Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 422327_คู่มือการฟังและพูดภาษาไทย22มิย63

422327_คู่มือการฟังและพูดภาษาไทย22มิย63

Description: 422327_คู่มือการฟังและพูดภาษาไทย22มิย63

Search

Read the Text Version

ค่มู อื พัฒนาทักษะการฟงั และพดู ภาษาไทย... เพื่อการส่ือสาร : รเู้ ทา่ ทนั COVID-19 สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

คาชแ้ี จง : คมู่ อื พฒั นาทกั ษะการฟงั และพูดภาษาไทยเพอื่ การสือ่ สาร : โดยโรงเรียนสามารถนาคมู่ ือดงั กลา่ วไปปรับใช้ได้ ดงั นี้ รเู้ ทา่ ทนั COVID-19 1. ครูต้องเข้าใจในเน้ือหาในแต่ละตอน ควรให้เด็กฝึกฟัง พูด อ่าน และเขียน คู่มือพัฒนาการฟังและพูดภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร : รู้เท่าทัน และควรจัดทาแบบฝึกทบทวนความรู้ความเข้าใจ การฝึกสนทนาการถาม - ตอบ COVID-19 ฉบับน้ีจดั ทาเพอ่ื ใหค้ รนู าไปใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การนาตัวอย่างจริง ภาพประกอบ หรือแสดงท่าทางประกอบ เช่น บัตรภาพ การฟังและพูดภาษาไทยของนักเรียนท่ีใช้ภาษาท้องถิ่นหรือกลุ่มชาติพันธ์ุ บัตรคา แบบฝึกหัด การแสดงบทบาทสมมติ เป็นต้น เพื่อให้นักเรียน ของโรงเรียนในโครงการส่งเสริมและพัฒนาทักษะการฟังและพูดภาษาไทย ได้เกิดความเข้าใจได้มากย่ิงข้ึน เพ่ือการสื่อสารสาหรับผู้ใหญ่บนพื้นท่ีสูง ตามพระราชดาริของสมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 2. ควรจัดทากรอบเนื้อหา ส่ือการเรียนรู้ พร้อมใบงานเพ่ิมเติมในแต่ละตอน ใน 5 จังหวัดภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ตาก น่าน และ ให้นกั เรยี นทบทวนเนอื้ หา ความหมาย ฝกึ การถามตอบและการส่ือสารความหมาย แมฮ่ ่องสอน ก่อนไปฝึกพูดคุยกับผู้ปกครองหรือผู้ใหญ่ในชุมชนและนัดหมายการส่งใบงาน ทบทวนและวิเคราะห์เน้ือหา ส่ือและใบงานอีกคร้ังให้มีความถูกต้องเหมาะกับ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) ร่วมกับ การนาไปใชฝ้ ึกพัฒนาการฟังและพดู ของนักเรยี นและผปู้ กครอง สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาใน 5 จังหวดั ภาคเหนอื ร่วมจัดทา และพัฒนาคู่มือฉบับนี้ซ่ึงมีเนื้อหาประกอบด้วย โรคไวรัสโคโรนา2019 3. ควรมีการติดตามการพัฒนาทักษะการฟังและพูดของนักเรียนและผู้ใหญ่ (COVID-19) คืออะไร แนวปฏิบัติในการป้องกัน ข้ันตอนการใส่หน้ากาก และนาผลตอบรับหรือการสะท้อนจากนักเรียนและผู้ปกครองเพื่อนามาพัฒนา และการล้างมือ และคาถามท่ีพบเมื่อต้องไปพบแพทย์ โดยมุ่งหวังให้ผู้เรียน ค่มู อื และกิจกรรมที่ให้ความเหมาะสมและสมบูรณย์ ่ิงข้ึน และผู้ใหญ่ในชุมชนได้ตระหนักและรู้วิธีการป้องกันโรคดังกล่าว เพื่อให้ผู้เรียน มีความรู้ความเข้าใจและสามารถนาไปถ่ายทอดท้ังความรู้ของเนื้อหาและ ห า ก มี ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ใ น ก า ร ป รั บ ป รุ ง คู่ มื อ แ ล ะ แ น ว ท า ง ก า ร พั ฒ น า การชักจูงผู้ใหญ่ให้เห็นความสาคัญและสามารถฟังและพูดภาษาไทยเพ่ือให้ การดาเนินงานให้ดียิ่งขึ้น ขอความกรุณาให้สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษารวบรวม สามารถดารงชีวิตและดาเนินกิจกรรมทางสังคมได้อย่างปกติสุข เนื่องจาก ข้อเสนอแนะและแนวทางการปรับปรุงจากโรงเรียนในสังกัดของท่านส่งให้แก่ คู่มือฉบับนี้อยู่ระหว่างการทดลองใช้ในโรงเรียนโครงการส่งเสริมและพัฒนา สพฐ. ในโอกาสต่อไป และขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสน้ี ทักษะการฟังและพูดภาษาไทยเพ่ือการสื่อสารสาหรับผู้ใหญ่บนพื้นที่สูง ตามพระราชดาริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สถาบนั ภาษาไทย สยามบรมราชกุมารี ใน 5 จงั หวดั ภาคเหนือ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา มิถนุ ายน 2563

คานา สารบัญ 1 2 คู่มือพัฒนาการฟังและพูดภาษาไทยเพ่ือการส่ือสาร : รู้เท่าทัน COVID-19 คาชแี้ จง 3 จัดทาเพ่ือเป็นส่ือการเรียนรู้การพัฒนาทักษะการฟังและพูดภาษาไทย คานา 7 ของผู้เรียนและผู้ใหญ่บนพื้นที่สูงท่ีเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ซึ่งอาศัยอยู่ตามพื้นท่ี สารบัญ 7 แนวชายแดน พื้นท่ีสูง และพ้ืนที่ห่างไกลทุรกันดารของจังหวัดทาง บทนา 9 ภาคเหนือ ประชาชนส่วนใหญ่มีการสื่อสารภาษาท้องถ่ินท่ีแตกต่าง สว่ นที่ 1 ไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 คืออะไร 11 จากภาษาไทย มีภาษาและวัฒนธรรมที่มีความเป็นเอกลักษณ์ตามวิถี 13 บนพื้นทส่ี ูง นอกจากนเ้ี นอื้ หาทใี่ ชป้ ระกอบการฝกึ ทักษะการฟังและพูดเป็น - การตดิ ตอ่ ของเช้ือโรค การให้ความรู้ความเข้าใจในแนวปฏิบัติการป้องกันโรคโควิด-19 ที่กาลัง - อาการ 17 ระบาดในช่วงปลายปี พ.ศ. 2562 เปน็ ต้นมา ส่วนท่ี 2 แนวปฏบิ ัตใิ นการปอ้ งกัน 19 - วธิ กี ารดูแลตนเอง 25 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานขอขอบพระคุณ - วิธปี ฏิบตั ิเม่ืออย่บู า้ น/ครอบครวั 29 คณะท่ีปรึกษาโครงการ คณะผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์และโรงเรียนใน - วิธีปฏิบตั ิเม่ือออกนอกบ้านหรือในที่ชมุ ชน โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาทักษะการฟังและพูดภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร - วธิ ปี ฏิบตั เิ ม่อื เดนิ ทางไปในชมุ ชนแออัด สาหรบั ผ้ใู หญ่บนพน้ื ท่ีสงู ตามพระราชดาริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า หรอื พ้นื ท่ีเส่ยี ง กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ใน 5 จังหวัด สว่ นที่ 3 ข้ันตอนการใสห่ นา้ กากและการลา้ งมอื ภาคเหนือที่ให้การสนับสนุนในการขับเคล่ือนการดาเนินงานเป็นอย่างดี - ข้ันตอนการใส่หน้ากากอนามยั รวมทั้งผู้ทรงวุฒิท่ีให้ข้อเสนอแนะในการปรับเอกสารคู่มือฉบับนี้ให้มี - ขั้นตอนการลา้ งมอื ปอ้ งกนั โควดิ -19 ความสมบูรณ์มากย่ิงขึ้น และคาดหวังว่า คู่มือการฟังและพูดภาษาไทย ส่วนท่ี 4 คาถามทพ่ี บเมอ่ื ไปพบแพทย์ เพือ่ การสอื่ สาร : รู้เท่าทัน COVID-19 จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน ผู้ใหญ่บนพ้ืนที่สูง อา้ งอิง และบุคคลท่ีสนใจในการนาไปเป็นแนวทางการปฏิบัติวิถีชีวิตใหม่ (New คณะผ้จู ดั ทา Normal)

บทนา สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา จึงได้จัดทาคู่มือการพัฒนา ทักษะการฟังและพูดภาษาไทยเพื่อการสื่อสารให้รู้เท่าทันของโรคไวรัส เหตุผลและความจาเปน็ โคโรนา 2019 หรือโควิด-19 ขึ้นเพื่อให้ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และบุคคล ในชมุ ชนในพนื้ ที่ 5 จงั หวดั ภาคเหนอื โดยเฉพาะกลุ่มนักเรียนและผู้ปกครอง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานได้ดาเนินงานโครงการ ที่เป็นชาติพันธุ์มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถส่ือสารภาษาไทยได้ ส่งเสริมและพัฒนาทักษะการฟังและพูดภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับ อีกทั้งสามารถดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองและครอบครัวเพ่ือให้สามารถ ผู้ใหญ่บนพ้ืนที่สูง ตามพระราชดาริของสมเด็จพระกนิษฐา ธิราชเจ้า ดารงชีวิตและกิจกรรมทางสังคมได้อย่างปกติสุขตามแนววิถีชีวิตใหม่ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ใน 5 จังหวัด (New Normal) ภาคเหนือ โดยมุ่งเน้นในการพัฒนาทักษะการฟังและพูดภาษาไทย ในการดารงชีวิตประจาวันของผู้เรียนและผู้ใหญ่บนพ้ืนที่สูงใน 5 จังหวัด วตั ถุประสงค์ ภาคเหนือ เพ่ือให้สามารถสื่อสารภาษาไทยท่ีจาเป็นในชีวิตประจาวันได้ ในปี 2563 ได้เกิดการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด-19 1. เพ่ือพัฒนาการฟังและพูดภาษาไทยเพ่ือการส่ือสารสาหรับผู้เรียนและ ในประเทศไทยและมผี ลกระทบการเรียนและการดาเนินชีวิตของนักเรียนและ ผู้ใหญ่บนพ้ืนท่ีสูง กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ภาษาท้องถิ่นหรือภาษาของชาติพันธ์ุ บุคคลในชุมชน จึงเห็นควรสร้างความรู้ ความเข้าใจจากภัยของเช้ือไวรัส ในการสื่อสาร โคโรนา 2019 หรือโควิด-19 ให้แก่ผู้เรียนและผู้ปกครองให้มีความรู้และ ความเขา้ ใจในวิธีการป้องกนั ภัยจากเชือ้ โรคดังกล่าว นนั้ 2. เพ่ือให้ผู้เรียนและผู้ปกครองในโรงเรียนและชุมชนมี ความรู้ คว ามเข้าใจภ าษาไทยท่ีจาเป็นในชีวิตประจาวันใน สถานการณ์ รูเ้ ทา่ ทนั COVID-19 การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตอนที่ 1 การตดิ ตอ่ ของเชอ้ื โรค ไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 คืออะไร การได้รับเช้ือจากการสัมผัสสารคัดหล่ังจากการพูด ไอ จาม หรือ ไวรัสโคโรนา 2019 สายพันธ์ุใหม่ 2019 หรือ COVID -19 คือโรคติดต่อ สัมผัสนา้ มูก น้าลาย (เมอื่ เราไปอยู่ใกล้ พูดคุย และได้รบั เชอ้ื จากผู้ทม่ี เี ช้ือ) ทางเดินหายใจส่งผลให้เกิดโรคปอดอักเสบ เป็นโรคร้ายแรง ที่มีผลแก่ชีวิต ซึ่งได้ระบาดครั้งแรกท่ีตลาด South China Seafood เมืองอู่ฮ่ัน มณฑลหูเป่ย์ ห้องสมุด ประเทศจีน จากนั้นแพร่ระบาดไปหลายพื้นท่ีในประเทศจีนและประเทศอื่น ๆ (ศนู ยป์ ฏิบตั กิ ารภาวะฉุกเฉนิ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ ) โจโ้ ท้ : ครูครบั ทาไมปีน้ี ครปู ุย๋ : กช็ ่วงนีม้ โี รคติดต่อร้ายแรงกาลงั ระบาด ? ครูปยุ๋ : จากการสัมผัสสารคดั หล่งั จาก ถงึ เลอ่ื นเปิดเทอมละครบั ท้งั ในและนอกประเทศคะ่ ร่างกายคะ่ โจแ้ ด้ : ครูครับ แล้วคนจะตดิ เชื้อโรคนี้ โจโ้ ท้ : โรคอะไรครับครู ครูปุ๋ย : โรคท่มี ีชื่อวา่ ไวรสั โคโรนา 2019 ได้อย่างไรครบั ครูปยุ๋ : ก็คอื น้าลาย นา้ มูก ทจ่ี ะฟุ้ง โจ้โท้ : ทาไมโรค COVID-19 หรอื เรียกอกี ช่ือวา่ COVID-19 ค่ะ ออกมาขณะที่เราพูด ไอ หรือ โจ้แด้ : อะไรคือสารคัดหลั่งหรอื ครับครู จาม... ยงั ไงละค่ะ ถึงร้ายแรงละครับครู ครูปุ๋ย : เพราะวา่ ติดตอ่ ได้จากคนสคู่ น โจ้แด้ : ออ้ ....ถา้ อยา่ งนน้ั เราคงต้อง 2 จากระบบทางเดนิ หายใจ ดีใจไดเ้ จอ แลว้ ไปทาลายปอด และเสยี ชวี ติ ไดค้ ่ะ ยนื ห่างๆ กันแล้ว นะครับ...ครู เพอ่ื น ๆ ดใี จ 1 เชน่ กัน

อาการ รเู้ ท่าทัน COVID-19 การประเมนิ อาการ โจ้โท้ : ครคู รับ แลว้ Covid-19 มอี าการ หากมีอาการเจ็บป่วยเม่ือพบว่ามีอาการ คัดจมูก วิงเวียน อาเจียน อยา่ งไรบา้ งครบั หนาวสั่น คร่ันเน้ือคร่ันตัว ปวดข้อ ปวดหัว เจ็บคอ หายใจติดขัด มีเสมหะ อ่อนเพลีย ไอแห้งๆ และมีไข้ตัวร้อนมีอุณหภูมิสูงกว่า 37.5 องศา รวมถึง ครปู ุ๋ย: จะมอี าการเหมอื นคนเปน็ ไข้ เช่น ไอ จาม การถา่ ยเหลว ทอ้ งเสยี ไอ จาม เจ็บคอ มนี ้ามูก จมูกไม่รับกล่ิน และหายใจ ลาบากให้รีบไปพบแพทย์ ปวดหัว ปวดเมื่อยตามขอ้ บางราย อาการของโรคโควิด ถา่ ยเหลว ทอ้ งเสีย หายใจลาบากก็มีคะ่ โจโ้ ท้ : นา่ กลัวจงั เลยครบั ...ครู โจแ้ ด้ : แล้วเราจะทราบได้อย่างไร ครูปุ๋ย : ใชค่ ะ่ เพราะเชอ้ื โรคจะฟักตัว ว่าเป็นโควิด-19 ครับ อยใู่ นรา่ งกายอย่างน้อย 14 วนั ครปู ุ๋ย : ค่ะ หากมีไขต้ ัวรอ้ นมากกวา่ หรอื มากกว่า และจะเรมิ่ มีอาการค่ะ 37.5 องศา หายใจเหน่ือยหอบ และมีอาการตามทกี่ ล่าวมาคะ่ โจ้โท้ โจแ้ ด้ : ง้ันคงตอ้ งไปหาหมอ ที่โรงพยาบาลดีกวา่ นะครบั ..ครู โจ้แด้ อ้างอิงภาพประกอบ : โรงพยาบาลรามคาแหง. (2563). วิธีสงั เกตอาการ COVID-19. สบื ค้นเมอ่ื 15 มถิ ุนายน 4 3 2563. จาก https://pantip.com/topic/39750788

ทบทวนอาการของโรค หายใจติดขดั จมูกไม่รบั กล่ิน 1. จบั คู่ถามตอบอาการของโรค ปวดเมอ่ื ยกลา้ มเนื้อ 2. ผูถ้ าม ถามอาการของโรคมีอะไรบา้ ง ผูต้ อบปิดสมุดและตอบคาถาม ปวดตามข้อ 3. ผถู้ ามใส่  ในชอ่ งที่ถูกต้อง ท้องเสีย ปวดหวั ถ่ายเหลว มีไข้ตวั ร้อน ออ่ นเพลยี หนาวสน่ั ครน่ั เน้อื ครน่ั ตัว หมายเหตุ อาการของโรคอาจมีการเปลยี่ นแปลงและเพ่ิมเตมิ ได้ วิงเวยี น/อาเจยี น ทั้งนใี้ ห้ยึดตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข เจบ็ คอ 6 ไอ จาม ไอแหง้ มเี สมหะ คดั จมกู มนี ้ามกู 5

ตอนท่ี 2 แนวปฏบิ ตั ใิ นการปอ้ งกนั 1. วธิ ีการดูแลตัวเอง มอื เป็นอวยั วะที่สาคัญมากในการใช้สัมผสั เชอ้ื โรคหรือสง่ิ ปนเป้ือนต่าง ๆ เขา้ มาในรา่ งกายของเรา ฉะนัน้ จึงเปน็ เหตใุ ห้มีการทาความสะอาดท่ี “มอื ” ตา จมูก และปาก เป็นอวัยวะที่สามารถรับเชื้อเข้าสู่ร่างกายได้โดยง่าย จึงควรระวังการสัมผัสใบหน้าท่ีมีจุดรับเช้ือโรคเข้าสู่ร่างกาย ซ่ึง “ปาก” นอกจาก จะรับเชื้อโรคได้แล้ว ยังเป็นแหล่งแพร่เช้ือโรคได้ค่อนข้างมากจาก การพูด ไอ และ จาม ทาให้น้าลายหรือสารคัดหลั่งออกมาได้ในระยะไกล จึงต้องมีการปิดในส่วน จมกู และ ปาก เปน็ สาคัญ “ไมจ่ บั ไมแ่ ตะ ไมแ่ คะ ไมข่ ย”ี้ ขอ้ ควรปฏิบัติ โจโ้ ท้ : โจแ้ ด้ ..วนั น้เี ราไปตลาดกบั พอ่ มา โจแ้ ด้ : แลว้ ทต่ี ลาดคนเยอะไหมจ๊ะ มขี องกนิ เยอะเลย 1. หลกี เลีย่ งการสมั ผัสบริเวณใบหนา้ ตา จมูก ปากของ โจแ้ ด้ : หรอ..เอ...แล้วถ้าอยทู่ ีบ่ ้าน ตนเอง สง่ิ รอบตวั ท่ีไม่สะอาด หรือการสัมผสั ผู้อืน่ โดยเฉพาะ โจ้โท้ : กไ็ มค่ อ่ ยเยอะ..แตค่ นก็ใส่หนา้ กาก เราจะตอ้ งทาอยา่ งไรบา้ งละ่ ผ้มู ีอาการเส่ยี ง กนั ทั้งตลาดเลยนะ โจ้แด้ : ดสี จิ ะ๊ ..เราจะได้ปอ้ งกนั ตนเอง 2. ล้างมอื ดว้ ยนา้ และสบ่ทู กุ ชั่วโมง หรือเจลแอลกอฮอล์ โจ้โท้ : ง้ันเรา..มาเรียนรวู้ ิธีการปฏิบัติตน และครอบครัวของเรา 8 ทาความสะอาดสง่ิ ของหรอื สถานทีจ่ ะใช้ทกุ คร้ัง ในบา้ นกันดีไหมจ๊ะ 3. ใสห่ น้ากากอนามยั /ผา้ เมอื่ อยูใ่ นที่สาธารณะ 7 หลกี เลี่ยงสถานท่ีท่ีมคี นแออดั

ครอบครัวรว่ มใจ...... 5. หม่ันทาความสะอาดของใช้ ปอ้ งกันภยั โควดิ ...... และภายในบา้ น 2.วิธปี ฏบิ ัติเมือ่ อยู่บ้าน/ครอบครัว 6. หมั่นลา้ งมอื บ่อย ๆ ดว้ ยนา้ และสบู่ หรอื เจลแอลกอฮอล์ 1. แยกของใชส้ ว่ นตัว เช่น แกว้ น้า ผา้ เช็ดหนา้ ผา้ เช็ดตวั ผ้าหม่ จาน ชาม ช้อนแกว้ นา้ รวมทั้ง 7. หากบคุ คลในบ้านไมส่ บาย ควรสวมหน้ากาก แยกทาความสะอาด 8. ใชผ้ ้าปิดปาก ปดิ จมูก เวลาไอ จาม 2. กนิ รอ้ น ช้อนสว่ นตัว แยกรบั ประทาน อาหาร และลา้ งภาชนะดว้ ยนา้ ยาลา้ งจาน 9. สงั เกตอาการตนเองและบุคคลภายในบ้าน ผง่ึ ให้แหง้ และตากแดด หากมีอาการตามที่ประเมินการติดโรค ให้แจง้ เจา้ หนา้ ที่ อสม. หรอื รบี ไปพบแพทย์ 3. ปรงุ อาหารให้สกุ ด้วยความร้อนโดยเฉพาะเนอ้ื สตั ว์ 10 4. รักษาระยะห่างจากบุคคล ภายในบา้ น 9

......ชมุ ชนรว่ มใจ 6. พกเจลแอลกอฮอลต์ ดิ ตัวเพอื่ ลา้ งมือทันที .......ปอ้ งกันภยั โควิด เม่ือสมั ผสั ส่ิงของทใี่ ช้ร่วมกบั ผอู้ ่นื 3. วธิ ปี ฏิบัติเมือ่ ออกนอกบา้ นหรอื ในที่ชมุ ชน 7. ลา้ งมอื บอ่ ย ๆ ดว้ ยน้าและสบู่ อย่างนอ้ ย 20 วินาที 1. ออกจากบ้านเม่อื จาเปน็ เทา่ นน้ั หลกี เลย่ี งไปในสถานที่แออดั 8. รับประทานอาหารปรงุ สกุ ใหมแ่ ละ แยกรับประทานอาหาร 2. ใส่หนา้ กากผ้าเม่อื ต้องออกจากบ้าน เม่ือตอ้ งไปในหม่บู า้ นหรือชุมชน 9. อาบนา้ เปลย่ี นเสื้อผ้า ทาความสะอาด อาบน้า ของใช้ส่วนตวั ทันทีเมอ่ื กลบั ถงึ บา้ น ให้สะอาด 3. ระวังไมใ่ ห้มอื สมั ผสั ใบหนา้ ตา จมูก และปาก ขอ้ ควรระวงั เจลแอลกอฮอล์/แอลกอฮอลอ์ าจเป็นวัตถุไวไฟ และอาจเปน็ อันตรายกบั เดก็ เลก็ ควรเกบ็ ใหพ้ ้นมือเดก็ 4. ใชร้ ถสาธารณะเม่อื จาเปน็ เทา่ นนั้ 12 5. อยหู่ า่ งจากผู้อ่ืน อย่างนอ้ ย 1-2 เมตร (รกั ษาระยะห่าง/ Distancing) 11

4. วธิ ีปฏิบัติเมอ่ื เดินทางไปในชุมชนแออดั หรือพ้ืนทเ่ี สย่ี ง 2. ใหก้ ักตวั จานวน 14 วนั ในสถานทีท่ รี่ ัฐหรือหน่วยงานทอ้ งที่จดั ให้ หากเป็นทบี่ ้านตอ้ งสามารถปฏบิ ตั ติ ามทีส่ าธารณสุขกาหนดอยา่ ง การเข้าข่ายตอ่ การติดเชือ้ เคร่งครดั ได้ 1. การเดนิ ทางเข้าไปในพ้นื ที่มกี ารระบาดของโรค 3. หากมอี าการใหร้ บี ไปพบเจา้ หน้าทส่ี าธารณสุขใกลบ้ า้ นและพบ 2. การไปคลุกคลกี บั ผปู้ ่วย แพทยท์ โ่ี รงพยาบาลเพื่อตรวจหาเช้ือและเข้ารบั การรกั ษา 3. การไปสัมผัสหรอื อยู่ใกลช้ ดิ กับสตั ว์โดยเฉพาะท่ีป่วย หรือตาย วธิ ีปฏบิ ัตติ นเม่อื มีความเสย่ี งต่อการตดิ เช้ือ 1. แจง้ เจ้าหนา้ ท่ีทเี่ ก่ียวข้องในทอ้ งท่ี เพอื่ ปฏบิ ัตติ ามมาตรการการปอ้ งกนั 13 14

ทบทวนแนวปฏบิ ตั แิ ละวิธปี ้องกัน สรุปแนวปฏบิ ัติและวธิ ีการป้องกัน (ตามหลักการ Concept New Normal 5 อย่าง) ไม่จับ ไม่แตะ 1. อยหู่ า่ งกันไว้ ไม่แคะ ไมข่ ยี้ 2. ใส่แมสกนั 15 3. หมนั่ ลา้ งมือ 4. ถอื หลกั รกั สะอาด 5. ปราศจากแออดั อา้ งอิงจาก : ศนู ยบ์ ริหารสถานการณ์โควิด-19 (ศบค.). (2563). รู้แลว้ นะ Concept New Normal 5 อยา่ ง คอื อะไร?. สบื คน้ เม่ือ 9 มถิ นุ ายน 2563. จาก https://www.facebook.com/Sumnakkaow.PRD/posts/4553666241325527 16

ตอนท่ี 3 โจโ้ ท้ : นา่ งพู...รู้ไหม หนา้ กากอนามัย น่างพู : หนา้ กากอนามยั ใชแ้ ล้วทิ้งคะ่ ขน้ั ตอนการใสห่ นา้ กากและการล้างมือ กบั หนา้ กากผา้ ตา่ งกนั อยา่ งไร สว่ นหนา้ กากผ้าใชซ้ า้ ได้ค่ะ 1. หนา้ กากปอ้ งกนั โควดิ -19 โจ้โท้ : เก่งจังเลย...แต่หน้ากากผา้ ตอ้ งซกั ก่อน น่างพู : อ้าว... ทาไมละคะ นามาใช้ซ้า แตต่ อ้ งไม่บางจนเกินไป 1. หนา้ กากอนามยั นา่ งพู : ออ้ ... เข้าใจแลว้ คะ่ 18 1) มลี กั ษณะแผ่นสเ่ี หล่ียมผนื ผา้ มสี ายคลอ้ งหูท้ังสองข้าง โจ้โท้ : ก็เพราะว่า..จะปอ้ งกนั เชอื้ โรคไม่ได้ไงจะ๊ ประกอบดว้ ย 3 ส่วน ไดแ้ ก่ - ชั้นนอก มีสีเข้มเป็นสารเคลือบกันน้า - ชน้ั กลาง กรองเช้อื โรค - ชนั้ ใน มสี อี ่อน เป็นวัสดุนมุ่ เพ่อื สมั ผัสกบั ผวิ 2) ไมส่ ามารถใชซ้ ้าได้ เมอื่ ใชแ้ ลว้ แยกทงิ้ ใสถ่ ุงขยะกอ่ นนาไปทาลาย หนา้ กากอนามัย 2. หนา้ กากผา้ 1) มลี กั ษณะส่เี หลี่ยมผืนผา้ มจี ีบตรงกลาง 2) เมอ่ื ทดลองฉดี พน่ น้าลงไป นา้ จะเกาะตวั เป็นหยดน้าไม่ซึมลงไป 3) ด้านนอกกันของเหลวได้และด้านในดูดซึมของเหลวได้ 4) เมื่อสวมใส่แล้วหายใจไมล่ าบากเกนิ ไปหรอื หายใจโลง่ จนเกนิ ไป 5) สามารถซักดว้ ยผงซักฟอกแลว้ นากลบั มาใชซ้ ้าได้ หน้ากากผ้า 17

ข้ันตอนการใส่หน้ากากอนามัย 1. ล้างมือให้สะอาดก่อน-หลัง สวมและถอด หนา้ กากทุกคร้ัง 2. จับสายคลอ้ งหทู ้ังสองขา้ ง 3. สวมคลมุ จมกู และปาก หนั ด้านสเี ข้มออก 4. ดัดลวดให้แนบกับสันจมูกและใบหน้า โจ้แด้ : อ้าว.. นา่ งพู ทาไมหนา้ กากเบยี้ ว โจ้โท้ : โถ...ต้องใส่แบบน้ีนะ แบบนน้ั ล่ะจะ๊ 5. ดึงขอบลา่ งใหค้ ลุมใต้คาง โจ้แด้ : ใชจ่ ะ๊ แลว้ บบี ให้แนบสนั จมูก น่างพู : แยจ่ งั ..หนูรีบมากคะ่ มันเลยเบย้ี ว และดงึ ให้คลุมคาง..แบบนี้ อ้างอิงจาก : กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข. (2563). “หน้ากากอนามยั ใสอ่ ยา่ งไรใหถ้ ูกต้อง”. แบบน้ี 1ส9ืบค้นเมือ่ 14 พฤษภาคม 2563. www.facebook.com ของ กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ โจ้โท้ : 55..ใสแ่ ล้วดูเหมือนคณุ หมอเลย.. นา่ งพู : 55 จริงหรอื ค่ะ.... 20

ทบทวนคาศพั ท์ จงจับคู่คาศัพทแ์ ละประโยคใหถ้ ูกต้อง ใบหน้า มีไวใ้ ช้คล้องสายท้ังสองข้าง ตา จมกู ตา ดงึ ถึงขอบล่าง ไว้ใหค้ ลมุ ....... มือ หู ปาก มไี ว้ใชพ้ ดู แพร่เชอื้ โดยงา่ ย หู คาง คอ พาหนะนาโรคมไี ว้ใช้ถือ หนา้ กาก มีสารคัดหล่งั ทเี่ ป็นนา้ มูก คาง จะไมต่ ดิ เช้อื ถา้ ไมข่ ย้ี จมูก ใชค้ ลุมจมกู และปาก ป้องกันเช้อื โรค ปาก 21 22

ข้นั ตอนการลา้ งมือป้องกนั โควดิ -19 สงิ่ จาเป็นท่ใี ชท้ าความสะอาดเชอ้ื โรค สบ่กู อ้ น สบเู่ หลว สบู่เหลว หมายเหตุ ควรล้างมือดว้ ยสบ่ปู ระมาณ 20 วินาที เชยี งราย น่าน โจ้โท้ : พอ่ ครับ.. พ่อหลวงให้อะไรเรามาครบั เจล เจล ALCOHOL เชียงใหม่ ตาก พอ่ : นเี่ ข้าเรยี กว่า เจลแอลกอฮอล.์ .จะ๊ แอลกอฮอล์ แอลกอฮอล์ 75% แม่ฮอ่ งสอน โจ้โท้ : เจว..แอว..กอ..ฮอ...ชื่อยาวจงั ใชท้ าอะไรครับ พ่อ : เอาไวท้ าความสะอาดมือ และพกพาไดจ้ ๊ะ 75 % 75 % 23 สว่ นสบู่ก็เอาไวใ้ ช้ท่บี า้ นเรา หมายเหตุ หลังจากใช้เจลหรอื แอลกอฮอล์ควรท้ิงไวใ้ หแ้ ห้งก่อน โจ้โท้ : โอ...เจลนม่ี กี ล่นิ ฉนุ นา่ ดูเลย มอี นั ตรายไหมครับ พ่อ : เพราะมสี ่วนผสมของแอลกอฮอลถ์ งึ 70 เปอรเ์ ซ็นต์ 24 สามารถฆา่ เชื้อโรคได้..แตต่ ้องระวงั ไมใ่ ห้เขา้ ตา ปาก และจมกู โจโ้ ท้ : ครบั ...แล้วแอลกอฮอลจ์ ะตดิ ไฟไหมครบั พอ่ ... พ่อ : ก็ตอ้ งระมดั ระวัง..เชน่ กนั จ๊ะ..ลกู

ขนั้ ตอนการล้างมอื 2. ใช้ฝ่ามือถูหลงั มอื และนว้ิ ถซู อกนิ้ว การลา้ งมือ ควรหมั่นล้างมือด้วยน้าและสบู่ท้ังก่อนและหลัง 3.ใช้ฝา่ มือถูฝ่ามือและนว้ิ ถูซอกนว้ิ รับประทานอาหาร และเม่ือสัมผัสส่ิงของที่ใช้ร่วมกับผู้อื่นหรือ 4. ใช้หลงั น้วิ ถฝู า่ มือ สิ่งสกปรก โดยล้างมอื ใน 7 ขัน้ ตอนประมาณ 20วินาที หรือใช้ เจลหรือสเปรย์ทีม่ สี ว่ นผสมของแอลกอฮอล์ 70 % ขึ้นไป 5. ใช้ฝา่ มอื ถูนว้ิ หวั แม่มือโดยรอบ 6. ใช้ปลายมอื น้ิวมอื ถูขวางฝา่ มอื ข้ันตอนการล้างมอื มีดงั นี้ 7. ใช้ฝ่ามือถรู อบข้อมอื 1. เรม่ิ ลา้ งด้วยน้าและสบู่ ใช้ฝา่ มอื ถูกัน 25 อ้างองิ จาก : สานกั งานกองทนุ สนบั สนุนการสร้างเสริมสขุ ภาพ. (2563). “คมู่ อื การจัดการโรงเรียนรับมือโควดิ -19”. สืบคน้ เมอ่ื 14 พฤษภาคม 2563. จาก https://resourcecenter.thaihealth.or.th 26

ทบทวนคาศพั ท์ จงเติมคาลงชอ่ งวา่ งในประโยคให้ถกู ตอ้ ง มอื 1. ใชน้ า้ และ .......... สบู่ ใช้ ............... ถูกัน หัวแม่มอื 2. ใชฝ้ ่ามอื ถูหลังมือ และ ............. ถซู อกน้ิว ฝา่ มอื นว้ิ 3. ใช้ฝา่ มอื ถู ............ และนวิ้ ถู ............... ซอกน้ิว 4. ใช้ ............... ถูฝา่ มอื ปลายนิ้วมือ 5. ใชฝ้ ่ามอื ถู ................... โดยรอบ หลงั มอื 6. ใช้ .................. นิ้วมือ ถูขวางฝา่ มอื 7. ใช้ฝ่ามือถูรอบ ................... 27 28

ตอนท่ี 4 1. จับคแู่ สดงบทบาทสมมตเิ ปน็ หมอ และ ผปู้ ่วย 2. ฝกึ ถาม-ตอบ ด้วยภาษาไทย และภาษาท้องถ่นิ ประโยคคาถามท่ีพบบ่อยเมือ่ ไปพบแพทย์ 3. สลับคู่เปน็ หมอ และ ผู้ปว่ ย การสอบถามประวัตผิ ปู้ ว่ ย ผูป้ ว่ ย หมอ คุณชื่ออะไร (ครบั /คะ) มอี าการอย่างไร / เปน็ อะไร มีอาการตรงไหน / เปน็ ตรงไหน เร่มิ เปน็ เม่อื ไร / เปน็ เมอ่ื ไร เออ..ดีจรงิ แล้วใคร ก็ โจโ้ ท.้ . กบั ..นา่ งพู เป็นบอ่ ยไหม จะมาชว่ ยสอนแม่เราล่ะลูก ไงละครบั ...พอ่ มีอาการอ่นื ด้วยไหม / เปน็ ตรงไหนอีก โจโ้ ท้ : พอ่ ครบั คนทตี่ ลาดเขาพดู พอ่ : ใช่จ๊ะ เวลาไปไหนคนเดยี วจะไดส้ ะดวก รกั ษาตัวมาอย่างไร / ภาษาไทยทกุ คนเลยไหมครับ แตย่ ังมีคนทไ่ี ม่เข้าใจภาษาไทยอย่นู ะ.. กินยาหรือรักษายงั ไง ก็แมเ่ ราไงล่ะลูก ด่ืมเหลา้ สูบบหุ รี่ไหม พอ่ : กเ็ กือบทุกคนนะ... มีโรคประจาตัวไหม โจ้โท้ : จรงิ ครบั ... ทโ่ี รงเรยี นเลยใหฝ้ กึ ฟงั ทานยาอะไรเปน็ ประจา โจโ้ ท้ : งั้น เราคงต้องฝึกพดู ภาษาไทย และพดู ภาษาไทยกับผใู้ หญ่ในหมู่บา้ น เคยแพ้ยาไหม บ่อย ๆ จะได้รูภ้ าษาไทยมากขึน้ ยิ่งชว่ งนี้มีโรค COVID-19 ระบาด จะได้รทู้ นั เหตุการณ์ครบั 30 29

...ครอบครัวลอ้ มรกั ชุมชนร่วมใจ... ..ปอ้ งกนั ภัยจากโควดิ -19.. การสอบถามอาการ ผู้ป่วย หมอ การตรวจร่างกาย ผ้ปู ่วย เจ็บคอไหม หมอ ตวั ร้อนมากไหม ขอวัดความดนั หนาวสน่ั ครน่ั เนื้อคร่นั ตวั ไหม ย่นื แขนมา ขอจบั ชีพจร ปวดหัวไหม ขอวัดไข้ ปวดตรงไหนอีก อา้ ปาก กวา้ งๆ ไอ จามบา้ งไหม อมปรอทไวใ้ ตล้ น้ิ ไอแห้ง หรอื ไอมีเสมหะ แลบล้นิ มเี ลือดปนออกมาดว้ ยไหม ขอตรวจเลือด ลองหายใจเข้าลึกๆ เจาะเลอื ด หายใจลาบากไหม ตรวจปัสสาวะ จมกู ได้กลนิ่ ไหม ตรวจอจุ จาระ เจบ็ ตรงไหน เวยี นหัว หรอื อาเจยี นบ้างไหม ท้องเสียไหม ถ่ายเหลวไหม อ่อนเพลยี ไหม 31 32

รู้เทา่ ทันไวรสั โคโรนา่ อ้างอิง ครูปุ๋ย : เดก็ ๆ วนั เสาร์อาทติ ย์น้ี โจแ้ ด้ : พอ่ จะพาผมจะไป โจ้โท้ : ผมจะไปไร่ น่างพู : หนจู ะชว่ ยแม่ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2563). “หน้ากากอนามยั ใส่อยา่ งไรให้ มใี ครจะไปเที่ยวท่ไี หนบา้ งคะ ซ้อื ชดุ นักเรียนใหม่ กับพ่อแม่ครบั ทางานบ้าน ถูกตอ้ ง”. สบื ค้นเมอ่ื 14 พฤษภาคม 2563. www.facebook.com ของ กรมควบคมุ โรค ท่ีตลาดในเมืองครบั และฝึกทอผา้ ค่ะ กระทรวงสาธารณสขุ ครปู ๋ยุ : ขยันจงั เลยค่ะ เด็กๆ ศนู ยบ์ รหิ ารสถานการณ์โควดิ -19 (ศบค.). (2563). รู้แลว้ นะ Concept New ห้องสมดุ Normal 5 อยา่ ง คอื อะไร?. สืบค้นเม่ือ 9 มิถุนายน 2563. จาก https://www.facebook.com/Sumnakkaow.PRD/posts/4553666241325527 สานกั งานกองทนุ สนับสนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ. (2563). “คู่มอื การจดั การโรงเรยี น รบั มือโควิด-19”. สืบคน้ เมอ่ื 14 พฤษภาคม 2563. จาก https://resourcecenter.thaihealth.or.th โรงพยาบาลรามคาแหง. (2563). วิธีสังเกตอาการ COVID-19. สบื ค้นเมือ่ 15 มถิ ุนายน 2563. จาก https://pantip.com/topic/39750788 ครปู ุ๋ย : โจแ้ ด้..ถา้ ไปตลาด โจ้แด้ : พกเจลแอลกอฮอล์ นา่ งพู : ใส่หน้ากากคะ่ โจโ้ ท้ : อยูห่ ่างๆ จะต้องป้องกนั ตนเอง ไว้ล้างมอื ครับ กับคนอนื่ ครับ อย่างไรคะ 34 ครูปยุ๋ : เกง่ มากคะ่ เดก็ ๆ และอยา่ ลืมไปบอกพอ่ แม่ และนอ้ งท่ีบา้ นดว้ ยนะคะ 33

ที่ปรกึ ษา 16. นางพทั ยา ชมถนอม สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 1. เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน 17. นายจักษภณ ดวี ังทอง สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1 2. รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน 3. นายการุณ สกุลประดษิ ฐ์ ขา้ ราชการบานาญ 18. นางสาวมาลี เจรญิ พนาวัลย์ สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2 4. นายสเุ ทพ ชิตยวงษ์ ข้าราชการบานาญ 5. นายบญุ รกั ษ์ ยอดเพชร ขา้ ราชการบานาญ 19. นางสาวธัญรดา สุขอว่ ม สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 6. นายทองอยู่ แกว้ ไทรฮะ ข้าราชการบานาญ 7. ผอู้ านวยการสานกั นโยบายและแผนการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน 20. นางสุภาพ รัตนประภา สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 2 8. ผ้อู านวยการสานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา 9. ผู้อานวยการสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา.....ระบเุ ฉพาะเขตของทา่ น..... 21. นายนริ นั ดร์ มงคล สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 2 22. นางสาวกนกอร ติ๊บหลาน สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแมฮ่ ่องสอน เขต 2 23. นางจติ ราภรณ์ เครอื ซุย สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2 คณะทางาน 24. นางสาวกระแสสนิ ธ์ุ ปล้องมะณี สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา 25. นางสาวปาริชาติ ศรจี ลุ ลา สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา 1. นางสาวสายสวลี วิทยาภคั สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 1 คณะปรบั ปรุงเนอ้ื หา 2. นายจตพุ ล อุปละ สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 1. นายปราโมทย์ เลิศชวี กานต์ ขา้ ราชการบานาญ 3. นายรัชชานนท์ วนั เพญ็ สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2 2. พญ.ภัทรยี า เลศิ ชวี กานต์ กุมารแพทยด์ า้ นพฒั นาการและพฤติกรรม 4. นางพรรณิภา ภยิ ะคา สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต 3 โรงพยาบาลกรุงเทพเชียงใหม่ 5. นางสาวเหมอื นฝนั พิจารณ์ สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 3 3. นางสาวอรอร ฤทธิก์ ลาง สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา 6. นางสาวธีรวรรณ จนั ทรว์ ชิ ชาพร สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 4 4. นางสาวเกษแกว้ ปวนแดง สานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 6 5. นางสาวสายสวลี วิทยาภัค สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 7. นางสาวประภัสสร ฟังชา้ สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต 4 6. นางพรมเมือง เทวตา สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 2 8. นางสาวหทัยวรรณ สิงหใ์ จ สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 3 7. นางสาวทพิ วรรณ ลาวเมือง สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 จัดทาเน้ือหาและเรียบเรยี ง สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา 9. นางพรกมล เกษามลู เจา้ สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3 นางสาวกระแสสนิ ธ์ุ ปล้องมะณี สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา ออกแบบรปู เล่ม สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา 10. นายจานง โปธาเก๋ยี ง สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 นางสาวกระแสสนิ ธ์ุ ปลอ้ งมะณี บรรณาธิการ 11. นางสาวชนกานต์ ทิพยอ์ ่นุ สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 นางสาวกระแสสินธ์ุ ปลอ้ งมะณี 12. นางสาวทพิ วรรณ นามแก้ว สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 5 13. นางสาวชชิ ญาสุ์ คุณาธรรม สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 5 14. นางพรรณี กันใหม่ สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6 จัดทาภาพอนิ โฟกราฟิก 15. นายกฤชพล ธรี ะเขมรักษ์ สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6 นางสาวปาริชาติ ศรจี ลุ ลา สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา