Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชื่อโน้ตดนตรี

ชื่อโน้ตดนตรี

Published by CHUCHEEP MOOLSATHAN, 2019-07-25 00:08:14

Description: ชื่อโน้ตดนตรี

Search

Read the Text Version

ชื่อโนต้ ดนตรี[แก]้ I II III IV V VI VII เสียงต่างๆ C D EF G A B เนเชอรัล C♯ D♯ F♯ G♯ A♯ ชาร์ป แฟลต D♭ E♭ G♭ A♭ B♭ เนเชอรัล (ยโุ รปเหนือ) C D EF G A H ชาร์ป (ยโุ รปเหนือ) Cis Dis Fis Gis Ais แฟลต (ยโุ รปเหนือ) Des Es Ges As B ชื่ออื่นๆ (ยโุ รปเหนือ) - - - - - - - - - - Bes B แบบ Do Di Re Ri Mi Fa Fi Sol Si La Li Ti moveable(ascending) Do Ra Re Me Mi Fa Se Sol Le La Te Ti แบบ moveable (descending) ยโุ รปใต้ Do Re Mi Fa Sol La Si ช่ืออื่นๆ แบบอนิ เดยี Ut - -- So - Ti แบบเกาหลี Sa Re Ga Ma Pa Da Ni ความถเี่ สียงโดยประมาณ (เฮิรตซ์) Da Ra Ma Ba Sa Ga Na หมายเลขโน้ต MIDI 262 277 294 311 330 349 370 392 415 440 466 494 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71

ช่ือไทยท่ีนยิ ม ด ร มฟ ซ ล ท ชื่อเรียกตวั โนต้ ในบนั ไดเสียงไดอาโทนิก[แก]้ โนต้ ตวั ท่ี 1 เรียกวา่ โทนิก (Tonic) โนต้ ตวั ที่ 2 เรียกวา่ ซุปเปอร์โทนิก (Supertonic) โนต้ ตวั ที่ 3 เรียกวา่ มีเดียน (Mediant) โนต้ ตวั ที่ 4 เรียกวา่ ซบั โดมิแนนท์ (Subdominant) โนต้ ตวั ท่ี 5 เรียกวา่ โดมิแนนท์ (Dominant) โนต้ ตวั ที่ 6 เรียกวา่ ซบั มีเดียน (Submediant) โนต้ ตวั ท่ี 7 เรียกวา่ ลีดดิ้งโนต้ หรือลีดดิ้งโทน (Leading note or Leading tone) ตวั โนต้ ที่ใชเ้ ขียน[แก]้ ตวั โนต้ หน่ึงตวั ท่ีใชส้ าหรับบนั ทึกบทเพลงจะมีค่าของโนต้ หน่ึงค่า นนั่ คือระยะเวลาในการออกเสียงของตวั โนต้ เช่น ตวั ดา ตวั เขบต็ หน่ึงช้นั เป็นตน้ เม่ือตวั โนต้ ต่างๆ ถูกเขียนลงบนบรรทดั หา้ เสน้ ตวั โนต้ แตล่ ะตวั จะถูกวางไวบ้ นตาแหน่งที่แน่นอนตามแนวต้งั (คาบเส้น บรรทดั หรือระหวา่ งช่องบรรทดั ) และกาหนดระดบั เสียงที่แน่นอนดว้ ยกญุ แจประจาหลกั เสน้ แตล่ ะเส้นและช่องวา่ งแต่ละช่องถูกต้งั ช่ือตาม เสียงของโนต้ ซ่ึงชื่อเหล่าน้ีเป็นท่ีจดจาโดยนกั ดนตรี ทาใหน้ กั ดนตรีทราบไดว้ า่ จุดใดควรจะเล่นเครื่องดนตรีดว้ ยระดบั เสียงใด ตามตาแหน่ง หวั ของโนต้ บนบรรทดั ตวั อยา่ งเช่น บรรทดั หา้ เส้นดา้ นบนแสดงใหเ้ ห็นถึงเสียงโนต้ C4, D4, E4, F4, G4, A4, B4, C5 ตามตวั โนต้ ที่วางอยบู่ น ตาแหน่งต่างๆ แลว้ จากน้นั ไล่ระดบั เสียงลง โดยไมม่ ีเคร่ืองหมายต้งั บนั ไดเสียงหรือเครื่องหมายแปลงเสียง จังหวะ ภาพ ช่ือตวั โน้ต (ในอตั ราจังหวะ 4/4) โนต้ ตวั กลม 4 จงั หวะ โนต้ ตวั ขาว 2 จงั หวะ

โนต้ ตวั ดา 1 จงั หวะ โนต้ ตวั เขบต็ 1 ช้นั คร่ึงจงั หวะ โนต้ ตวั กลม ( Whole Note ) 1 ตวั = ตวั ขาว 2 ตวั หรือตวั ดา 4 ตวั โนต้ ตวั ขาว ( Half Note ) 1 ตวั = ตวั ดา 2 ตวั โนต้ ตวั ดา ( Quarter Note ) 1 ตวั = ตวั เขบด็ 1 ช้นั 2 ตวั โนต้ ตวั เขบด็ ( Eight Note ) 1 ตวั = ตวั เขบด็ 2 ช้นั 2 ตวั ความถี่ของโน้ต ในทางเทคนิค ดนตรีสามารถสร้างข้ึนไดจ้ ากโนต้ ที่มีความถี่ของเสียงใดๆ ก็ได้ เนื่องจากเสียงเกิดจากการสน่ั สะเทือนของวตั ถุและวดั ไดใ้ นหน่วยเฮิรตซ์ (Hz) ซ่ึง 1 เฮิรตซเ์ ท่ากบั การสน่ั ครบหน่ึงรอบต่อวนิ าที ต้งั แต่สมยั ก่อนมีเพยี งโนต้ ท่ีมีความถี่คงตวั แค่ 12 เสียง เท่าน้นั โดยเฉพาะดนตรีตะวนั ตก ซ่ึงความถ่ีเสียงคงตวั เหล่าน้ีมีความสมั พนั ธ์ทางคณิตศาสตร์ต่อกนั และถูกนิยามไวท้ ี่โนต้ ตวั กลาง A4 (เสียง ลา ออ็ กเทฟท่ีสี่) ซ่ึงเป็นสาเหตทุ ่ีเสียงลาเริ่มตน้ เขียนแทนดว้ ยอกั ษร A ปัจจุบนั โนต้ A4 มีความถี่อยทู่ ี่ 440 เฮิรตซ์ (ไม่มีเศษทศนิยม) หลกั การต้งั ช่ือโนต้ จะระบุเป็นอกั ษรละติน เคร่ืองหมายแปลงเสียง (ชาร์ป/แฟลต) และหมายเลขออ็ กเทฟตามลาดบั โนต้ ทกุ ตวั จะมี เสียงสูงหรือต่ากวา่ A4 เป็นจานวนเตม็ n คร่ึงเสียง นน่ั หมายความวา่ โนต้ ท่ีมีเสียงสูงกว่า n จะเป็นจานวนบวก หากเสียงต่ากวา่ n จะ เป็นจานวนลบ ความถี่ f ของโนต้ ตวั อื่นเม่ือเทียบกบั โนต้ A4 จึงมีความสมั พนั ธด์ งั น้ี ตวั อยา่ งเช่น เราสามารถคานวณหาความถ่ีของโนต้ C5 ซ่ึงเป็นโนต้ C ตวั แรกท่ีอยสู่ ูงกว่า A4 และโนต้ ดงั กล่าวมีระดบั เสียงท่ีสูงกวา่ A4 เป็นจานวน 3 คร่ึงเสียง (A4 → A♯4 → B4 → C5) จะได้ n = +3 ดงั น้นั ความถี่ของโนต้ C5 คือ หรืออยา่ งโนต้ ท่ีมีระดบั เสียงต่ากว่า A4 เช่น โนต้ F4 มีระดบั เสียงต่ากวา่ A4 เป็นจานวน 4 คร่ึงเสียง (A4 → A♭4 → G4 → G♭4 → F4) จะได้ n = −4 ดงั น้นั ความถ่ีเสียงของ F4 คือ และสุดทา้ ย สูตรดงั กล่าวสามารถใชเ้ ปรียบเทียบความถ่ีของโนต้ ช่ือเดียวกนั แตต่ า่ งออ็ กเทฟได้ ซ่ึง n จะ กลายเป็นพหุคูณของ 12 ถา้ กาหนดให้ k เป็นจานวนออ็ กเทฟส่วนต่างที่มากกวา่ หรือนอ้ ยกวา่ A4 เช่นโนต้ A5 จะได้ k = +1 หรือโนต้ A2 จะได้ k = −2 เป็นตน้ สามารถลดรูปสูตรไดเ้ หลือเพยี ง

ทาใหเ้ กิดผลวา่ สาหรับโนต้ ท่ีช่ือเดียวกนั ในหน่ึงช่วงออ็ กเทฟ โนต้ ในระดบั สูงกวา่ จะมีความถ่ี เป็นสองเท่าของโนต้ ในระดบั ต่ากวา่ หรือดว้ ยอตั ราความถี่ 2:1 และหน่ึงช่วงออ็ กเทฟมี 12 คร่ึงเสียง นอกจากน้ีความถ่ีของเสียงมีการวดั โดยละเอียดเป็นหน่วยเซนต์ (cent) โดยหน่ึงคร่ึงเสียง จะมีคา่ เทา่ กบั 100 เซนต์ นนั่ หมายความว่า 1200 เซนตจ์ ะเทา่ กบั 1 ออ็ กเทฟ และตวั คูณ 1 เซนต์ บนความถี่เสียงจะมีคา่ เท่ากบั รากที่ 1200 ของ 2 หรือเทา่ กบั ประมาณ 1.0005777895 สาหรับการใชก้ บั ระบบ MIDI มาตรฐาน ความถี่เสียงของโนต้ จะจบั คู่กบั หมายเลข p ตาม สูตรน้ี ทาให้โนต้ A4 จบั คูอ่ ยกู่ บั โนต้ หมายเลข 69 ในระบบ MIDI และทาใหเ้ ติมเตม็ ช่วงความถี่อื่นๆ ท่ีไม่ตรงกบั ความถ่ีสากลมาเป็นหมายเลขของโนต้ ไดอ้ ีกดว้ ย แหล่งขอ้ มูลอื่น[แก]้ คอร์ดกีตาร์ ด พ ก บรรทดั ห้าเส้น หอ้ งเพลงและเส้นก้นั หอ้ ง · กญุ แจประจาหลกั · เครื่องหมายลงจบ (โคดา) · ดาคาโป จงั หวะ · Transposition · Transposing instrument โน้ตดนตรี เคร่ืองหมายแปลงเสียง (แฟลต · เนเชอรัล · ชาร์ป) · โนต้ ประจุด · โนต้ ประดบั เส Articulation Accent · ความดงั · เลกาโต้ · Ornament · Ossia · Portato · เครื่องหมายเช่ือมเสียง (สเลอร์ การพฒั นาดนตรี Exposition · ความกลมกลืน · เมโลด้ี · Motif · Recapitulation · จงั หวะ (จงั หวะชีพจรดน หัวข้อทเี่ กย่ี วข้อง Chord chart · Figured bass · Graphic notation · Lead sheet · Eye music · Modern musical symbols · น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook