Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือคัมภีร์ป้องกันลูกติดเกม_E-book

คู่มือคัมภีร์ป้องกันลูกติดเกม_E-book

Description: คู่มือคัมภีร์ป้องกันลูกติดเกม_E-book

Search

Read the Text Version

คัมภรี ป‡องกันลูกตดิ เกม คู‹มือสำหรับผูŒปกครอง เร�่องการเล‹นเกมคอมพิวเตอรของเด็กและวัยรุ‹น

คมั ภรี ป‡องกนั ลูกตดิ เกม คู‹มือสำหรับผูŒปกครอง เร�่องการเล‹นเกมคอมพิวเตอรของเด็กและวัยรุ‹น บรรณาธ�การ อ.นพ.สมบูรณ หทยั อย‹ูสุข พมิ พครั้งท่ี 1 ผศ.นพ.คมสนั ต เกียรติรุ‹งฤทธ์� จำนวน รศ.นพ.ชาญว�ทย พรนภดล ………… พ.ศ. 2563 ……… เลม‹ สงวนลิขสทิ ธ�์ C กองทุนพฒั นาสื่อปลอดภัยและสราŒ งสรรค สงวนลขิ สิทธ์� C ตามพระราชบัญญัติการพิมพ หาŒ มมิใหทŒ ำซ�ำหรอ� ลอกเลยี นแบบโดยไม‹ไดŒรับอนุญาต ขŒอมลู ทางบรรณานุกรมของสำนกั หอสมุดแหง‹ ชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data อ.นพ.สมบรู ณ หทยั อยส‹ู ขุ . ผศ.นพ.คมสันต เกียรติร‹ุงฤทธ์�. รศ.นพ.ชาญว�ทย พรนภดล. คมั ภรี ปอ‡ งกนั ลูกติดเกม คู‹มอื สำหรบั ผปŒู กครองเรอ�่ งการเลน‹ เกมคอมพิวเตอรข องเด็กและวยั ร‹ุน.-- กรุงเทพฯ. : สำนักพิมพก องทุนพฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรŒางสรรค, 2563. 48 หนาŒ 1. คมั ภรี ปอ‡ งกนั ลูกตดิ เกม. I. ชอ่� เรอ่� ง. …………………………………….. ISBN …………………………………….. จัดพิมพแ ละเผยแพร‹โดย กองทุนพฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรŒางสรรค ออกแบบปกและภาพประกอบ อญั ชลี สาระคร ออกแบบรูปเลม‹ ญาณศิ า ไกรมุย‹ ติณณา วรวฒั นกุล พมิ พท่ี สนใจนำไปเผยแพร‹ติดต‹อ: ฝ†ายสง‹ เสร�มการรŒเู ทา‹ ทนั และเฝา‡ ระวงั สื่อ สำนกั งานกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรŒางสรรค เลขท่ี ๓๘๘ อาคารเอส.พ.ี (ไอบเี อ็ม) ช้ัน ๖ อาคารบี ถนนพหลโยธ�น แขวงสานเสนใน เขตพญาไท กรงุ เทพ ๑๐๔๐๐ โทร. ๐๒ ๒๗๓ ๐๑๑๖-๑๘ ตอ‹ ๓๐๓-๓๐๔ Email: [email protected]



ค�ำ นำ� “เกม” เปน็ สิ่งท่เี ดก็ และวัยรุน่ ในยุคปัจจบุ นั เขา้ ไปคลกุ คลีเป็นอย่างมาก เด็กบางคนเลน่ เกมเป็นงานอดเิ รก บางคนเล่นจนไมเ่ ปน็ อนั ท�ำ อะไร จะหลบั หรอื ต่ืน ก็คดิ ถึงแต่เกม หากเล่นเพียงเลก็ น้อย ไม่สญู เสียหนา้ ท่ี ยังคงไปโรงเรยี น รับผดิ ชอบตนเอง ความสัมพันธก์ ับครอบครวั และเพอ่ื นปกติ กค็ งนับว่าเปน็ การเล่นเกม แบบปกติ แต่หากเพม่ิ เวลาเล่นมากขึ้นเรอื่ ย ๆ เดก็ คนนัน้ อาจจะกลายเปน็ ผูป้ ่วยโรค ตดิ เกม ซง่ึ “โรคติดเกม” ปัจจุบันนน้ี บั เป็นโรคทางจติ เวชอย่างเปน็ ทางการ โดย องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ได้กำ�หนดเกณฑก์ าร วินิจฉัยโรคไว้ครง้ั แรกในปี พ.ศ. 2561 ในช่วงหลังมาน้ีนอกจากปัญหาติดเกมและโรคติดเกมจะได้รับการพูดถึง มากขน้ึ เรื่องท่เี กยี่ วขอ้ งกบั เกมท่มี ีคนพูดถงึ อยา่ งมากอีกเรื่องหนึ่งคือ “อีสปอร์ต” (E-sports) ซ่งึ เปน็ ประเด็นท่ีถกเถียงกันในสังคมถึงนิยามของคำ�ดงั กล่าววา่ เป็น กีฬาชนดิ หนง่ึ หรือเปน็ เพียงการแขง่ ขันวดิ ีโอเกม อสี ปอร์ตท�ำ ใหเ้ ดก็ ป่วยเป็นโรคติด เกมเพ่ิมข้นึ หรือไม่ ผู้ปกครองควรสนับสนนุ เดก็ ให้เลน่ อีสปอรต์ หรอื ไม่ ประเทศไทย จะมีการขยายตัวด้านเทคโนโลยดี จิ ิทัลจากการส่งเสริมอสี ปอรต์ หรอื ไม่ เนื่องจากโรคติดเกมส่งผลกระทบต่อสังคมในวงกว้างทั้งตัวเด็กและบุคคล ใกล้ชิด คณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์เล็งเห็นความสำ�คัญของปัญหาดังกล่าว จึงผลิตคู่มือสำ�หรับผู้ปกครองเร่ืองการเล่นเกมออนไลน์ของเด็กและวัยรุ่นเล่มน้ี เพ่ือใหเ้ ปน็ คู่มือท่ีผู้ปกครองได้เหน็ ความสำ�คัญ ไดเ้ ขา้ ใจว่าเรอ่ื งเกมไมใ่ ช่เรื่องเด็ก ๆ แต่เป็นสิ่งที่ผู้ใหญ่ต้องตระหนักว่า กำ�ลังเป็นภัยคุกคามที่คลืบคลานเข้ามาในบ้าน ผู้ปกครองจะได้รบั รแู้ ละเข้าใจถงึ ปัญหา สาเหตุ วธิ ีการปอ้ งกนั การเฝา้ ระวงั การ ดูแลและแกไ้ ขอยา่ งครอบคลมุ เพ่ือให้เด็กไทยไม่ตกเป็นเหยือ่ ไม่ปว่ ยเปน็ โรคติด เกม และใช้สอ่ื ท่เี รยี กวา่ “เกม” อยา่ งปลอดภัยและสร้างสรรค์มากยิง่ ขึ้น คณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์

สารบัญ หน้า 4 เรอ่ื ง 5 เกมคอื อะไร 6 อสี ปอร์ตคอื อะไร 8 ประเภทของเกม 10 เกมประเภทไหนท่คี วรและไม่ควรใหเ้ ดก็ เลน่ 15 โรคติดเกมคืออะไร 16 สถานการณ์ปัญหาการตดิ เกม 17 สาเหตขุ องการติดเกม 19 สญั ญาณเตือนของการตดิ เกม 23 อาการของเดก็ ตดิ เกม 28 แบบทดสอบการตดิ เกม 31 ผลกระทบของการติดเกม 36 ส่งิ ที่ผ้ปู กครองควรและไม่ควรทำ� 38 วธิ ีคุยกบั เด็กเกย่ี วกบั อีสปอร์ต 41 คลายปมหาทางออกให้ครอบครวั เดก็ ติดเกม FAQs คำ�ถามทีพ่ บบอ่ ย

เกมคืออะไร “เกม” เป็นคำ�ที่ใช้กันมาอยา่ งกวา้ งขวางและยาวนานมีความหมายทีห่ ลาก หลาย ทง้ั ทเ่ี ปน็ เกมกฬี า การละเลน่ ตา่ ง ๆ ทม่ี กี ฎกตกิ าหรอื กจิ กรรมนนั ทนาการกอ่ ให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินฝึกฝนทักษะทางร่างกาย ส่วนความหมายของ “เกม” ที่ค่มู ือเลม่ นจี้ ะกลา่ วถึงคือ เกมคอมพวิ เตอร์ วดิ ีโอเกมหรือเกมดจิ ทิ ลั ที่เลน่ ได้ผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ทั้งสมาร์ตโฟน แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก เครื่องเลน่ เกมพกพา เครื่องเล่นเกมผ่านจอโทรทศั น์ รูปแบบการเชอื่ มตอ่ มีท้ังแบบ ออนไลนแ์ ละออฟไลน ์ ทง้ั ทีเ่ ล่นคนเดียวและเลน่ หลายคน 6

อีสปอร์ตคอื อะไร อีสปอร์ต (E-sports) เป็นคำ�เรียกย่อมาจาก Electronic sports ในปัจจุบันเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมสูงมากในกลุ่มนักเล่นเกมทุกช่วงวัย ความหมายและนิยามของอีสปอร์ต คือ การแข่งขันวิดีโอเกมที่กระทำ�ผ่าน คอมพิวเตอร์ เครือขา่ ยเนต็ เวิรค์ ท่ผี ูเ้ ลน่ ระดับจริงจงั มอื อาชีพ เข้าร่วมเพ่ือชิง เงนิ รางวัล ซ่งึ อาจมีการถา่ ยทอดสดให้คนดู และมีสปอนเซอรส์ นับสนุนกิจกรรม สามารถศกึ ษารายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ เก่ยี วกบั อสี ปอร์ตได้ คลกิ ทีน่ ี่ ในปจั จบุ นั ขอ้ มลู เกย่ี วกบั อสี ปอรต์ มกั มาจากผผู้ ลติ เกมและภาคเอกชน เปน็ ส่วนใหญ่ โดยใหข้ ้อมูลวา่ อีสปอร์ตเป็นกีฬาส�ำ หรบั ยุคดิจิทลั รวมท้งั ให้ ข้อมูลเฉพาะด้านบวกของอีสปอร์ตแก่เด็กและเยาวชน ในขณะที่ผลกระทบ ด้านลบที่จะเกิดขึ้นกับเด็กและเยาวชน กลับไม่ได้รับการเผยแพร่เท่าที่ควร ผู้ปกครองจึงจำ�เป็นต้องรู้เท่าทัน ทราบทั้งประโยชน์และโทษของอีสปอร์ต อยา่ งรอบดา้ น 7

ประเภทของเกม 1. Role Playing Game (RPG): เกมที่ใหผ้ เู้ ล่นสวมบทบาทเป็นตวั ละครใน เกมผจญภัยไปตามบทบาทนั้น ๆ เพมิ่ ค่าประสบการณแ์ ละ มีจดุ มุ่งหมายในการทำ�ภารกจิ ตา่ ง ๆ โดยเกม RPG น้ี มปี ระเภทยอ่ ยทส่ี �ำ คญั คือ Massively Multiplayer Online RPG (MMORPG) ซง่ึ มผี ู้เล่นจำ�นวนมาก จากทุกพื้นที่ทั่วโลกสามารถเล่นพร้อมกันในรูป แบบออนไลน์ 2. Strategy Game: เกมวางแผนและกลยทุ ธ์ เป็นเกมที่เนน้ การควบคมุ กองทพั ทั้งท่เี ปน็ ทหาร การต่อสูใ้ นอวกาศ เกมประเภทน้ีจะเน้น การใช้ทกั ษะการคดิ วเิ คราะหท์ ร่ี ดั กมุ โดยประเภทยอ่ ยของ strategy game ทีไ่ ดร้ บั ความนิยมอยา่ งสงู ในยุค ปัจจบุ นั คอื Multiplayer Online Battle Arena (MOBA) โดยจะแบง่ ผ้เู ล่นเปน็ 2 ฝ่าย แต่ละฝ่าย แขง่ ขันกนั เพอื่ ทำ�ลายฝ่ายตรงข้าม 3. Shooting Game: เกมการยงิ ด้วยอาวธุ ต่าง ๆ เชน่ ปนื เครื่องบนิ ท่ี เนน้ การยงิ ใส่ศัตรู Shooting Game แบง่ ตามมุมมองท่ี ผ้เู ล่นจะมองใหไ้ ด้เปน็ 2 ประเภท คือ First Person Shooting Game ผู้เล่นจะมองไม่เห็นตนเอง ใชม้ มุ มองเสมอื นผู้เลน่ ไปอยู่ในเกม และ Third Person Shooting Game ผเู้ ลน่ จะมองเห็นภาพจากการ มองเข้าไปของบคุ คลภายนอก 8

4. Action Game: เกมลกั ษณะนี้เปน็ การเล่น เพื่อผ่านด่านไปทีละด่าน เป็นประเภทที่เล่นง่าย บางเกมเน้นการบุกตะลยุ การฝา่ ฟนั อปุ สรรค ต่าง ๆ ใชก้ ารท�ำ งานประสานกันของกลา้ มเน้ือ มอื และตา ใช้ความแม่นยำ� ความว่องไว และ จังหวะในการเลน่ 5. Sports Game: เกมกีฬาท่จี ำ�ลองมาจากการ แข่งขันจริง บางเกมใชต้ วั ละครทเี่ ปน็ นักกฬี าจรงิ บุคลกิ ลกั ษณะทางกายภาพ ความสามารถ ทีมที่ สังกัดเหมอื นชวี ติ จริงของนกั กีฬารายนั้น ๆ 6. Rhythm Action Game: เกมเข้าจงั หวะกับ ดนตรใี นเกม เปา้ หมายคอื การเลน่ เคร่ืองดนตรี ในเกม ควบคมุ เสยี งดนตรี หรอื การเต้นให้เขา้ จงั หวะเพลงในเกม เน้นทักษะที่ต้องใชก้ ล้ามเนอื้ การฟงั จังหวะ มกี ารใชร้ า่ งกายของผู้เล่นในการ เคลอื่ นไหวจรงิ 9

เกมประเภทไหนที่ควรและไม่ควรใหเ้ ดก็ เล่น เกมท่ีใหเ้ ด็กเล็กเลน่ ได้ เกมที่ให้เด็กโตเลน่ ได้ (อายมุ ากกว่า 6 ป)ี : (ต�ำ่ กว่า 6 ปี) ผปู้ กครองตอ้ งคอยดูแลใกลช้ ิด - เกมส่งเสรมิ พัฒนาการ - เกมต่อสู้ - เกมการศึกษา - เกมที่มีฉากความรุนแรง - เกมกฬี าที่ไม่ใช่การต่อสู้ - เกมที่ใช้ภาษาทซ่ี บั ซ้อน เกมท่ีไม่ควรใหเ้ ดก็ เลน่ เลย เกมตามอายุ (rating) และเนอื้ หาของเกม ไม่วา่ วยั ไหน ท เกมทเ่ี หมาะกบั ผูเ้ ลน่ ทุกวัย น.3+ เกมทเ่ี หมาะกับผู้เล่นทม่ี อี ายุ 3 ปี ขนึ้ ไป น.6+ เกมทีเ่ หมาะกับผูเ้ ลน่ ท่ีมอี ายุ 6 ปี ข้นึ ไป น.13+ เกมทเ่ี หมาะกบั ผเู้ ลน่ ทม่ี อี ายุ 13 ปี ขึ้นไป น้อยกว่า 13 ปี ควรได้รับคำ�แนะน�ำ น.15+ เกมทเ่ี หมาะกบั ผเู้ ลน่ ทม่ี อี ายุ 15 ปี ขึ้นไป • เกมท่ีมีฉากความรุนแรงมาก เชน่ น้อยกว่า 15 ปี ควรได้รับคำ�แนะน�ำ ฉากนองเลอื ด ภาพนา่ หวาดเสียว น.18+ เกมทเ่ี หมาะกบั ผเู้ ลน่ ทม่ี อี ายุ 18 ปี ขึ้นไป • เกมท่มี ีเนอ้ื หาเกย่ี วกับเพศ น้อยกว่า 18 ปี ควรได้รับคำ�แนะน�ำ • เกมที่มเี นื้อหาเกย่ี วกับยาเสพตดิ ฉ.20+ เกมทเ่ี หมาะกบั ผเู้ ลน่ ทม่ี อี ายุ 20 ปี ขึ้นไป น้อยกว่า 20 ปี ควรได้รับคำ�แนะนำ� ไม่ • เกมทีม่ ีเนือ้ หาเกี่ยวกับการพนนั อนญุ าตใหน้ �ำ ออกฉาย ใหเ้ ชา่ แลกเปลย่ี น • เกมที่ใช้คำ�หยาบคาย หรือจ�ำ หนา่ ยในราชอาณาจกั ร 10

นอกจากระบบการแบง่ ประเภท (rating) โดยหนว่ ยงานภาครัฐแลว้ ผู้ปกครองยังสามารถศึกษาข้อมูลจำ�เพาะของเกมแต่ละเกมได้จากเว็บไซด์สรุป (review) เกม หรือ youtube channel โดยค้นหาชอื่ เกมท่ีเด็กนิยมเลน่ ใน website ยอดฮติ อยา่ ง google พิมพช์ อ่ื เกมในช่องค้นหา ตวั อยา่ งของรายช่ือ เกมมีดังนี้ ROV, Call of Duty, PUBG, Speed Drifters, Roblox, Mine- craft, GTA-V, League of Legends, Counter Strike และยงั มีเว็บไซดท์ ี่ รวบรวมรายละเอียดเกย่ี วกับที่น่าสนใจไว้อีก เชน่ ซง่ึ สว่ นนส้ี �ำ คญั ไมแ่ พ้ rating ทก่ี ลา่ วขา้ งตน้ เนอ่ื งจากเปน็ การลงลกึ ถงึ รายละเอยี ดของเกม ผปู้ กครองจะทราบไดว้ า่ เกมนน้ั ๆ เหมาะสมกบั ชว่ งอายุ เดก็ หรอื ไม่ เนอ้ื หาเกย่ี วกบั อะไร มฉี ากความรนุ แรง ยาเสพตดิ เพศ การพนนั ภาษาทไี่ ม่เหมาะสม อยู่ในเกมหรอื ไม่ วิธีการเลน่ ตวั ละคร วิธีการด�ำ เนินเร่ือง หรอื แมก้ ระทง่ั ประสบการณค์ วามประทบั ใจของผเู้ ลน่ คนอน่ื ๆ เปน็ อยา่ งไร เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจโลกของเกมทเ่ี ดก็ เขา้ ไปอยมู่ ากยง่ิ ขน้ึ ท้งั นี้ผปู้ กครองไมจ่ �ำ เป็นต้องเลน่ เกมดังกลา่ วเป็น แต่ต้องรู้ว่าเด็ก ๆ กำ�ลังทำ�อะไร เกี่ยวข้องกับใครท่ีก�ำ ลงั อยูใ่ นเกมทเี่ ด็กอยู่ การคุยภาษาเดยี วกัน กบั เด็กและวยั รนุ่ จะทำ�ใหเ้ ดก็ รู้ว่าผปู้ กครองเปน็ พวกเดียวกนั กับตนเอง หาก เด็กยินดที ี่จะเลา่ หรือพดู ถึงเกมทชี่ ่นื ชอบ ถอื เปน็ โอกาสทองทีผ่ ปู้ กครองตอ้ ง รีบควา้ เอาไว้ นับเปน็ การแสดงออกถงึ สญั ญาณท่ดี ีที่เดก็ แสดงออก ซ่ึงเป็นสิง่ สำ�คัญที่จะทำ�ให้การดูแลช่วยเหลือเด็กและวัยรุ่นท่ีติดเกมประสบความสำ�เร็จ มากยิ่งข้ึน 11

โรคติดเกมคอื อะไร ก่อนท่ีจะไปรู้จักวา่ โรคติดเกมคอื อะไร อยากจะชวนให้มารูจ้ กั กับเรือ่ งราว ของ 2 ครอบครวั ทีอ่ าจจะคลา้ ยกับครอบครวั ของทา่ นหรือคนใกลต้ วั ท่รี ้จู กั ครอบครัวท่ี 1 ‘บคุ๊ ’ เด็กชายอายุ 12 ปี เรยี นอยชู่ ัน้ ป.6 เมื่อบุ๊คขนึ้ ช้นั ป.5 แม่ซื้อโทรศัพท์มือถือให้ใช้ เพื่อเอาไว้ติดต่อกับแม่ตอนที่มารับช่วง เย็น โดยที่ไม่เคยมีการตกลงกติกาการใช้โทรศัพท์มือถือเลย บุ๊ค สามารถหยิบมาเล่นเมื่อไหร่ก็ได้ ซึ่งบุ๊คก็มักจะหยิบมาเล่นทุกครั้ง ทวี่ ่าง ในชว่ งเวลา 1 ปที ผี่ า่ นมา บุ๊คดาวน์โหลดเกมออนไลน์มาเลน่ หลายเกมตามค�ำ ชักชวนของเพ่ือน ๆ สว่ นใหญเ่ ป็นเกมแนวตอ่ ส้ยู งิ กัน หลังจากนั้นแม่สังเกตว่า บุ๊คเริ่มมีอารมณ์รุนแรง หงุดหงิดง่าย ดือ้ เถียง พูดจากา้ วร้าวหยาบคายมากข้ึน ขาดความรับผิดชอบ การ เรียนตกลงมาก ติด ร ได้เกรด 0 หลายวิชาเพราะไม่ทำ�งานส่งครู บุ๊คใชเ้ วลาไปกับการเล่นมากขน้ึ เร่อื ย ๆ วนั ละ 8-10 ชั่วโมง นอนดึก หรือบางคนื ไมน่ อนเลย ไปหลับในห้องเรยี น ต่อมาเร่ิมมีพฤตกิ รรม โกหก อดอาหารกลางวันและขโมยเงนิ เพือ่ เอาเงนิ ไปซอื้ ไอเท็มในเกม เวลาแมบ่ อกให้หยดุ เล่นเกม บุ๊คก็มกั จะเพิกเฉย ไม่สนใจแม่ จนแม่ ตอ้ งเรียกแลว้ เรียกอกี สุดท้ายมกั ลงเอยดว้ ยการทะเลาะกัน 12

พ่อใช้วิธีตีเพื่อให้บุ๊คหยุดเล่นเกม แต่ผลกลับ ตรงกันข้ามบคุ๊ ยงิ่ เลน่ เกมหนักข้นึ พดู บ่อย ๆ วา่ ไมอ่ ยาก ไปโรงเรียน พ่อแม่เคยลองเอาโทรศัพท์มือถือไปซ่อน เมือ่ บุค๊ หาไมเ่ จอก็ตะโกนโวยวาย อาละวาด ร้ือคน้ บ้าน เหมอื นคนเสยี สติ หยิบมดี มาจอ่ ที่คอท�ำ ทา่ เหมือนจะแทง ตัวเอง พร้อมพูดขู่วา่ ถ้าพอ่ แม่ไมเ่ อาโทรศพั ทม์ อื ถอื มา คนื จะฆ่าตัวตาย สดุ ทา้ ยพอ่ แม่ก็ใจออ่ นตอ้ งคนื โทรศพั ท์ มือถือให้บุ๊ค พ่อแม่รู้สึกเครียดและหมดหวัง ไม่รู้ว่าจะทำ� อยา่ งไรถงึ จะดงึ บุ๊ค ออกจากเกมได้ 13

ครอบครวั ท่ี 2 “เครียดโว้ยยย อยากได้ดี อยากเล่นกีฬาก็ไม่มีใครให้ทำ� จะเอาไงกะชีวิตต่อเนี่ยยย” เสียงตะโกนลั่นบ้านของ ‘ปอนด์’ วัยรุ่น อายุ 17 ปี ลกู ชายคนเดยี วของพ่อเล้ยี งเด่ียว พ่อแม่แยกทางกนั ตั้งแตป่ อนดอ์ ยู่ ป.2 พอ่ ไมค่ ่อยมเี วลาให้ ปอนดซ์ นมาตั้งแต่เด็ก ชอบพดู โพล่ง พูดแทรก ให้รออะไรนาน ๆ ไม่คอ่ ยได้ เล่นกบั เพอ่ื น รนุ แรง งานอดิเรกของปอนดค์ ือการเลน่ เกม 14

ชว่ งวยั เดก็ ปอนดเ์ คยมพี ฤตกิ รรมตดิ เกม แต่ตอนน้ันปา้ มา ช่วยดแู ล และจดั การปอนด์ไดด้ ี ท�ำ ใหพ้ ฤตกิ รรมตดิ เกมดขี ้นึ ปอนด์ เองรสู้ ึกเกรงใจและรกั ปา้ คนนี้มาก ๆ คดิ วา่ ตนเองโชคดีทม่ี ีปา้ ดแู ล แต่แล้วช่วงขนึ้ ม.4 ปา้ ปว่ ยเปน็ มะเร็งและเสยี ชีวติ ในเวลาไมน่ าน ชีวิต ของปอนด์กลบั มาเป็นแบบเดมิ หลงั จากน้ันปอนด์เรม่ิ มปี ญั หากับครู และเพอ่ื นทโ่ี รงเรยี น เป็นเรอื่ งการชกต่อย โดดเรยี น โกหกครู เกรด เฉลี่ย 1 กว่า ๆ มาโดยตลอด ปอนด์รสู้ ึกเครยี ดมากเพราะครบู อกว่า จะไล่ออกจากโรงเรียน อยากเล่าใหพ้ ่อฟัง แต่พ่อไม่สนใจ ปอนด์ไม่รู้ จะท�ำ อยา่ งไร จึงหยิบโทรศพั ทม์ ือถอื มาดาวนโ์ หลดเกม โดยหวงั วา่ จะ ทำ�ให้ตัวเองไดล้ ืมความรสู้ ึกแย่ ๆ ปอนด์ได้เข้าไปเล่นเกมออนไลน์ เกมหนึ่ง เปน็ เกมประเภท MOBA เลน่ แล้วรู้สกึ สนุก อารมณ์ดขี น้ึ หลงั จากนน้ั เริม่ อยากเอาชนะคนในเกม ไมอ่ ยากโดนเพ่ือนตอ่ วา่ วา่ เกรยี น ปอนดอ์ ยากซอื้ ไอเท็มในเกมแตต่ นเองไมม่ ีเงนิ มเี พอื่ นใน เกมชกั ชวนวา่ ให้ฝกึ ซ้อมเกมดังกล่าวใหม้ าก เพราะเกมทป่ี อนด์เลน่ นับเป็นอสี ปอรต์ ปอนดส์ ามารถพัฒนาให้ตนเองเปน็ นักกฬี าจาก การเลน่ เกมน้ีได้ แล้วจะไดม้ ีรายได้จากการเปน็ นกั กฬี า ใคร ๆ เคา้ ก็เลน่ กัน และหม่นั ฝกึ ซอ้ มเพอ่ื หวงั ได้เงนิ รางวลั สงู ๆ ทง้ั น้ัน ครฝู า่ ย ปกครองแจ้งพอ่ ว่าปอนดก์ ำ�ลงั จะหมดสิทธิ์สอบ พ่อจงึ โทรศพั ทม์ า ต่อวา่ ปอนดจ์ ึงตอบพ่อไปด้วยประโยคขา้ งตน้ 15

โรคติดเกม (gaming disorder) เป็นการเสพติดทางพฤตกิ รรมอย่างหนึ่ง ซ่งึ การเสพตดิ ทางพฤติกรรม หมายถงึ “พฤตกิ รรมท่ที ำ�ซ�ำ้ ๆ มากเกินไปและไมส่ ามารถควบคุมได้ จนกระทง่ั กอ่ ใหเ้ กิดผลกระทบหรอื รู้สกึ ทกุ ขท์ รมาน” จากเกณฑก์ ารวนิ จิ ฉยั โรคขององคก์ ารอนามยั โลก (World Health Organization: WHO) ได้ใหค้ ำ�นยิ ามการติดเกมไวว้ า่ หมายถงึ รูปแบบการ เล่นเกมไม่วา่ จะออนไลน์หรอื ไม่กไ็ ด้ โดยเปน็ การเลน่ อย่างซำ�้ ๆ และตอ่ เนอ่ื งท่ี มีลักษณะ ดังน้ี 1) ไม่สามารถควบคมุ 3) ยงั คงเล่นเกมหรอื เล่น การเล่นเกมของ มากขึ้นท้งั ท่ีการเล่นเกม ตนได้ 2) ใหค้ วามสำ�คญั กับ น้ันกอ่ ใหเ้ กิดผลเสียกับ การเลน่ เกมมากกวา่ ตนเอง กิจวตั รประจ�ำ วันต่าง ๆ 16

สถานการณ์ปัญหาการติดเกม ส่วนใหญ่ของเด็กท่ีเล่นเกมไม่ได้ เป็นโรคติดเกม มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ อาการเข้าได้กับเกณฑ์การวินิจฉัยโรคติด เกม จากการสำ�รวจในประเทศไทยพบว่า เดก็ และวัยรุ่นไทยรอ้ ยละ 15-50 มปี ัญหา จากการเล่นเกม ขอ้ มูลลา่ สุดพบวา่ เดก็ ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาร้อยละ 5.4 มปี ญั หา ติดเกม ซึ่งใกล้เคียงกับสถานการณ์การ ติดเกมในต่างประเทศ โดยทางองค์การอนามัยโลกได้ประมาณการติดเกมไวท้ ี่รอ้ ยละ 3-4 เพศชายมีการติดเกมมากกว่าเพศหญิง 1.4 เท่า และมักพบในวัยรุ่นอายุ 12-20 ปี มากกว่าในวัยเด็กหรือผู้ใหญ่-ผู้สูงอายุ 17

สาเหตุของการตดิ เกม ตัวเดก็ เอง • ขาดความรูส้ ึกมีคณุ คา่ ในตนเอง • ขาดทักษะการแกไ้ ขปญั หา • ขาดวินัยในตวั เอง • ขาดทักษะสงั คม มีปัญหากับเพ่อื นบ่อย ๆ • มปี ญั หาการควบคุมอารมณ์ และปัญหาพฤติกรรม เช่น โกหก ลักขโมย ทะเลาะววิ าท • มีโรคทางจติ เวช เช่น สมาธสิ นั้ ซึมเศรา้ วิตกกังวล ตดิ สารเสพติด ครอบครวั • มคี วามขดั แยง้ กนั ในครอบครัว • พ่อแมข่ าดสัมพนั ธภาพและความ ผกู พนั ทีด่ ีกบั ตัวเด็ก เช่น ไมท่ ำ� กิจกรรมสนุก ๆ รว่ มกนั • ขาดกฎระเบยี บเกยี่ วกบั การเล่น เกมและการควบคุมกฎอยา่ ง สม�ำ่ เสมอ • ขาดการสอดสอ่ งดแู ลการเลน่ เกม ของเด็ก สงั คมและเกม • ไมเ่ ป็นแบบอยา่ งทดี่ ใี นการใชส้ ่ือ • มปี ัญหาความสมั พันธ์กบั เพอ่ื นในชวี ติ จริง และเล่นเกมใหแ้ กเ่ ด็ก • มกี ารใชเ้ วลากับเกมมาก • มีโรคทางจติ เวชในครอบครวั • สามารถเข้าถึงเกมไดง้ ่าย มีเกมในห้องนอน • มโี ทรศัพท/์ คอมพิวเตอร/์ แท็บเลต็ เปน็ ของตัวเอง • เกมท่ีมกี ารสวมบทบาทและเลน่ กบั ผอู้ ่ืน • มีการจดั อนั ดับในเกม • มีการใชเ้ งินเพื่อซอ้ื หรือสุ่มสงิ่ ของ หรือมีการพนัน • มเี นื้อหาทไ่ี มเ่ หมาะสมกบั ช่วงวัย มเี น้อื หาโปเ๊ ปลือย 18

สญั ญาณเตอื นของการติดเกม การทราบถงึ สัญญาณเตือนของการติดเกมมีความส�ำ คญั เพื่อผปู้ กครอง จะได้รีบเข้าไปช่วยเหลือ ไม่ปล่อยให้การเล่นเกมที่เกินพอดีเริ่มบานปลายจน กลายเป็นการติดเกม สัญญาณเตือนเหล่านั้นมีดังต่อไปนี้ 1. ใชก้ ารเลน่ เกมเพอ่ื แกเ้ บอ่ื แกเ้ ซง็ จดั การอารมณท์ างลบบอ่ ย ๆ เดก็ สว่ นใหญ่ เม่ือเผชิญความเครียด มีความรู้สกึ เศร้า เบ่อื มกั หาทางออกด้วยวิธีตา่ ง ๆ เชน่ การเลน่ กฬี า เลน่ ดนตรี ทำ�สิ่งที่ชอบ และการเลน่ เกม ก็มกั เปน็ ทางออกหน่งึ ในการจัดการความเครียด แตห่ ากเดก็ เลอื กใชว้ ธิ กี ารไมห่ ลากหลาย ใชแ้ ตก่ าร เลน่ เกมเปน็ ทางออก พอ่ แม่ควรรบี เข้าไป พดู คยุ ชวนทำ�กจิ กรรมอื่น ๆ เพื่อให้มวี ิธีการ จัดการความเครยี ดที่หลากหลายขึ้น อาจป้องกนั การติดเกมได้ 2. หงดุ หงิด กระสบั กระสา่ ย กระวนกระวายเมื่อไม่สามารถเลน่ เกมได้ หรอื ถูกบอกให้หยุดเล่น เด็กติดเกมจำ�นวนมากเมื่อถกู บอกใหห้ ยุดเลน่ มกั รสู้ ึก หงดุ หงดิ ไมพ่ อใจ ถา้ ผใู้ หญ่ทีม่ าเตือนกำ�ลังมีอารมณ์โกรธ ดดุ า่ เสียงดงั หรอื กระชากปลก๊ั ออก แตห่ ากผ้ปู กครองเตอื นดี ๆ แลว้ ลูกก็ยังหงุดหงดิ เสยี งดัง โวยวาย ท�ำ รา้ ยตวั เองหรอื ผูอ้ ืน่ สญั ญาณเหลา่ นี้เปน็ สญั ญาณอนั ตรายว่าลูก อาจตดิ เกมแล้ว ผ้ปู กครองควรระงบั สติอารมณข์ องตน ไม่ท�ำ ใหเ้ รื่องลกุ ลาม บานปลาย และหาจังหวะเตือนเด็กจนกระทั่ง เด็กเลิกเล่น เนอ่ื งจากการหนอี อกไปอาจทำ�ให้ เด็กเกิดการเรียนรู้ว่า การโวยวาย การ แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว ทำ�ให้ตนเอง สามารถเล่นต่อได้ 19

3. หมกมุน่ อยกู่ บั การเลน่ เกม เด็กท่ีมีแนวโน้มว่าจะติดเกมอาจมีความคิดหมกมุ่นอยู่กับเกมตลอดเวลา หยบิ โทรศัพทม์ ือถอื ขน้ึ มาเพื่อเล่นเกมบอ่ ย ๆ หรอื เมื่อกลับถงึ บา้ นกพ็ งุ่ ไปหา คอมพิวเตอรเ์ พอื่ เล่นเกมทนั ที ไม่รับผดิ ชอบกจิ กรรมอ่นื ใชเ้ วลา ว่างส่วนใหญ่ ไปกบั กจิ กรรมที่เก่ียวข้องกบั เกม เชน่ การ อา่ นข่าวสารเกม ดูนกั พากยเ์ กม (game caster) หรือดู streaming ทม่ี ีคนทเ่ี ล่นเกมเกง่ ๆ มาเล่นเกมใหด้ ู 4. เลน่ เกมมากข้นึ เรอ่ื ย ๆ จนไมส่ ามารถรับผดิ ชอบหน้าท่ี หรือทำ�กจิ กรรม อ่นื น้อยลง เดก็ ทีใ่ ชเ้ วลากบั การเลน่ เกมนานขึน้ เร่ือย ๆ ต่อรองผู้ปกครอง เพ่ือให้ได้เลน่ เกมมากข้ึน หรอื เดมิ เคยรกั ษาเวลา ในการเล่นไดต้ ามขอ้ ตกลง แต่ตอ่ มาไมส่ ามารถ รกั ษาเวลาได้จากทไ่ี มต่ ้องเตอื นให้หยุดเลน่ กลาย เปน็ ผปู้ กครองต้องเข้าไปเตือนทกุ คร้งั หรอื เวลา ที่เลน่ เริ่มเบยี ดบงั เวลาในการท�ำ ภาระหนา้ ที่ และ การเรยี น 5. ยงั คงเลน่ เกมอยู่แม้จะเรม่ิ มปี ัญหาเกิดข้ึน ผลกระทบจากการเล่นเกม คอื การเสียเวลาไปกับเกม ไม่กินข้าว นอนดึก ตื่นสาย เด็กที่มีแนวโน้มจะติดเกม มักจะไม่ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้น ยังคงเล่นเกมและไม่พยายามที่จะควบคุม การเล่น เริ่มโทษผู้อื่นนำ�ไปสู่ปัญหาความขัดแย้ง และใชก้ ารเลน่ เกมเปน็ ทางออกท�ำ ใหเ้ กดิ เปน็ วงจร ของปัญหาการติดเกม 20

อาการของเดก็ ตดิ เกม อาการทางจติ ใจ นอกจากเกณฑก์ ารตดิ เกม และสัญญาณ ดังไดก้ ลา่ วมา ผูท้ ่ีติดเกมอาจแสดงอาการอ่ืน ๆ ไดด้ ังน้ี •• อารมณเ์ สีย ข้ีหงดุ หงิด ฉุนเฉียวง่าย โมโห เกรี้ยวกราดอย่างมากเม่อื ถกู ยดึ โทรศัพท์ โทรศัพท์หาย หรอื • ไม่มสี ญั ญาณอนิ เทอร์เน็ต รู้สกึ ผดิ เมอื่ ไม่สามารถเล่นเกมกบั เพื่อน ๆ ได้ ท้ิงกลุ่มในเกมไป กังวล • กลวั วา่ เพอ่ื นในเกมจะว่า ต�ำ หนิตน ไม่สามารถควบคุมตัวเองไดใ้ นขณะเลน่ เกม หงุดหงดิ หัวเสยี เมอื่ ผอู้ ืน่ •• เลน่ ไมไ่ ด้ดง่ั ใจ ท�ำ ให้ทีมแพ้ รสู้ กึ แยห่ รอื เสียดายเวลาที่เอาไปท�ำ กจิ กรรมอ่นื แทนทีจ่ ะเอาไปเล่นเกม รู้สกึ สงบ มีความสขุ เม่ือไดเ้ ล่นเกม 21

อาการทางร่างกาย มีอาการนอนไม่หลบั หรอื เปลีย่ นแปลงเวลาการนอน นอนดึก ต่นื สาย นอนหลบั ในห้องเรียน กนิ ข้าวไมเ่ ป็นเวลา รอจนกระทั่งหวิ มาก ๆ จงึ จะกิน กินอาหาร ไม่มปี ระโยชน์ นำ�้ หนกั ลด (หรอื น้ำ�หนักเพิ่ม) ไมด่ แู ลความสะอาดของตัวเอง เช่น ไม่อาบน�้ำ ไม่ตัดผม ไม่สระผม ไม่ตดั เลบ็ มกี ล่นิ ตวั ฯลฯ ร่างกายไม่แขง็ แรง ขาดการออกก�ำ ลังกาย น�ำ้ หนกั ตวั เพิม่ จากการ นั่งเลน่ เกมนานและกนิ ของหวานหรืออาหารทีม่ ผี ลเสียต่อสุขภาพ อาการทางกายอนื่ ๆ เชน่ ปวดหัว ตาแหง้ ตาพร่ามัว ปวดเมอื่ ย กลา้ มเนอื้ คอ ไหล่ หรอื มีกลมุ่ อาการประสาทมอื ชา (carpal tunnel syndrome) 22

พฤติกรรมเปลย่ี นแปลง ด้อื ตอ่ ตา้ น ไมเ่ ชอ่ื ฟงั ไมส่ นใจการเรียน เถียง พูดคำ�ไมส่ ุภาพ ผลการเรยี นตกต่ำ�ลง หลกี เลย่ี งกจิ กรรมทท่ี ำ�ใหต้ น ใช้จ่ายเงนิ มากขน้ึ ท้ังในเกม ไมส่ ามารถเล่นเกมได้ หรอื เพื่อซ้ืออุปกรณ์ในการ เช่น เข้าค่าย ไปในทท่ี ไ่ี มม่ ี เล่นเกมตา่ ง ๆ สัญญาณอินเทอรเ์ น็ต เป็นตน้ 23

แยกตวั เกบ็ ตวั อยแู่ ตใ่ นหอ้ ง หาเหตุผลให้กับการเล่นเกม ให้เวลากับคนในครอบครัว ของตนเอง เช่น “ดีกว่าไป หรอื เพือ่ น ๆ ในชีวติ จริงลด ดม่ื เหลา้ -ตดิ ยา” “ใคร ๆ เขา น้อยลง กเ็ ลน่ กนั ” “ปดิ เทอมทง้ั ที ขอ เล่นหน่อย เรียนมาทั้งเทอม แลว้ ” ผู้ปกครองท่ีสงสัยว่าเด็กที่อยู่ในความดูแลจะเข้าข่ายเป็นโรค ตดิ เกมหรอื ไม่ สามารถท�ำ แบบทดสอบการตดิ เกม (Game Addiction Screening Test: GAST) โดยมีทงั้ ฉบับทีเ่ ด็กประเมนิ ตนเอง และฉบับท่ี ผู้ปกครองใชป้ ระเมินเดก็ ดว้ ย โดยสามารถเข้าไปท�ำ แบบทดสอบออนไลน์ ไดท้ ี่ www.healthygamer.net 24

แบบทดสอบการตดิ เกม Game Addiction Screening Test (GAST)

แบบทดสอบการตดิ เกม ฉบับผูป้ กครอง (Game Addiction Screening Test - GAST: Parent Version) คำ�ชแ้ี จง: กรณุ าอ่านขอ้ ค�ำ ถามต่อไปน้โี ดยละเอยี ด และเลือกคำ�ตอบที่ใกลเ้ คียงกบั พฤตกิ รรม ของตัวคุณมากท่สี ุดในช่วง 3 เดือนทผ่ี า่ นมา โดยทำ�เคร่อื งหมาย ลงใน ที่ก�ำ หนดให้ ขอ้ ค�ำ ถาม ไม่ใช่เลย ไม่นา่ ใช่ นา่ จะใช่ ใชเ่ ลย 0 1 2 3 ตงั้ แตล่ ูกชอบเล่นเกม… 1. ลูกสนใจหรอื ทำ�กจิ กรรมอย่างอ่นื นอ้ ยลงมาก 2. ลูกมกั เลน่ เกมจนลมื เวลา 3. ความสัมพันธร์ ะหวา่ งลูกกับคนในครอบครวั แย่ลง 4. ลูกเคยเล่นเกมดกึ มาก จนท�ำ ให้ตน่ื ไปเรยี น ไม่ไหว 5. ลกู มกั เลน่ เกมเกินเวลาท่ฉี ันไดร้ ับอนญุ าต ใหเ้ ลน่ 6. ลูกมกั อารมณ์เสียเวลามีใครมาบอกให้เลกิ เลน่ เกม 7. ลกู เคยโดดเรียนเพื่อไปเล่นเกม 8. เร่ืองทีล่ กู คุยกบั เพอื่ น ๆ มักเปน็ เร่อื งเกย่ี ว กับเกม 9. ลูกใช้เวลาว่างสว่ นใหญ่ไปกับการเล่นเกม 10. การเรียนของลูกแยล่ งกว่าเดิมมาก 11. กลุม่ เพือ่ นทลี่ กู คบด้วย ชอบเลน่ เกมเหมอื น กับลกู 12. เวลาทฉ่ี ันหา้ มลกู ไมใ่ หเ้ ล่นเกมมาก ลูกมกั ท�ำ ไม่ได้ 13. ลกู ใช้เงินสว่ นใหญ่หมดไปกบั เกม (เช่น ซ้ือบตั ร ชั่วโมง, ซือ้ หนังสือเกม, ซอ้ื อาวุธในเกม ฯลฯ) 14. อารมณ์ของลูกเปลยี่ นไป (เบ่อื งา่ ย, หงุดหงิดงา่ ย, ข้รี ำ�คาญ ฯลฯ) 15. พฤติกรรมของลูกเปลีย่ นไป (เถียงเก่ง, ไม่เชอื่ ฟัง, ไม่รับผดิ ชอบ ฯลฯ) 16. ฉันคดิ ว่า ลูกฉนั ตดิ เกม รวมคะแนน A BC คะแนนรวมทั้งหมด A+B+C = พัฒนาโดย รศ.นพ.ชาญวทิ ย์ พรนภดล รว่ มกบั กรมสขุ ภาพจิต กระทรวงสาธารณสขุ สงวนลขิ สทิ ธ์ ิ C

แบบทดสอบการตดิ เกม ฉบบั ประเมินตนเอง (Game Addiction Screening Test - GAST: Self Version) ค�ำ ชี้แจง: กรณุ าอา่ นขอ้ ค�ำ ถามต่อไปนีโ้ ดยละเอยี ด และเลอื กคำ�ตอบทใ่ี กลเ้ คียงกบั พฤตกิ รรม ของตัวคณุ มากทส่ี ดุ ในชว่ ง 3 เดอื นทผี่ ่านมา โดยทำ�เครื่องหมาย ลงใน ทก่ี ำ�หนดให้ ขอ้ คำ�ถาม ไม่ใชเ่ ลย ไม่นา่ ใช่ น่าจะใช่ ใช่เลย 0 1 2 3 ตัง้ แต่ฉันชอบเลน่ เกม… 1. ฉันสนใจหรอื ท�ำ กิจกรรมอย่างอ่นื นอ้ ยลงมาก 2. ฉนั มกั เล่นเกมจนลืมเวลา 3. ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งฉนั กบั คนในครอบครวั แย่ลง 4. ฉนั เคยเล่นเกมดึกมาก จนทำ�ให้ต่ืนไปเรยี น ไม่ไหว 5. ฉนั มักเลน่ เกมเกินเวลาท่ีฉันไดร้ บั อนุญาต ใหเ้ ล่น 6. ฉันมักอารมณ์เสียเวลามีใครมาบอกใหเ้ ลกิ เล่นเกม 7. ฉันเคยโดดเรยี นเพ่ือไปเล่นเกม 8. เรอ่ื งทฉี่ ันคุยกับเพอื่ น ๆ มกั เปน็ เร่อื งเกย่ี ว กบั เกม 9. ฉนั ใช้เวลาวา่ งสว่ นใหญ่ไปกบั การเลน่ เกม 10. การเรียนของฉันแยล่ งกวา่ เดมิ มาก 11. กลุ่มเพอ่ื นทฉ่ี นั คบดว้ ย ชอบเล่นเกมเหมือน กับฉัน 12. เวลาทฉี่ นั พยายามหักห้ามใจตัวเองไมใ่ หเ้ ลน่ เกมมาก ฉันมักท�ำ ไม่ส�ำ เร็จ 13. เงินของฉันสว่ นใหญห่ มดไปกบั เกม (เชน่ ซอื้ บตั รชัว่ โมง, ซื้อหนังสือเกม, ซ้อื อาวุธในเกม ฯลฯ) 14. อารมณข์ องฉนั เปลีย่ นไป (เบ่ือง่าย, หงดุ หงิดงา่ ย, ขร้ี �ำ คาญ ฯลฯ) 15. พฤติกรรมของฉนั เปลย่ี นไป (เถียงเกง่ , ไม่เช่ือฟัง, ไมร่ บั ผิดชอบ ฯลฯ) 16. หลายคนบอกว่าฉันติดเกม รวมคะแนน A BC คะแนนรวมทงั้ หมด A+B+C = พฒั นาโดย รศ.นพ.ชาญวทิ ย์ พรนภดล ร่วมกบั กรมสขุ ภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข สงวนลิขสิทธ ์ิ C

การให้คะแนนแบบทดสอบการตดิ เกม การใหค้ ะแนนแบบทดสอบการตดิ เกม ใหค้ ะแนนแต่ละขอ้ คำ�ถามดงั น้ี ไม่ใชเ่ ลย ไมน่ ่าใช่ น่าจะใช่ ใช่เลย 01 2 3 ไม่ใช่เลย ให้ 0 คะแนน ไมน่ ่าใช ่ ให้ 1 คะแนน นา่ จะใช ่ ให้ 2 คะแนน ใช่เลย ให้ 3 คะแนน เมือ่ ใหค้ ะแนนครบทุกข้อแล้ว ให้รวมคะแนน ในแต่ละคอลัมน์ โดยน�ำ คะแนนรวมในคอลัมน ์ “ไมน่ า่ ใช”่ ใสไ่ ว้ในช่อง A คะแนนรวมในคอลมั น์ “นา่ จะใช่” ใส่ไว้ในช่อง B คะแนนรวมในคอลัมน “ใช่เลย” ใสไ่ ว้ในช่อง C หลังจากน้นั จงึ คดิ คะแนนรวมท้งั หมด โดยรวมคะแนนในชอ่ ง A, B และ C เข้าดว้ ยกัน คะแนนรวมท้ังหมด A+B+C = 28

การแปลผลคะแนนแบบทดสอบการตดิ เกม การแปลผลแบบทดสอบการตดิ เกม ฉบบั ผ้ปู กครอง คะแนนรวมของ ระดบั การตดิ เกม ความรุนแรงของปัญหา แบบทดสอบ GAST 0-19 ปกติ ยงั ไม่มปี ัญหา ในการเลน่ เกม 20-29 คลงั่ ไคล้ เริ่มมีปัญหา ในการเล่นเกม 30-48 น่าจะตดิ เกม มปี ัญหา ในการเลน่ เกมมาก การแปลผลแบบทดสอบการติดเกม ฉบับประเมินตนเอง คะแนนรวมของแบบทดสอบ GAST ระดบั การ ความรนุ แรง เพศชาย เพศหญงิ ติดเกม ของปัญหา 0-23 0-15 ปกติ ยงั ไม่มปี ญั หา ในการเล่นเกม 24-32 16-22 คลัง่ ไคล้ เรม่ิ มปี ัญหา ในการเล่นเกม 33-48 23-48 นา่ จะตดิ เกม มปี ญั หา ในการเล่นเกมมาก 29

ผลกระทบของการติดเกม ผลกระทบตอ่ สมอง สมองของเด็กติดเกมมีการ เปลี่ยนแปลงที่คล้ายคลึงกับสมองของ ผู้ที่ติดสารเสพติดทั้งในแง่โครงสร้าง สารสอ่ื ประสาทและการท�ำ งานของสมอง ท�ำ ใหค้ วามสามารถในการควบคมุ ตนเอง ควบคุมอารมณ์ ความสามารถในการ ตัดสินใจและแก้ปัญหาลดลง รวมทั้ง ความสามารถในการพูดคยุ สื่อสารด้อย ลงดว้ ย 30

ผลกระทบต่อร่างกาย ภาวะอ้วน: ซ่งึ จะทำ�ใหเ้ ด็กเสย่ี งต่อการเปน็ โรค ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ โรคเบาหวาน โรคความดนั โลหติ สูง โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด ท�ำ ใหม้ โี อกาสเสยี ชวี ิตก่อนวยั อนั ควร ปญั หาการนอน: การตดิ เกมมคี วามสมั พันธ์กับ ปัญหานอนไมห่ ลับ การนอนที่ไม่มคี ุณภาพและ ระยะเวลาในการนอนทีล่ ดลงซึง่ สง่ ผลกระทบตอ่ สุขภาพกาย ความจ�ำ และความสามารถทางการ เรียนของเด็ก ปัญหาทางสายตา: ไดแ้ ก่ ตาลา้ ไมส่ บายตา ตาแหง้ เห็นภาพซอ้ น และตาพร่ามัว โดย รวมเรียกว่า โรค computer vision syndrome ปัญหาตอ่ ระบบกล้ามเนอ้ื และกระดูก: ได้แก่ อาการปวดกล้ามเน้ือและกระดูกบริเวณคอและ แขน มรี ายงานผปู้ ว่ ยที่รนุ แรงคือ เอน็ นว้ิ โป้งซา้ ย ขาดจากการเล่นเกมบนโทรศัพท์มือถือติดต่อ กันทุกวัน บางรายมอี าการปวดทห่ี าสาเหตไุ ม่ได้ เชน่ ปวดศีรษะ ปวดทอ้ ง ปวดข้อ อบุ ตั เิ หตุ: เดก็ ท่ใี ช้โทรศัพทม์ ือถือเพอื่ เล่น เกมขณะเดนิ บนถนน วยั รุ่นที่ใช้โทรศพั ท์มอื ถือเพื่อเล่นเกมขณะขับขี่ยานพาหนะ เป็น กล่มุ ทีเ่ สยี่ งตอ่ การเกิดอุบัตเิ หตรุ ุนแรง 31

ผลกระทบตอ่ อารมณ์และพฤติกรรม พฤตกิ รรมกา้ วร้าวรุนแรง: การใชส้ ารเสพตดิ : เด็กท่ีเล่นเกมท่ีเก่ียวข้องกับความ การเลน่ เกมสมั พนั ธ์กบั การเริม่ สูบ รนุ แรง สมั พนั ธก์ บั ความชนิ ชาตอ่ บหุ รี่ การดมื่ สุรา การใชส้ ่ิงเสพตดิ ความรนุ แรง ความคดิ อารมณแ์ ละ ชนดิ อื่น ๆ พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงมากขึ้น ความเห็นอกเห็นใจและความอยาก ชว่ ยเหลอื ผู้อื่นลดลง การเข้าสังคม: ปัญหาอารมณ์และพฤติกรรมอนื่ ๆ: เดก็ ติดเกมจะมีการเข้าสงั คมลดลง หลีก ไดแ้ ก่ โรคซมึ เศร้า โรควิตกกงั วล เลี่ยงการพบกับคนจำ�นวนมาก ๆ แต่จะ โรคสมาธิส้นั โรคกลัวสงั คม ไมห่ ลีกเลย่ี งสังคมท่อี ยใู่ นเกม และมกั มี ความสัมพนั ธ์กับคนในครอบครวั แย่ลง 32

สิ่งที่ผปู้ กครอง ควรทำ� ไม่คแวลระ ทำ�

สง่ิ ทคี่ วรทำ� • ใหค้ วามรัก ความอบอ่นุ และเวลา ที่มีคณุ ภาพกับเด็ก • กำ�หนดกติกาและระยะเวลาการเล่นเกม ใหไ้ ดไ้ มเ่ กนิ 1 ชวั่ โมงในวันธรรมดา และ ไมเ่ กนิ 2 ชั่วโมงในวนั หยดุ และดูแลก�ำ กับ อย่างสม�ำ่ เสมอ • ฝกึ ให้เดก็ ร้จู กั แบ่งเวลาและมีระเบียบวนิ ัย • มีกิจกรรมสนกุ สนานท่สี มาชิกในครอบครวั ร่วมกันทำ� หากลูกอยากเล่นเกม อาจร่วม เล่นเกมกบั ลูก และหาจังหวะช้ีให้เห็นข้อดี ขอ้ เสยี ของเกม • สอนให้เดก็ มวี ธิ คี ลายเครยี ดท่หี ลากหลาย และส่งเสริมให้เด็กมีงานอดิเรกทำ�หลาย ๆ อย่าง • ท�ำ ความรู้จักกับเพือ่ นและครอบครวั ของเพอ่ื นลกู เพอื่ หาเวลาพาเด็กมาทำ� กจิ กรรมรว่ มกนั 34

สง่ิ ท่คี วรท�ำ • คนในครอบครัวมแี นวทางเดยี วกนั ในการเลี้ยงดเู ดก็ • ใช้คำ�พดู สง่ เสริมใหเ้ ด็กมีความรสู้ ึก มคี ณุ ค่าในตนเอง (self-esteem) • เป็นแบบอยา่ งที่ดใี นการใชส้ ่ือ ออนไลนอ์ ย่างเหมาะสม • ก�ำ หนดพื้นทท่ี เ่ี ด็กห้ามใชม้ อื ถอื เชน่ ในหอ้ งนอน บนโตะ๊ อาหาร โต๊ะทำ�การบ้าน • ศึกษาแอปพลเิ คชนั สำ�หรับ ผปู้ กครองเพ่อื ใชค้ วบคมุ การ ใชง้ านออนไลน์ของเดก็ เชน่ Screentime Google Family Link • สอดส่องและศึกษาเกีย่ วกับเกม ทเี่ ด็กเลน่ วา่ มเี นอ้ื หาอยา่ งไร เหมาะสมทเี่ ดก็ จะเลน่ หรอื ไม่ 35

สง่ิ ที่ไม่ควรทำ� • ใช้อารมณ์ พูดไม่ดีใส่ลูก หรือลงโทษ อยา่ งรุนแรงเม่อื เดก็ เล่นเกมนานเกนิ ไป • ซ้ืออปุ กรณก์ ารเลน่ เกมให้กอ่ นทจ่ี ะมี การตกลงกติกา • อนุญาตใหเ้ ดก็ เป็นเจ้าของมือถือ และสามารถเกบ็ มอื ถือไวก้ ับตัวเอง • ใชเ้ กมเป็นเสมือนพี่เลยี้ งเด็กแทน ตวั พ่อแม่ ละเลยการท�ำ กจิ กรรม รว่ มกันในครอบครัว • ปลอ่ ยใหเ้ ด็กอยูแ่ ตก่ ับเกม จนเด็ก ขาดความสนใจทีจ่ ะมงี านอดิเรกอื่น ๆ • กลัวอารมณ์ลูก หลีกเลยี่ งการขัดใจลกู 36

สง่ิ ท่ีไม่ควรทำ� • ขัดแยง้ กันเองระหว่างผู้ปกครอง ในการจัดการกบั พฤตกิ รรมเด็ก • ใช้คำ�พดู เชงิ ตำ�หนิ จับผดิ ตลอด เวลาจนเดก็ ขาดความรสู้ ึกมคี ณุ คา่ ในตวั เอง • ไดแ้ ต่บน่ แตไ่ ม่เคยเอาจริง ใจออ่ นเวลาเด็กตอ่ รอง • ปลอ่ ยปละละเลย อนญุ าตใหเ้ ดก็ เล่นเกมเมื่อไหร่ก็ได้ ที่ไหนก็ได้ นานแคไ่ หนก็ได้ • ตามเทคโนโลยไี ม่ทนั ละเลยใน การแสวงหาและศกึ ษาแอปพลเิ คชนั สำ�หรับควบคุมการใช้งานออนไลน์ ของเด็ก • มองแต่ด้านดีของเกม มองข้าม ผลกระทบดา้ นลบของเกมที่มีตอ่ พัฒนาการ สขุ ภาพกาย และ สขุ ภาพจิตของเด็ก 37

ปจั จุบนั นี้มเี ดก็ จ�ำ นวนมากใฝฝ่ นั อยากเปน็ “นกั กีฬาอสี ปอร์ต” สงิ่ ท่เี ด็กมกั ได้ยินจากสื่อต่าง ๆ เกี่ยวกับอีสปอร์ตส่วนใหญ่มีเฉพาะด้านดี เช่น อีสปอร์ตเป็น กฬี าชนดิ หนง่ึ นกั กฬี าอสี ปอรต์ สามารถทำ�เงนิ ได้ปีละเป็นล้าน นักกีฬาอีสปอร์ตไม่ใช่เด็กติด เกม ฯลฯ แตม่ ีเดก็ นอ้ ยคนนัก ทจ่ี ะไดย้ นิ อกี ดา้ นของอสี ปอรต์ ซึ่งเป็นข้อมูลที่ผู้ปกครองควร ทราบ เพอ่ื ใชส้ อ่ื สารกบั เดก็ และ ทำ�ความเข้าใจยิ่งขึ้นเกี่ยวกับ อสี ปอรต์ ขอ้ มลู เหลา่ นน้ั ไดแ้ ก่ คณะกรรมการโอลิมปกิ สากล และ สมาคมสหพันธ์กีฬานานาชาติ (International Olympic Committee: IOC) (Global Association of International Sport Federation: GAISF) ยังไม่รบั รองให้อสี ปอรต์ เป็นกฬี า อีสปอรต์ ยงั คงเป็นแค่ “การแข่งขันวดิ โี อเกมชิงเงินรางวัล” เทา่ น้ัน ช่วงอายขุ องการเปน็ นกั กฬี าอสี ปอร์ตมืออาชพี นั้นสน้ั มาก เมอ่ื เทยี บกบั การเปน็ นักกีฬาชนิดอื่น นักกีฬาอีสปอร์ตมืออาชีพส่วนใหญ่ต้องเลิกเล่นช่วงอายุ 20 กลาง ๆ เนื่องจากความไวในการตอบสนองสู้คนที่อายุน้อยกว่าไม่ได้ และมักมี อาการบาดเจ็บของเส้นเอ็นขอ้ มือ/นวิ้ มือจากการเลน่ เกมเป็นระยะเวลายาวนาน 38

เด็กที่ใชเ้ วลากบั อีสปอร์ตมากเกินพอดี เดก็ จะท�ำ อะไรตอ่ ไป เมอ่ื ไม่ไดเ้ ปน็ จนกระทงั่ สูญเสยี หนา้ ท่ีและการ นักกีฬาอีสปอร์ต หากเด็กไม่มี เขา้ สงั คม ผลการเรยี นแยล่ ง ทกั ษะอน่ื ๆ ส�ำ หรบั การประกอบ เดก็ กลมุ่ นี้คอื “เดก็ ติดเกม” อาชีพนอกเหนือจากทักษะการ การเลน่ พนนั ในอีสปอรต์ เล่นเกม ถือเปน็ สิง่ ผดิ กฎหมาย การแขง่ ขันอีสปอร์ตสามารถ เด็กสามารถฝกึ ฝนสมองและทักษะการคดิ มกี ารโกงกนั ได้งา่ ยกวา่ กีฬา และตัดสนิ ใจได้จากการท�ำ กจิ กรรมอน่ื ๆ ประเภทอื่นมาก นอกเหนอื จากการเลน่ เกม โอกาสทเี่ ดก็ จะกา้ วไปถงึ ข้ันที่มรี ายได้ ตน้ ทุนทีเ่ ดก็ ตอ้ งเสียไปใหก้ ับ จนสามารถประกอบเปน็ อาชพี มรี ายได้ อีสปอร์ตมีไมน่ อ้ ย เชน่ เป็นกอบเป็นกำ�นั้นเป็นไปได้น้อยมาก ต้นทุนดา้ นเวลา ด้านการเงนิ เรียกได้ว่ามีเพียง 1 ใน 1,000,000 ทต่ี อ้ งเสยี ไปกบั การซอ้ื ไอเทม็ เมอ่ื เทยี บระหวา่ งจ�ำ นวนผทู้ ก่ี า้ วขน้ึ เปน็ ในเกมเพอ่ื ใหเ้ อาชนะคตู่ อ่ สไู้ ด้ แชมปก์ ารแข่งขนั ใหญ่ๆ กับผทู้ ่ใี ฝฝ่ ัน ด้านสุขภาพกายและจิตใจ อยากเป็นนกั กฬี าอสี ปอรต์ ดา้ นโอกาสในการเรยี นรอู้ น่ื ๆ ที่เป็นประโยชน์ในชีวิต ฯลฯ 39

แนวทางการช่วยเหลือครอบครัวของบ๊คุ และปอนด์ ครอบครวั ที่ 1 การเล่นเกมของบุ๊คเริ่มต้นขึ้นเมื่อผู้ปกครองอนุญาตให้มี โทรศัพท์มือถือส่วนตัวไว้ใช้ ซึ่งไม่เคยตกลงกติกากันไว้ก่อนที่เด็กจะ เริ่มเล่นเกมออนไลน์ จนกระทั่งพ่อแม่ไม่สามารถควบคุมได้ บุ๊คใช้วิธี หลกี หนคี วามเครยี ดจากการเรยี นไปเลน่ เกม และกลายเปน็ โรคตดิ เกม ในทส่ี ดุ หลงั จากพอ่ แมม่ าปรกึ ษาจติ แพทยเ์ ดก็ พอ่ แมเ่ รม่ิ เปลย่ี นวธิ ี การปฏิบัติกับบุ๊ค โดยร่วมมือกันทั้งพ่อและแม่ ไม่โทษกันไปมาว่าเป็น ความผิดของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง เน้นการฟื้นฟูหรือสร้างความสัมพันธ์ที่ ดีกับบุ๊คโดยให้เวลาที่มีคุณภาพ ช่วงเย็นของทุกวันเมื่อพ่อกลับมาถึง บ้าน พ่อจะชวนบุ๊คมาเล่นเกมกระดาน (Board game) แนววางแผน ตอ่ สทู้ บ่ี คุ๊ ชอบ ระหวา่ งเลน่ กม็ กี ารพดู คยุ หยอกลอ้ สรา้ งบรรยากาศที่ ผ่อนคลาย สนุกสนาน ทุกวันหยุดเสาร์-อาทิตย์พ่อแม่พาบุ๊คพร้อม เพื่อน ๆ ในชั้นเดียวกันไปทำ�กิจกรรมแนวผจญภัยตื่นเต้น เช่น เล่น BB Gun ปีนหน้าผา โรยตัว ขับรถ ATV เดินป่า ขี่ม้า ยิงธนู ฯลฯ สลับกับเล่นกีฬาที่เด็ก ๆ สนใจและอยากเล่น พ่อแม่ยังได้ปรับเปลี่ยน วธิ กี ารพดู และปฏบิ ตั กิ บั บคุ๊ โดยหลกี เลย่ี งการใชค้ �ำ พดู เชงิ ลบหรอื การ ลงโทษที่รุนแรง พยายามหาขอ้ ดขี องบคุ๊ มาพดู ชมอยเู่ รอ่ื ย ๆ เมื่อสัมพันธภาพระหว่างพ่อแม่กับบุ๊คดีขึ้น ก็เริ่มคุยกันเรื่อง กำ�หนดระยะเวลาในการเล่นเกม และกติกาหรือบทลงโทษหากบุ๊คไม่ สามารถควบคุมเวลาเล่นเกมได้ 40

พอ่ แมศ่ กึ ษาและตดิ ตง้ั แอปพลเิ คชนั ชอ่ื “Google Family Link” ลงในโทรศพั ทม์ อื ถอื ของบคุ๊ เพอ่ื ควบคมุ ระยะเวลาการเลน่ เกม พอ่ แม่ ค่อย ๆ ลดเวลาการเล่นเกมของบุ๊คลงครั้งละ 1 ชั่วโมง จนสุดท้าย อนุญาตให้บุ๊คเล่นเกมได้ไม่เกิน 1 ชั่วโมงในวันธรรมดา และไม่เกิน 2 ชั่วโมงในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ พ่อแม่เตือนสติบุ๊คด้วยคำ�พูดของ จิตแพทยเ์ ดก็ ท่ีพ่อแมไ่ ปปรึกษาว่า “เราเล่นเกมได้...แตอ่ ยา่ ปลอ่ ยให้ เกมเลน่ เรา” “ใหเ้ กมเปน็ กจิ กรรมเสย้ี วหนง่ึ ของชวี ติ ...แตอ่ ยา่ ปลอ่ ยให้ เกมกลนื กนิ ชวี ติ เราทง้ั ชวี ติ ” ตอ้ งรจู้ กั ท�ำ ให้ “เกมสมดลุ ...ชวี ติ สมดลุ ” ในเวลา 3 เดือนที่พ่อแม่เริ่มเปลี่ยนตัวเอง สุดท้ายพ่อแม่ก็ได้บุ๊คคน เดิมกลบั คืนมา 41

ครอบครวั ท่ี 2 พ่อตัดสินใจเข้าไปปรึกษาครูถึงปัญหาที่เกิดขึ้นของปอนด์ ครูแนะน�ำ ให้พ่อหนั มาสนใจและหาจดุ ดใี นตวั ปอนด์พอ่ จงึ แบง่ เวลาใน วันธรรมดาช่วงหัวค่ำ�และวันหยุดให้กับปอนด์ โดยพาไปทำ�กิจกรรม ที่ปอนดช์ อบ เชน่ ออกก�ำ ลงั กาย ดกู ารต์ ูน และพอ่ เองยังลองศกึ ษา เกมออนไลนม์ ากขน้ึ โดยใหป้ อนดเ์ ลา่ ใหพ้ อ่ ฟงั วา่ เกมทเ่ี ลน่ เปน็ อยา่ งไร ท�ำ ไมถงึ เลน่ แลว้ วางไมล่ ง ชว่ งหลงั พอ่ นกึ สนกุ จงึ ไดล้ งมาเลน่ เกมกบั ปอนด์เองด้วย และเริ่มเข้าใจในการควบคุมการเล่นเกมและจัดแบ่ง เวลาให้ปอนด์อย่างไร รวมทั้งช่วยแก้ความเข้าใจผิดให้ปอนด์ว่าเกม ไมใ่ ชก่ ฬี า ปอนดร์ สู้ กึ มคี วามสขุ ขน้ึ เวลาอยทู่ บ่ี า้ น และอยากท�ำ กจิ กรรม กบั พอ่ มากข้ึน กล้าทจ่ี ะบอกพอ่ ว่าท่ีผา่ นมาเรยี นหนงั สอื ไมร่ ้เู รื่องและ ใชเ้ วลาไปกบั กจิ กรรมอน่ื นอกเหนอื จากการเรยี นมากเกนิ ไป พอ่ เขา้ ใจ ปอนดแ์ ละชว่ ยเหลอื จนกระทง่ั ปอนดไ์ มโ่ ดนไลอ่ อก และผลการเรยี นดี ขน้ึ กวา่ เดมิ โดยทป่ี อนดย์ งั ไดท้ �ำ กจิ กรรมทป่ี อนดช์ อบ ก�ำ หนดตาราง เวลาการเล่นเกมเองโดยทม่ี พี ่อช่วยก�ำ กบั ดูแล 42

ค�ำ ถามทพ่ี บบอ่ ย - FAQs -

FAQs คำ�ถามท่ีพบบ่อย การตดิ เกมมจี ริงหรอื ? การตดิ เกมมอี ยู่จรงิ ซ่งึ เป็นพฤตกิ รรมการเสพตดิ ชนดิ หน่งึ Doctor เหมือนติดการพนนั และมกี ารศึกษาวจิ ัยทางการแพทย์ จำ�นวนมากรองรับ เดก็ ติดเกมต่างกบั เดก็ เลน่ เกมทวั่ ไปอย่างไร? Doctor เดก็ ทต่ี ดิ เกมจะมลี กั ษณะตา่ งกบั การเลน่ เกมทว่ั ไป โดยมลี กั ษณะ 1) ไม่สามารถควบคุมการเล่นเกมของตนได้ 2) ให้ความสำ�คัญกับการเล่นเกมมากกว่ากิจกรรม งานอดิเรก หรอื กิจวัตรประจำ�วนั ตา่ ง ๆ 3) ยังคงเล่นเกมหรือเล่นมากขึ้นทั้งที่การเล่นเกมนั้นก่อให้เกิด ผลเสยี กบั ตนเอง และทส่ี �ำ คญั คอื การเลน่ เกมนน้ั จะจดั วา่ เปน็ ตดิ เกมเมอ่ื กอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ ตนเอง ครอบครวั สงั คม หรือการเรยี น-การทำ�งาน หรอื หนา้ ท่ีความรบั ผิดชอบ 44

FAQs ค�ำ ถามท่ีพบบ่อย การเลน่ เกมมากสง่ ผลเสยี อยา่ งไร? Doctor สิ่งที่ต้องแลกกับการเล่นเกมคือการใช้เวลา ซึ่งทำ�ให้เวลาท่ี จะไปใชก้ บั กจิ กรรมอน่ื ๆ หรอื ใชก้ บั ผอู้ น่ื นอ้ ยลง นอกจากน้ี ยังอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพกาย เช่น อ้วนหรือผอมเกินไป ปญั หาสายตา ปวดเมอ่ื ยกลา้ มเนอ้ื พกั ผอ่ น ไมเ่ พยี งพอ และ ผลเสยี ตอ่ สขุ ภาพจติ เชน่ อารมณเ์ สยี หงดุ หงดิ งา่ ย มภี าวะ ซึมเศร้า และปญั หาความสัมพันธก์ บั ผอู้ ่ืนได้ การเลน่ เกมมขี อ้ ดีบ้างไหม? Doctor การเล่นเกมก็เหมือนกิจกรรมอื่น ๆ ที่หากทำ�มากเกินพอดี ก็ส่งผลเสีย แตห่ ากใชอ้ ยา่ งเหมาะสม เลอื กเกมที่ดสี ง่ เสรมิ ทักษะและเหมาะกบั วยั ช่วยในการคลายเครยี ด และยังชว่ ย ในการสรา้ งสัมพนั ธ์กบั เพอื่ นหรอื คนในครอบครวั ได้ 45

FAQs ค�ำ ถามทีพ่ บบอ่ ย ไมใ่ หล้ กู เลน่ เกมเลยดไี หม? หากมีกิจกรรมหรอื สง่ิ ทเ่ี ปน็ ประโยชนอ์ ื่น ๆ นับเป็นสิง่ ทดี่ ี Doctor อยา่ งไรกต็ าม การห้ามมักทำ�ได้ยาก บางเกมก็มีประโยชน์และ สังคมแวดล้อมของลูกก็อาจเล่นเกมเช่นกัน การเล่นอย่างเหมาะสม มีข้อตกลงชัดเจน และแบ่งเวลาให้กับ กิจกรรมอื่น ๆ จึงน่าจะเป็นสิง่ ท่ีดีที่สดุ ลกู อยากเป็นนักกีฬาอีสปอรต์ ควรท�ำ อยา่ งไร? Doctor การเป็นนักกีฬาทกุ ประเภทจำ�เป็นตอ้ งมีการแบ่งเวลา การซอ้ มมากเกนิ ไปสง่ ผลเสยี ตอ่ สขุ ภาพไดเ้ หมอื นนกั กฬี าทว่ั ไป การมวี ินยั รบั ผิดชอบหน้าทีอ่ น่ื ๆ ก็สำ�คญั เนือ่ งจากทุกคน จ�ำ เปน็ ตอ้ งมหี ลายบทบาทหนา้ ท่ี เชน่ หนา้ ทข่ี องการเปน็ นกั กฬี า นักเรียน หรือลูกที่ดี นอกจากนี้การคุยให้เขาได้เห็นถึงความ สำ�คัญของทักษะด้านอื่น ๆ นอกเหนือจากการเล่นเกม เช่น นำ�้ ใจนกั กีฬา การทำ�งานเป็นทีม การจัดการอารมณ์ การแบง่ เวลา ซึ่งสิ่งเหล่านี้มีความสำ�คัญทั้งในการเป็นนักกีฬาและใน ชวี ิต 46

FAQs คำ�ถามท่พี บบอ่ ย พบเด็กตดิ เกมบอ่ ยแค่ไหน? Doctor พบวา่ รอ้ ยละ 5 ของเดก็ และวยั รนุ่ อาจมอี าการเขา้ ไดก้ บั การ ติดเกม ดังนัน้ จงึ มีเพียงสว่ นนอ้ ยของเด็กทเ่ี ลน่ เกมเท่านัน้ ท่ี จะติดเกม โดยพบการตดิ เกมในผ้ชู ายมากกว่าผหู้ ญิง ลกู ตดิ เกมเพราะอะไร? Doctor การตดิ เกมเกดิ จากหลายสาเหตุร่วมกนั ไมว่ า่ จะเปน็ จากเดก็ มคี วามเครยี ด ขาดทกั ษะ มโี รคทางจติ เวช โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคสมาธิสั้น ซึมเศร้า วิตกกังวล หรือ ปญั หาจากครอบครวั และสงั คม เช่น มกี ารทะเลาะเบาะแว้งใน ครอบครัว ขาดคนดูแลลูก ถูกกลั่นแกล้งรังแก ดังนั้นความ รว่ มมือของทกุ ๆ คนในบ้านเป็นสิง่ จ�ำ เปน็ การกล่าวโทษลกู หรือคนอืน่ ๆ ในครอบครัวมักทำ�ให้เรอื่ งราวบานปลายได้ 47

FAQs คำ�ถามท่ีพบบ่อย เมื่อไหร่จึงจะสงสยั ว่าลูกติดเกม? Doctor เดก็ ท่ตี อ้ งสงสัยว่าติดเกมอาจมอี าการดงั ต่อไปนี้ 1) ใช้เกมในการจดั การความเครียดบอ่ ย ๆ 2) หงดุ หงดิ เมื่อไมส่ ามารถเลน่ เกมได้ 3) คิดหมกมุ่นแต่เรอ่ื งของเกม 4) ใชเ้ วลากับเกมมากขึ้นเร่อื ย ๆ จนไมส่ ามารถรบั ผิดชอบ หนา้ ท่ขี องตนเองได้ 5) ยงั คงเล่นเกมอยแู่ ม้จะเกดิ ปัญหาจากการเลน่ เกมของตน อยากพาลูกติดเกมไปรักษาสามารถพาไปไดท้ ่ไี หนบา้ ง? พอ่ แมส่ ามารถพาลกู ไปพบจติ แพทยเ์ ดก็ และวัยร่นุ ได้ ตามแผนท่ีทจ่ี ัดทำ�โดยชมรมจติ แพทย์เด็กและวัยรนุ่ แห่งประเทศไทย ศึกษาขอ้ มลู เพิม่ เติมได้ท่ีนี่ 48

FAQs คำ�ถามท่พี บบ่อย แหล่งคน้ คว้าหาข้อมลู เร่อื งเด็กตดิ เกม และความรู้เกย่ี วกับเดก็ จะหาทไี่ หนไดบ้ า้ ง? Doctor ผู้ปกครองสามารถติดตามทางเว็บไซต์และเฟสบุ๊คแฟนเพจ ทเ่ี ขยี นโดยจติ แพทยเ์ ดก็ และวยั รนุ่ กมุ ารแพทย์ นกั จติ วทิ ยา เด็กที่นา่ เชือ่ ถอื ตามช่องทางเหลา่ นี้ไดเ้ ลย ชมรมจิตแพทยเ์ ด็กและวัยรุ่นแหง่ ประเทศไทย ราชวทิ ยาลัยกมุ ารแพทยแ์ หง่ ประเทศไทยและ สมาคมกุมารแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย สมาคมจติ แพทยแ์ ห่งประเทศไทย 49

FAQs คำ�ถามทพ่ี บบ่อย Healthy Gamer สมาธิสั้น แลว้ ไง เขน็ เด็กขึ้นภเู ขา เลยี้ งลูกนอกบา้ น นายแพทยป์ ระเสรฐิ ผลิตผลการพมิ พ์ 50