Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการดำเนินงานโครงการ SLC ระยะที่ 1 สพป.น่าน เขต 1

รายงานผลการดำเนินงานโครงการ SLC ระยะที่ 1 สพป.น่าน เขต 1

Description: รายงานผลการดำเนินงานโครงการ SLC ระยะที่ 1 สพป.น่าน เขต 1

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดาเนินงาน โครงการสง่ เสริมโรงเรยี นเป็นชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพ่อื พัฒนาสมรรถนะพลเมอื งร่นุ ใหม่ ระยะที่ 1 เอกสาร ศน. เลขที่ 19/2563 กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานา่ น เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ก คำนำ โครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพือ่ พัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ มีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อสรา้ งและออกแบบระบบ รปู แบบ กลไกส่งเสริมพฒั นา โรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ เพ่ือพัฒนาทีมหลัก (Core Team) และทีมพื้นที่ (Area Team) ในการส่งเสริมพัฒนาโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมรรถนะ พลเมืองรุ่นใหม่และเพื่อเสริมสร้างการพฒั นาโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้เพือ่ พัฒนาสมรรถนะพลเมอื ง รุ่นใหม่ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบรว่ มมือรวมพลัง (collaborative learning) และแนวทางพัฒนาโรงเรียน เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ได้ดาเนินงานตามโครงการ โดยใช้กระบวนการนิเทศแบบ เอส เอ็ม แอล พี (SMLP MODEL) มโี รงเรยี นนาร่อง จานวน 2 โรงเรียน ไดแ้ ก่ โรงเรยี นชมุ ชนบ้านนาคาและโรงเรียนบ้านเปา ในระยะท่ี 1 กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาได้เข้าร่วมประชุมชี้แจงโครงการ ระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานแต่งต้ังคณะทางานประชุมคณะทางานขับเคลื่อนโครงการ (Area Team) และคณะวิจัยโครงการ ลงพ้ืนที่ชี้แจงโครงการ จัดสรรงบประมาณให้โรงเรียนนาร่องเพ่ือจัดซ้ือ วัสดุจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการประชุมปฏิบัติการโรงเรียนประเมินตนเอง ศึกษาความต้องการจาเป็น (Needs Assessment) กาหนด วสิ ยั ทัศนแ์ ละแผนการพฒั นาของโรงเรียน หวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ระยะท่ี 1 สานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1 ฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน องค์กรและบุคลากรที่มีความสนใจ ในการนาไปขับเคลื่อนประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการการศึกษา และเพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการขับเคลื่อนโครงการส่งเสริมโรงเรียน เปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้และพฒั นาการศกึ ษาต่อไป กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

ข สำรบัญ เร่ือง หนำ้ คานา ก สารบญั ข รายงานผลการขบั เคลอ่ื นโครงการส่งเสรมิ โรงเรยี นเปน็ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ ระยะท่ี 1................................ 1 หลกั การและเหตผุ ล....................................................................................................................................... 1 วัตถุประสงค์…………………………………………………….…………………………………….…..…………........................... 2 เปา้ หมาย....................................................................................................................................................... 2 วิธดี าเนนิ การ……………………………………………………………………..………..........................…………….………….… 2 แนวทางการขบั เคลอ่ื นโรงเรยี นเป็นชมุ ชนแห่งการเรียนรู้……….........................………..…………………..……….. 2 การนเิ ทศการขบั เคล่ือนโรงเรยี นเป็นชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (SLC) โดยใช้กระบวนการนเิ ทศ แบบเอส เอ็ม แอล พี (SMLP MODEL)…………………………………….........................………..…………………..… 5 ผลการดาเนินงาน……………………………………………………………………..…………………………………………………… 6 ภาคผนวก...................................................................................................................................................... 7 บรรณานกุ รม............................................................................................................................................... 45 คณะผจู้ ัดทา.................................................................................................................................................. 46

รายงานผลการดาเนินงานโครงการสง่ เสรมิ โรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุน่ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษานา่ น เขต 1 1. หลักการและเหตุผล การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ได้น้ัน การจัดการศึกษาจะต้องส่งเสริมสนับสนุน ผู้เรียนให้มีความคิดที่เป็นเหตุเป็นผลในการทางาน สั่งสมความรู้และทักษะที่จาเป็นในการทางาน รู้จักการแสวงหาโอกาสและช่องทางในการทางาน สารวจและก้าวเข้าสู่โลกแห่งการทางาน ซ่ึงผู้เรียนจะต้อง ผ่านการเรยี นรู้ มีประสบการณ์ทจ่ี ะตัดสนิ ใจเรียนรแู้ ละเข้าสู่อาชีพในอนาคต โดยโรงเรยี นจะต้องมีความเข้าใจ ในการออกแบบหลักสูตรและการเรียนการสอน รวมถึงวิธีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, 2554) ซ่ึงปัจจัยสาคัญท่ีสุดคือ ความเป็นผู้นาของผู้บริหารโรงเรียน และสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้ของครู สอดคล้องกับองค์ประกอบของระบบการศึกษาของประเทศ ท่ีประสบความสาเร็จ ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ มี 8 ประการคือ การมีวิสัยทัศน์และภาวะผู้นา ที่เข้มแข็ง การต้ังมาตรฐานระดับสูง มีความมุ่งม่ัน ต้ังใจลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา การได้มาและคงไว้ ซึ่งครแู ละผู้บริหารโรงเรียนทม่ี ีคุณภาพ ความร่วมมือในการทางานของทกุ ภาคส่วนที่สอดคลอ้ งกัน การบรหิ าร และการจัดการที่ดีมีความรับผิดชอบ การสร้างแรงจูงใจในการเรียนแก่นักเรียน และการมุ่งเน้นพัฒนา เพื่ออนาคตในระดับโลก (ธรี ะเกยี รติ เจริญเศรษฐศิลป์, 2558) นอกจากน้ัน ผลงานวิจัยการพัฒนาโรงเรียนท่ีประสบผลสาเร็จของประเทศญ่ีปุ่น ที่สามารถสร้าง วัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ตามวิสัยทัศน์ร่วมของผู้บริหารโรงเรียน ครู และผู้เก่ียวข้องกับการจัดการเรียนรู้ใน โรงเรียน ด้วยการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ ท่ีได้ให้นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้ร่วมกัน ครูได้เรียนรู้ร่วมกันเพื่อ พัฒนาวิชาชีพ รวมท้ังเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและผู้เกยี่ วข้องในพ้นื ที่เข้ารว่ มปฏิรูปโรงเรียน (เออิสุเกะ ไซโตะ และคณะ. 2559) ซึ่งประเทศญี่ปุ่นได้นาวิสัยทัศน์ ปรัชญา และระบบกิจกรรมของชุมชนแห่งการเรียนรู้ ไปสง่ เสรมิ ในหลายประเทศ และประสบความสาเร็จ เชน่ ประเทศเวยี ดนาม อนิ โดนเี ซีย โดยมีทมี ผู้ช้ีแนะและ เปน็ พีเ่ ล้ยี งเขา้ ไปหนนุ เสริมการเรียนรูใ้ นโรงเรียน กรอบแนวคิดการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ เป็นการระดมสรรพกาลังของครูและบุคลากรในพื้นที่เพ่ือร่วมพัฒนาผู้เรียนให้เห็นคุณค่าของการเรียนรู้ และมีทักษะการเรียนรู้แบบร่วมมือรวมพลัง (Collaborative Learning) ซึ่งโรงเรียนจะมีการวิเคราะห์ สภาพปัจจุบันปัญหา และทิศทางการพัฒนาโรงเรียนให้สอดคล้องกับความต้องการของพื้นท่ีเพื่อจัดทา แผนพัฒนาคุณภาพหรือ School Improvement Plan และวางระบบการพัฒนาบทเรียนร่วมกันเพ่ือชุมชน แหง่ การเรียนรู้หรอื Lesson Study for Learning Community (LSLC) รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการส่งเสริมโรงเรียนเปน็ ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning Community) เพ่อื พัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1

2 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพ่ือสร้างและออกแบบระบบ/ รูปแบบ/ กลไกส่งเสริมพัฒนาโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรยี นรู้ เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ 2.2 เพ่ือพัฒนาทีมหลัก (Core Team) และทีมพ้ืนท่ี (Area Team) ในการส่งเสริมพัฒนาโรงเรียน เปน็ ชุมชนแห่งการเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งร่นุ ใหม่ 2.3 เพ่ือเสริมสร้างการพัฒนาโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือรวมพลัง (collaborative learning) และแนวทางพัฒนาโรงเรียน เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ 2.4 เพือ่ พฒั นาศกั ยภาพครูในการพัฒนาสมรรถนะพลเมอื งร่นุ ใหม่ 3. เปา้ หมาย 3.1 เชิงปริมาณ : ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และนักเรียนในโรงเรียนนาร่องเพื่อเป็นผู้นา การเปลย่ี นแปลง จานวนท้งั สิ้น ๒ โรงเรยี น ไดแ้ ก่ โรงเรียนชมุ ชนบ้านนาคาและโรงเรยี นบ้านเปา 3.2 เชิงคุณภาพ : ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และนักเรียนในโรงเรียนนาร่องเพ่ือเป็นผู้นา การเปลี่ยนแปลง ได้รับการพัฒนาโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ แบบร่วมมือรวมพลัง (collaborative learning) และแนวทางพัฒนาโรงเรียน เปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ 4. วธิ ดี าเนินการ/ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน ตามกระบวนการ Deming Cycle : PDCA และ กระบวนการนิเทศ แบบ เอส เอม็ แอล พี (SMLP MODEL) 4.1 ประชมุ ชีแ้ จงโครงการ (Plan) 4.2 ลงพ้ืนทีช่ ีแ้ จงโครงการ เกบ็ ข้อมลู พน้ื ฐานเพ่อื การวิจัยโรงเรยี นนารอ่ ง (Do) 4.3 ติดตามและประเมินประสิทธิผลโครงการ (Check) 4.4 สรปุ และรายงานผลการดาเนินงานโครงการ (Check) 4.5 สะทอ้ นผลการดาเนนิ งานโครงการ (Act) 5. แนวทางการขับเคลือ่ นโรงเรียนเป็นชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ดาเนินการขับเคลื่อนโรงเรียนเป็นชุมชน แหง่ การเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ โดยใช้กระบวนการ นเิ ทศแบบ เอส เอ็ม แอล พี (SMLP MODEL) ดงั แผนภาพที่ 1 และแผนภาพที่ 2 รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสรมิ โรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพื่อพฒั นาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ระยะที่ 1 สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

3 แผนภาพที่ 1 รปู แบบการนิเทศการขับเคลอื่ นโรงเรยี นเปน็ ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (SLC) โดยใชก้ ระบวนการนเิ ทศแบบ เอส เอ็ม แอล พี (SMLP MODEL) S = Self Assessment หมายถึง การประเมินตนเองโดยผ้บู ริหารสถานศึกษา คณะ ก ร ร มก ารสถานศึก ษาข้ันพื้นฐาน คณะ ครู M = Mentoring และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตามทฤษฎี SWOT Analysis L = Learner Skill หมายถึง ระบบพี่เลย้ี งในการจดั การความรู้ การสอนงาน P = Professional Learning Community แนะนา บอก จากความร้แู ละประสบการณ์ของ Mentor หมายถึง ทกั ษะในการเป็นนักเรียนรู้ หมายถึง ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ การรวมตวั ร่วมใจ ร่วมพลัง ร่วมทา และร่วมเรียนรู้ร่วมกัน บนพื้นฐาน วฒั นธรรมความสมั พนั ธแ์ บบกัลยาณมติ ร รายงานผลการดาเนินงานโครงการสง่ เสรมิ โรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอื่ พัฒนาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ ระยะที่ 1 สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

4 แผนภาพท่ี 2 กรอบแนวคดิ การนิเทศการขบั เคลือ่ นโรงเรียนเปน็ ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (SLC) โดยใชก้ ระบวนการนเิ ทศแบบ เอส เอม็ แอล พี (SMLP MODEL) สรุป รายงานและสะท้อนผลการดาเนินงาน/ ขยายผลประชาสัมพันธ์ ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ มีคุณภาพ (Professional Learning Community) ติดตามและประเมนิ ทักษะในการเปน็ นักเรยี นรู้ (Learner Skill) ประสิทธผิ ล ปรับปรงุ / ระบบพเี่ ลี้ยง พัฒนา (Mentoring) ไมม่ คี ุณภาพ การช้ีแนะและเป็นพเี่ ลยี้ ง (Mentoring) & การนเิ ทศแบบครบวงจร 7 ขั้นตอน (7 Step) ขนั้ ตอนท่ี 1 สรา้ งความตระหนัก ขั้นตอนท่ี 2 ใหค้ วามรแู้ ละทกั ษะ ขั้นตอนท่ี 3 สรา้ งพันธกรณี ขัน้ ตอนที่ 4 นิเทศ ตดิ ตามผล และใหผ้ ลยอ้ นกลบั เพอื่ พัฒนา ขัน้ ตอนที่ 5 เสรมิ ความรเู้ พอื่ สร้างความเขม้ แข็ง ข้นั ตอนท่ี 6 เสรมิ แรงและชน่ื ชมความสาเรจ็ ขน้ั ตอนท่ี 7 ประเมินผลการนเิ ทศ สรุปและรายงานผลการนิเทศ การประเมนิ ตนเอง ประเมินตนเองตามทฤษฎี (Self Assessment) SWOT Analysis กรอบแนวคิดการนเิ ทศการขับเคล่ือนโรงเรียนเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (SLC) ค โดยใช้กระบวนการนเิ ทศแบบ เอส เอ็ม แอล พี (SMLP MODEL) ณ ะ รายงานผลการดาเนินงานโครงการสง่ เสรมิ โรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) ก เพือ่ พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ ระยะท่ี 1 ร ร สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานา่ น เขต 1 ม

5 การนิเทศการขับเคลื่อนโรงเรยี นเป็นชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (SLC) โดยใชก้ ระบวนการนเิ ทศแบบ เอส เอม็ แอล พี (SMLP MODEL) ขน้ั ตอนท่ี 1 การประเมนิ ตนเอง (Self Assessment : S) การประเมินตนเอง ตามทฤษฎี SWOT Analysis เพ่ือวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค ในการดาเนนิ งานของสถานศึกษาทั้ง 4 ด้าน (ด้านบริหารจัดการ ด้านบุคลากร ด้านงบประมาณและด้านวสั ดุ อปุ กรณ)์ และด้านอน่ื ๆ ทเ่ี กดิ จากการระดมสมอง (Brain Storming) ของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา คณะกรรมการ สถานศึกษาข้ันพื้นฐาน คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยจัดประชุมปฏิบัติการโรงเรียนประเมนิ ตนเอง ศึกษาความต้องการจาเป็น (Needs Assessment) กาหนด วิสยั ทศั นแ์ ละแผนการพฒั นาของโรงเรยี น ขนั้ ตอนท่ี 2 การชี้แนะและเปน็ พเ่ี ล้ยี ง (Mentoring : M) และการนิเทศแบบครบวงจร 7 ข้นั ตอน 2.1 การนาผลการประเมนิ ตนเอง วางแผนพฒั นาสง่ เสรมิ โรงเรียนเป็นชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพือ่ พฒั นาสมรรถนะพลเมืองรุน่ ใหม่ โดยกาหนดตวั ชว้ี ดั ความสาเร็จ (KPI) ดังนี้ 2.1.1 รอ้ ยละ 100 ของผ้บู ริหารสถานศึกษาโรงเรียนนารอ่ งเป็นผู้นาการเปลีย่ นแปลง 2.1.2 ร้อยละ 80 ของครูในโรงเรียนนาร่องมีความรู้ ความเข้าใจและจัดการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการเรียนรแู้ บบร่วมมอื รวมพลงั (collaborative learning) 2.1.3 ร้อยละ 80 ของนักเรียนในโรงเรียนนาร่องมีทักษะตามศตวรรษที่ 21 และสมรรถนะ พลเมอื งรุน่ ใหม่ 2.2 การช้แี นะและเปน็ พ่เี ล้ียงของทมี หลกั ทีมพน้ื ทีแ่ ละการนิเทศแบบครบวงจร 7 ข้นั ตอน ดังน้ี ขั้นตอนท่ี 1 สร้างความตระหนกั ขั้นตอนท่ี 2 ให้ความรู้และทักษะ ขนั้ ตอนที่ 3 สรา้ งพันธกรณี ขน้ั ตอนท่ี 4 นิเทศ ติดตามผลและให้ผลย้อนกลับเพื่อพฒั นา ข้ันตอนที่ 5 เสรมิ ความรเู้ พ่ือสรา้ งความเขม้ แข็ง ขั้นตอนที่ 6 เสรมิ แรงและชนื่ ชมความสาเร็จ ขัน้ ตอนท่ี 7 ประเมนิ ผลการนเิ ทศ สรุปและรายงานผลการนิเทศ 2.3 การนเิ ทศติดตามผลการดาเนนิ งานโดยการจัดกิจกรรม open classroom การจัด Symposium เพื่อแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และศึกษาผลการพัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสริมโรงเรยี นเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพือ่ พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1

6 ขน้ั ตอนท่ี 3 ทักษะในการเป็นนักเรยี นรู้ (Learner : L) โดยมีคุณสมบตั ิ 9 ประการ ดงั น้ี 1. ทักษะการมีความอดทน อดกลั้น 2. ทกั ษะการปรบั ตัว 3. ทกั ษะการมีจินตนาการ 4. ทกั ษะการทางานเป็นทมี 5. ทักษะการยอมรบั ความเส่ียงของสิ่งที่ทา 6. ทักษะการเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 7. ทักษะการสื่อสาร 8. ทกั ษะการให้คาปรึกษา 9. ทกั ษะความเปน็ ผู้นา ขน้ั ตอนท่ี 4 ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (Professional Learning Community : P) ชุมชนแห่งการเรียนรู้ การรวมตัว ร่วมใจ ร่วมพลัง ร่วมทา และร่วมเรียนรู้ร่วมกัน บนพ้ืนฐาน วฒั นธรรมความสัมพนั ธแ์ บบกัลยาณมิตร 6. ผลการดาเนินงาน ระยะท่ี 1 6.1 ดาเนนิ การแตง่ ตง้ั คณะกรรมการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1 6.2 ประชุมคณะทางานขับเคลื่อนโครงการ (Area Team) และคณะวจิ ยั โครงการ 6.3 จัดสรรงบประมาณให้โรงเรียนนาร่องเพอื่ จัดซอ้ื วัสดุจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้แก่ โรงเรียนชุมชน บา้ นนาคาและโรงเรยี นบ้านเปา โรงเรยี นละ 15,000 บาท 6.4 จดั ประชมุ ปฏิบตั ิการโรงเรียนประเมินตนเอง ศึกษาความต้องการจาเปน็ (Needs Assessment) กาหนด วิสัยทัศน์และแผนการพัฒนาของโรงเรียนนาร่อง ได้แก่ โรงเรียนชุมชนบ้านนาคา ในวันท่ี 19 พฤษภาคม 2563 ณ หอ้ งประชุมโรงเรียนชุมชนบา้ นนาคา และโรงเรยี นบ้านเปา ในวันที่ 22 พฤษภาคม 2563 ณ หอ้ งประชมุ โรงเรียนบา้ นเปา 6.5 จัดต้ังกลุ่มไลน์ “SLC น่าน เขต 1” เพจ “โครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ สพป.นา่ น เขต 1” ในเฟซบุก๊ และจดหมายขา่ ว SLC Newsletter เพ่ือเปน็ ชอ่ งทางการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสรมิ โรงเรียนเปน็ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1

7 ภาคผนวก รายงานผลการดาเนินงานโครงการสง่ เสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพื่อพฒั นาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ ระยะที่ 1 สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1

8 รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสรมิ โรงเรียนเป็นชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning Community) เพ่ือพฒั นาสมรรถนะพลเมืองรุน่ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

9 รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสรมิ โรงเรียนเป็นชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning Community) เพ่ือพฒั นาสมรรถนะพลเมืองรุน่ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

10 รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสรมิ โรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ ระยะที่ 1 สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

11 รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสรมิ โรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ ระยะที่ 1 สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

12 รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสรมิ โรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ ระยะที่ 1 สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

13 สิง่ ท่มี าด้วย 1 กาหนดการประชุมปฏบิ ตั ิการโรงเรียนประเมนิ ตนเอง ศกึ ษาความต้องการจาเป็น (Needs Assessment) กาหนดวสิ ัยทัศน์และแผนการพัฒนาโรงเรียนนาร่อง โครงการส่งเสริมโรงเรียนเปน็ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1 *********************************************************** วนั ท่ี 19 พฤษภาคม 2563 ณ หอ้ งประชมุ โรงเรียนชุมชนบ้านนาคา ผู้เขา้ รว่ มประชุม ไดแ้ ก่ ผู้บรหิ าร ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษา ขัน้ พน้ื ฐานโรงเรยี นชมุ ชนบ้านนาคา วนั ที่ 22 พฤษภาคม 2563 ณ ห้องประชุมโรงเรียนบา้ นเปา ผู้เขา้ รว่ มประชมุ ไดแ้ ก่ ผู้บริหาร ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษา ข้นั พ้ืนฐานโรงเรยี นบ้านเปา 08.00 – 08.30 น. ลงทะเบียน 09.00 – 09.30 น. ประธานในพธิ ีกล่าวเปดิ การอบรม และบรรยายพิเศษ 09.30 – 10.00 น. การบรู ณาการความรว่ มมอื เพ่ือยกระดบั คุณภาพการจัดการศึกษาในโรงเรียน โดย นายสุรชาติ ภูผาผุย ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา 10.00 – 10.30 น. ก าร พัฒ น าโร ง เรียน ให้เป็น ชุมชนแห่ง การ เรียนรู้ ( School as Learning Community) โดย นายวันชัย ภผู าคณุ ศกึ ษานเิ ทศก์ 10.30 – 12.00 น. เป้าหมายการดาเนินงานโครงการโรงเรียนให้เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) โดย นายชาติชาย ทนะขว้าง ศึกษานิเทศก์ 13.00 – 14.15 น. กจิ กรรมปฏบิ ตั ิการโรงเรยี นประเมินตนเอง ศกึ ษาความตอ้ งการจาเป็น (Needs Assessment) กาหนดวสิ ัยทศั น์และแผนการพฒั นาโรงเรยี นนาร่อง โดย คณะศกึ ษานเิ ทศก์ 14.30 – 16.00 น. นาเสนอและวพิ ากษ์การจัดกิจกรรมปฏิบัติการโรงเรยี นประเมินตนเอง 16.00 – 16.30 น. อภิปราย ซักถาม เสนอแนะ 17.00 น. พธิ ีปิดการประชุมปฏิบตั กิ าร หมายเหตุ พักรบั ประทานอาหารวา่ ง เคร่ืองด่ืม เวลา 10.30 น. และ 14.00 น. รบั ประทานอาหารกลางวนั เวลา 12.00 น. ตารางนอ้ี าจปรับไดต้ ามความเหมาะสม รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสรมิ โรงเรยี นเปน็ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ ระยะท่ี 1 สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1

14 สิง่ ท่ีมาด้วย 2 จัดสรรงบประมาณโรงเรียนนาร่องเพ่อื จดั ซือ้ วสั ดจุ ดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ โครงการส่งเสรมิ โรงเรียนเปน็ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1 ท่ี โรงเรยี น จานวน หมายเหตุ 1 โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นนาคา 15,000 - 2 โรงเรียนบ้านเปา 15,000 - 30,000 – รวมทั้งสิน้ (สามหมนื่ บาทถ้วน) รายงานผลการดาเนินงานโครงการสง่ เสรมิ โรงเรียนเป็นชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning Community) เพอื่ พัฒนาสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1

15 กจิ กรรมประชุมคณะทางานขับเคล่อื นโครงการ (Area Team) และคณะวิจยั โครงการ สพป. นา่ น เขต 1 ได้จดั ต้ังกล่มุ ไลน์ “SLC นา่ น เขต 1” เพจ “โครงการส่งเสริมโรงเรยี นเปน็ ชุมชน แห่งการเรยี นรู้ สพป.นา่ น เขต 1” ในเฟซบุ๊ก และจดหมายข่าว SLC Newsletter เพ่อื เปน็ ชอ่ งทางการส่อื สาร ประชาสัมพันธ์ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ รายงานผลการดาเนินงานโครงการสง่ เสรมิ โรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning Community) เพื่อพฒั นาสมรรถนะพลเมอื งร่นุ ใหม่ ระยะที่ 1 สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1

16 กจิ กรรมประชุมปฏบิ ตั ิการโรงเรียนประเมินตนเอง ศึกษาความต้องการจาเปน็ (Needs Assessment) กาหนด วิสัยทศั นแ์ ละแผนการพัฒนาของโรงเรียนนาร่อง โรงเรยี นชมุ ชนบ้านนาคา วนั ท่ี 19 พฤษภาคม 2563 ณ หอ้ งประชมุ โรงเรียนชุมชนบ้านนาคา ประธานในพธิ โี ดย นายสรุ ชาติ ภผู าผยุ ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา ผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมประกอบดว้ ย ผูบ้ ริหาร ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ข้นั พนื้ ฐานโรงเรยี นชมุ ชนบา้ นนาคาและคณะทางานจากสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1 รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

17 กิจกรรมประชุมปฏบิ ัตกิ ารโรงเรยี นประเมินตนเอง ศึกษาความตอ้ งการจาเปน็ (Needs Assessment) กาหนด วสิ ัยทศั นแ์ ละแผนการพฒั นาของโรงเรยี นนาร่อง โรงเรยี นบ้านเปา วันท่ี 22 พฤษภาคม 2563 ณ หอ้ งประชมุ โรงเรียนบ้านเปา ประธานในพิธีโดย นายสุรชาติ ภูผาผุย ผู้อานวยการกลุม่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา ผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมประกอบดว้ ย ผูบ้ รหิ าร ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ขนั้ พนื้ ฐานโรงเรียนบ้านเปาและคณะทางานจากสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานา่ น เขต 1 รายงานผลการดาเนินงานโครงการสง่ เสริมโรงเรยี นเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพ่อื พฒั นาสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

18 ขอ้ มูลครคู ่คู ดิ (Buddy Teacher) การสง่ เสริมโรงเรยี นเป็นชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (School as Learning Community : SLC) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่การปฏริ ูปชั้นเรยี น ด้วยการเรยี นร้แู บบร่วมมอื รวมพลัง โรงเรยี นบ้านเปา สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษานา่ น เขต 1 ครู ชื่อ – สกุล ตาแหน่ง วิชาทส่ี อน/ ช้ัน หมาย คคู่ ิด กิจกรรมการเรียนรู้ เหตุ (เลอื กมา 1 รายวชิ า) 1 นายพรชยั คาฟู ครู คณิตศาสตร์ ม.1-3 นายปรชี า ก้อนคา ครู ภาษาไทย ม.1-3 2 นายพงษ์ทัต กติ ติ ุ้ย ครู การงานอาชพี ม.1-3 นายณฐั จกั ร สุทธิ ครู สขุ ศกึ ษาพลศกึ ษา ป.4-ม.3 3 นางสาวมนต์นภัส ถาเมือง ครู ศิลปะ ป.1-ม.3 นางสาววนั วสิ าข์ สาบุญมา ครู คอมพวิ เตอร์ ป.4-ม.3 4 นางสาวขวัญกมล สีธิ วิทยาการคานวณ ครู วทิ ยาศาสตร์ ป.4-ม.3 นายปรชี า มาอ้าย ครู แนะแนว ป.4-ม.3 5 นายชนสิษฏ์ จอมเดชา ครู ภาษาองั กฤษ ป.1-ป.6 นางสาวจฑุ ามาศ ศรใี จ ครู ภาษาไทย ป.4-ป.6 6 นางสาวภมู รินทร์ คงเสมา พนกั งาน ภาษาไทย ป.1 ราชการ นางสาวธรี วรรณ ติบ๊ บุญศรี ครูอตั ราจ้าง คณิตศาสตร์ ป.3-ป.6 7 นางสาวปารฉิ ัตร วาณชิ กุล ปฐมวยั อบ.2 ครู นางวราพร กาวนี ุ ครู ปฐมวัย อบ.3 8 นางสาวนนิ วรรณา ขตั ตยิ ะ ครูอตั ราจ้าง สงั คมศกึ ษา ป.4-ม.3 นางสาวรตั นาพร ใจมา ครพู เี่ ลย้ี ง ภาษาไทย ป.1-ป6 9 นางสาวกชกร นิลคง ครู ภาษาองั กฤษ ป.4/ม.1-3 นางมารศรี สายสูง ครู ภาษาไทย ป.2 10 นางฉวี เรอื งการนิ ทร์ ครู ภาษาไทย ป.3 นายภานมุ าศ ปาฟอง ผอู้ านวยการ - รร. รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสรมิ โรงเรยี นเป็นชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1

19 ข้อมลู ครคู ู่คดิ (Buddy Teacher) การสง่ เสริมโรงเรียนเปน็ ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (School as Learning Community : SLC) เพ่ือพฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรุน่ ใหม่การปฏิรูปชั้นเรยี น ด้วยการเรยี นรูแ้ บบรว่ มมอื รวมพลงั โรงเรยี นชมุ ชนบ้านนาคา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษานา่ น เขต 1 ครู ชือ่ – สกลุ ตาแหน่ง วชิ าทส่ี อน/ ชนั้ หมายเหตุ คู่คิด กิจกรรมการเรยี นรู้ (เลือกมา 1 รายวิชา) 1 นางสาลี นนั ภวิ งค์ ครู ภาษาไทย ป. 3 - 6 ป.4 - 6 นางสวุ ญิ ชา คาแปงตนั ครู ป.1 2 นางปิลันธนา ปงิ วงค์ ครู วทิ ยาศาสตร์ ป.2 ป.4 นายอภชิ น สมหนา้ ครู ป.3 3 นางเยาวลักษณ์ ขัตเิ นตร ครู ภาษาไทย นางสาวชวลั รัตน์ แปงอดุ ครู 4 นางละเอยี ด นนั ตา ครู ภาษาไทย นายชัยชนะ โพธ์ิศรีทองสกุล ครู 5 นางอญั ธิกา ป่าหวาย ครู ภาษาอังกฤษ นางสาวเวฬวุ ลั ย์ ไสยมรรคา ครู 6 นายอนชุ ติ แก้วหลวง ครู คณติ ศาสตร์ นางสาวรตั ิกาล ขัติเนตร ครู 7 นายสมยศ แคว้งไชย ครู รายงานผลการดาเนินงานโครงการสง่ เสริมโรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพ่อื พัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ ระยะท่ี 1 สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1

สรุปผลการวิเคราะห์องค กจิ กรรมประชมุ ปฏิบัติการโรงเรียนประ (Needs Assessment) กาหนดวสิ ัยท โครงการส่งเสริมโรงเรียนเปน็ ชุมชนแห่งการเร เพอื่ พัฒนาสมรรถน รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสง่ เสรมิ โรงเรยี นเป็นชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning โรงเรียนชุมชนบา้ นนาคา สานักงา Community) เพือ่ พฒั นาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1 รายการ จุดแขง็ ด้านบคุ ลากร (M1) 1. ครคู รบทุกระดบั ชน้ั ครบตาม 1. ครูมีภาระง เกณฑ์ 2. ขาดแคลน 2. ครูและบุคลากรทางก าร ศึก ษา วิ ทย ศึกษามีประสบการณ์ในการ นาฏศิลปแ์ ละ จัดการเรียนการสอน 3. ครูมีการด 3. ครูและบุคลากรทางการ เต็มที่เนื่องจ ศึกษามีความมุ่งม่ัน ใน ก าร มาก ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่การสอน 4. บุคลากรย 4. ครูและบุคลากรทางการ ด้ า น ก า ร ใ ช ศกึ ษาอาศัยอยใู่ นชมุ ชน ประยุกต์ในก 5. บุคลากรมีความรับผิดชอบ 5. ครูมีภาระ ตามบทบาทหน้าทีข่ องตนเอง วิชา รายงาน

คก์ ร (SWOT Analysis) 20 อปุ สรรค ะเมนิ ตนเอง ศกึ ษาความตอ้ งการจาเป็น ทศั น์และแผนการพัฒนาโรงเรยี นนารอ่ ง รยี นรู้ (School as Learning Community) นะพลเมอื งรุ่นใหม่ านเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาน่าน เขต 1 จุดอ่อน โอกาส งานพิเศษมากเกินไป 1. ได้รับการจัดสรรบุคลากร นครูในรายวิชาสังคม ทางการศึกษาตาแหน่งเจ้าหนา้ ที่ ยาศาสตร์ ดน ตรี ธุรการจากต้นสังกัดและนักการ ะพลศึกษา ภารโรงโดยใช้งบประมาณจาก ดูแลนักเรียนได้ไม่ สถานศกึ ษา ากนักเรียนมีจานวน 2. บคุ ลากรมโี อกาสไดร้ ว่ มพัฒนา ทกั ษะวชิ าชพี และพัฒนาตนเอง ยังไม่มีความชานาญ 3. ไ ด้ รั บ ค ว า ม อ นุ เ ค ร า ะ ห์ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี เ พ่ื อ บุคลากรภายนอกให้ความรู้และ การจดั การเรียนรู้ ร่วมจดั การเรยี นรู้ ะงานสอนในหลาย นผลการดาเนินงานโครงการส่งเสรมิ โรงเรียนเปน็ ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning Community) 20 เพอื่ พัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุน่ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

รายการ จุดแขง็ ด้านงบประมาณ (M2) 6. บุคลากรท สภาพแวดล รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสง่ เสรมิ โรงเรยี นเป็นชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning ไม่เพียงพอตอ่ Community) เพือ่ พฒั นาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1 1. โรงเรียนมีการจัดทาแผน 1. ข า ด บุ ค งบประมาณที่ชัดเจนเหมาะสม ความสามาร 2. วางแผนการใช้งบประมาณ และบัญชี อยา่ งเปน็ ระบบ 2. งบประมา 3. มีบุคลากรรบั ผดิ ชอบ ไม่สอดคล้อง 4. ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ปจั จบุ ัน จ า ก ต้ น สั ง กั ด ต า ม ร า ย หั ว 3. บุคลากรท นักเรียนท่ีมจี านวนมากสามารถ สารองจ่ายง น า ไ ป พั ฒ น า ไ ด้ ต า ม ค ว า ม รายการทาให ต้องการ รายงาน

21 จดุ ออ่ น โอกาส อปุ สรรค ที่ดูแลอาคารสถานท่ี 4. มีนักศึกษาฝึกประสบการณ์ ล้อมของโรงเรียน วิชาชีพครูจากมหาวิทยาลัย อพน้ื ที่ เป็นบคุ ลากรสนบั สนนุ ล า ก ร ที่ มี ค ว า ม รู้ ได้รับสนับสนุนงบปร ะ ม าณ ขอ้ จากัดเก่ยี วกับระเบียบและ รถด้านพัสดุ การเงิน ผูป้ กครอง ข้ั น ต อ น ก า ร เ บิ ก จ่ า ย งบประมาณ าณท่ีได้รบั การจัดสรร งกับสภาพเศรษฐกิจ ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ต้ อ ง งบประมาณในบาง ห้เป็นภาระสว่ นตัว นผลการดาเนินงานโครงการส่งเสริมโรงเรียนเปน็ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) 21 เพ่อื พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ ระยะที่ 1 สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

รายการ จดุ แขง็ ด้านวสั ดุอุปกรณ์ (M3) 1. ครูสามารถจัดหาส่ือวัสดุ 1. วั ส ดุ อุ ป อุปกรณ์ท่ีเอ้ือต่อการจัดการ ไม่เพียงพอ เรียนการสอน 2. วัสดุอุปกร รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสง่ เสรมิ โรงเรยี นเป็นชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning 2. ครูและบุคลากรมีความรู้ ต้องการ Community) เพือ่ พฒั นาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1 ความเข้าใจในการใช้งานวัสดุ 3. วัสดุอุปกร อปุ กรณ์ ประสิทธิภาพ ราคาสงู ดา้ นการบริหารจดั การ (M4) 1. มีการกาหนดหน้าที่ความ 1. เน่ืองจาก รับผิดชอบตามความถนัดและ ส่งผลต่อประ ความพึงพอใจของบุคลากร ตอ่ เนอ่ื งในกา 2. มี แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร เ ป็ น 2. ขาดการป แนวทางในการบริหารจัดการ มีข้อจากัดใน อยา่ งเปน็ ระบบ งานมาก 3. ผบู้ ริหารกาหนดแนวทางการ 3. ครูมุ่งจัดก บรหิ ารจัดการชัดเจน ส่ง ผลต่อ ก า โครงการทรี่ บั รายงาน

22 จดุ ออ่ น โอกาส อปุ สรรค ป ก ร ณ์ มี จ า น ว น ได้รับการสนับสนุนจากชุมชน 1. ระเบียบการบริจาคของ และผู้ปกครองและหนว่ ยงานอื่น ก ร ม ส ร ร พ า ก ร มีข้ัน ตอน รณ์ไม่ตรงตามความ ยุ่งยากตอ่ การบรหิ ารจดั การ 2. ขาดงบประมาณในการ รณ์บางประเภทไม่มี จดั ซ้อื วสั ดุ อปุ กรณ์ พ ไม่ทันสมัยและมี 3. ต้อ ง ใช้ง บปร ะ มาณสูง ใ น ก า ร บ า รุ ง รั ก ษ า วั ส ดุ อปุ กรณ์ 4. ขาดพาหนะในการขนส่ง วสั ดอุ ุปกรณท์ ่มี ีขนาดใหญ่ กมีการย้ายบุคลากร ะสบการณ์และความ ารปฏิบตั ิงาน ประสานงานเน่ืองจาก นเร่ืองเวลาและภาระ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น าร บริหาร จัดก าร บผดิ ชอบ นผลการดาเนินงานโครงการสง่ เสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning Community) 22 เพือ่ พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งร่นุ ใหม่ ระยะที่ 1 สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1

รายการ จุดแขง็ ด้านอ่ืน ๆ 4. ผู้บริหารส ด้านอาคารสถานท่ี ห น้ า ท่ี ห ล า ความรว่ มมือของชมุ ชน ดา้ นนักเรียน สถานศึกษา รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสง่ เสรมิ โรงเรยี นเป็นชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning ระดับเขตพน้ื Community) เพือ่ พฒั นาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1 1. มีพื้นที่กว้างขวางสามารถ 1. ไมม่ ีพืน้ ที่ส ร อ ง รั บ จั ด กิ จ ก ร ร ม ห รื อ จานวนนักเรีย สิ่งกอ่ สรา้ งได้เพยี งพอ 2. ไม่มีจดุ บร 2. เป็นศนู ยก์ ลางการเรยี นรู้ของ รอรถรบั – ส ชุมชนมีความสะดวกในการจัด 3. อาคารเรีย กิจกรรม อาจเกิดอันตร 4. ขาดสนาม ได้รับความร่วมมือจากชุมชน ผู้ปกครอง วดั 1. นักเรียนม หลากหลายแ การจัดกิจกร เต็มท่ีเพราะ เดินทาง 2. น ญาติที่เป็นผู้ส รายงาน

23 จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค สถานศึกษามีบทบาท า ก ห ล า ย ใ น ร ะ ดับ กลุ่มโรงเรียนและ นทีก่ ารศึกษา สาหรับรองรบั ต่อการ ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง ได้รับการพัฒนาสิ่งก่อสร้าง ยนท่ีมจี านวนมาก และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และสภาพแวดล้อมไม่ตรง รกิ ารนกั เรียนระหว่าง ในการพัฒนาอาคารสถานที่ ตามเป้าหมายและ คว าม สง่ ในช่วงฤดฝู น ภายในโรงเรียน ต้องการ ยนเก่าแก่ทรุดโทรม รายได้ มเด็กเลน่ มาจากพื้นท่ีท่ีมีความ 23 และห่างไกลส่งผลต่อ รรมหลังเลิกเรียนไม่ ะต้องใช้เวลาในการ นักเรียนอาศัยอยู่กับ สงู วยั มฐี านะยากจน นผลการดาเนินงานโครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอื่ พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ ระยะที่ 1 สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1

สรปุ ผลการวเิ คราะหอ์ งค กิจกรรมประชมุ ปฏบิ ัติการโรงเรียนประ (Needs Assessment) กาหนดวิสยั ท โครงการสง่ เสรมิ โรงเรยี นเป็นชุมชนแหง่ การเร รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสง่ เสรมิ โรงเรยี นเป็นชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning เพือ่ พฒั นาสมรรถน Community) เพือ่ พฒั นาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1 โรงเรียนบา้ นเปา สานักงานเข รายการ จุดแขง็ ด้านบคุ ลากร (M1) 1. ครูครบทกุ ระดบั ชน้ั 1. ครมู ภี าระง 2. ครูและบุคลากรทางก าร 2. ครูในบางก ศึกษามีการพัฒนาตนเองด้าน สอนไม่ตรงส วชิ าการอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ตามความถน 3. ครูและบุคลากรทางการ 3. บุคลากรอ ศึกษามีความรักสามัคคีกันและ หา่ งไกลจากโ อยรู่ ว่ มกันดุจญาตมิ ติ ร 4. บุคลากรย 4. ครูและบุคลากรทางการ ด้ า น ก า ร ใ ช ศึกษาให้ความร่วมมือในการ ประยุกต์ในก ด า เ นิ น ง า น ทุ ก กิ จ ก ร ร ม อยา่ งเตม็ ท่ี รายงาน

24 คก์ ร (SWOT Analysis) ะเมนิ ตนเอง ศึกษาความต้องการจาเปน็ ทศั น์และแผนการพัฒนาโรงเรียนนารอ่ ง รียนรู้ (School as Learning Community) นะพลเมืองรุน่ ใหม่ ขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษานา่ น เขต 1 จดุ ออ่ น โอกาส อุปสรรค งานพิเศษมากเกนิ ไป 1. ได้รับการจัดสรรบุคลากร สั ญ ญ า จ้ า ง บุค ล า ก ร สาย กลุ่มสาระการเรียนรู้ ทางการศึกษาตาแหน่งครูพ่ีเล้ียง สนบั สนุนไมต่ อ่ เน่ือง ลา่ ช้าทา สาขาหรือสอนไม่ตรง เด็กพิการ ครูรายเดือนแก้ไข ให้บุคลากรขาดขวัญและ นดั ปัญหาสถานศึกษาขาดแคลนครู กาลังใจในการปฏิบัติงาน อาศัยอยู่นอกพื้นท่ี ข้ันวิกฤตและเจ้าหน้าท่ีธุรการ โรงเรยี น จากตน้ สังกดั ยังไม่มีความชานาญ 2. บคุ ลากรมโี อกาสได้รว่ มพฒั นา ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี เ พ่ื อ ทักษะวิชาชีพและพัฒนาตนเอง การจัดการเรยี นรู้ จากหน่วยงานต้นสังกั ดและ หนว่ ยงานอ่นื 3. ไ ด้ รั บ ค ว า ม อ นุ เ ค ร า ะ ห์ บุคลากรภายนอกให้ความรู้และ ร่วมจดั การเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เน่ือง นผลการดาเนินงานโครงการสง่ เสรมิ โรงเรียนเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) 24 เพอื่ พัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ ระยะที่ 1 สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสง่ เสรมิ โรงเรยี นเป็นชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning รายการ จุดแขง็ Community) เพือ่ พฒั นาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ ระยะท่ี 1 ดา้ นงบประมาณ (M2) สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1 5. ครูและบุคลากรทางก าร ศึ ก ษ า มี คุ ณ ธ ร ร ม จ ริ ย ธ ร ร ม เปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี 6. คณะกรรมการสถานศึกษา ข้ันพืน้ ฐานของโรงเรียนใหค้ วาม ร่วมมืออยา่ งเตม็ ที่ 1. โรงเรียนยึดหลักการใช้จ่าย 1. ไม่สามาร ตามระเบยี บการเงินและพัสดุ ที่ ไ ด้ รั บ จั ด 2. มีการบริหารจัดการและ ความต้องกา วางแผนการใช้งบประมาณ ของสถานศึก อย่างมีประสิทธิภาพ มีความ 2. ไม่ได้รับจ โปร่งใสและตรวจสอบได้ อาหารกลาง ระดับชั้นมัธย 3. บุคลากรท สารองจ่ายง รายการทาให รายงาน

25 จดุ อ่อน โอกาส อปุ สรรค 4. ผู้ปกครองให้ความร่วมมือ ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร แ ล ะ กิจกรรมการเรียนรู้เป็นอย่างดี อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 5. องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ใ ห้ ก า ร ส นั บ ส นุ น แ ล ะ ร่ ว ม จั ด กิจกรรมทางวชิ าการ รถนางบประมาณ 1. ได้รับสนับสนุนงบประมาณ ข้อกาหนดเก่ียวกับการจัด ด ส ร ร ใ ช้ จ่ า ย ต า ม จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น งานร่ืนเริงในสถานศึกษา ารและความจาเป็น ผู้ปกครอง สมาคมศิษ ย์เ ก่ า ส่งผลต่อการจัดกิจกรรมตาม กษา และชมุ ชน โครงการระดมทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ งวันของนักเรียนใน ยมศึกษาปที ี่ 1 – 3 ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ต้ อ ง งบประมาณในบาง ห้เป็นภาระส่วนตวั นผลการดาเนินงานโครงการส่งเสรมิ โรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) 25 เพ่อื พฒั นาสมรรถนะพลเมืองรุน่ ใหม่ ระยะที่ 1 สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1

รายการ จดุ แขง็ ดา้ นวัสดอุ ปุ กรณ์ (M3) 4. ข า ด ค ว ด้านการบริหารจัดการ (M4) งบประมาณ กิจกรรมมีค รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสง่ เสรมิ โรงเรยี นเป็นชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning งบประมาณส Community) เพือ่ พฒั นาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1 1. มีการบริหารจัดการและใช้ 1. ขาดวัสดุอ วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่าเกิด คอ มพิว เตอ ประสทิ ธภิ าพสงู สุด อุปกรณ์กฬี า 2. ครูและบุคลากรมีความรู้ 2. วัสดุอุปก ความเข้าใจในการใช้งานวัสดุ จานวนนกั เรีย อุปกรณ์ 3. ครูและบุค การดูแลรักษ บางชนดิ 1. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษามคี วามรู้ 1, การมอบห ความสามารถในการบริหาร โครงสร้างกา จัดการ โรงเรียนมีข้อ จงึ ส่งผลตอ่ ภา รายงาน

26 จุดออ่ น โอกาส อุปสรรค ว า ม ค ล่ อ ง ตั ว ใ น ณดาเนินการในบาง ความจาเป็นต้องใช้ ส่วนตัวของบคุ ลากร อุปกรณ์ท่ีจาเป็น เช่น 1. ไ ด้ รั บ ก า ร บ ริ จ า ค จ า ก 1. ระเบียบการบริจาคของ อ ร์ โปร เจคเตอร์ หน่วยงานภายนอก เช่น เคร่ือง ก ร ม ส ร ร พ า ก ร มีขั้น ตอน ล ก ร อ ง น้ า ส น า ม เ ด็ ก เ ล่ น ยุ่งยากตอ่ การบริหารจัดการ กรณ์ไม่เพียงพอต่อ คอมพวิ เตอร์ 2. ขาดงบประมาณซ่อมแซม ยน วัสดอุ ปุ กรณ์ คลากรไม่มีความรู้ใน ษาวัสดุ อุปกรณ์ใน หมายภาระงานตาม 1. มีการบริหารงานแบบมีส่วน การปรับเปล่ียนโยบายและ ารบริหารงานภายใน ร่วมจากทุกฝ่ายท้ังครูบุคลากร ผู้บริหารระดับสูงส่งผลต่อ อจากัดด้านบุคลากร ทางการศึกษา ผู้ปกครองและ การบริหารจัดการภายใน ารกิจซา้ ซอ้ น คณะกรรมการสถานศึกษาขั้น สถานศึกษา พ้นื ฐาน นผลการดาเนินงานโครงการสง่ เสรมิ โรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) 26 เพ่อื พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรุน่ ใหม่ ระยะที่ 1 สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

รายการ จดุ แข็ง ดา้ นอน่ื ๆ ดา้ นนักเรยี น 1. นกั เรยี นเป็นผ้ใู ฝ่เรียนรู้ 1. นักเรียนบ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสง่ เสรมิ โรงเรยี นเป็นชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning 2. นักเรยี นมที กั ษะชีวติ สงู รบั ผดิ ชอบ Community) เพือ่ พฒั นาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1 3. นัก เรียน อ ยู่ใน เขตพ้ืน ที่ 2. นั ก เ รี ย บรกิ ารใกลส้ ถานศึกษา กระบวนการค ด้านอาคารสถานที่ 1. โรงเรียนข ความปลอดภ 2. โรงเรียนม ต่อความตอ้ งก 3. สนามกีฬา ต่ อ ก า ร จั ด ก กรฑี า 4. พ้ืนที่ในโร ไม่สม่าเสมอ ในฤดฝู น รายงาน

27 จุดออ่ น โอกาส อุปสรรค บางส่วนขาดความ 1. นักเรียนได้รับการเอาใจใส่ นกั เรยี นบางสว่ นขาดการดูแล อยา่ งทวั่ ถงึ เ อ า ใ จ ใ ส่ จ า ก ผู้ ป ก ค ร อ ง น บ า ง ส่ ว น ข า ด 2. นักเรียนได้รับการพัฒนา เน่ืองจากอยู่กับผู้ปกครองท่ี คิดวิเคราะห์ เหมาะสมตามวัย สงู วยั 3. นักเรียนได้รับการสนับสนุน อย่างเต็มที่จากทางโรงเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ขาดสนามเด็กเล่นท่ีมี 1. โรงเรียนได้รับการจัดสรร ภัย งบประมาณในการสร้างอาคาร มีห้องน้าไม่เพียงพอ การของนกั เรยี น าไม่ได้มาตรฐานส่งผล กิ จ ก ร ร ม ด้ า น กี ฬ า รงเรียนเป็นเนินเขา อกัน จะเกิดดินสไลด์ 27 นผลการดาเนินงานโครงการสง่ เสริมโรงเรยี นเป็นชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ระยะที่ 1 สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1

28 ขอ้ มูลสารสนเทศโรงเรียนนาร่องในโครงการสง่ เสรมิ โรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community)เพอื่ พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรุน่ ใหม่ สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษานา่ นเขต 1 ขอ้ มูลพนื้ ฐานของโรงเรียนชุมชนบา้ นนาคา ชื่อโรงเรยี น โรงเรียนชุมชนบา้ นนาคา ทอ่ี ยู่ 154 หมู่ที่ 4 ตาบลหนองแดง อาเภอแม่จริม จังหวดั น่าน 55170 สงั กัด สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 โทรศัพท์ 054-059664 เปิดการสอนระดับชัน้ อนุบาล 1 – ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 1. ประวัติโรงเรียนโดยยอ่ โรงเรียนชุมชนบ้านนาคา ต้ังอยู่ที่หมู่ 4 ตาบลหนองแดง อาเภอแม่จริม จังหวัดน่าน สร้างข้ึนเมื่อ พทุ ธศกั ราช 2482 ราษฎรไดร้ ่วมมอื กนั สรา้ งอาคารแบบชวั่ คราว เปิดทาการสอนวันท่ี 20 ธันวาคม พ.ศ. 2482 มีนักเรียน 27 คนโดยมีนายมานิตย์ อานุภาพเป็นครูใหญ่คนแรก และได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียน 15,000บาท พ.ศ. 2512ได้รับงบประมาณจากสลากกินแบ่งรัฐบาลสร้างอาคารเรียนแบบ ป.1 ช. จานวน 7 ห้องเรียนเป็นเงิน 240,000 บาทและได้ย้ายมาอยู่ในสถานที่ปัจจุบัน (สถานที่เดมิ คับแคบเป็นที่ตัง้ สาธารณสุข อาเภอในปัจจุบัน) พ.ศ.2513 เปิดขยายชั้นเรียนถึงประถมปลาย (ป. 5 – ป.7 ) พ.ศ.2518 ได้รับงบประมาณ สร้างอาคารเรียนแบบ ป.1 ข. 4 ห้องเรียน เปน็ เงิน 120,000บาท พ.ศ.2517 ไดร้ ับงบประมาณสรา้ งโรงฝกึ งาน 1 หลัง เป็นเงิน 35,000 บาท บ้านพักครู 2 หลังเป็นเงิน 70,000 บาท พ.ศ.2519 ได้รับงบประมาณสร้าง อาคารเรียนแบบ ป.1 ก. 3 ห้องเรียน เป็นเงิน 170,000 บาทบ้านพักครูจานวน 1 หลัง เป็นเงิน 35,000 บาท พ.ศ.2520 ได้รับงบประมาณจากกรมการปกครองสร้างถังเก็บน้าฝนแบบ คสล. 1ถัง เป็นเงิน 77,000 บาท พ.ศ.2521 ได้รับงบประมาณสร้างบ้านพักครู 1 หลัง จานวนเงิน 77,000 บาท พ.ศ.2522 ได้รับงบประมาณ สร้างอาคารอเนกประสงค์จานวน 1 หลัง เปน็ เงิน 280,000 บาท พ.ศ.2523ไดร้ บั งบประมาณสร้างสว้ ม 1 หลงั พ.ศ. 2526 ได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนในโครงการการศึกษาเพ่ือพัฒนาหมู่บ้านในชนบทที่ยากจน ได้รับสนับสนุนเป็นเงิน 79,000 บาท พ.ศ. 2527 ได้รับงบปรับปรุงสนามกีฬาจานวน 50,000 บาท งบซ่อมแซมอาคารเรียน ป. 1 ซ. 75,000 บาท ซ่อมโรงฝึกงาน 32,000 บาท วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2537 เปิดโรงเรียนสาขา 1 แห่งคอื โรงเรียนบา้ นก่ิวนา้ มีนักเรยี น 120 คน อาคารชวั่ คราว 1 หลงั 3 ห้องเรยี น อาคาร ถาวร 1 หลัง 3ห้องเรียน ส้วม 1หลัง 3 ท่ีนั่ง ถังเก็บน้าฝน (ฝ.33 ) 1 ชุด 80,000 บาท พ.ศ. 2529 สปจ. น่าน กาหนดให้โรงเรียนมีตาแหนง่ ผู้บรหิ ารเป็นอาจารย์ใหญ่เปิดขยายชั้นอนุบาลชนบท 2 ห้องเรียนและ โรงเรียน บ้านกิ่วน้าได้แยกตัวเป็นเอกเทศ ปี2537 ได้รับงบประมาณสร้างสนามวอลเล่ย์บอลเป็นเงิน 80,000 บาท ปี2538 ได้รับงบประมาณสร้างถังเก็บน้าฝนแบบ ฝ.30 (พิเศษ) เป็นเงิน 70,000 บาท ปี 2540 ได้รับ งบประมาณสร้างห้อง วิทยาศาสตร์ หอ้ ง คอมพวิ เตอรห์ อ้ งปฏิบัติการทางภาษา เปน็ เงิน 129,999 บาท พ. ศ. 2546 ได้รับงบประมาณสร้างทานบดินกั้นลาห้วยเด่ือจากกรมชลประทานน่าน จานวนเงิน 1,040,000 บาท รายงานผลการดาเนินงานโครงการสง่ เสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพ่ือพฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1

29 และได้รับเงินบริจาคชุมชนสร้างถนนคอนกรีตภายในโรงเรียน จานวน 150,000 บาท พ.ศ. 2547 ได้รับ งบประมาณปรบั ปรุงศนู ย์เด็กปฐมวยั จานวนเงิน 500,000 บาท 2. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โรงเรียนชุมชนบ้านนาคา ไดม้ แี นวทางในการจัดการศึกษาประกอบด้วยปรัชญาการศกึ ษา วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ เปา้ หมายการจัดการศึกษา อัตลักษณ์ เอกลักษณข์ องสถานศึกษาและแนวทางการจัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ดังตอ่ ไปนี้ ปรัชญาของโรงเรียน ความรู้เป็นประตสู คู่ วามสาเรจ็ ปณธิ าน สรา้ งคนดี คนเก่ง ส่สู งั คม วสิ ยั ทศั น์ โรงเรียนชมุ ชนบ้านนาคาจดั การศกึ ษาใหผ้ ูเ้ รียนมคี ุณภาพ มาตรฐาน คุณธรรม คาขวญั ของโรงเรียน รู้หน้าที่ ทาดีทุกวัน พันธกจิ 1. จัดการศึกษาใหม้ คี ณุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศกึ ษา 2. พฒั นานกั เรียนให้มคี วามร้คู ู่คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 3. ส่งเสรมิ พัฒนานักเรียนดา้ นศลิ ปะ ดนตรี การกีฬา และการรักษาส่ิงแวดลอ้ ม 4. สนบั สนุนการมสี ่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศกึ ษา เป้าหมายการจดั การศึกษา 1. ผ้เู รยี นทกุ คนได้รับการพฒั นาตามเกณฑม์ าตรฐานและมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นท่สี ูงขึ้น 2. ผเู้ รยี นทุกคนมีคุณธรรมจรยิ ธรรม ระเบียบวินยั และคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ได้มาตรฐานการศึกษา 3. นกั เรียนมคี วามสามารถทางด้านศิลปะ ดนตรี การกีฬาและการรักษาส่ิงแวดล้อม 4. โรงเรยี นบริหารจดั การศกึ ษาโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน ใชห้ ลกั การมีส่วนร่วม อัตลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา ไดแ้ ก่ ความซอื่ สตั ย์ รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ ระยะที่ 1 สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1

30 แนวทางการพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา โรงเรียนชุมชนบ้านนาคามีแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในด้าน ต่าง ๆ ดังนี้ ดา้ นผเู้ รียน 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมนี สิ ัยรกั การอ่านและพัฒนาตนเองโดยการศึกษาหาความรู้จากแหล่งเรียนรทู้ ัง้ ภายในและภายนอกโรงเรียน 2. พัฒนาการจัดกิจกรรมเพื่อฝึกการมีระเบียบวินัยในตนเองและเพื่อส่วนรวมของนักเรียนมากข้ึน เพ่อื สง่ ผลใหเ้ กิดพฤตกิ รรมอยา่ งยัง่ ยนื 3. บูรณาการกิจกรรมท่ีฝึกใหน้ ักเรยี นรจู้ ักการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีความคิดสร้างสรรค์ สู่ทุก กลุ่มสาระการเรียนรู้ 4. จัดกิจกรรมท่ีสอดแทรกในเร่ืองด้านศิลปะ ดนตรี โดยให้นักเรียนมีส่วนร่วมทุกโครงการ และ พฒั นาการฝึกทักษะการเล่นองั กะลงุ อย่างต่อเนื่อง 5. จัดให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนแสดงความคิดเห็นในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ และสร้าง ทีมงานอยา่ งเป็นรูปธรรม 6. ส่งเสริมกิจกรรมสรา้ งจิตสานึกให้มจี ติ สาธารณะเกดิ กบั นักเรยี นอย่างยง่ั ยนื ดา้ นครผู สู้ อน 1. ครูตอ้ งสรา้ งกิจกรรมการเรียนการสอนที่ผู้เรียนเป็นสาคญั โดยเน้นการสอนแบบโครงงาน การสอน แบบบูรณาการในทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรูแ้ ละทุกชัน้ เรียน 2. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มุ่งให้นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และการประเมินค่า เพื่อให้ผ้เู รยี นสามารถตดั สินใจในการแก้ปญั หาได้ 3. ให้ครูได้มีการทาวิจัยในช้ันเรียนอย่างต่อเนื่องเพ่ือแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียนอย่างเหมาะสมตาม ศักยภาพของแตล่ ะบุคคล 4. ปรับกระบวนการวัดผลประเมินผลให้หลากหลาย โดยใช้การประเมินผลจากสภาพจริง เชิง ประจักษ์ และการใชแ้ บบทดสอบ 5. นานักเรียนสกู่ ารเรียนรูน้ อกห้องเรียนและนาภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ และการเรียนรูว้ ิถีชุมชนมาเสริมใน การจดั การเรียนการสอน 6. สร้างผลงานด้านการจัดการเรียนการสอนให้เกิดกับตนเอง และผู้เรียนด้วยเทคโนโลยี และนวัตกรรมทนั สมัยแบบใหม่ ๆ มาใช้ รายงานผลการดาเนินงานโครงการสง่ เสรมิ โรงเรียนเปน็ ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning Community) เพ่อื พัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ ระยะท่ี 1 สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

31 ดา้ นผู้บริหาร 1. นาเทคโนโลยีคอมพิวเตอรม์ าจัดเก็บขอ้ มูลสารสนเทศ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความสะดวกและทนั ต่อการใช้งาน เรง่ ด่วน 2. ปรับปรุงระบบการตดิ ตามการปฏบิ ตั ิงานและประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านเพอื่ นาข้อมลู ไปใช้ในการ ปรบั ปรุงและพัฒนางาน 3. นาคณะกรรมการสถานศึกษา เครือข่ายผ้ปู กครอง ชุมชนและผู้ปกครองเขา้ มามสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษา 4. สารวจความต้องการของชุมชนในการจดั การศึกษาหรือการจดั ทาหลกั สูตรสถานศึกษาให้สอดคล้อง กบั ความตอ้ งการของชุมชน 5. สนับสนนุ การมีส่วนรว่ มของครูและบุคลากรท่เี กยี่ วข้องของโรงเรยี นทุกฝ่ายในการบริหารจดั การ การศกึ ษาของโรงเรียน 3. ขอ้ มลู บุคลากรของสถานศึกษาโรงเรียนชมุ ชนบา้ นนาคา 3.1 จานวน ผู้บรหิ าร ครูผสู้ อน ครอู ตั ราจ้าง เจา้ หน้าทอ่ี นื่ ๆ รวม 2 17 บุคลากร จานวน 1 11 3 3.2 วฒุ ิ ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาตรี ต่ากว่าปรญิ ญา รวม การศกึ ษาสงู สดุ 3 13 1 17 ของบคุ ลากร จานวน 3.3 วิทยฐานะ ครู คศ.1 ครู คศ.2 ครู คศ.3 ครูผู้ช่วย 1 3 6 1 รายงานผลการดาเนินงานโครงการสง่ เสริมโรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ระยะท่ี 1 สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

3.4 สาขาวชิ าทจี่ บการศกึ ษา 2 จานวน 32 และภาระงานสอน/สาขาวิชา 4 16 1. บรหิ ารการศึกษา 1 ภาระงานสอนเฉล่ียของครู 2. ภาษาไทย - (ชวั่ โมง/สัปดาห์) 3. คณติ ศาสตร์ 1 4. วิทยาศาสตร์ 2 24 5. สังคมศึกษา 1 24 6. ภาษาองั กฤษ - 24 7. สุขศกึ ษา/พลศึกษา 1 - 8. ศิลปะ 1 24 9. อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี 2 24 10. ปฐมวัย 1 24 11. ประถมศกึ ษา - 12. เกษตรศึกษา 24 รวมทั้งส้นิ 25 24 24 รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสริมโรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอื่ พฒั นาสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ ระยะที่ 1 สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1

33 ขอ้ มูลครแู ละบคุ ลากรโรงเรียนชมุ ชนบา้ นนาคา ท่ี ชอ่ื – สกุล ตาแหนง่ /วิทยฐานะ วุฒิการศกึ ษา วิชาเอก วชิ าท่ีสอน กศ.ม.กศ.บ. บริหารการศึกษา - 1 นายสถติ พงษ์ หมน่ื โฮ้ง ผอ.ชานาญการพิเศษ ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย 2 นางสาลี นันภวิ งค์ ครู ชานาญการพิเศษ ศษ.ม.,ค.บ. บรหิ ารการศึกษา วิทยาศาสตร์ ค.บ. คณติ ศาสตร์ คณิตศาสตร์ 3 นางสุวิญชา คาแปงตัน ครู ชานาญการพิเศษ ศษ.ม.,ค.บ. เทคโนโลยี วทิ ยาศาสตร์ 4 นางปิลันธนา ปิงวงค์ ครู ชานาญการพิเศษ การศึกษา/ ไทย/คณิต ภาษาองั กฤษ ไทย/คณติ 5 นายอนุชิต แกว้ หลวง ครู ชานาญการพิเศษ ศษ.ม.,ค.บ. ประถมศึกษา สงั คม/ประวัต/ิ ค.บ. ประถมศึกษา กอท 6 นายชัยชนะ โพธ์ิศรีทองสกุล ครู ชานาญการพเิ ศษ ศษ.ม.,วท.บ. เกษตรศกึ ษา พละ/วิทย์/คณติ ภาษาอังกฤษ 7 นางเยาวลกั ษณ์ ขตั เิ นตร ครู ชานาญการพิเศษ ค.บ. ภาษาไทย อนุบาล 8 นางละเอยี ด นนั ตา ครู ชานาญการ ค.บ. ภาษาอังกฤษ 9 นายสมยศ แคว้งไชย ครู ชานาญการ ค.บ. ปฐมวยั 10 น.ส.เวฬวุ ัลย์ ไสยมรรคา ครู ชานาญการ 11 นางอัญธกิ า ปา่ หวาย ครู 12 น.ส.ชวัลรตั น์ แปงอดุ ครูผชู้ ่วย รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสรมิ โรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ ระยะที่ 1 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1

34 5. ผลการประเมนิ ระดบั ชาติ รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสริมโรงเรียนเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ ระยะท่ี 1 สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาน่าน เขต 1

35 รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสรมิ โรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ ระยะที่ 1 สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

36 รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสรมิ โรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ ระยะที่ 1 สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

37 ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรยี นบ้านเปา ขอ้ มลู ทวั่ ไป ช่อื สถานศึกษา: โรงเรยี นบา้ นเปา ทอี่ ยู่: เลขท่ี 200 หมทู่ ่ี 5 บา้ นเปา ตาบลน้าตก อาเภอนาน้อย จังหวดั นา่ น รหัสไปรษณีย์ 55150 สงั กัด: สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1 โทรศพั ท์: 081-289-1255 โทรสาร : E-Mail : [email protected] เปิดสอน: ระดับชนั้ อนุบาลปีท่ี 1 ถึงระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 1. ประวัติโรงเรียนโดยย่อ โรงเรียนบ้านเปา จัดตั้งข้ึนเมื่อพุทธศักราช 2478 โดยกานัน ผู้ใหญ่บ้าน และราษฎร ใช้ศาลาวัด บ้านเปาเป็นสถานทเี่ รียน ผู้ปกครองจา้ งผู้มีความรู้เปน็ ครูผู้สอน ต่อมานายสมบรู ณ์ ทา้ ยศิลป์ ธรรมการอาเภอ นาน้อยได้จัดตั้งเป็นโรงเรียนชื่อว่า โรงเรียนบ้านเปา โดยทาพิธีเปิดเม่ือวันที่ 8 ตุลาคม 2479 มีนายประกอบ เรียนดี เป็นครูใหญ่คนแรก มีนักเรียนทั้งหมด 40 คน พุทธศักราช 2481 ได้รับงบประมาณจากทางราชการ 60 บาท ราษฎรสมทบ 20 บาท ปลูกสร้างอาคาร เรียนกึ่งถาวร ทาการสอนเมื่อวันท่ี 12 กันยายน 2486 มีเขตบรกิ าร 4 หม่บู า้ น คือ บ้านเปา บ้านวงั กอก บ้านนา้ สระ บ้านไทยงาม พุทธศักราช 2486 ผู้ปกครองเห็นว่าสถานที่เดิมคับแคบจึงย้ายอาคารเรียนมาสร้างใหม่ เป็นอาคาร ช่ัวคราว หลังคามุงจาก ฝาก้ันทาด้วยไม้ไผ่ พุทธศักราช 2500 โรงเรียนได้รับงบประมาณ 8,000 บาท ราษฎร สมทบ 2,000 บาท สร้างอาคารแบบ ป1 ข 3 ห้องเรียน เสาไม้ พืน้ เพดาน เปดิ ทาการสอนเมอื่ วนั ที่ 9 มีนาคม 2506 มนี ายเปง็ จันทรางกลู ศกึ ษาธิการอาเภอนาน้อย เป็นประธาน พุทธศกั ราช 2518 องค์การบริหารจังหวดั นา่ น มนี โยบายให้ขยายการศึกษาในชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มนี ักเรียนทั้งหมด 18 คน พทุ ธศกั ราช 2520 ไดร้ ับ งบประมาณจากทางราชการ สร้างอาคารเรยี นแบบ ป.1 ข ใตถ้ นุ สงู คณะครู ผูป้ กครองได้ยา้ ยสถานทีเ่ รยี นใหม่ โดยมีนายแฝง สุยอด บริจาคท่ีดินให้ทางโรงเรียน จานวน 3 ไร่ นายสุวรรณ พลลา ได้บริจาคท่ีดินเพ่ิมเป็น จานวน 3 งานเศษ โดยมีร้อยโทกฤษฏินทร์ แซงบุญเรือง และหัวหน้าหมวดการศึกษา นายสมศักดิ์ สายนาค เปน็ ผ้รู ับมอบ พทุ ธศักราช 2528 โรงเรยี นได้รบั งบประมาณ 180,000 บาท ปลกู สร้างอาคารอเนกประสงค์ พุทธศักราช 2530 ได้รับจัดสรรงบประมารสร้างบ้านพักครูแบบ สปช.206/26 จานวน 1 หลัง งบประมาณ 180,000 บาทพุทธศักราช 2534 โรงเรียนได้รับการคัดเลือกเปิดขยายชั้นเรียนในโครงการขยาย โอกาสทางการศึกษา เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 1 มีนักเรียน 25 คน พุทธศักราช 2535 โรงเรียนได้รับ จดั สรรงบประมาณปลูกสรา้ งอาคารเรียนแบบ สปช.102 /26 จานวน 3 ห้องเรยี น จานวนเงิน 750,000 บาท ปงี บประมาณ 2533 ทางโรงเรียนได้รับจัดสรรงบประมาณสร้างอาคารเรียนแบบ สปช.102/26 สองห้องเรียน (ต่อเติม) และทางโรงเรียนร่วมกับผู้ปกครองสร้างอาคารถาวร 1 ห้อง ขนาด 9 คูณ 18 เมตร ใช้เป็นห้องสมุด และห้องบริการ งบประมาณ 80,000 บาท โดยไม่ได้ใช้งบจากทางราชการ ปีงบประมาณ 2537 ทางโรงเรยี น ได้รับจัดสรรงบประมาณสร้างสนามบาสเกตบอล จานวน 1 สนาม และปรบั ปรงุ บริเวณโรงเรียน 35,000 บาท รายงานผลการดาเนินงานโครงการสง่ เสรมิ โรงเรยี นเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพื่อพฒั นาสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ ระยะท่ี 1 สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

38 ปีการศกึ ษา 2562 โรงเรยี นไดเ้ ปดิ ทาการสอนตั้งแตร่ ะดับปฐมวยั ถงึ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 มีนกั เรียน จานวน 186 คน ข้าราชการและบคุ ลากรทางการศึกษา จานวน 22 คน โดยปัจจบุ ันมี นายภานุมาศ ปาฟอง ตาแหนง่ ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นเปา วสิ ัยทศั น์ (Vision) ภายในปี 2564 โรงเรียนบ้านเปา จะจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ คู่คุณธรรม น้อมนาหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏิบัติ สามารถใชเ้ ทคโนโลยที ่ีทันสมัย สบื สานวัฒนธรรม ประเพณี และภมู ิปัญญา ท้องถิ่น พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถ โรงเรียน ร่มร่ืน สวยงาม ชุมชนมีส่วนร่วมในการ บริหารจดั การศกึ ษา พัฒนากระบวนการจัดการเรยี นรู้ พนั ธกิจ (Mission) 1. พัฒนาผู้เรยี นให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน 2. ส่งเสรมิ สนับสนุนให้ครูและบุคลากรไดร้ ับการพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง 3. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ อนรุ กั ษ์ สบื สานวัฒนธรรมพื้นบา้ น และภมู ิปญั ญาท้องถ่ินน่าน 4. ปลูกฝังให้ผเู้ รยี นมคี ุณธรรม น้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏิบัติ 5. สง่ เสริม สนับสนุน ใช้เทคโนโลยี และภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นมาพัฒนาตนเอง 6. พัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการจัดการศึกษา 7. เพ่มิ ประสทิ ธิภาพของระบบการบรหิ ารจดั การโดยผา่ นกระบวนการมีสว่ นร่วม เปา้ หมาย (Goal) 1. ผูเ้ รียนมคี ณุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน 2. ผเู้ รียนมคี ุณลักษณะที่พงึ ประสงค์และสมรรถนะตามหลักสตู รทก่ี าหนด 3. ผูเ้ รียนและชุมชนมคี วามภาคภูมิใจในความเป็นไทย รักถิ่นฐาน และเห็นคณุ ค่าในการรว่ มสืบสาน เอกลกั ษณว์ ัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิน่ นา่ น 4. โรงเรยี นมกี ารผลติ สอื่ นวตั กรรมการเรยี นการสอนและใชเ้ ทคโนโลยที างการศกึ ษาท่ที นั สมัย 5. ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษามคี วามรคู้ วามสามารถและมีทักษะตามมาตรฐานวิชาชพี 6. โรงเรยี นมกี ารบริการจัดการทีม่ ีประสิทธิภาพ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ (Strategic Issue) ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาตามหลกั สูตร ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 สง่ เสรมิ เอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 เพิม่ โอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง ยุทธศาสตร์ท่ี 4 พัฒนาการจดั การศึกษาเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 เพ่มิ ประสิทธภิ าพดา้ นการบรหิ ารจากการมีส่วนร่วม รายงานผลการดาเนินงานโครงการสง่ เสริมโรงเรยี นเปน็ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพือ่ พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ ระยะที่ 1 สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

39 รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสรมิ โรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ ระยะที่ 1 สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 1