ่ที่สุดของ โลกอยา่ ง Consumer Electronics Show (CES) ในปี พ.ศ. 2553 เมกเกอร์บอตเป็นเคร่ืองพิมพ์ท่ีใช้กระบวนการเติม เนื้อวัสดุเพื่อท�ำให้ข้อมูลดิจิทัลเกิดเป็นรูปร่างสามมิติท่ีจับ ต้องได้ และยังมาพร้อมบริการต่างๆ ท่ีรองรับการใช้งานใน ห้องเรียน เช่น Thingiverse Education เว็บไซต์ท่ีรวบรวม บทเรียนและเครื่องมือส�ำเร็จรูปส�ำหรับครูและนักเรียนน�ำไป ใชง้ านรว่ มกบั เครอื่ งพมิ พส์ ามมติ ิ โดยสามารถเลอื กสาขาวชิ า หรอื ระดบั ชนั้ ไดต้ ามความตอ้ งการ www.makerbot.com/education ภาพ : w ww.huntoffice.ie/ makerbot-replicator-2-3d- printer-72-ima00072.html 21 5 5IVE เรยี น-รู้ | เลน่ LEGO® Boost ตัวต่อยุคดิจิทัลที่เพ่ิงวางจ�ำหน่ายเมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา โดยยังคงเอกลักษณ์ของบล็อกสีสันสดใสสไตล์เลโก้ซ่ึงสามารถ ต่อเป็นรูปทรงต่างๆ ได้ตามจินตนาการ แต่เลโก้บูสต์ (LEGO® Boost) ยังมาพร้อมเซ็นเซอร์ มอเตอร์ และแอปพลิเคชันที่ท�ำงาน บนสมารต์ โฟน เพอื่ ใหผ้ เู้ ลน่ ไดท้ ดลองสรา้ งหนุ่ ตวั ตอ่ 5 แบบ ไดแ้ ก่ แมว หุ่นยนต์ กีตาร์ รถแทรกเตอร์ และรถยกของ พร้อมเขียน โปรแกรมแบบง่ายๆ เพื่อควบคุมให้หุ่นตัวต่อแสดงท่าทางหรือ ท�ำสงิ่ ตา่ งๆ เชน่ ท�ำใหแ้ มวสา่ ยหางหรอื ดมื่ นมจากขวด เปน็ ตน้ www.lego.com/en-us/boost ภาพ : w ww.digitaltrends.com/computing/lego-boost-creative-toolbox-pre-order/ เรยี น-รู้ | แชร์ เชก็ กอ่ นแชร์ แพลตฟอร์มที่ท�ำหน้าท่ีตรวจสอบข่าวสารบนโลกออนไลน์ว่าข่าวใดจริง ข่าวใดลวง เพื่อป้องกันการแชร์ข้อมูลที่ไม่เป็นความจริง ซ่ึงอาจส่งผลกระทบต่อ สงั คมหรอื สรา้ งความเสยี หายแกผ่ อู้ น่ื โครงการนเี้ กดิ ขน้ึ จากแนวคดิ ของกลมุ่ ดจิ ทิ ลั เอเจนซรี นุ่ ใหมท่ ต่ี อ้ งการสรา้ งคลงั ขอ้ มลู ทเี่ ขา้ ถงึ ไดง้ า่ ย เพอื่ ใหท้ กุ คนเขา้ มาสบื คน้ เรอ่ื งราวทส่ี งสยั และก�ำลงั เปน็ ประเดน็ ในสงั คมขณะนนั้ โดยแสดงผลการตรวจสอบ เฉพาะเรอ่ื งทส่ี ามารถพสิ จู นไ์ ดด้ ว้ ยเหตผุ ลทางวทิ ยาศาสตร์ โดยผเู้ ชย่ี วชาญเฉพาะ ดา้ นทเี่ กยี่ วขอ้ ง (Inspector) หรอื มแี หลง่ ขา่ วอา้ งองิ ทน่ี า่ เชอ่ื ถอื เชน่ ส�ำนกั ขา่ วใน ประเทศหรือต่างประเทศ อย่างน้อย 2 ส�ำนักข่าวขึ้นไป ทั้งน้ีเพื่อสร้างสังคมแห่ง ปญั ญาทส่ี มาชกิ มกี ารตรวจสอบขอ้ มลู กอ่ นสง่ ตอ่ www.checkgornshare.com

WHAT’S P GOING ON L P INTERNATIONAL EDUCATION EVENTS YOU DON'T WANT TO MISS WHAT’S GOING ON W 22 18-20 China Toy Expo 2017 OCT ภาพ : www.china-toy-expo.com/en 2017 มหกรรมสินค้า เทคโนโลยี และนวัตกรรมของเล่นและ ส่ือการเรียนรู้ส�ำหรับเด็กก่อนวัยเรียนท่ีใหญ่ท่ีสุดในเอเชีย Shanghai ภายในงานประกอบด้วยการจัดแสดงและจัดจ�ำหน่ายสินค้า New International ส�ำหรบั เดก็ อาทิ ของเลน่ เพอื่ การศกึ ษา ของเลน่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ของเลน่ เสรมิ พฒั นาการ สอ่ื การเรยี นรสู้ �ำหรบั เดก็ กอ่ นวยั เรยี น Expo Centre แ ล ะ เ ค รื่ อ ง มื อ อั จ ฉ ริ ย ะ ที่ เ ก่ี ย ว ข ้ อ ง กั บ ก า ร เ รี ย น รู ้ แ ล ะ สาธารณรัฐประชาชนจีน การพัฒนาทักษะอาชีพ จากผู้ประกอบการด้านเทคโนโลยี ทางการศกึ ษาและผผู้ ลติ สนิ คา้ ส�ำหรบั เดก็ ทวั่ โลก โดยมไี ฮไลท์ อยู่ที่โซน Trends Corner ซึ่งรวบรวมเทรนด์ของเล่นและสื่อ การเรียนร้จู ากทั่วโลก การจัดแสดงตัวอยา่ งผลงานสร้างสรรค์ ท่ีได้รับรางวัล CTJPA Annual Innovation Awards รวมถึง การเปดิ ตวั เกมและของเลน่ จากบรษิ ัทผผู้ ลติ ชัน้ น�ำ World Class เวิลด์ไดแด็ค เอเชีย (Worlddidac จากหน่วยงานภาครัฐทั้งในประเทศไทย Educational Asia) เป็นงานมหกรรมการศึกษาและ และทั่วภูมิภาคอาเซียน ตลอดจนการจัด Resources การฝึกอบรมช้ันน�ำของอาเซียน จัด แสดงเทคโนโลยี นวัตกรรม บริการ และ International Expo ขึ้นเป็นคร้ังที่ 8 ภายใต้แนวคิด “The โซลชู นั เพอื่ การศกึ ษา ในทกุ สาขาวชิ าและ and Conference Path to Competence” เพ่ือส่งเสริมให้ ทุกระดับชั้น จากท้ังในและต่างประเทศ (WORLDDIDAC นักเรียนนักศึกษาในวันนี้ เป็นผู้มีความรู้ ส�ำหรับผู้บริหารสถาบันการศึกษา ครู ASIA 2017) ความสามารถในวันข้างหน้า ภายในงาน อาจารย์ นักวิชาการ และผู้เก่ียวข้อง ท่ี ประกอบด้วยการประชุมผู้น�ำทางการ ก�ำลังมองหาเคร่ืองมือพัฒนาการเรียน 10-12 ศกึ ษา (Asia Education Leaders Forum: การสอนและเพ่ิมประสิทธิภาพครูให้ OCT AELF) การแสดงผลงานทางวิชาการ พรอ้ มแขง่ ขันในยุคดิจิทัล 2017 ภาพ : ศูนย์การประชุม www.worlddidacasia.com แห่งชาตสิ ิรกิ ติ ์ิ กรงุ เทพมหานคร

PLAY + LEARN = PLERN อารันดร์ อาชาพิลาส พันธวศิ ลวเรืองโชค 23 S SPECIAL FEATURE OKMD Knowledge เจา้ ของเกม ARAYA หรอื อารยา นกั ออกแบบหอ้ งเรยี นแหง่ Festival 2017 ภายใต้ เกมลา่ ผใี นโรงพยาบาลรา้ งทดี่ งั ไกลใน Apostrophy’s Group มาในหวั ขอ้ แนวคิด PLAY & LEARN ตา่ งแดน มาในแนวคดิ “เลน่ จนไดด้ :ี “เลน่ ลอง เรยี น: ทดลอง เรยี นรู้ ปนี ี้มแี ขกรับเชญิ 5 ท่าน กลา้ เดนิ ตามฝัน ลงมอื ทำ� ในส่ิงทคี่ นอนื่ ใส่ไอเดยี สนกุ ๆ สรา้ งสรรคก์ ารสื่อสาร มาเปดิ ทศั นะ ถา่ ยทอด ประสบการณ์ และ ไดแ้ ตค่ ดิ ” ใหมท่ แ่ี ตกตา่ ง” องคค์ วามรูท้ ีน่ ่าสนใจ ได้แก่ อารนั ดร์ เฉลยกลเมด็ ทที่ �ำใหเ้ ขาประสบ พนั ธวศิ บอกวา่ “หอ้ งเรยี นแหง่ อนาคต” Mr. Viljar Lubi ความส�ำเรจ็ วา่ อยทู่ ค่ี วามกลา้ ทดลองสงิ่ ใหมๆ่ ต้องเป็นห้องเรียนท่ีเปิดโอกาสให้ทุกคนได้ เพราะ ARAYA เกิดจากฝีมือของนักศึกษา พูด - ท�ำให้เป็น - ให้เห็น และให้แชร์ โดย ผชู้ ว่ ยรฐั มนตรแี ละผเู้ ชย่ี วชาญดา้ น ที่ยังเรียนไม่จบล้วนๆ และเขายังฝากข้อคิด ร่วมมือกับ Thammasat Design School เศรษฐกจิ ดจิ ติ อลแหง่ ประเทศเอสโตเนยี ถึงผู้บริหารทั้งหลายให้ตระหนักว่า ฝีมือของ ทดลองสร้างห้องเรียนอเนกประสงค์ที่ เดก็ รนุ่ ใหมน่ นั้ มอี ยจู่ รงิ ขณะทเ่ี ดก็ ๆ เองกต็ อ้ ง สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้งานได้ เปดิ เวทเี ปน็ คนแรก ภายใตแ้ นวคดิ เพยี รถามตนเองวา่ เราไดใ้ ชศ้ กั ยภาพสงู สดุ ท่ี มากกว่า 20 รูปแบบ “เลน่ เหน็ โลก: ทา้ ทายอนาคต สรา้ ง มีแลว้ หรอื ยัง โอกาสใหมใ่ หป้ ระเทศ” ซ่งึ อาจกลา่ วได้ แม้ พนั ธวศิ จะถอ่ มตวั วา่ หอ้ งเรยี นทเ่ี ขา วา่ เปน็ การ “เลน่ สรา้ ง เมอื ง” มากกวา่ ชลากรณ์ ปั ญญาโฉม คดิ ขน้ึ มานนั้ ไมใ่ ชค่ �ำตอบสดุ ทา้ ย แตก่ ถ็ อื เปน็ จากการใชเ้ ทคโนโลยอี นิ เทอรเ์ นต็ เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ในการตงั้ ค�ำถาม วา่ การศกึ ษาและ ผอู้ ยเู่ บอื้ งหลงั ความอลงั การของ ห้องเรยี นของไทยควรปรบั อย่างไร ปรับแบบ เรอื ธงในการบรหิ ารประเทศ “The Mask Singer หนา้ กากนกั รอ้ ง” ไหน และปรบั ท�ำไม ข้นึ เวทเี ปน็ คนถดั มา ภายใตแ้ นวคดิ “เปิดกว้างและเรียนรู้โลกตลอดเวลา” “เลน่ ใหโ้ ดน: ถอดรหสั กลเมด็ สู่ความ “ครลู กู กอลฟ์ ” คือปรัชญาการ “เล่น สร้าง เมือง” ของ ส�ำเรจ็ สรา้ งคอนเทนตโ์ ดนใจคนไทย” คณาธิป สุนทรรกั ษ์ เอสโตเนยี ด้วยเหตุน้ี เอสโตเนยี จงึ เปิดกวา้ ง ให้ “ใครก็ได้” เข้ามาท�ำธุรกิจในเอสโตเนีย เขาบอกว่าปัจจัยความส�ำเร็จของ The เจา้ ของสถาบนั ANGRIZ ปดิ เวทดี ว้ ย ผ่านระบบออนไลน์ เพื่อเพิ่มศักยภาพใน Mask Singer อยทู่ หี่ นา้ ตาทน่ี �ำเสนอ (Visual) “เลน่ เปน็ เรยี น: เรยี นใหต้ า่ ง เลน่ ใหไ้ ด้ การแข่งขัน และช่วยให้ประเทศได้ซึมซับ ทง้ั ในเรอ่ื งของเนอ้ื หาและการผลติ โดยมโี จทย์ ความร”ู้ ทยี่ อ้ นประสบการณก์ ารเปดิ องค์ความรู้ใหม่ๆ ท�ำให้ปัจจุบัน เอสโตเนีย หลักคือ หน่ึง ท�ำอย่างไรก็ได้เพ่ือดึงให้คนดู โรงเรยี นสอนภาษาองั กฤษตงั้ แตส่ มยั ครองสถิติชาติที่มีธุรกิจสตาร์ตอัปมากท่ีสุด รายการสดบนจอโทรทศั น์ สอง เพมิ่ ความตลก ยงั เปน็ นกั ศึกษา พรอ้ มเปดิ เผยทมี่ า ในโลก คือราว 1.3 ล้านธรุ กิจ เท่ากบั จ�ำนวน และประหลาดใจซ่ึงเป็นคอนเทนต์ท่ีถูกจริต ของแรงบนั ดาลใจทผี่ ลกั ดนั ใหส้ ถาบนั ประชากร 1.3 ลา้ นคนพอดี คนไทย และสาม ใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยี ANGRIZ ประสบความส�ำเรจ็ ไดใ้ นวนั น้ี และสื่อสังคมเป็นตัวเร่งให้เกิดกระแสที่ คอื ความมงุ่ มนั่ ตงั้ ใจ รวมถงึ กำ� ลงั ใจ แรงและเร็วเพียงข้ามคืน เพียงเท่านี้ก็ท�ำให้ และความคดิ เหน็ จากบรรดาลกู ศิษยท์ ี่ The Mask Singer เปน็ ดงั พยคั ฆต์ ดิ ปกี เปน็ เยาวชนคนรนุ่ ใหม่ PLERN ตอ่ เนอื่ งกบั คลิปวดิ ีโอจากงาน OKMD Knowledge Festival 2017 ทางเวบ็ ไซต์ www.okmd.or.th/knowledge-festival/video/kf2017


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook