Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศุูนย์ปศพพ.

ศุูนย์ปศพพ.

Published by CHUCHEEP MOOLSATHAN, 2019-09-09 02:46:54

Description: ศุูนย์ปศพพ.

Search

Read the Text Version

จากฐานการเรยี นรู้อาชีพฯ สูศ่ นู ย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดา้ นการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ ปีการศกึ ษา 2559 ความเปน็ มา ศาสตรพ์ ระราชาสกู่ ารพฒั นาพฒั นาทม่ี น่ั คง ยง่ั ยนื ดว้ ยการพฒั นา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจเป็นแนวทางที่ก�ำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติและ แผนการศึกษาชาติ 20 ปี (2560-2579) รวมท้ังแนวนโยบายการจัดการศึกษา เพื่อการมีงานท�ำสอดคล้องการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ท่ีมีจดุ เนน้ สำ� คญั คอื การพัฒนาทกั ษะชีวิตและอาชพี (Life &Career skills) โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ มีภารกิจจัดการศึกษาขั้น พ้ืนฐานส�ำหรับเด็กด้อยโอกาสในลักษณะอยู่ประจ�ำ จึงได้ก�ำหนดแนวทางการ จัดการศึกษาเพ่ือการมีงานท�ำ ส�ำหรับนักเรียน ท่ีมุ่งให้นักเรียน ได้รับการ เตรียมอาชีพตาม ความถนัดและความสามารถของนักเรียนแต่ละคน เพื่อให้มี ความรู้ ทักษะพ้ืนฐานงานอาชีพ สามารถพ่ึงตนเอง ประกอบอาชีพได้ในสังคม ไม่เป็นภาระแก่ครอบครัวและสังคม ตามแนวทางของส�ำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ การจัดรายวิชาเพิ่มเติมในแผนการเรียนวิชาสามัญ การจัดการศึกษาเพื่อการมีงานท�ำ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) และการจัดรายวิชาอาชีพระยะส้ัน นอกจากนี้ยังได้จัดกิจกรรมส่งเสริม อาชีพอิสระเพื่อการมีรายได้ระหว่างเรียน (สอร.) กลุ่มสนใจงานอาชีพ รวมท้ังได้เข้าร่วมโครงการศูนย์นักธุรกิจ น้อย มีคุณธรรม น�ำสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ จนสามารถสร้างผลิตภัณฑ์ท่ีหลากหลายจากภูมิปัญญาท้องถ่ินภายใต้ เครอ่ื งหมายการคา้ “เดก็ ดอย” จำ� หนา่ ยเพอื่ สรา้ งรายไดร้ ะหวา่ งเรยี น ทำ� ใหน้ กั เรยี นไดร้ บั การศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพ มี ความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองทดี่ ีของชาติ การดำ� เนนิ การจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหมป่ ระสบความสำ� เรจ็ มผี ลงานไดร้ บั รางวลั 1) ชนะเลิศระดับเหรียญทอง OBEC AWARDS รางวัลสถานศึกษายอดเย่ียม ป ร ะ เ ภ ท โ ร ง เ รี ย น ศึ ก ษ า ส ง เ ค ร า ะ ห ์ ดา้ นวชิ าการ ประจ�ำปีพุทธศักราช 2556 เวดาอร ะสมาง้ ร 5

2) ชนะเลศิ ระดับเหรยี ญทอง OBEC AWARDS ผ้อู �ำนวยการสถานศึกษายอดเยีย่ ม โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์ ประจ�ำปี พุทธศักราช 2557 ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยี เพอ่ื การเรยี นการสอน 3) ชนะเลิศระดับเหรียญทอง OBEC AWARDS รางวัล ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษายอดเย่ียม ประเภทโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ ด้านบริหาร จัดการ ประจำ� ปี พุทธศักราช 2558 4) ชนะเลศิ ระดบั เหรยี ญทอง OBEC AWARDS รางวัลสถานศึกษายอดเย่ียม ประเภทโรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี เพอื่ การเรยี นการสอน ประจำ� ปพี ทุ ธศกั ราช 2558 6 เวดาอร ะสมา้งร

จากรางวัลดังกล่าว เพื่อเป็นการต่อยอดและพัฒนาแหล่งเรียนรู้งานอาชีพของดังน้ันจึงจ�ำเป็นท่ีจะต้อง วางรากฐานโดยแสวงหาแนวทางพัฒนาแหล่งเรียนรู้งานอาชีพท่ีมีอยู่ปัจจุบันให้เป็นฐานการเรียนรู้แบบบูรณาการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้นักเรียนมีทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ ได้ประสบการณ์ตรงจากปฏิบัติ ในส่ิงท่ีเรียนกับชีวิตจริง ส่งผลให้นักเรียนมีคุณธรรม จริธรรม มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มีคุณลักษณะตามค่านิยม 12 ประการ น�ำไปสกู่ าร มีวิถชี ีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่อไป ประเด็นการพัฒนา 1. พฒั นาฐานการเรยี นรอู้ าชพี แบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. พฒั นากระบวนการจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการโดยใชฐ้ านการเรยี นรอู้ าชพี แบบบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 3. พัฒนาคุณภาพนกั เรียนดา้ นทักษะชีวิตและทกั ษะอาชพี กระบวนการพัฒนา การดำ� เนนิ การพฒั นาฐานการเรยี นรอู้ าชพี แบบบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประกอบ ดว้ ย 4 ขนั้ ตอน ประกอบดว้ ย 1. ขั้นการวางแผน (PLAN) ได้จัดประชุมชี้แจงครู และบุคลากร แต่งต้ังคณะกรรมการและผู้รับผิดชอบ ก�ำหนดแนวทางในการด�ำเนินการพัฒนาฐานการเรียนรู้อาชีพและแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยใช้ ฐานเรียนรู้อาชีพ จัดท�ำข้อตกลงในการพัฒนาฐานการเรียนรู้ กับครูและบุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง จัดท�ำแบบประเมิน เพ่ือคัดเลอื ก นกั เรียน บคุ ลากร หรือกลมุ่ อาชพี งานอาชีพ ทีม่ ผี ลงานดีเดน่ 2.ขนั้ ดำ� เนนิ การ (DO - ดำ� เนนิ การพฒั นาฐานการเรยี นรอู้ าชพี แบบบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จ�ำนวน 5 กลุ่มอาชีพ 23 ฐานการเรียนรู้ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยใช้ฐานการเรียนรู้อาชีพ แบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือพัฒนาคุณภาพนักเรียนด้านทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ ด�ำเนินการคัดเลือก นักเรียน บุคลากร หรือกลุ่มอาชีพงานอาชีพ ที่มีผลงานดีเด่น เป็นท่ีประจักษ์ เพื่อยกย่องหรือ เชดิ ชเู กยี รติ จดั กิจกรรมขยายผลและเผยแพร่ผลการด�ำเนินงานสู่ชุมชนและผู้สนใจ เวดาอร ะสมา้งร 7

เผยแพรผํ ลการดาเนนิ งานสชํู มุ ชนและผส๎ู นใจ ฐานการเรยี นรอู้ าชพี แบบบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จานวน 5 กลุม่ อาชีพ 23 ฐานการเรียนรู้ เกษตรกรรม คหกรรม พาณชิ ยกรรม อุตสาหกรรม ความคดิ สร้างสรรค์ 1. เกษตรผสมผสาน 1.การแปรรูป 1.ศนู ยน์ ักธรุ กจิ นอ๎ ย 1.การผลติ 1.งานศิลป์ 2. เกษตรอินทรีย์ ผลผลิตการเกษตร มคี ุณธรรม นาสูํ 2.กระเบ้ืองซีเมนต์ สรา๎ งสรรค์ 3.โรงสขี า๎ ว 2.อาหารและ เศรษฐกจิ 3.การผลติ ไม๎เทยี ม 2.นาฏศลิ ปส์ มั พันธ์ พระราชทาน เคร่อื งดื่ม สรา๎ งสรรค์ หนิ เทียม 3.กิจกรรมดนตรี 4. ฐานการเรียนรู๎ 3.การผลิตนมถ่ัว 2.กจิ กรรมโรงเรยี น 4.ชํางเชอ่ื มโลหะ เดอะม๎ง การเลยี้ งไกํเน้ือ เหลอื ง ธนาคาร 5. การเลี้ยงปลา 4.ผลติ ภัณฑ์ลายปกั 3.ผลติ ภัณฑท์ า 6. การเลี้ยงกบ ชาวเขา ความสะอาด 5.หัตถกรรมเสน๎ 4.เด็กดอยรสี อรท์ เชอื ก 5.เดก็ ดอยสปา 6.เส๎นฝา้ ยลายปัก 3. ขน้ั ตรวจสอบและประเมนิ (CHECK) มคี ณะกรรมการทม่ี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งนเิ ทศ กำ� กบั ตดิ ตามผลการดำ� เนนิ งานอยา่ ง ตอ่ เนอ่ื รงูป รารงววบลั รควรมู สถติ กิ ารใชบ้ รกิ ารฐานการเรยี นรอู้ าชพี มกี รูปารรปารงวะลัเมนนิ รผลการดำ� เนนิ งานใน 3 ระยะ ไดแ้ ก่ ก่อนการด�ำเนินงาน ระหว่างการด�ำเนินงาน และหลังการด�ำเนินงาน โดยการสังเกต สอบถาม และสัมภาษณ์ และ เก็บข้อมูลความคิดเห็นโดยใช้แบบสอบถามกับนักเรียน ครูและบุคลากร และผู้เกี่ยวข้อง รวบรวมและบันทึกข้อมูล พรอ้ มทง้ั วิเคราะหผ์ ลการด�ำเนินงานและสรปุ ผลการดำ� เนนิ การ 4. ขั้นการปรับปรุงให้เหมาะสม (ACTION) -นักเรียน ครู และบุคลากร ร่วมถอดบทเรียนเพ่ือวิเคราะห์ ความส�ำเร็จของโครงการพัฒนาฐานการเรียนรู้อาชีพแบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ จัดท�ำแผนการพัฒนาและขยายผลการด�ำเนินงาน โดยใช้กระบวนการช้ีแนะ (Coaching) ระบบพี่เล้ียง (Mentoring) และ พจิ ารณาบทเรยี นรว่ มกนั (Lesson study) สรปุ ผลการดำ� เนนิ งาน จดั ทำ� เปน็ รายงาน เพอ่ื เปน็ แนวทางการพฒั นา โครงการตอ่ ไป ผลการด�ำเนินงาน กระทรวงศึกษาธิการประกาศให้ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่เป็น “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ปีการศกึ ษา 2559” เพอื่ ทำ� หนา้ ท่ีในการขบั เคลอื่ นขยายผลเศรษฐกิจพอเพยี ง สู่สถานศึกษาทั่วประเทศ ประกาศ ณ วันท่ี 9 สิงหาคม 2560 โดยนายธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธกิ าร ภายใน“ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ประกอบด้วย ฐานการเรียนรู้อาชีพแบบ บูรณาการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีมีคุณภาพ จ�ำนวน 5 กลุ่มอาชีพจัดเป็นฐานการเรียนรู้ได้ 23 ฐานการเรยี นรู้ สอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั นกั เรยี น ทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรยี นรขู้ องนกั เรยี น มกี ารจดั สภาพแวดลอ้ ม สะอาด รม่ รน่ื สวยงาม เปน็ ระเบยี บ ปลอดภยั มวี ทิ ยากรรบั ผดิ ชอบฐานการเรยี นรปู้ ระกอบดว้ ย นกั เรยี นแกนนำ� อยา่ งนอ้ ย ฐานการเรียนรู้ละ 3 คน และครูรับผิดชอบฐานการเรียนรู้ ละ 1 คน ที่สามารถอธิบายเช่ือมโยงหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งไดอ้ ยา่ งชดั เจน มแี ผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามหลกั ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง มกี ารพฒั นา 8 เดอะม้งฐานการจวดั กาิจกรรสรมาการรเรียนรูอ้ ยา่ งยัง่ ยืน

มีห้องแสดงผลงานฐานการเรียนรู้อาชีพแบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีผลงาน การถอดบทเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแผนผังแสดงอาคารสถานที่ฐานการเรียนรู้ ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในโรงเรียนไวอ้ ย่างชัดเจน นักเรียน ครู และบุคลากร มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม อาคารสถานท่ี ท�ำให้บรรยากาศ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพมีความสมบูรณ์เหมาะสมกับฐานการเรียนรู้อาชีพแบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงท่ีเอือ้ ตอ่ การเรยี นรู้ และสามารถให้บรกิ ารชมุ ชน หน่วยงานอ่นื อยา่ งคมุ้ ค่า เยยี่ มชมฐานการเรยี นรอู้ าชีพแบบบรู ณาการ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ฐานการเรียนรู้อาชีพแบบบูรณาการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทั้งหมดจำ� นวน 5 กลุ่มอาชีพจัด เป็นฐานการเรียนรู้ได้ 23 ฐานการเรียนรู้ ดังนี้ 1) กลุม่ อาชีพเกษตรกรรม จำ� นวน 6 ฐานการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ 1.1) ฐานการเรยี นรู้ เกษตรผสมผสาน 1.2) ฐานการเรยี นรู้ เกษตรอินทรีย์ 1.3) ฐานการเรียนรู้ โรงสขี ้าวพระราชทาน 1.4) ฐานการเรียนรู้ การเลี้ยงไกเ่ นอื้ 1.5) ฐานการเรียนรู้ การเล้ยี งปลา 1.6) ฐานการเรยี นรู้ การเลย้ี งกบ 2) กลุ่มอาชีพคหกรรม จ�ำนวน 6 ฐานการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ 2.1) ฐานการเรียนรู้ การแปรรูปผลผลิตการเกษตร 2.2) ฐานการเรยี นรู้ อาหารและเครอ่ื งด่มื 2.3) ฐานการเรียนรู้ การผลิตนมถั่วเหลือง 2.4) ฐานการเรียนรู้ ผลิตภณั ฑ์ลายปกั ชาวเขา 2.5) ฐานการเรยี นรู้ หัตถกรรมเสน้ เชอื ก 2.6) ฐานการเรยี นรู้ เส้นฝ้ายลายปกั 3) กลมุ่ อาชพี พาณชิ ยกรรม จำ� นวน 5 ฐานการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ 3.1) ฐานการเรยี นรู้ ศูนย์นกั ธรุ กจิ น้อย มีคณุ ธรรม นำ� สู่เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ 3.2) ฐานการเรยี นรู้ กจิ กรรมโรงเรยี นธนาคาร 3.3) ฐานการเรยี นรู้ ผลติ ภณั ฑ์ทำ� ความสะอาด 3.4) ฐานการเรยี นรู้ เดก็ ดอยรีสอร์ท 3.5) ฐานการเรยี นรู้ เดก็ ดอยสปา 4) กลุ่มอาชพี อุตสาหกรรม จำ� นวน 3 ฐานการเรียนรู้ ได้แก่ 4.1) ฐานการเรียนรู้ การผลติ กระเบ้อื งซเี มนต์ 4.2) ฐานการเรยี นรู้ การผลติ ไมเ้ ทียมหนิ เทยี ม 4.3) ฐานการเรยี นรู้ ช่างเชื่อมโลหะ 5) กลุ่มอาชพี ความคิดสร้างสรรค์ จ�ำนวน 3 ฐานการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ 5.1) ฐานการเรยี นรู้ งานศิลป์สรา้ งสรรค์ 5.2) ฐานการเรียนรู้ นาฏศิลปส์ ัมพนั ธ์ 5.3) ฐานการเรียนรู้ กจิ กรรมดนตรเี ดอะมง้ เวดาอร ะสมา้งร 9

ตวั อย่างการถอดบทเรียน “ผลิตภัณฑ์ลายปกั ชาวเขา” ครแู กนน�ำที่รบั ผิดชอบ ครู กชพร ธงเชอื้ นกั เรยี นแกนน�ำ 1.น.ส.วิลาวลั ย์ ผาดา่ น ชนั้ ม.4/2 2.น.ส.สนุ ยี ์ กอ้ งไพรกุล ชั้น ม.4/1 ฐานผลิตภัณฑ์ลายปักชาวเขาเกิดจากการที่นักเรียนส่วนใหญ่ของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ เชียงใหม่ เป็นนักเรียนชาติพันธุ์ ซ่ึงมีทั้งม้ง กะเหรี่ยง อาข่า เย้า ลีซอ มูเซอ ไทใหญ่ และพ้ืนราบ อยู่ร่วมกันจึงท�ำให้เกิดการ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกัน ซึ่งแต่ละชาติพันธุ์ก็ได้น�ำเอาวัฒนธรรมของตนเองมาสร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์เพื่อให้มี รายไดร้ ะหวา่ งเรยี น และฝกึ ทักษะอาชพี ให้กับตนเอง ผลิตภัณฑ์ลายปักชาวเขา คือการน�ำเอาลายปัก หรือการทอผ้าของชาติพันธุ์มาสร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์ เพื่อการมีรายได้ระหว่างเรียน และฝึกทักษะอาชีพ โดยการน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการ ท�ำงาน และการเรียนรู้ของนักเรียน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประกอบไปด้วย 2 เง่ือนไข 3 หลักการ และ 4 มติ ิ อีกทัง้ รวม 3 ศาสตรอ์ ีกดว้ ย 2 เง่ือนไข (Input) ประกอบด้วยความรู้ และคณุ ธรรม ก่อนการท�ำงานมีการศึกษาเพิ่มเติมเก่ียวกับลักษณะ สีท่ีเน้นในการปักของแต่ละลายปัก เม่ือมีการเรียนรู้ เกี่ยวกับลายปักแล้วต้องมีการเรียนรู้เก่ียวกับการจัดท�ำบัญชี การคิดต้นทุน ก�ำไร กระบวนการ ข้ันตอนในการผลิต การเลือกใช้ผ้าในการผลิต ผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด และแหล่งจ�ำหน่ายอีกด้วย เม่ือมีความรู้แล้วต้องมีคุณธรรมควบคู่ กบั การทำ� งาน ในการทำ� งานตอ้ งมคี วามอดทน ความเพยี รในการปกั ลาย การเยบ็ ผา้ หรอื แมแ้ ตก่ ารเกบ็ รายละเอยี ด ของผลติ ภณั ฑเ์ ปน็ อยา่ งมาก รวมทงั้ ตอ้ งมคี วามรบั ผดิ ชอบในหนา้ ทท่ี ไ่ี ดร้ บั มอบหมายเพอ่ื ใหผ้ ลติ ภณั ฑท์ ไี่ ดม้ คี ณุ ภาพ และเปน็ การตอบโจทยล์ ูกค้า 3 หลกั การ (Process) ประกอบดว้ ยพอประมาณ มีเหตผุ ล และมภี มู คิ ุม้ กนั ในตัวทด่ี ี ในการผลิต ผลิตภัณฑ์ลายปักชาวเขาจะใช้ลายปักให้พอดี เหมาะสมกับขนาดของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด และยงั ใชว้ สั ดอุ ปุ กรณอ์ ยา่ งประหยดั เชน่ ทำ� การวดั ผา้ ตามขนาดทไ่ี ดก้ ำ� หนดกอ่ นตดั มกี ารแบง่ หนา้ ทตี่ ามความถนดั ความสามารถ และจ�ำนวนสมาชิกในกลุ่มอย่างเหมาะสมและมีความพอดี พอประมาณตามก�ำลังความสามารถ การ ผลติ ผลติ ภณั ฑล์ ายปกั ชาวเขาเปน็ การอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมชนเผา่ ดา้ นลายปกั ของชนเผา่ และเปน็ การหารายไดร้ ะหวา่ ง เรยี น การฝกึ ทกั ษะอาชพี ถอื เปน็ ความมเี หตผุ ล ในการทำ� งานตอ้ งมคี วามระมดั ระวงั การใชอ้ ปุ กรณ์ เชน่ กรรไกร เขม็ ไม้บรรทัดเหล็ก เป็นต้น รวมท้ังการเก็บสต็อกวัสดุ-อุปกรณ์ ผ้าส�ำรองเพ่ือไม่ให้เกิดปัญหาระหว่างการผลิตสินค้า ถอื เปน็ การสร้างภมู คิ ้มุ กนั ใหต้ นเอง 4 มิติ (Output) ประกอบดว้ ยด้านวตั ถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ในการผลิต ผลิตภัณฑ์ลายปักชาวเขาแล้วน�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง 4 มิติ คือ ได้ผลิตภัณฑ์ลายปักชาวเขา ที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็นของเล่น ของที่ระลึก ของประดับตกแต่ง และยังท�ำให้มีรายได้ระหว่างเรียนถือเป็นการ 10 เวดาอร ะสมาง้ ร

เปลี่ยนแปลงด้านวัตถุ ในการผลิตมีการท�ำงานเป็นทีม แลกเปลี่ยนความรู้กันระหว่างเพื่อนกับเพื่อน พ่ีกับน้อง และ มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีแก่คณะผู้ดูงานถือเป็นการเปล่ียนแปลงด้านสังคม ซึ่งเศษผ้าที่เหลือจากการตัดได้น�ำมาผลิตเป็น สนิ คา้ ชน้ิ ใหม่ เชน่ ผา้ รองแกว้ เปน็ ตน้ รวมทง้ั การใชผ้ า้ และดา้ ยซง่ึ ทำ� มาจากเสน้ ใยธรรมชาตเิ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม การผลิต ผลิตภัณฑ์ลายปักชาวเขาถือเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมชนเผ่า ด้านลายปักอีกทางหนึ่งนั่นคือการเปล่ียนแปลงด้านวัฒนธรรม ซึ่งในการท�ำงานยังได้น�ำหลัก 3 ศาสตร์มาใช้ใน การเรยี นรู้ การทำ� งาน ซึ่งประกอบไปด้วยศาสตร์พระราชา ศาสตร์ภมู ปิ ญั ญา และศาสตร์สากล ดังน้ี ศาสตร์พระราชา คือ การน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการเรียน การท�ำงาน รวมทง้ั การใช้หลกั การทรงงาน ทว่ี ่าระเบดิ จากขา้ งใน น่ันคือการท�ำงานดว้ ยความภมู ใิ จ ความรกั ในงาน ศาสตร์ภูมิปัญญา คือ การน�ำความรู้ในการปักลาย การเย็บผ้า การทอผ้ามาปักลาย และเย็บผ้าเพื่อผลิต ผลิตภณั ฑ์ลายปกั ชาวเขา และยงั น�ำวัสด-ุ อุปกรณท์ ี่อยู่ในทอ้ งถิ่นมาใช้ เช่น ลกู เดอื ย เปน็ ตน้ ศาสตร์สากล คือ การน�ำความรู้ทางด้านวิชาการมาใช้ในการท�ำงาน ซึ่งฐานน้ีได้น�ำ STEM มาใช้การท�ำงาน ดงั นี้ S (Science) วทิ ยาศาสตร์ นำ� กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรน์ นั่ คอื การทดลองมาใชใ้ นการเลอื กใชส้ ขี องผา้ กบั สขี องลายปกั ว่ามีความเหมาะสมกันหรอื ไม่ เช่น ผ้าเปน็ สฟี า้ ลายควรเป็นสชี มพูหรอื ม่วง T (Technology) เทคโนโลยี การใช้จักรอุตสาหกรรมเพื่อเย็บผ้าที่แข็ง หรือผลิตออร์เดอร์เร่งด่วน และยังมี การใช้ IT ในการขายสนิ คา้ ออนไลนห์ รอื เรียนรู้เพิม่ เติม E (Engineering) การออกแบบ มีการออกแบบลายปัก ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เพื่อไม่ให้ซ�้ำกับในท้องตลาดทมี่ อี ยู่ เพ่อื สรา้ งเอกลักษณใ์ หก้ ับผลิตภณั ฑข์ องตนเอง M (Mathematics) คณิตศาสตร์ น�ำความรู้ทางคณิตศาสตร์มาใช้ในการจัดท�ำบัญชี คิดต้นทุน ก�ำไร ขนาดของผลิตภัณฑ์ก่อนตัดผ้า หรือปักลาย เพ่ือให้ทราบถึงงบประมาณท่ีใช้ในการผลิตสินค้า และการเลือกใช้ วสั ด-ุ อปุ กรณ์ เวดาอร ะสมา้งร 11

ฐานการเรยี นรู้อาชีพแบบบรู ณาการตามหลักของ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “ศูนยแ์ กนน�ำขยายเครือข่ายนกั กรุกิจน้อยมีคณุ ธรรมนำ� สเู่ ศรษฐกิจสร้างสรรค”์ ครูแกนนำ� ท่ีรบั ผิดชอบ ครู สมบัติ ศรีวรรณชยั นักเรียนแกนน�ำ 1. น.ส ขวญั จริ า ยังชพี สจุ ิต 2.น.ส สุชาวลี แสนยะ 3.น.ส ทัดดาว แซ่เฮอ้ 4.น.ส วนิดา แซ่ย่าง 2 ความรู้ คุณธรรม ( Input) หลกั สตู รนกั ธรุ กจิ นอ้ ยทส่ี อดแทรกหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งกอ่ นทจ่ี ะเปน็ นกั ธรุ กจิ นอ้ ยไดเ้ ราตอ้ งมคี วามรู้ เรอื่ งการออกแบบและพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ และการบรรจภุ ณั ฑp์ ackagingการตลาด การคดิ คำ� นวณตน้ ทนุ กำ� ไร การทเี่ ราจะเปน็ นักธุรกิจน้อยไดเ้ ราจะต้องมคี วามซอื่ สัตย์ ความขยัน ความอดทน ความมุง่ ม่นั กตัญญแู ละความรบั ผิดชอบ 3 หลักการ (Process) ประกอบไปดว้ ย พอประมาณ มเี หตผุ ล และมีภูมิคมุ้ กนั ในตวั ท่ดี ี การใช้วัสดุเหลือใช้และวัสดุในท้องถิ่นมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์อย่างคุ้มค่าสูงสุด การน�ำหลักการออกแบบมาใช้ใน การผลติ สนิ คา้ เพอ่ื สรา้ งรายได้ การกำ� หนดราคาสนิ คา้ ทไ่ี มเ่ อาเปรยี บผบู้ รโิ ภค มอี งคค์ วามรใู้ นเรอื่ งธรุ กจิ เชน่ การออกแบบ และพฒั นาผลติ ภณั ฑแ์ ละการบรรจภุ ณั ฑ์ packaging LOGO และการเขยี น story telling การตลาด การคดิ คำ� นวณตน้ ทนุ กำ� ไร การนำ� องคค์ วามรไู้ ปพฒั นาผลติ ภณั ฑแ์ ละ ตอ่ ยอดในชวี ติ ประจำ� วนั ใชเ้ วลาวา่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ และสรา้ งรายไดร้ ะหวา่ งเรยี น มที ักษะดา้ นอาชพี ตดิ ตวั เพ่อื สามารถพฒั นาตนเองสู่การเปน็ ผ้ปู ระกอบการและมจี ิตส�ำนึกในการใช้วัสดุอย่างคุม้ ค่าและรู้จัก วางแผนในการท�ำงานการผลติ สินคา้ รวมถึงการจดั จ�ำหน่วย มปี ระสบการณ์ในการประกอบธุรกิจ 4 มติ ิ (Output) ประกอบดว้ ยด้านวัตถุ สังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม มิติ คือ ได้หลักสูตรงานอาชีพที่สอดแทรกหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เลือกใช้วัสดุเหลือใช้และวัสดุท่ีมีใน ทอ้ งถนิ่ มาพฒั นาเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ และมเี ครอื ขา่ ยเพอ่ื การพฒั นาคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑแ์ ละยกระดบั ดา้ นทกั ษะอาชพี สชู่ มุ ชน มี ภาวะผนู้ ำ� ผตู้ ามทำ� งานกนั ภายในกลมุ่ ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมายจนสำ� เรจ็ และมคี วามสขุ การถา่ ยทอดองคค์ วามรแู้ ละทกั ษะจาก พสี่ นู่ อ้ ง นำ� วสั ดทุ เี่ หลอื ใชแ้ ละวสั ดใุ นทอ้ งถน่ิ มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ พฒั นาความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรคส์ กู้ ารสรา้ งผลติ ภณั ฑจ์ าก วสั ดทุ เ่ี หลอื ใชแ้ ละวสั ดใุ นทอ้ งถน่ิ นำ� เอาศลิ ปวฒั นธรรมมาออกแบบผลติ ภณั ฑใ์ หมๆ่ เพอื่ อนรุ กั ษแ์ ละสบื สานประเพณวี ฒั นธรรม ให้คงอยู่ คุณค่าของภมู ิปญั ญาในท้องถิน่ สบื สานวฒั นธรรมประเพณีให้คงอยู่ ศาสตรพ์ ระราชา คอื การนอ้ มนำ� หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาบรู ณาการในการเรยี นการทำ� งาน รวมทงั้ การใช้หลักการทรงงาน ทวี่ า่ ระเบิดจากข้างในนนั่ คือการท�ำงานด้วยความภมู ิใจ ความรกั ในการทำ� งานนน้ั ฐานการเรยี นรอู้ าชพี แบบบรู ณาการตามหลกั ของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง“ศนู ยแ์ กนนำ� ขยายเครอื ขา่ ยนกั กรกุ จิ นอ้ ยมคี ณุ ธรรมนำ� สเู่ ศรษฐกจิ สรา้ งสรรค”์ ทำ� ใหพ้ วกเรามที กั ษะการดำ� รงชวี ติ และทกั ษะอาชพี เพมิ่ มากขน้ึ ชว่ ยฝกึ ใหม้ คี วาม รับผิดชอบ มีระเบียบวินัย ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม มีการวางแผนการท�ำงาน ตรวจสอบคุณภาพของงาน มองเห็นแนวทางใน การประกอบอาชพี ทส่ี จุ รติ มคี วามสามคั คี และโรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหมย่ งั เปน็ สถานท่ี ทห่ี นว่ ยงานอนื่ เขา้ มาศกึ ษา ดูงานบอ่ ยครงั้ ส่ิงที่ภาคภูมิใจ ดีใจ มากที่สุด ก็คือการได้มีโอกาส รับเสด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ที่พระองค์ท่านได้เสด็จ มาเยี่ยมในฐานการเรียนรู้ ของพวกพวกเราสองคร้ังติดต่อกัน ในปีพุทธศักราช 2559 และปีพุทธศักราช 2560 นับเป็นพระ มหากรุณาธิคุณอย่างลน้ พ้นจนหาทส่ี ดุ มิได้ 12 เวดาอร ะสมาง้ ร

ฐานการเรียนรู้อาชพี แบบบรู ณาการตามหลกั ของ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง “ฐานการเรียนรู้ โรงเรียนธนาคาร” ประวัติความเป็นมาของโรงเรียนธนาคาร ก็ได้จัดตั้งข้ึนในปีพ.ศ.2536 เป็นต้นมา โรงเรียนธนาคารได้รับการสนับสนุนจาก ธนาคารกสกิ รไทย สาขาชา้ งคลานเปน็ ผใู้ หก้ ารสนบั สนนุ ตอ่ เนอื่ งเรอ่ื ยมาจนถงึ ปกี ารศกึ ษา 2551 โรงเรยี นธนาคารไดร้ บั การสนบั สนนุ จากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรสาขาแม่ริม และเราจะต้องรู้เก่ียวกับระเบียบของโรงเรียนธนาคาร คือ ลูกค้าหรือ ผใู้ ชบ้ รกิ าร ไดแ้ ก่ นกั เรยี น ครู บคุ ลากร ภายในโรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ ในการเปดิ บญั ชคี รงั้ แรก 100 บาทขน้ึ ไป หลกั ฐาน ท่ีใช้ในการเปิดบัญชี ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชน ส�ำเนาทะเบียนบ้าน หรือ ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวนักเรียน อย่างน้อย 1 ชุด ในการ ฝากเงนิ ถอนเงนิ แตล่ ะครงั้ ไมต่ ำ�่ กวา่ 20 บาท กรณที ำ� สมดุ บญั ชหี าย ใหม้ าแจง้ ทางเจา้ หนา้ ทธ่ี นาคาร เพอื่ ทที่ างเจา้ หนา้ ทธ่ี นาคารจะ ไดท้ ำ� การทำ� สมดุ บญั ชใี หม่ และจา่ ยคา่ ชำ� ระครง้ั ละ 10 บาท ในการปดิ บญั ชี นกั เรยี นสามารถปดิ บญั ชไี ดก้ ต็ อ่ เมอื่ ยา้ ยสถานศกึ ษาหรอื เม่อื จบสถานศึกษาไปแลว้ ถ้าเป็น ครู บุคลากร กล่มุ สอร.หรอื กล่มุ สนใจสามารถปิดบัญชไี ดต้ ามความเหมาะสม กอ่ นทจี่ ะมาเปน็ เจา้ หนา้ ทธี่ นาคารจะตอ้ งมคี วามรเู้ กยี่ วกบั กระบวนการทำ� งานของแตล่ ะฝา่ ย ทางธนาคารกจ็ ะมอี ยู่ 5 ฝา่ ย มี ฝา่ ยประชาสมั พนั ธ์ ฝา่ ยทะเบยี น ฝา่ ยการเงนิ ฝา่ ยบญั ชี และฝา่ ยผจู้ ดั การ และรเู้ กย่ี วกบั กระบวนการทำ� งานของโปรแกรมบญั ชี ทง้ั นี้ จะตอ้ งมคี วามซอ่ื สตั ยเ์ ปน็ อยา่ งมาก เพราะทำ� งานเกย่ี วกบั จำ� นวนเงนิ ตอ้ งมคี วามระเอยี ดรอบคอบ ในการทำ� งานแตล่ ะฝา่ ยเพอ่ื ใหถ้ กู ตอ้ ง และมคี วามอดทนในการทำ� งานเพอ่ื ใหง้ านมปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ มคี วามตรงตอ่ เวลาและความรบั ผดิ ชอบงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ได้รบั ในการท�ำงานโรงเรียนธนาคารน้ีก็จะต้องมีความพอประมาณในเรื่องของการน�ำเอาวัสดุอุปกรณ์มาใช้ในการท�ำงาน และใน เรอ่ื งของการใชเ้ วลาโรงเรยี นธนาคารไดเ้ ปดิ ทำ� การในวนั จนั ทร-์ วนั ศกุ รใ์ นเวลา 12.20-13.00 น. สว่ นวนั เสารจ์ ะทำ� การในเวลา 10.00- 2.00 น. ในการทพี่ วกหนมู าท�ำงานธนาคารนก้ี ท็ ำ� ใหม้ คี วามรปู้ ระสบการณใ์ นการทำ� งานสามารถนำ� ความรทู้ ไี ดไ้ ปทำ� งานธนาคารขา้ ง นอกไดแ้ ละมเี งนิ ไวใ้ ชใ้ นอนาคต การทำ� งานของกจ็ ะมกี ารวางแผนในการทำ� งาน จะมกี ารตรวจสอบยอดเงนิ ฝากถอนทกุ วนั ใหม้ ยี อด ตรงกนั ทงั้ 3 ฝา่ ย คอื ฝา่ ยการเงนิ ฝา่ ยบญั ชี และฝา่ ยผจู้ ดั การใหม้ ยี อดเงนิ ตรงกนั ในการทจ่ี ะมาถอนเงนิ มากกวา่ 10,000 บาทขนึ้ ไป ใหม้ าแจง้ ใหก้ บั ทางเจา้ หนา้ ทกี่ อ่ น 1 วนั คะ่ เพอื่ ทางธนาคารไดจ้ ดั เตรยี มไวใ้ หแ้ ละในการถอนจะตอ้ งนำ� บตั รประจำ� ตวั ประชาชนมาดว้ ย ทกุ คร้งั เพือ่ ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เพอื่ นหรอื คนอ่นื น�ำเอาสมุดมาถอนเงิน ดา้ น 4 มติ ิ ในการใหบ้ รกิ ารทางธนาคารเรานำ� คอมพวิ เตอร์ เครอื่ งปรนิ้ ท์ มาชว่ ยในการดำ� เนนิ งาน ควรรวู้ ธิ กี ารใชง้ านและดแู ลรกั ษา เพอื่ ประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยจดั เกบ็ เอกสารตา่ งๆ ใหเ้ ปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยเพอื่ ทเ่ี วลานำ� ออกมาใชจ้ ะไดส้ ะดวก ทำ� ความสะอาดภายในหอ้ ง เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการทำ� งาน พวกเราทำ� งานการเปน็ กลมุ่ จงึ สำ� คญั อยา่ งยงิ่ ทจ่ี ะตอ้ งรจู้ กั สรา้ งความสมั พนั ธอ์ นั ดี หากมปี ญั หา จะได้ปรึกษา พูดคุยกันได้ กรณีผู้ที่เข้ามาใช้บริการเจ้าหน้าท่ีทางธนาคารจะต้องพูดจาอ่อนน้อม ไพเราะและ มีความสุภาพเพื่อสร้าง ความเป็นมติ ร ทุกๆปที างธนาคารจะมีสัปดาหแ์ หง่ การออม หากใครมียอดเงินที่สงู ทส่ี ดุ จะมีของมอบใหเ้ พื่อเป็นขวญั และก�ำลงั ต่อไป ศาสตร์ที่พวกเราชาวธนาคารใช้ คอื ศาสตรพ์ ระราชาจะใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ศาสตร์ที่ 2 จะใช้ศาสตร์สากล มาใชใ้ นการคำ� นวณหาผลรวมเพอ่ื ใหต้ รงกับโปรแกรมบัญชีเพ่อื ความถูกตอ้ ง ฐานการเรียนรู้ โรงเรียนธนาคาร ท�ำให้ข้าพเจ้าและเพื่อนๆมีทักษะชีวิตและทักษะอาชีพเพ่ิมมากขึ้น สร้างให้เป็นคนมีวินัย มีภาวะผู้น�ำหรือผู้ตามที่ดี สามารถท�ำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีความซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบ มีน้�ำใจ ให้ความร่วมมือ ช่วยเหลืองานซึ่ง กนั และกนั มกี ารตรวจสอบความถกู ตอ้ งในการท�ำงาน ปรบั ปรงุ แกไ้ ขพฒั นางาน ดแู ลรกั ษา เครอื่ งมอื วสั ดุ อปุ กรณต์ า่ ง ๆทใ่ี ชใ้ นการ ทำ� งานใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสดุ ใหบ้ รกิ ารด้วยความยิม้ แย้มแจ่มใส เปน็ ทีน่ า่ ภาคถูมใิ จเป็นอย่างย่ิง เวดาอร ะสมา้งร 13

ฐานการเรยี นรูอ้ าชพี แบบบรู ณาการตามหลักของ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง “ฐานการเกษตรผสมผสาน” สวัสดีครับกระผมนาย พงษ์ศักด์ิ เส่งหล้า ดิฉันนางสาว ศศิภา กาทู และกระผมนาย กฤษฏ์ ลิก้อ พวกเราเป็นแกน นำ� ฐานการเรยี นรอู้ าชพี แบบบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ฐานการเกษตรผสมผสาน ครทู ปี่ รกึ ษา คณุ ครู ประเสรฐิ สภุ า การเกษตรผสมผสานเปน็ ระบบการเกษตรทม่ี กี ารเพาะปลกู หรอื เลยี้ งสตั วห์ ลาย ชนดิ อยใู่ นพน้ื ทเ่ี ดยี วกนั ภาย ใต้การเกื้อกูลประโยชน์ต่อกัน และกันอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้นในการท�ำการเกษตรผสมนั้นเราควรมีทักษะในการ ท�ำการเกษตร แต่เน่ืองจากนักเรียนของเราเป็นนักเรียนชาวเขาซ่ึงการท�ำเกษตรน้ันเป็นอาชีพหลักของพ่อแม่ ดังนั้นนักเรียน ของเราจะมีทักษะในการท�ำการเกษตรเบ้ืองต้นอยู่แล้ว ซึ่งเป็นข้อได้เปรียบของนักเรียนเรา แต่การท�ำการเกษตรนั้นเราควร รู้ การเลือกพืชผักที่ดี และสายพันธุ์สัตว์ท่ีดีมาเล้ียง รู้วิธีเพาะปลูก อัตราการใส่ปุ๋ย น�้ำแก่พืชในปริมาณท่ีพอดี รู้การจัดหา ตลาดรองรับผลผลิตของเรา มีการจัดการเก็บเกี่ยวท่ีดีก่อนถึงมือของผู้บริโภค ในการท�ำงานของเรา นั้น จะท�ำงานเป็นก ลมุ่ มกี ารแบง่ หนา้ ทใี่ นการทำ� งาน ยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ซงึ่ กนั และกนั มคี วามสามคั คี มนี ำ้� ใจ ชว่ ยเหลอื กนั มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ งานของตนเองและของส่วนรวม การทำ� เกษตรผสมผสานนน้ั พวกเราจะเลอื กพน้ื ทใี่ นการทำ� การเกษตร และจดั สรรพน้ื ทใี่ หเ้ กดิ คณุ คา่ สงู สดุ ใหป้ ยุ๋ นำ้� อยา่ งเหมาะสม และประหยดั กำ� หนดราคาผลผลติ อยา่ งเหมาะสม การทำ� งานนน้ั เพอื่ ฝกึ ทกั ษะอาชพี การเกษตร เพอ่ื หาราย ไดร้ ะหวา่ งเรยี น ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์ และใหไ้ ดผ้ ลผลติ ออกมาอยา่ งมคี ณุ ภาพ และปลอดสารพษิ การทำ� งานนน้ั เรา จะตอ้ งมกี ารวางแผนการทำ� งานอยา่ งเปน็ ระบบ ทำ� บญั ชรี ายรบั – รายจา่ ย ใชอ้ ปุ กรณใ์ นการทำ� งานอยา่ งระมดั ระวงั หลกี เห ลี่ยงการใช้สารเคมี เพ่ือรักษาส่ิงแวดล้อม ใช้วิธีการทางชีวภาพมาแทนในการก�ำจัดศัตรูพืช การท�ำเกษตรผสมผสานน้ันจะ ประสบผลสำ� เรจ็ ได้ จะตอ้ งมกี ารวางรปู แบบ และการดำ� เนนิ การโดยใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ กจิ กรรมแตล่ ะชนดิ อยา่ งเหมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพด้วย ผลผลติ จากการทำ� เกษตรผสมผสานทำ� ใหไ้ ดผ้ ลผลติ ทม่ี คี ณุ ภาพ ปลอดสารพษิ สำ� หรบั การบรโิ ภคในโรงเรยี น และ จ�ำหน่าย เป็นท่ีพึงพอใจกับสังคม นักเรียน บุคลากรในโรงเรียน พวกเราเลือกใช้วัสดุท่ีมีในโรงเรียนของเรา เพื่อลดค่าใช้ จ่ายและสะดวกต่อการสรรหาวัสดุ เช่น แกลบ สะเดา ในกระบวนการท�ำงานน้ัน มีการแบ่งหน้าที่กัน แต่ละคนก็จะมีหน้าที่ ทแ่ี ตกตา่ งกนั ไป ทำ� งานรว่ มกนั เปน็ กลมุ่ บคุ ลากรภายนอก รนุ่ นอ้ ง หรอื คนทส่ี นใจในการทำ� เกษตรกส็ ามารถมาศกึ ษาได้ ใน การท�ำงานเราควรจะเน้นการใช้สารที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ลดการใช้สารเคมี ซึ่งเราใช้น�้ำจากแหล่งน้�ำธรรมชาติ จากสระ นำ้� ของโรงเรยี น ซง่ึ ในสระจะเลยี้ งปลาไวต้ ามธรรมชาติ เพอื่ ใชท้ รพั ยากรทม่ี อี ยใู่ นโรงเรยี นใหค้ มุ้ คา่ ทส่ี ดุ เราจะไมท่ ง้ิ ขยะ ลง สแู่ หลง่ นำ�้ และไดเ้ สรมิ สรา้ งวฒั นธรรมภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ เชน่ การทำ� นำ้� หมกั จากใบสะเดามารดผกั เพอ่ื ไลแ่ มลงทม่ี าทำ� ลาย พชื ของเรา เนอื่ งจากมรี สชาตขิ มจงึ ชว่ ยไลแ่ มลงไดด้ ี และการทำ� หนุ่ ไลก่ า จงึ เปน็ การอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมภมู ปิ ญั ญาอนั ดงี ามให้ คงอยู่กับเราสืบต่อ ๆ ไป ฐานการเรยี นรู้ ใชอ้ ยู่ 3 ศาสตร์ ศาสตรแ์ รก คอื ศาสตรพ์ ระราชาเราใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ มาใชใ้ นการทำ� งาน ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบแบบแผน ศาสตร์ที่สอง คือ ศาสตร์สากลโดยใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการเพ่ิมออกซิเจนในน้�ำโดยดูด นำ้� พน่ สอู่ ากาศเพอ่ื เพมิ่ ออกซเิ จนแกน่ ำ้� ปลาในนำ้� กจ็ ะไดร้ บั ออกซเิ จนอกี ทางหนงึ่ ดว้ ยศาสตรท์ ส่ี าม คอื ศาสตรภ์ มู ปิ ญั ญาเรา กท็ ำ� นำ�้ หมกั จากใบสะเดามารดผกั ของเราซงึ่ เปน็ ภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ น และการทำ� หนุ่ ไลก่ าเพอ่ื ไลน่ ก กา ทจ่ี ะมาทำ� ลายขา้ วของ เราทเี่ ราปลูกซ่งึ เป็นภมู ปิ ัญญาชาวบา้ นเชน่ กนั ฐานการเรยี นรอู้ าชพี แบบบรู ณาการตามหลกั ของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง“ ฐานการเกษตรผสมผสาน” ไดร้ บั การยอมรบั จากชมุ ชน และหนว่ ยงานอน่ื อยา่ งมากมาย มผี มู้ าศกึ ษาดงู านอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และยงั ทำ� ใหพ้ วกเรามที กั ษะชวี ติ และ ทกั ษะอาชีพ เพิ่มมากข้ึนด้วย 14 เวดาอร ะสมา้งร

ฐานการเรียนร้อู าชพี แบบบูรณาการตามหลักของ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ฐานการเรยี นรู้ การเลย้ี งปลาในกระชัง อนั ดบั แรกในการเลยี้ งปลาคอื เราตอ้ งมคี วามรเู้ กยี่ วกบั ชนดิ ลกั ษณะของพนั ธป์ุ ลา พนื้ ทใี่ นการเลย้ี ง อาหาร ของปลา วิธีการป้องกันโรคหรือความเสียหายท่ีอาจเกิดข้ึนในระหว่างการเลี้ยงปลา และที่ส�ำคัญคือเราต้องมีตลาด ไวร้ บั ซอื้ ปลาของเรา ในการเลย้ี งปลานน้ั เราตอ้ งมี ความขยนั อดทนในการทำ� งาน รกั ษาความสะอาดในการชำ� แหละ ปลา ทำ� ความสะอาดบรเิ วณช�ำแหละปลา เพอ่ื ใหล้ กู คา้ มคี วามมน่ั ใจในความสะอาด มคี วามสามคั คี ให้ความรว่ มมอื ซ่ึงกนั และกนั รูห้ น้าทข่ี องตน มคี วามมงุ่ มนั่ ในการท�ำงาน เมือ่ เกดิ ปัญหาก็ชว่ ยกันคดิ แกไ้ ขปัญหาท่เี กดิ ขน้ึ ยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ซึ่งกนั และกัน ในการเลี้ยงปลาเราต้องวางกระชังให้พอดีกับขนาดบ่อปลา ในแต่ละกระชังเราจะต้องเลี้ยงปลาให้พอดี กับขนาดของกระชัง เพราะถ้าใส่มากเกินไปปลาจะโตไม่เท่ากันรวมถึงการให้อาหารจะต้องให้อาหารในปริมาณที่ เหมาะสมกับจ�ำนวนปลาและขนาดของปลา ไม่ให้มากเกินไปเพราะตามสัญชาตญาณของปลาดุกจะคายอาหารเก่า เพ่ือกินอาหารใหม่ ซึ่งจะท�ำให้เกิดอาหารตกค้างและกลายเป็นปัญหาน้�ำเน่าเสีย การเลี้ยงปลาก่อให้เกิดประโยชน์ ช่วยท�ำให้มีรายได้ระหวา่ งเรยี น มคี วามรู้ส�ำหรบั การประกอบอาชพี การเล้ียงปลาในอนาคต มอี าหารประเภทโปรตนี สำ� หรบั การบรโิ ภคในโรงเรยี น ในการเลยี้ งปลาของเรานนั้ เราจะตอ้ งมกี ารวางแผนการเลย้ี งอยา่ งรอบคอบ ไวอ้ ยา่ ง รอบคอบ ทง้ั ดา้ นเงินลงทุน ตลาด ระยะเวลาในการเลย้ี ง การจดั เตรยี มวสั ดุ อปุ กรณ์ สถานที่การเล้ยี งปลา และการ จัดเก็บเงินทุนส�ำรอง ในเม่ือเรามีความรู้และหลักการในการเล้ียงปลาก็จะท�ำให้เราได้ปลาที่มีคุณภาพ เป็นที่ต้องการของตลาด ซงึ่ การทำ� งานในแตล่ ะครง้ั เราจะทำ� งานกนั เปน็ กลมุ่ จงึ ตอ้ งมกี ารแบง่ หนา้ ทกี่ ารทำ� งาน และทส่ี ำ� คญั คอื ตอ้ งอาศยั ความ สามัคคีภายในกลมุ่ จึงจะกอ่ ให้ได้ผลทด่ี ี การเลย้ี งปลาของพวกผมยงั เป็นอกี ชอ่ งทางหน่งึ ที่ช่วยอนรุ ักษพ์ ันธุ์ปลาไวใ้ ห้ กับรุ่นต่อๆไปและยังเป็นการใช้บ่อในโรงเรียนให้เกิดประโยชน์สูงสุดอีกด้วย กระบวนการศึกษาจะเป็นกระบวนการ พ่ีสอนน้องต่อ ๆ กันการเป็นรุ่นสู่รุ่น ซ่ึงฐานการเรียนรู้ของพวกผม ยังได้น�ำศาสตร์พระราชามาเก่ียวข้องในเร่ืองของ ศาสตรภ์ มู ปิ ญั ญา คอื การนำ� เงอื่ นเชอื กมาใชใ้ นการมดั โครงเหลก็ กับการเยบ็ กระชงั จะชว่ ยกนั เยบ็ กระชงั นอกจากนี้ ได้บูรณาการให้เข้ากับหลักของ STEM S (Science) พวกผมก็จะสังเกตการณ์ด�ำรงชีวิตของปลา ใช้หลักการแรง ลอยตวั ในการทำ� ทนุ่ การตรวจสอบรอยรวั่ ของถงั การวดั อณุ หภมู ขิ องนำ�้ และพน้ื ทอี่ ยอู่ าศยั ของปลา T (Technology) พวกผมได้น�ำเครื่องปั้มน้�ำมาดูดน้�ำแล้วปล่อยไปตามแต่ละกระชัง เพื่อเพิ่มออกซิเจนในน้�ำ E เป็นออกแบบการท�ำ โครงเหลก็ ใหม้ ขี นาดพอดกี บั กระชงั ปลา และสดุ ทา้ ย M (Mathematic) ในการคำ� นวณปรมิ าตรของกระชงั ใหเ้ หมาะสม กับจ�ำนวนปลา การทำ� รายรับ-รายจ่าย และจำ� หนา่ ยปลา เวดาอร ะสมาง้ ร 15

ฐานการเรยี นรอู้ าชีพแบบบรู ณาการตามหลักของ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ฐานการเรียนรู้ กระเบื้องซีเมนต์ กระเบ้ืองซีเมนต์เป็นผลิตภัณฑ์ปูพื้นที่สามารถ การรักษาความสะอาดสถานที่ รักการท�ำงาน มีวินัย ท�ำได้ง่ายและสามารถเคล่ือนย้ายได้ง่ายมีน้�ำหนักเบา ภาวะผู้น�ำหรือผู้ตามท่ีดี สามารถท�ำงานร่วมกับผู้อื่นได้ สามารถปูพ้ืนได้หลากหลายรูปแบบ ก่อนที่จะเริ่มการ อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม มีแนวทางในการ ผลิตเราต้องศึกษาเร่ืองของวัสดุอุปกรณ์ว่ามีคุณสมบัติ ประกอบอาชีพสุจริต รับผิดชอบต่องานที่ท�ำ ใช้และ และหน้าทอ่ี ย่างไร เรียนร้เู ร่ืองของอัตราส่วนในการผสม ดูแลรักษา เครื่องมือ อุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างถูกต้องและ ว่ามีส่วนผสมอะไรบ้าง ในการท�ำเราจะต้องท�ำงานกัน ระมัดระวัง ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างประหยัดและ เปน็ กลมุ่ ดงั นนั้ ความสามคั คจี งึ เปน็ สงิ่ สำ� คญั ในการทำ� งาน คุ้มค่า มีน้�ำใจ ให้ความร่วมมือ และท�ำงานร่วมกับผู้อื่น จะต้องมีความขยัน อดทน เพราะในการท�ำเราต้องท�ำ ได้ และท่ีน่าภาคภูมิใจอีกอย่างคือ ฐานการเรียนรู้เป็น ในเวลาวา่ ง แหล่งเรียนรู้ส�ำหรับชุมชนและผู้ที่สนใจได้เข้ามาศึกษา ในกระบวนการท�ำเราจะใช้วัสดุอย่างประหยัด เรียนรู้ ท�ำให้ได้มีโอกาสถ่ายทอดประสบการณ์ และคุ้มค่ามากท่ีสุดเพ่ือเป็นการลดต้นทุนในการผลิต สร้างความสัมพันธท์ ี่ดี อีกทางหน่งึ การผลิตกระเบ้ืองซีเมนต์สามารถสร้างรายได้ให้กับ พวกเราได้ เป็นทุนการศึกษาให้กับพวกเราได้ และเม่ือ จบการศกึ ษาออกไปแลว้ ยงั เปน็ พน้ื ฐานอาชพี ใหก้ บั เราได้ สามารถท�ำเป็นอาชีพเลี้ยงตนเองได้ และก่อนท่ีจะลงมือ ท�ำการผลิต เราจะวางแผนในการท�ำงานก่อนเพ่ือไม่ให้ มีปัญหาระหว่างการท�ำงาน และระหว่างการท�ำงานก็จะ ท�ำด้วยความไม่ประมาทเพ่ือไม่ให้เกิดอุบัติเหตุระหว่าง การทำ� งานและเพอื่ ความปลอดภยั ดว้ ย จากกระบวนการ ทั้งหมดนี้จะท�ำให้เราได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพที่สามารถ น�ำไปปูพื้นท่ีที่ดูไม่ค่อยสะอาดดูดีข้ึนมาได้ เช่น น�ำไป ปูพ้ืนที่สวนหลังบ้าน พ้ืนที่หน้าบ้าน เป็นต้น ผลิตภัณฑ์ สามารถน�ำไปขายเพ่ือเป็นรายได้ระหว่างเรียนและ เป็นทุนการศึกษาได้ เม่ือเราขายผลิตภัณฑ์เราก็จะได้ พบปะกบั ผทู้ ม่ี าตดิ ตอ่ ซอ้ื ขายกนั จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ สมั พนั ธไมตรี ซงึ่ กนั และกนั ในการเรยี นรกู้ ระบวนการขนั้ ตอนการผลติ เราจะเรียนโดยการให้รุ่นพ่ีสอนรุ่นน้อง สอนกันไปเป็น รุ่นสู่รุ่น ในการผลิตเราใช้อยู่สองศาสตร์ คือ ศาสตร์ พระราชาและศาสตร์สากล ซึ่งศาสตร์พระราชาที่เราใช้ คือ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และศาสตร์สากลคือ การคิดค�ำนวณต้นทุนก�ำไร การค�ำนวณอัตราส่วนผสม เป็นต้น การเรียนรู้ที่ฐานการเรียนรู้ กระเบ้ืองซีเมนต์ ท�ำให้มีทักษะในการด�ำรงชีวิต มีทักษะอาชีพ เช่น 16 เวดาอร ะสมา้งร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook