เปล่ียนโรงเรียนธรรมดา เป็นโรงเรียนปฏิรูป โดยใช้ผลการวิจัย ไอมัจฉ่สริยำ�ะหครัืญอพร.ส..วเทรร่าค์ GROWTH MINDSET จัดทำ�โดย สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและศูนย์จิตวิทยาการศึกษา มูลนิธิยุวสถิรคุณ
ให้ใจ เขปองน็ กาหรศัวึกใษจา
เป้าหมายสุดท้ายของการปฏิรูปการศึกษาคือ การสร้างคนเพื่ออนาคต เป็นการพัฒนาเด็กเยาวชนและคนไทย ให้เป็นผู้มีใจรักที่จะเรียนรู้สามารถ กำ�กับและพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สั่งสมความรู้และ ทักษะที่จำ�เป็นเพื่อพร้อมเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตอย่างรู้เท่าทัน และพร้อมแก้ปัญหาที่ยังไม่เกิดขึ้น ซึ่งผลการวิจัยของศาตราจารย์ คารอล ดเว็ค (Carol S. Dweck) แห่งมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด พิสูจน์ว่า บุคคลจะมีคุณลักษณะข้างต้นเกิดขึ้นเพราะมี Growth Mindset เป็น ฐานสำ�คัญ ดังนั้นการนำ�ผลการวิจัยเกี่ยวกับเทคนิควิธีการเสริมสร้าง Growth Mindset ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคลและทุกๆ คน จึงเป็นเรื่องที่มีความสำ�คัญจำ�เป็นยิ่ง ขอขอบคุณ นายแพทย์ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ ผู้ช่วยรัฐมนตรี ประจำ�กระทรวงศึกษาธิการ และผู้อำ�นวยการศูนย์จิตวิทยาการศึกษา มูลนิธิยุวสถิรคุณ ที่เอื้ออำ�นวยและให้การสนับสนุนการนำ�ผลการวิจัย เรื่อง Growth Mindset สู่การปฏิบัติ และขอขอบคุณคณะทำ�งาน มูลนิธิยุวสถิรคุณและสำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ที่ร่วมมือ รวมพลังจัดทำ�หนังสือเล่มนี้จนสำ�เร็จและเผยแพร่ให้โรงเรียนนำ�ไปใช้อย่าง ทั่วถึง (นายกมล รอดคล้าย) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
“Mindset” เปน็ เร่อื งท่แี พรห่ ลายในวงการจิตวิทยา และวงการอ่ืนๆ มา โดยตลอด การที่คนๆ หนึ่งมี Mindset อย่างไรน้นั จะสง่ ผลตอ่ ความส�ำ เร็จหรือ ความล้มเหลวในชีวิตของเขา แม้แต่วงการศึกษาระดับโลกก็ให้ความส�ำ คญั กบั เรอ่ื ง Mindset เป็นอยา่ งมาก จากผลงานวิจยั ของ ศาสตราจารย์ คารอล ดเวค็ (Carol S. Dweck) ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการพฒั นาศกั ยภาพของมนษุ ยแ์ หง่ มหาวทิ ยาลยั สแตนฟอรด์ ได้พสิ จู น์แล้ววา่ “คุณเกิดมาอย่างไรนั้นไม่สำ�คัญ... Mindset ต่างหากที่สำ�คัญ” หนังสือเล่มนี้ได้หยิบยกเทคนิคการสร้าง Growth Mindset ให้กับเด็กที่ สามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้ในห้องเรียนได้ทันที พร้อมกรณีศึกษาการนำ� Growth Mindset มาใช้พัฒนาโรงเรียนที่เคยอยู่ในเกณฑ์ต่ำ�กว่ามาตรฐาน จนประสบความสำ�เร็จได้ภายใน 3 ปี ขอขอบคุณท่านเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและ สำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาที่ได้เห็นความสำ�คัญของการ พัฒนา Growth Mindset และให้โอกาสร่วมกันจัดทำ�หนังสืออันเป็น ประโยชน์ในครั้งนี้ “ถ้าครูและเด็กมี Growth Mindset การเรียนรู้จะเปลี่ยนแปลงไปโดยสิ้นเชิง” (นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์) ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำ�กระทรวงศึกษาธิการ คณะกรรมการนโยบายและพัฒนาการศึกษา ผู้อำ�นวยการศูนย์จิตวิทยาการศึกษา มูลนิธิยุวสถิรคุณ
ศูนย์จิตวิทยาการศึกษา มูลนิธิยุวสถิรคุณ ดำ�เนินงานเพื่อปฏิรูปการศึกษาตามแนวพระราชกระแสฯ ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ“ให้ครูรักเด็กและเด็กรักครู” อันสอดคล้องกับงานวิจัยการพัฒนาการศึกษาระดับโลก มีเป้าหมาย ให้สาธารณชนเกิดความเชื่อมั่นในครูและระบบการศึกษาไทย โดยทำ�หน้าที่กระตุ้นและผลักดันให้ทุกภาคส่วนของสังคมปรับ เปลี่ยนแนวทางการพัฒนาการศกึ ษา “ให้ใจเป็นหัวใจของการศึกษา” ด้วย 6 โครงการพัฒนาการศึกษาประสิทธิภาพสูง ที่สถานศึกษาต่างๆ นำ�ไปปฏิบัติได้ทันที 1
จากผลงานวจิ ยั ดา้ นการศกึ ษาขนาดใหญร่ ะดบั โลก Visible Learning ปี 2011 โดยศาสตราจารย์ John Hattieที่ได้รวบรวมผลงานวิจัยกว่า 57,600 ชิ้น และ 1,000 meta-analysis มาทำ�การสังเคราะห์ อย่างเป็นระบบ ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาใน เดก็ นักเรียนกล่มุ ตวั อย่างกว่า 250 ลา้ นคนท่ัวโลกช้ีใหเ้ หน็ วา่ “เมรีปามรัวะสแิทตพ่ธภิัฒานพานสอ้ ง่ิ ยที่ หรอื ไม่ไดม้ ีผล ตอ่ การพัฒนาการศกึ ษา อย่างแท้จริง” 2
ปั้จจัยการพัฒนาการศึกษาที่มี ความคาดหวังของครู 0.43 แรง ูจงใจ หลักสกตู ารโรหรแลงลบเดรักบยี พสนบูตขฤกูรอารตณงรสกิรสฐัออารทนงรก่ ีมโมภากีดกาารยรใษ่อบชากรโ้สกหิ วตาานรทร0นัศบ.โน3ยา้0บปูน9.าก30ยร7อ.ณ3ย0่า4์ ง.2อ9ิส0ระ.22 ุคณภาพของการสอน ประสิทธิภาพต่ำ� การปจรดัหะกสอ้ ลบง่มุ กเรตายีารนมณคคว์ใลนาะมหรสะลดาักกมบั สาาชรตู ร้ัเนรรถยี/นทอนอาาผงกย่ากโุนผราอูงร้เนิรศเรเยีทกึ ียนอษนราเ์ น็ต 0.48 การซ้ําชั้นเรยี น 0.48 0. 0.180.20 Visib le Learni 0.12 size effect 0.09 ng 0.04 50 -0.13 โทรทศั น์ -0.18 ความรู้ขกอางกรคาวรหรนัใูใมชรหนปะุ้นยดัเญนเุดับวื้อหกภียาหาานเปารคข็นสศฤโอฐาปึการดงรษนแะบูรใากทนุ้อขคร่ีสกมอนลอาเงสารนครเกริมรยีหรู นลกัรู้ส-ูต00ร0..00.19-2200.1.534 ความ ิคดส ้ราโงปสรคแรวกรรา ์คมม ่ีทกเถี่าแ่กีรลยศึะกวผษกัาลเบขีก่คยอววงากกักาบมาร ุคไํสราปทณเเธยีร็ด่รยสจรขมอมนบ้บจาา ิรดนยขธอ0ร.ง ้รัช30.มนเ530ีร.ย42น09.24 0.210.190.39 ผู้อาํ นวยการโรงเรยี น 0.40 การลดความวิตกกังวล 0.48 0.48 Visible Learning (2011), John Hattie การตงั้ คําถาม แผนภมู ิวงกลมแสดงคา่ Effect Size ของแตล่ ะปัจจยั คา่ ทเ่ี ปน็ ลบ แสดงถงึ ปจั จยั ท่ีลดผลสัมฤทธ์ทิ างการศกึ ษา โดยปจั จัยท่ีดีคือ ปัจจัยที่มีคา่ Effecrt Size มากกว่าค่า เฉล่ีย ซึ่งเท่ากบั 0.4 3
ตัวอย่างการให้ Feedback ท่ีดี สถานการณ์ : ครดู วงใจมอบหมายใหเ้ ดก็ หญงิ มานรี ายงานหนา้ ชน้ั เรยี น หวั ขอ้ ประโยนข์ องการชว่ ย สอนเพื่อนที่เรียนช้ากว่าโดยครูดวงใจตงั้ เป้าหมายไวว้ า่ มานีสามารถ 1. รายงานเนอื้ หาไดค้ รบถ้วน 2. มคี วามนา่ สนใจในการน�ำ เสนอ 3.มีบุคลิกภาพท่ีม่ันใจขณะอยู่หน้าช้ันเรียน เม่อื จบคาบเรียน ครดู วงใจจงึ เรยี กมานีมาเพอ่ื Feedback การรายงาน โดย สนรำ้�า้ เงสบียรงรทยี่เาปก็นามศิตใหร้ มานีรู้สกึ ปลอดภยั ไม่กดดัน และ Feedback ตามประเดน็ ท่ตี ้งั ไว้ “มานี เมื่อสักครู่ หนูเล่าเรื่องเป็นลำ�ดับเหตุการณ์ทำ�ให้เข้าใจได้ง่าย เริ่มจากการเตรียมตัวก่อนสอน บรรยากาศในการสอนเพื่อน และสิ่งที่หนูพบ ว่ามันเป็นประโยชน์กับเพื่อน รูปแบบการนำ�เสนอน่าสนใจตัวอักษรชัดเจน มีการ์ตูนทำ�ให้เข้าใจได้ง่าย สิ่งที่หนูน่าจะเพิ่มคือประโยชน์ที่ได้กับตัวของ หนูเองด้วย มันจะทำ�ให้หนูค้นพบว่าการที่เราทำ�เพื่อคนอื่นเราก็ได้ประโยชน์ เช่นกัน และเพิ่มความมั่นใจในการยืนรายงานหน้าชั้น มองหน้าเพื่อนรอบๆ ห้องเป็นระยะ เท่านี้จะทำ�ให้การรายงานหน้าชั้นของหนูน่าสนใจขึ้นมากค่ะ ไหนหนูลองสรุปดูซวิ ่า หนจู ะปรบั ปรงุ ตวั เองในการรายงานครง้ั หน้าไดอ้ ยา่ งไร บา้ ง” 11
สกรณรีศา้ ึกงษาโรงเรยี นส�ำ เร็จด้วย GROWTH MINDSET เรื่องราวของสองโรงเรียนในประเทศอังกฤษ Prettygate Junior และ Wroxham ที่เคยถูกประเมินจากสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาให้อยู่ ในเกณฑ์ต้องปรับปรุงภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิด (Special Measures) แต่ในระยะเวลาไม่ถึง 3 ปี พวกเขาสามารถพัฒนาโรงเรียนจนได้รับการ ประเมินว่ามีคุณภาพการศึกษาที่โดดเด่น (Outstanding) เป็นที่กล่าวขาน ในวงการศึกษา และเป็นโรงเรียนต้นแบบของการนำ� Growth Mindset มาใช้พัฒนาครู นักเรียน และระบบการบริหารของโรงเรียน จนประสบ ความสำ�เร็จ 12
จากการที่ทางศูนย์จิตวิทยาการศึกษาได้ลงพื้นที่เรียนรู้การเปลี่ยนแปลง โรงเรียนทั้งสองด้วย Growth Mindset พบว่า • ครูใหญ่ ครู และนักเรียนมีความเชื่อมั่นว่าทุกคนมีความสามารถและ ศักยภาพที่จะเรียนรู้ได้ ทำ�ให้ทุกคนมีความมุ่งมั่นตั้งใจในการทำ�หน้าที่ของ ตนเองอย่างเต็มที่ • ครูทุกคนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ Mindset เพื่อที่จะนำ�หลักการ การสร้าง Growth Mindset ให้กับเด็กไปใช้ในห้องเรียน โรงเรียน Wroxham โรงเรียน Prettygate Junior • ในห้องเรียนครูต้ังคำ�ถาม ให้เด็กชว่ ยกนั หาค�ำ ตอบ ให้ความส�ำ คัญกบั กระบวนการ • และความพยายามในการเรียน ให้ Feedback ที่ดีกับเด็ก • มีการสร้างโอกาสให้กับเด็กได้ทำ�กิจกรรมใหม่ๆ ที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เช่น มีมุมกิจกรรมในโรงเรียนที่ท้าทายความสามารถของเด็กและให้ งานที่ยากขึ้นเรื่อยๆเพื่อดึงศักยภาพของเด็กออกมาพร้อมกับสร้าง บรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ในโรงเรียน เด็กสามารถเรียนได้จากทุก อย่างที่อยู่รอบตัว • ทุกคนมีส่วนร่วมในการให้ Feedback เพื่อการพัฒนาโรงเรียน • มีความร่วมมือกันระหว่าง ครู-ครู, ครู-นักเรียน และครู-ผู้ปกครอง รวมทั้งคนในชุมชน เพื่อพัฒนาการเรียนของเด็กๆ โดยมีความสัมพันธ์อันดี ในทุกกลุ่ม 13
บทสรุป การสรา้ ง GROWTH MINDSET ใหก้ บั เดก็ DON'T DO • ส น ใ จ • ใ ห้ ค ว า ม แ ต่ ผ ล ลั พ ธ์ สำ�คัญกับ และความสำ�เร็จ กระบวนการแ ล ะ ความพยายามในการ • ให้ Feedback ทเี่ ปน็ าม- เรียนรู้ ธรรมและคุณลักษณะไม่ • ให้ Feedback ที่ เจาะจงพฤติกรรม เช่น พฤติกรรมและให้ข้อมูล ฉลาด เกง่ หรือโง่ ในการพัฒนาตนเองต่อ • ไ ม่ ช อ บ ใ ห้ เ ด็ ก มี คำ � ถ า ม : • ใ น เ ด็ ก ท่ีข า ด แร ง จู ง ใจ ใ น คำ � ถ า ม เ ป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น การเรียน ช่วยให้เด็กตั้ง ของการเรียนรู้ เมื่อเด็กมี เป้าหมายด้วยงานท่ีง่ายๆ ค�ำ ถาม ครูไม่จำ�เป็นตอ้ ง ก่อน แล้วค่อยเพิ่มความ ตอบไดท้ ง้ั หมดอาจให้ ทา้ ทายขน้ึ เชน่ ท�ำ การบา้ น เ ด็ ก ช่ ว ย กั น ห า 20 ข้อ แบ่งท�ำ ครง้ั ละ คำ � ต อ บ ไ ด้ 5 ขอ้ กอ่ น แลว้ คอ่ ยๆ เ พ่ิ ม จำ � น ว น จ น ครบ 14
ที่ปรกึ ษา นพ.ธีระเกยี รติ เจรญิ เศรษฐศลิ ป ์ ผู้ชว่ ยรฐั มนตรปี ระจำ�กระทรวงศึกษาธกิ าร นายกมล รอดคลา้ ย เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน นายรังสรรค์ มณีเล็ก รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน นายอนุสรณ์ ฟเู จริญ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน นายพิธาน พนื้ ทอง ผู้อำ�นวยการส�ำ นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศกึ ษา รักษาราชการในตำ�แหน่งทปี่ รกึ ษาด้านพัฒนาระบบเครอื ขา่ ย และการมสี ว่ นรว่ ม สำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน คณะท�ำ งานสง่ เสรมิ การนำ�ผลการวิจัยไปใชป้ ระโยชนใ์ นโรงเรียน นางอรนชุ มงั่ มีสขุ ศริ ิ นางสุดจติ ร์ ไทรนม่ิ นวล นางสาวดจุ ดาว ทพิ ย์มาตย ์ นายพิทกั ษ์ โสตถยาคม นายสมชัย แซเ่ จยี นางสาวบญุ ญลกั ษณ์ พิมพา นางสาวสุนิศา หวงั พระธรรม นางสาวอรอุมา เสอื เฒ่า บรรณาธกิ าร นางสาวชินธิดา วิจิตรโสภาพนั ธ์ แพทย์หญิงปิยาภสั ร์ จิตภิรมย์ นายพทิ กั ษ์ โสตถยาคม นางสาวพมิ สิริ เรืองจรี นันท ์ ร่วมด�ำ เนินการโดย สำ�นกั พฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา ศนู ยจ์ ติ วิทยาการศึกษา มลู นิธิยุวสถิรคุณ ส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน 214 ถนนนครสวรรค์ แขวงวดั โสมนัส กระทรวงศกึ ษาธิการ ถนนราชด�ำ เนินนอก เขตปอ้ มปราบศัตรพู ่าย เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 กรุงเทพมหานคร 10100 โทร. 02 288 5883 โทร. 02 282 0104 โทรสาร 02 280 5561 อเี มล [email protected] http://www.innoobec.com/ www.KidSD.org 15
Search
Read the Text Version
- 1 - 22
Pages: