Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนคณิตศาสตร์เครื่องมือกล

แผนคณิตศาสตร์เครื่องมือกล

Published by tanatt nut, 2023-06-13 08:12:16

Description: ช่างกลโรงงาน

Search

Read the Text Version

ส่วนหน้ า เอกสารประกอบการสอน คณิตศาสตร์เครื่องมือกล 20102-2005 นายธนัท จันทบูลย์ ช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคชุมพร

แผนการจดั การเรยี นรมู้ งุ่ เนน้ สมรรถนะและบรูณาการหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง วชิ า คณติ ศาสตรเ์ ครื่องมอื กล รหัส 20102-2005 หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พุทธศกั ราช 2562 ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม สาขาวิชาช่างกลโรงงาน นายธนัท จันทบูลย์ วิทยาลยั เทคนิคชมุ พร สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ก รายการตรวจสอบและอนุญาตให้ใช้  ควรอนุญาตใหใ้ ชก้ ารสอนได้  ควรปรับปรุงเก่ียวกบั ................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... (นายอานาจ เสมอวงศ)์ หวั หนา้ แผนกวิชา ............../............................/.......................  เห็นควรอนุญาตใหใ้ ชก้ ารสอนได้  ควรปรับปรุงดงั เสนอ  อื่น ๆ ................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. (นายสมศกั ด์ิ หลวงนา) หวั หนา้ งานพฒั นาการเรียนการสอนฯ ............../............................/.......................  เห็นควรอนุญาตใหใ้ ชก้ ารสอนได้  ควรปรับปรุงดงั เสนอ  อื่น ๆ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ (นายประเสริฐ ถึงวสิ ัย) รองผอู้ านวยการฝ่ ายวชิ าการ ............../.................................../....................  อนุญาตใหใ้ ชก้ ารสอนได้  อื่น ๆ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................. (นายจารึก ศิลป์ สวสั ด์ิ) ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั เทคนิคชุมพร ............../.................................../...................

ข คานา แผนการจดั การเรยี นรู้ วชิ าคณิตศาสตรม์ ือเคร่ืองกล รหัส 20102-2005 ตามหลักสตู รประกาศนียบตั ร วิชาชีพ พทุ ธศักราช 2562 สาหรับแผนการจดั การเรียนเล่มน้ี ได้แบง่ เนื้อหาออกเปน็ 9 หนว่ ยการเรยี น ประกอบดว้ ย หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1.การคานวณหนว่ ยวัดงานช่าง หน่วยเรยี นรู้ที่2. การคานวณความยาว พน้ื ที่ ปริมาตร และน้าหนัก หน่วยเรียนรู้ท่ี 3. การคานวณพกิ ดั ความเผือ่ หนว่ ยเรียนรทู้ ี่ 4. การคานวณความเรว็ ในงานเคร่ืองกล หน่วยเรียนรู้ ที่ 5. การคานวณการแบง่ ด้วยหวั แบ่ง(Indexing Head) หนว่ ยเรยี นร้ทู ี่ 6. การคานวณอัตราทดระบบการรสง่ กาลัง ด้วยสายพานและเฟือง หน่วยเรียนรูท้ ี่ 7. การคานวณเกลียว หน่วยเรียนรู้ท่ี 8. การคานวณเรียว และ หน่วยเรยี นรทู้ ่ี 9. การคานวณหาเวลางาน วิธกี ารสอน/การเรียนรู้ จะมีคู่มอื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ เน้ือหาบทเรียน แบบทดสอบก่อนเรยี นและ หลังเรยี น แบบฝึกหัด สอ่ื ประกอบการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ผู้เรยี บเรียงหวังเปน็ อยา่ งย่งิ ว่า แผนการจดั การเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์มอื เครื่องกล รหัส 20102-2005 เลม่ น้จี ะนาไปใช้ประกอบการศึกษา ช่วยเป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ กอ่ ให้เกดิ ผลสมั ฤทธ์สิ งู สดุ แก่ครูผ้สู อน และ นกั เรียน ธนัท จนั ทบลู ย์ ผ้จู ัดทา

สารบัญ ค รายการตรวจสอบและอนญุ าตให้ใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้ หนา้ คานา สารบัญ ก แบบสอบถามความสอดคล้องกับสถานประกอบการ ข คาแนะนาการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นร้มู ุง่ เน้นสมรรถนะ ค ผลงานและเกณฑ์การประเมินผลงานรายวิชา ฉ หลกั สูตรราวิชาและคาอธิบายรายวชิ า ช การวเิ คราะห์หลกั สตู รรายวิชา ซ การปรบั ปรุงหลกั สตู รรายวิชา ฌ การวิเคราะห์แหลง่ การเรยี นรู้ ญ การวเิ คราะห์สมรรถนะทวั่ ไป ฎ การวิเคราะห์สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค(์ ทฤษฎ)ี ฏ การวเิ คราะห์พฤติกรรมการเรียนรู้ที่พึงประสงค์ (ทฤษฎี) ฑ โครงการสอนรายวิชา ต แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี1 การคานวณหนว่ ยวดั ในงานชา่ ง ธ ป แบบทดสอบกอ่ นเรียน 1 ใบความรู้หน่วยที่ 1 4 แบบฝกึ หดั 7 .แบบทดสอบหลังเรยี น 21 .เฉลยแบบฝกึ หัด 25 .เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน/หลังเรยี น 28 แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 2 การคานวณความยาว พืน้ ท่ี ปริมาตร และนา้ หนัก 32 .แบบทดสอบก่อนเรยี น 33 .ใบความร้หู นว่ ยที่ 2 36 .แบบฝึกหัด 39 .แบบทดสอบหลังเรยี น 54 .เฉลยแบบฝกึ หัด 65 .เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น/หลังเรียน 68 . แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 การคานวณพิกัดความเผื่อ 81 .แบบทดสอบก่อนเรยี น 84 ใบความรู้หน่วยท่ี 3 87 88

แบบฝกึ หดั ง แบบทดสอบหลงั เรยี น 105 เฉลยแบบฝึกหดั 106 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรยี น 107 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 การคานวณหาความเรว็ ในงานเคร่ืองกล 111 แบบทดสอบกอ่ นเรียน 118 ใบความรหู้ น่วยท่ี 4 212 แบบฝึกหัด 124 แบบทดสอบหลังเรยี น 135 เฉลยแบบฝึกหดั 137 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรยี น 139 แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 5 การคานวณการแบ่งดว้ ยหวั แบ่ง(Indexing Head) 143 แบบทดสอบก่อนเรียน 144 ใบความร้หู น่วยท่ี 5 147 แบบฝกึ หัด 154 แบบทดสอบหลังเรยี น 155 เฉลยแบบฝกึ หัด 156 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น/หลังเรยี น 157 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 6 การคานวณอตั ราทดระบบสง่ กาลังด้วยสายพานและเฟือง 158 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 159 ใบความรหู้ น่วยที่ 6 162 แบบฝึกหัด 168 แบบทดสอบหลังเรยี น 185 เฉลยแบบฝึกหัด 187 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น/หลังเรยี น 192 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 การคานวณเกลยี ว 199 200 แบบทดสอบก่อนเรียน 203 ใบความรหู้ นว่ ยที่ 7 207 แบบฝกึ หัด 221 แบบทดสอบหลังเรยี น 223 เฉลยแบบฝกึ หัด 227 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรยี น 231

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 8 การคานวณเรียว จ 232 แบบทดสอบก่อนเรยี น 235 238 ใบความรหู้ นว่ ยท่ี 8 254 256 แบบฝกึ หัด 259 263 แบบทดสอบหลงั เรียน 265 268 เฉลยแบบฝึกหดั 274 307 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน 316 322 แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 9 การคานวณหาเวลางาน 347 แบบทดสอบก่อนเรยี น ใบความรหู้ น่วยที่ 9 แบบฝึกหัด แบบทดสอบหลงั เรยี น เฉลยแบบฝึกหดั เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน บรรณาณกุ รม ภาคผนวก สอื่ ประกอบการเรียนการสอน ชุดการสอนท่ี 1 ส่อื ประกอบการเรยี นการสอน ชดุ การสอนที่ 2 สื่อประกอบการเรียนการสอน ชุดการสอนที่ 4 สอื่ ประกอบการเรยี นการสอน ชดุ การสอนท่ี 5 สอ่ื ประกอบการเรยี นการสอน ชุดการสอนท่ี 6 สื่อประกอบการเรยี นการสอน ชดุ การสอนท่ี 7 ส่อื ประกอบการเรยี นการสอน ชุดการสอนท่ี 8

ฉ แบบสอบถามความสอดคล้องกับสถานประกอบการ ตอนท่ี ๑ ถามเกี่ยวกับข้อมูลทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม  ประเภท/ชนดิ สถานประกอบการ .....................................................................................................  กลุ่มงาน ........................................................................................................................ ...................  เพศ ชาย หญิง อายุ .............. ปี  วุฒิการศกึ ษา ระดับ......................................................... สาขา........................................................  ตาแหน่ง ......................................................................... แผนก.......................................................  ระยะเวลาท่ปี ฏิบตั งิ านในตาแหน่ง .................................................................................................... ตอนที่ ๒ ถามเก่ียวกับ (เรื่อง/งานยอ่ ย) ทใ่ี ชใ้ นการเรียน/ปฏบิ ตั ิงาน รายการงาน (งานยอ่ ย) ไมใ่ ช้ในการ ระดับความถท่ี ่ีใช้ ปฏบิ ตั ิงาน ปฏิบตั ิงาน 54321 1. การคานวณมาตราส่วน 2. การคานวณความยาวเส้นขอบรปู 3. การคานวณพน้ื ที่ 4. การคานวณปริมาตร 5. การคานวณมวลและนา้ หนักของช้ินงาน 6. การคานวณค่าพิกัดงานสวมระบบ ISO 7. การคานวณความเร็วในงาน กลงึ กดั เจาะ 8. การคานวณความเรว็ ในงานเจียระไน 9. การคานวณความเรว็ ในงานไส 10. การคานวณสายพานร่องแบบและสายพานร่องวี(V-Belt) 11. การคานวณอตั ราทดชน้ั เดยี วและหลายช้นั 12. การคานวณส่งกาลงั ดว้ ยเฟอื ง 13. การคานวณเกลียว 14. การคานวณเรียว 15. การคานวณเวลางาน กลึง กดั เจาะ 16. การคานวณเวลางานเจยี ระไน 17. การคานวณเวลางานไส ลงช่อื ...................................................สถานประกอบการ/ผู้เชี่ยวชาญ (..................................................) ตาแหน่ง.....................................................

ช คาแนะนาการใช้แผนการจัดการเรยี นรมู้ ุ่งเน้นสมรรถนะ 1. ก่อนการใช้แผนการจัดการเรยี นรูม้ ุ่งเน้นสมรรถนะวิชากลศาสตรเ์ ครือ่ งมอื กล ครูผูส้ อนควร ศกึ ษาการใช้ แผนการจดั การเรียนรู้มงุ่ เน้นสมรรถนะใหเ้ ข้าใจเสยี ก่อน 2. ศึกษาแผนการจดั การเรยี นรมู้ ่งุ เนน้ สมรรถนะ ผลการเรียนร้ทู ี่คาดหวงั จุดประสงค์การเรยี นรู้ สาระการ เรยี นรกู้ ระบวนการเรยี นรู้การวดั และประเมินผล ตลอดจนแหล่งการเรยี นรู้ในแตล่ ะหนว่ ยให้ เข้าใจอย่าง ชดั เจน 3. กอ่ นสอนครคู วรชแี้ จงบทบาทและหน้าท่ีของผู้เรยี น และกาหนดข้อตกลงรว่ มกัน 4. เม่อื เรียนรจู้ บหนว่ ยแล้ว ให้นกั เรียนทาแบบวัดผลการเรียนรหู้ ลงั เรยี น ในแตล่ ะหนว่ ยเพอ่ื วัด ความกา้ วหนา้ ของความรคู้ วามเข้าใจ 5. ภายหลงั จากการวดั ผล การเรียนร้หู ลังเรียนแลว้ ครคู วรมอบหมายให้ผู้เรยี นทาแบบฝึกหัดเพ่ิมเตมิ 6. ภายหลังจากการมอบหมายใหผ้ เู้ รยี นทาแบบฝึกหดั แลว้ ครคู วรเป็นท่ปี รกึ ษาให้คาแนะนานกั เรียน ทมี่ ี ปญั หาในการทาแบบฝกึ หัด 7. หากมีนกั เรยี นไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ หลังเรียนในเน้ือหาใด ใหโ้ อกาสนักเรยี นศกึ ษาใบความรู้ อีกครั้ง แลว้ ให้ทาแบบวัดผลการเรยี นรูห้ ลงั เรยี น

ช ผลงาน และเกณฑก์ ารประเมนิ ผลงานรายวิชา ระดบั ชน้ั ปวช. สาขาวิชา ช่างกลโรงงาน 2 หน่วยกิต รหสั วชิ า 20102-2005 ชอ่ื วชิ า คณติ ศาสตร์เครอื่ งมอื กล 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์ 1. ผลงานและเกณฑ์การประเมินผลงาน . ผลงานและเกณฑ์การประเมนิ ใน รายวชิ าคณติ ศาสตร์เครื่องมอื กล รหสั วิชา 20102-2005 ได้กาหนด หลักเกณฑ์การ ประเมนิ ผลงานเพอื่ ให้ผูเ้ รยี นมคี วามรู้ คุณธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ดังน้ี . ผลงานและเกณฑ์การประเมินผลงาน (คะแนนเต็ม 100%) . 1. การวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 50 % . 2. แบบทดสอบหลังเรียนรายหน่วย 30 % . 3. คุณธรรม จรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ 20 % รวม 100 % . * คุณธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ คณุ ธรรม จริยธรรมฯ นี้ไดก้ าหนดขึ้นตามกรอบ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ ของผสู้ าเร็จการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ประกอบดว้ ย ๑๕ คณุ ลกั ษณะ สอดคล้องกบั การบูรณการปรัชญาเศรฐกิจพองเพียง (เง่ือนไขคณุ ธรรม) ซ่งึ ในวิชา คณิตศาสตรเ์ ครอ่ื งมือกล รหสั 20102-2005 นีไ้ ด้เน้น 4คุณลกั ษณะ คือ ด้านความมวี ินัย ดา้ นความรับผดิ ชอบ ด้าน ความซ่ือสัตยส์ ุจริต และ ด้านความสนใจใฝ่เรยี นรู้ ซงึ่ ในแต่ละดา้ นมีพฤติกรรมบง่ ช้ที ส่ี าคัญและนามาเลอื กใช้ ดงั นี้ 1. ความมวี ินยั คอื ปฏบิ ัตติ ามกฎระเบยี บข้อบงั คบั และขอ้ ตกลงตา่ ง ๆ ของสถานศึกษาได้แก่การแตง่ กาย ถกู ต้องตามระเบียบและข้อบังคบั ตรงต่อเวลา รักษาสาธารณสมบตั ิ ส่งิ แวดลอ้ มและเขา้ ร่วมกจิ กรรมท่ีครู กาหนด และประพฤติตนถกู ตอ้ งตามศีลธรรมอันดงี าม (เขา้ ชน้ั เรียนตรงเวลา) 2. ความรับผิดชอบ คือการเตรียมความพร้อมในการเรยี นและการปฏิบัติงาน ปฏบิ ตั ิงานตามข้ันตอน ท่วี าง ไว้ ปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความตงั้ ใจ ปฏิบัติงานด้วยความละเอยี ดรอบคอบ ปฏิบตั ิงานที่ไดร้ ับมอบหมายเสร็จ ตามกาหนด มีความเพียรพยายามในการเรียนและการปฏบิ ตั ิงาน ปฏิบตั งิ านตามหน้าที่ของตนเอง ยอมรบั ผล การกระทาของ ตนเอง ปฏิบตั ิงานโดยคานึงถึงความปลอดภัยต่อตนเองและสว่ นรวม (นกั เรยี นเอาใจใสก่ าร เข้ารว่ มกิจกรรมในแต่ละ แผนการจดั การเรียนรู้มุง่ เนน้ สมรรถนะอย่างตง้ั ใจ) 3. ความซอ่ื สัตย์สุจรติ คือการพดู ความจรงิ ไมน่ าผลงานของผู้อืน่ มาแอบอ้างเป็นของตนเอง ไม่ทจุ รติ ในการ สอบ ไม่ลักขโมยเป็นต้น (นักเรียนไมถ่ ามและไมล่ อกคาตอบจากผ้อู น่ื ) 4. ความสนใจใฝ่รู้ เปน็ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ซักถามปัญหาข้อสงสยั แสวงหาประสบการณ์ และ ค้นหาความร้ใู หม่ ๆ (นักเรยี นใฝใ่ นการเรยี นรู้อยู่เสมอ โดยการศกึ ษาหาความรู้ด้วยตนเอง หรือ ปรึกษาหารือหา ความรู้ หรือศึกษาด้วยวิธีการอ่นื ๆ)

ฌ 2. เกณฑแ์ ละวธิ กี ารปฏิบตั ิในการวัดและประเมินผลการเรียนรายวชิ า ....เกณฑ์การตัดสินผลการเรียน ให้เปน็ ไปตามระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารว่าด้วยการประเมินผลการ เรียน ตามหลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี ดงั น้ี ระดับผลการเรียน ความหมาย ชว่ งคะแนน 4.0 ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑ์ดเี ยีย่ ม 80 ข้ึนไป 3.5 ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดมี าก 75-79 3.0 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑ์ดี 70-74 2.5 ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑ์ดีพอใช้ 65-69 2.0 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑ์พอใช้ 60-64 1.5 ผลการเรยี นอย่ใู นเกณฑ์อ่อน 55-59 1.0 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑ์อ่อนมาก 50-54 0 ผลการเรียนต่ากวา่ เกณฑ์ขัน้ ต่า ตา่ กวา่ 50 ** รายวชิ าใดทแี่ สดงระดับผลการเรยี นตามตารางข้างต้นไมไ่ ดใ้ หใ้ ชต้ วั อักษรต่อไปนี้ ข.ร. .หมายถงึ ขาดเรียน ไม่มสี ิทธเิ ข้ารบั การประเมินสรปุ ผลการเรียนเนือ่ งจากมีเวลาเรียนตา่ กว่ารอ้ ยละ 80 โดยสถานศึกษาพิจารณาแล้วเหน็ วา่ ไม่ใช่เหตสุ ุดวิสัย ข.ป. หมายถงึ ขาดการปฏิบตั งิ าน หรือปฏบิ ัตงิ านไม่ครบ โดยสถานศกึ ษาพจิ ารณาแล้วเห็นว่าไมม่ ีเหตุผล สมควร ข.ส.....หมายถงึ ..ขาดการประเมนิ สรุปผลการเรียนโดยสถานศึกษาพิจารณาแลว้ เห็นว่าไม่มีเหตผุ ลสมควร . ถ.ล. .หมายถึง ถอนรายวชิ าภายหลังกาหนด โดยสถานศึกษาพจิ ารณาแลว้ เห็นว่าไม่มีเหตผุ ลสมควร ถ.น. หมายถึง ถอนรายวชิ าภายในกาหนด ถ.พ. หมายถึง ถกู สั่งพักการเรยี นในระหวา่ งทมี่ ีการประเมินสรปุ ผลการเรียน ท. หมายถึง ทุจริตในการสอบหรอื งานที่มอบหมายให้ทา ม.ส...หมายถงึ ...ไมส่ มบูรณ์เนื่องจากไม่สามารถเข้ารบั การประเมินครบทุกครัง้ และหรือไม่สง่ งานอนั เปน็ สว่ น ประกอบของการเรยี นรายวชิ าตามกาหนด ดว้ ยเหตจุ าเป็นอันสุดวิสัย ม.ท. หมายถงึ . ไม่สามารถเข้ารับการประเมินทดแทนการประเมนิ ส่วนท่ขี าดของรายวชิ าทไ่ี มส่ มบูรณ์ ภายในภาคเรยี นถัดไป ผ. หมายถงึ ได้เข้าร่วมกิจกรรมตามกาหนด และผลการประเมนิ ผ่าน ม.ผ. หมายถงึ ไมเ่ ข้ารว่ มกิจกรรม หรือผลการประเมนิ ไม่ผา่ น หรือผลการประเมนิ การเรียนโดยไม่นับ จานวนหนว่ ยกิตมารวมเพื่อการสาเรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สูตรไม่ผ่าน หรอื ไม่ไดท้ าการประเมินผลการเรยี น

หลกั สูตรรายวิชา ณ ระดบั ช้ัน ปวช. สาขาวชิ า ชา่ งกลโรงงาน 2 หน่วยกิต 2 คาบ/สปั ดาห์ รหสั 20102-2005 ชื่อวิชา คณิตศาสตรเ์ คร่อื งมือกล ชือ่ วิชา คณิตศาสตรเ์ คร่ืองมือกล รหัส 20102-2005 2-0-2 จดุ ประสงคร์ ายวชิ า เพอื่ ให้ 1. เข้าใจในหลกั วชิ าคณิตศาสตรเ์ ครอื่ งมือกล 2. ประยุกตใ์ ชก้ บั งานเคร่ืองมือกลและคานวณในงานเคร่ืองมือกล . 3. มีเจตคติและกิจนิสัยทีด่ ี รับผดิ ชอบ ตรงตอ่ เวลา .สมรรถนะรายวิชา แสดงความรเู้ กีย่ วกบั หลักการและการคานวณในงานเครือ่ งมือกล คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกบั การคานวณหาเส้นรอบรูป พน้ื ที่ ปริมาตร น้าหนักของวสั ดุ ฟงั ชั่นตรโี กณมติ ิ ค่าพิกดั ความเผอ่ื ความเร็วตัด ความเร็วรอบ ความเรว็ ขอบ อัตราทด ระบบสง่ กาลังดว้ ยสายพานและเฟือง อัตรา เรยี ว ระบบเกลยี ว คานวณหาเวลาในการกลงึ ไส เจาะ กดั และเจยี ระไน หมายเหตุ : ปรับปรงุ รายวชิ าเรื่อง การคานวณการแบ่งด้วยหัวแบง่ (Index Head) ปรบั ปรุงรายวชิ า แบบเดิมแบ่งการเรยี นรู้ออกเป็น 8 หนว่ ยการเรยี น แบ่งหนว่ ยการเรียนร้อู อกเปน็ 9 หน่วยการเรยี น 1. การคานวณหนว่ ยวดั ในงานช่าง 1. การคานวณหนว่ ยวดั ในงานชา่ ง 2. การคานวณความยาว พ้นื ทปี่ ริมาตรและนา้ หนัก 2. การคานวณความยาว พ้ืนท่ี ปริมาตร และนา้ หนัก 3. การคานวณพิกดั ความเผอ่ื 3. การคานวณพิกดั ความเผอื่ 4. การคานวณความเร็วในงานเคร่ืองกล 4. การคานวณความเร็วในงานเครอ่ื งกล 5. การคานวณอัตราทดระบบสง่ กาลังด้วยสายพาน 5. การคานวณการแบ่งดว้ ยหัวแบง่ (Index Head) และเฟือง 6. การคานวณอัตราทดระบบการสง่ กาลังด้วย 6. การคานวณเกลียว สายพานและเฟือง 7. การคานวณเรียว 7. การคานวณเกลยี ว 8. การคานวณหาเวลางาน 8. การคานวณเรยี ว 9. การคานวณหาเวลางาน

ญ การวเิ คราะหห์ ลักสตู รรายวชิ า ระดับชัน้ ปวช. ตารางวิเคราะห์หลกั สูตรายวิชา 2 หนว่ ยกติ รหัสวิชา 20102-2005 สาขาวชิ า ช่างกลโรงงาน ชอื่ วิชา คณิตศาสตรเ์ คร่ืองมือกล 2 ช่ัวโมง/สัปดาห์ หน่วยท่ี ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ พฤติกรรมทพ่ี งึ ประสงค์ รวม ชวั่ โมงที่ สัปดาห์ (ชม.) 1 การคานวณหนว่ ยวัดในงานช่าง 2 การคานวณความยาว พน้ื ท่ี ปริมาตร และน้าหนัก 1-4 1-2 4 3 การคานวณพิกดั ความเผือ่ 4 การคานวณหาความเรว็ ในงานเครื่องกล 5-8 3-4 4 5 การคานวณการแบ่งด้วยหวั แบ่ง(Index Head) 6 การคานวณอตั ราทดระบบส่งกาลังดว้ ยสายพานและเฟือง 9-12 5-6 4 7 การคานวณเกลียว 8 การคานวณเรยี ว 13-16 7-8 4 9 การคานวณหาเวลางาน 17-18 9 2 สอบปลายภาคเรยี น 19-22 10-11 4 23-26 12-13 4 27-30 14-15 4 31-34 16-17 4 35-36 18 2 รวม 36

ฎ การปรับปรงุ หลักสตู รรายวิชา ระดบั ชน้ั ปวช. ตารางแสดงการปรบั ปรงุ หลกั สูตรายวิชา 2 หน่วยกติ รหสั วิชา 20102-2005 สาขาวชิ า ชา่ งกลโรงงาน 2 ช่ัวโมง/สัปดาห์ ชอ่ื วิชา คณิตศาสตร์เครอื่ งมือกล หน่วย ชื่อหน่วยการเรียนรู้ การปรับปรุง พฤตกิ รรมทพ่ี งึ รวม ประสงค์ (ชม.) ท่ี (รายละเอยี ดการปรบั ปรงุ ) หลกั สตู รรายวิชา ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 5 กการแบง่ ด้วยหวั แบง่ (Index Head) คณิตศาสตร์ 2 เครือ่ งมอื กล รวม 2 หมายเหตุ หัวกดั แบง่ (Indexing Head) เปน็ อุปกรณเ์ สรมิ ที่ขยายความเป็นไปได้ ในงานเคร่ืองกัดโลหะโดยพ้นื ฐาน แลว้ จะใชใ้ นการผลติ เคร่ืองมือตา่ งๆ . . การใชอ้ ุปกรณด์ ังกลา่ วทาใหส้ ามารถตดั ร่องและรอ่ งฟันเฟืองบนพื้นผิวแต่ละส่วนของชิ้นงาน ขอบของ น็อตและหัวสลกั นอกจากน้ยี ังใช้เมอ่ื ทางานกบั ชน้ิ สว่ นโปรไฟล์ของเคร่ืองจักร เชน่ เฟือง ล้อเฟืองอีกมากมายเมอื่ ทางานกบั เครอ่ื งกัดทงั้ แนวต้ังและแนวนอน

ฏ การวเิ คราะห์แหล่งการเรียนรู้ ระดบั ชนั้ ปวช. ตารางวเิ คราะห์หลกั สตู รายวิชา 2 หนว่ ยกติ รหัสวิชา 20102-2005 สาขาวชิ า ช่างกลโรงงาน 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ชอื่ วิชา คณิตศาสตร์เครื่องมือกล หนว่ ย ชือ่ หน่วยการเรียนร/ู้ หัวข้อการเรียนรู้ แหลง่ การเรยี นรู้ หมาย ที่ ก ข ค ง จ ฉ เหตุ 1 การคานวณหนว่ ยวดั งานช่าง // // // // 1.1 หลักการอ่านคา่ ระบบหน่วย เอส-ไอ (SI-UNITS) // // 1.2 การเขียนสัญลกั ษณ์หน่วย เอส ไอ อนพุ ันธ์ // // 1.3 การเขยี นความสัมพันธ์ของหนว่ ยวัดในระบบต่าง ๆ 1.4 การคานวณมาตราส่วน // // 2 การคานวณความยาว พน้ื ที่ ปรมิ าตร และน้าหนกั // // 2.1 การคานวณความยาวเสน้ ขอบรูป // // 2.2 การคานวณความยาวเสน้ แนวศนู ย์กลาง // // 2.3 การคานวณพ้ืนที่ของรปู เรขาคณิต // // 2.4 การคานวณปริมาตรรปู ทรงเรขาคณิต 2.5 การคานวณมวลและนา้ หนักของชิน้ งาน // // 3 การคานวณพิกัดความเผือ่ // // 3.1 หลักการของสัญลกั ษณข์ องพิกัดความเผือ่ // // 3.2 การคานวณค่าพิกดั ความเผือ่ // // 3.3 หลักการของระบบงานสวม ISO 3.4 การคานวณค่าพิกดั งานสวมระบบ ISO // // 4 การคานวณความเรว็ ในงานเครอื่ งกล // // 4.1 การคานวณความเร็วในงานกลงึ // // 4.2 การคานวณความเรว็ ในงานเจาะ // // 4.3 การคานวณความเรว็ ในงานกดั // // 4.4 การคานวณความเร็วในงานเจียระไน 4.5 การคานวณความเรว็ ในงานไส

ฐ การวิเคราะห์แหลง่ การเรียนรู้ ระดับชน้ั ปวช. ตารางวิเคราะห์หลกั สูตรายวิชา 2 หนว่ ยกติ รหัสวชิ า 20102-2005 สาขาวิชา ช่างกลโรงงาน 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์ ช่อื วชิ า คณิตศาสตรเ์ ครอื่ งมือกล หน่วย ช่ือหน่วยการเรียนรู/้ หัวข้อการเรยี นรู้ แหล่งการเรยี นรู้ หมาย ท่ี ก ข ค ง จ ฉ เหตุ 5 การคานวณหัวแบ่ง(Index Head) 5.1 หลักการทางานของหัวแบ่ง // // // 5.2 การคานวณการแบ่งแบบธรรมดา // // 5.3 การคานวณการแบ่งแบบซับซอ้ น // // 6 การคานวณอัตราทดระบบการส่งกาลังด้วยสายพานและ // เฟือง // // 6.1 หลักการทางานของสายพาน // // // 6.2 การคานวณค่าสายพานร่องแบบและสายพานร่องวี (V- / / Belt) // // 6.3 การคานวณอตั ราทดช้ันเดียวและแบบหลายช้ัน // // // 6.4 การคานวณส่งกาลังด้วยเฟอื งตรง // // 6.5 การคานวณสง่ กาลังด้วยเฟืองหนอน // // // 6.6 การคานวณสง่ กาลังดว้ ยเฟอื งสะพาน // // 7 การคานวณเกลยี ว 7.1 การคานวณเกลยี วสามเหลี่ยม // 7.2 การคานวณเกลียวสเ่ี หลย่ี ม // 7.3 การคานวณเกลยี วสเี่ หล่ียมคางหมู // 7.4 การคานวณเกลยี วฟันเล่ือย // 8 การคานวณเรียว 8.1หลักการคานวณส่วนประกอบของเรยี ว // 8.2 การคานวณเรยี วโดยวิธเี ยื้องศนู ย์ท้ายแทน่ // 8.3 การคานวณเรียวโดยวธิ เี อียงปอ้ มมดี // 8.4 การคานวณเรียวโดยวธิ ใี ช้อุปกรณ์พเิ ศษ //

ฑ การวิเคราะห์แหล่งการเรยี นรู้ ระดบั ชนั้ ปวช. ตารางวเิ คราะหห์ ลักสตู รายวิชา 2 หนว่ ยกติ รหัสวิชา 20102-2005 สาขาวชิ า ชา่ งกลโรงงาน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ ชือ่ วชิ า คณิตศาสตร์เครือ่ งมือกล หนว่ ย ช่ือหน่วยการเรยี นร/ู้ หัวขอ้ การเรียนรู้ แหลง่ การเรยี นรู้ หมาย ที่ ก ข ค ง จ ฉ เหตุ 9 การคานวณเวลางานเครื่องกล // // 9.1 การคานวณเวลาในงานกลึง // // // // 9.2 การคานวณเวลางานเจาะ // // 9.3 การคานวณเวลางานกดั // // 9.4 การคานวณเวลางานเจียระไน 9.5 การคานวณเวลางานไส แหล่งที่มาของแหลง่ การเรียนรู้ ก. ส่ิงทกี่ าหนดในรายวชิ า ข. ประสบการณ์ของตนเอง ค. สอบถามจากผ้เู ชี่ยวชาญ ง. จากตาราหรือเอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง จ. จากการดงู านจากสถานประกอบการณ์ ฉ. อน่ื ๆ.....จากอินเตอร์เนต็ ....................

ฎ การวเิ คราะห์สมรรถนะท่ัวไป ตารางวิเคราะหห์ ลกั สตู รายวิชา ระดับช้ัน ปวช. สาขาวิชา ช่างกลโรงงาน 2 หน่วยกติ รหสั วชิ า 20102-2005 ชือ่ วชิ า คณิตศาสตรเ์ คร่ืองมือกล 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์ หน่วย ช่อื หน่วยการเรยี นร้/ู หวั ข้อการเรยี นรู้ สมรรถนะท่ัวไป ท่ี 1.1 แสดงความรูเ้ กี่ยวกับหลักการอ่านค่าหนว่ ย เอส-ไอ 1 การคานวณหนว่ ยวัดในงานช่าง (SI-UNITS) 1.1 หลกั การอา่ นคา่ ระบบหน่วย เอส-ไอ (SI- UNITS) 1.2 การเขยี นสญั ลกั ษณห์ น่วย เอส ไอ 1.2 แสดงความเข้าใจการเขียนสัญลักษณ์หน่วย เอส ไอ อนพุ นั ธ์ อนพุ ันธ์ 1.3 การเขียนความสัมพันธข์ องหนว่ ยวดั ใน 1.3 แสดงความเข้าใจการเขียนความสมั พนั ธ์ของหนว่ ย ระบบต่าง ๆ วัดในระบบตา่ ง ๆ 1.4 การคานวณมาตราสว่ น 1.4 แสดงหลักการคานวณมาตราสว่ น 2 การคานวณความยาว พ้ืนที่ ปริมาตร และนา้ หนกั 2.1 การคานวณความยาวเส้นขอบรปู 2.1 แสดงหลักการคานวณความยาวเสน้ ขอบรปู 2.2 การคานวณความยาวเส้นแนวศนู ยก์ ลาง 2.2 แสดงหลักการคานวณความยาวเสน้ แนวศูนยก์ ลาง 2.3 การคานวณพื้นท่ีของรูปเรขาคณิต 2.3 แสดงหลักการคานวณพน้ื ที่ของรปู เรขาคณิต 2.4 การคานวณปรมิ าตรรปู ทรงเรขาคณิต 2.4 แสดงหลักการคานวณปริมาตรรปู ทรงเรขาคณิต 2.5 การคานวณมวลและน้าหนกั ของชน้ิ งาน 2.5 แสดงหลักการคานวณมวลและนา้ หนักของชิน้ งาน 3 การคานวณพกิ ดั ความเผอื่ 3.1 หลักการเขียนสัญลักษณ์ของพกิ ัดความ 3.1 แสดงความรู้เกย่ี วกับหลกั การเขียนสัญลกั ษณ์ของ เผือ่ พกิ ดั ความเผอื่ 3.2 การคานวณคา่ พิกัดความเผ่ือ 3.2 แสดงหลักการคานวณหาคา่ พิกดั ความเผื่อ 3.3 หลกั การเขยี นคา่ พิกดั ความเผือ่ ระบบงาน 3.3 แสดงความรู้เกีย่ วกับหลักการเขียนค่าพิกดั ความ สวม ISO เผอื่ ระบบงานสวม ISO 3.4 การคานวณค่าพิกัดงานสวมระบบ ISO 3.4 แสดงหลักการคานวณคา่ พิกดั งานสวมระบบ ISO

ฒ การวเิ คราะห์สมรรถนะทว่ั ไป ตารางวเิ คราะหห์ ลักสตู รายวิชา ระดบั ช้ัน ปวช. สาขาวิชา ช่างกลโรงงาน 2 หนว่ ยกิต รหัสวิชา 20102-2005 ช่ือวชิ า คณิตศาสตรเ์ ครือ่ งมือกล 2 ช่ัวโมง/สัปดาห์ หน่วย ชอ่ื หน่วยการเรยี นร/ู้ หัวขอ้ การเรยี นรู้ สมรรถนะทั่วไป ท่ี 4 การคานวณหาความเร็วในงานเครอ่ื งกล 4.1 การคานวณความเรว็ ในงานกลึง 4.1 แสดงหลักการคานวณความเรว็ ในงานกลึง 4.2 การคานวณความเร็วในงานเจาะ 4.2 แสดงหลักการคานวณความเรว็ ในงานเจาะ 4.3 การคานวณความเรว็ ในงานกัด 4.3 แสดงหลกั การคานวณความเร็วในงานกัด 4.4 การคานวณความเรว็ ในงานเจียระไน 4.4 แสดงหลักการคานวณความเร็วในงานเจยี ระไน 4.5 การคานวณความเร็วในงานไส 4.5 แสดงหลักการคานวณความเรว็ ในงานไส 5 การคานวณการแบง่ ด้วยหัวแบง่ (Index Head) 5.1 หลักการทางานของหัวแบ่ง 5.1 แสดงความรเู้ กี่ยวกับหลักการทางานของหัวแบง่ 5.2 การคานวณการแบ่งแบบธรรมดา 5.2 แสดงหลกั การคานวณการแบง่ แบบธรรมดา 5.3 การคานวณการแบ่งแบบซับซอ้ น 5.3 แสดงหลักการคานวณการแบง่ แบบซับซ้อน 6 การคานวณอตั ราทดระบบส่งกาลงั ด้วยสายพานและเฟือง 6.1 หลักการทางานของสายพาน 6.1 แสดงความรเู้ ก่ยี วกับหลักการทางานของชนดิ สายพาน 6.2 การคานวณค่าสายพานร่องแบบและ 6.2 แสดงหลักการคานวณคา่ สายพานแบบและ สายพานรอ่ งวี (V-Belt) สายพานวี (V-Belt) 6.3 การคานวณอตั ราทดชนั้ เดยี วและแบบ 6.3 แสดงหลกั การคานวณอตั ราทดชั้นเดียวและแบบ หลายช้นั หลายชน้ั 6.4 การคานวณการสง่ กาลงั ด้วยเฟอื งตรง 6.4 แสดงหลกั การคานวณการสง่ กาลงั ด้วยเฟืองตรง 6.5 การคานวณการส่งกาลังด้วยเฟืองหนอน 6.5 แสดงหลักการคานวณการสง่ กาลังดว้ ยเฟืองหนอน 6.6 การคานวณการส่งกาลังด้วยเฟืองสะพาน 6.6 แสดงหลักการคานวณการส่งกาลังด้วยเฟืองสะพาน 7 การคานวณเกลียว 7.1 แสดงหลักการคานวณเกลียวสามเหลย่ี ม 7.1 การคานวณเกลยี วสามเหล่ยี ม 7.2 การคานวณเกลียวสเี่ หล่ียม 7.2 แสดงหลักการคานวณเกลียวสี่เหล่ยี ม 7.3 การคานวณเกลยี วสเ่ี หล่ียมคางหมู 7.3 แสดงหลกั การคานวณเกลยี วสเ่ี หลี่ยมคางหมู 7.4 การคานวณเกลียวฟนั เลื่อย 7.4 แสดงหลักการคานวณเกลียวฟันเล่ือย

ด การวเิ คราะห์สมรรถนะท่ัวไป ตารางวเิ คราะห์หลักสูตรายวิชา ระดบั ชัน้ ปวช. สาขาวชิ า ชา่ งกลโรงงาน 2 หน่วยกติ รหัสวิชา 20102-2005 ชอ่ื วชิ า คณิตศาสตร์เคร่ืองมือกล 2 ช่วั โมง/สัปดาห์ หน่วย ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้/หัวข้อการเรยี นรู้ สมรรถนะทั่วไป ท่ี 8 การคานวณเรยี ว 8.1 หลกั การคานวณส่วนประกอบของเรียว 8.1 แสดงความรูเ้ ก่ยี วกับหลกั การคานวณสว่ นประกอบ ของเรียว 8.2 การคานวณเรียวโดยวิธเี ย้ืองศูนย์ทา้ ย 8.2 แสดงหลกั การคานวณเรียวโดยวิธเี ยื้องศูนยท์ ้าย แทน่ แทน่ 8.3 การคานวณเรยี วโดยวธิ ีเอียงปอ้ มมดี 8.3 แสดงหลักการคานวณเรียวโดยวธิ เี อยี งปอ้ มมีด 8.4 การคานวณเรยี วโดยวิธีใชอ้ ุปกรณ์พเิ ศษ 8.4 แสดงหลักการคานวณเรียวโดยวิธีใช้อปุ กรณพ์ เิ ศษ 9. การคานวณการคานวณหาเวลางานเครอื่ งกล 9.1 การคานวณเวลาในงานกลึง 9.1 แสดงหลกั การคานวณเวลาในงานกลงึ 9.2 การคานวณเวลางานเจาะ 9.2 แสดงหลักการคานวณเวลางานเจาะ 9.3 การคานวณเวลางานกดั 9.3 แสดงหลักการคานวณเวลางานกัด 9.4 การคานวณเวลางานเจียระไน 9.4 แสดงหลักการคานวณเวลางานเจียระไน 9.5 การคานวณเวลางานไส 9.5 แสดงหลกั การคานวณเวลางานไส

ต การวเิ คราะห์สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค(์ ทฤษฎี) ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะทพ่ี ึงประสงค์ ระดบั ชัน้ ปวช. สาขาวิชา ชา่ งกลโรงงาน 2 หน่วยกิต รหัสวิชา 20102-2005 ช่อื วิชา คณิตศาสตรเ์ ครื่องมือกล 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ หนว่ ย สมรรถนะทั่วไป สมรรถนะที่พึงประสงค์ ที่ 1.1 บอกหลักการอ่านคา่ ระบบหนว่ ย เอส-ไอ (SI- 1 การคานวณหนว่ ยวัดในงานช่าง UNITS)ไดถ้ ูกต้อง 1.1 แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการอา่ นคา่ ระบบ หนว่ ย เอส-ไอ (SI-UNITS) 1.2 แสดงความเข้าใจการเขยี นสัญลักษณ์หน่วย 1.2 อธบิ ายการเขยี นสัญลักษณ์หน่วย เอส ไอ เอส ไอ อนุพนั ธ์ อนพุ นั ธไ์ ด้ถูกตอ้ ง 1.3 แสดงความเข้าใจการเขียนความสมั พนั ธ์ของ 1.3 อธิบายความสมั พันธข์ องหน่วยวัดในระบบต่าง หน่วยวัดในระบบต่าง ๆ ๆไดถ้ ูกตอ้ ง 1.4 แสดงหลกั การคานวณมาตราสว่ น 1.4 คานวณมาตราสว่ นได้ถูกต้อง 2 การคานวณความยาว พื้นท่ี ปรมิ าตร และนา้ หนัก 2.1 แสดงหลกั การคานวณความยาวเส้นขอบรูป 2.1 คานวณความยาวเส้นขอบรูปไดถ้ ูกต้อง 2.2 แสดงหลกั การคานวณความยาวเส้นแนว 2.2 คานวณความยาวเสน้ แนวศูนยก์ ลางได้ถูกต้อง ศูนย์กลาง 2.3 แสดงหลักการคานวณพน้ื ทีข่ องรูปเรขาคณิต 2.3 คานวณพนื้ ที่ของรปู เรขาคณิตไดถ้ ูกต้อง 2.4 แสดงหลกั การคานวณปริมาตรรปู ทรง 2.4 คานวณปรมิ าตรรปู ทรงเรขาคณิตได้ถูกต้อง เรขาคณิต 2.5 แสดงหลักการคานวณมวลและนา้ หนักของ 2.5 คานวณมวลและนา้ หนักของช้นิ งานไดถ้ ูกต้อง ชนิ้ งาน 3 การคานวณพิกัดความเผ่อื 3.1 หลักการเขียนสัญลกั ษณ์ของพิกัดความเผ่ือ 3.1 บอกหลกั การเขยี นสญั ลักษณข์ องพิกัดความเผอ่ื ไดถ้ ูกตอ้ ง 3.2 การคานวณคา่ พิกัดความเผอ่ื 3.2 คานวณหาค่าพกิ ดั ความเผอ่ื ได้ถูกต้อง 3.3 หลกั การเขียนค่าพิกัดความเผอื่ ระบบงาน 3.3 บอกหลักการเขยี นคา่ พิกัดความเผือ่ ระบบงาน สวม ISO สวม ISO ไดถ้ ูกต้อง 3.4 แสดงหลักการคานวณคา่ พกิ ดั งานสวมระบบ 3.4 คานวณคา่ พกิ ัดงานสวมระบบ ISO ได้ถกู ต้อง ISO

ถ การวเิ คราะหส์ มรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์(ทฤษฎี) ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะทีพ่ ึงประสงค์ ระดับชน้ั ปวช. สาขาวิชา ชา่ งกลโรงงาน 2 หนว่ ยกิต รหัสวิชา 20102-2005 ชอื่ วิชา คณิตศาสตรเ์ ครอื่ งมือกล 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ หนว่ ย สมรรถนะท่ัวไป สมรรถนะทพ่ี ึงประสงค์ ท่ี 4 การคานวณหาความเร็วในงานเคร่อื งกล 4.1 แสดงหลกั การคานวณความเรว็ ในงานกลึง 4.1 คานวณความเรว็ ในงานกลึงไดถ้ ูกตอ้ ง 4.2 แสดงหลกั การคานวณความเร็วในงานเจาะ 4.2 คานวณความเรว็ ในงานเจาะได้ถูกต้อง 4.3 แสดงหลักการคานวณความเรว็ ในงานกัด 4.3 คานวณความเร็วในงานกัดได้ถูกตอ้ ง 4.4 แสดงหลกั การคานวณความเรว็ ในงาน 4.4 คานวณความเรว็ ในงานเจียระไนไดถ้ ูกต้อง เจียระไน 4.5 แสดงหลกั การคานวณความเรว็ ในงานไส 4.5 คานวณความเรว็ ในงานไสไดถ้ ูกต้อง 5. การคานวณการแบ่งดว้ ยหัวแบ่ง(Index Head) 5.1 แสดงความรเู้ กี่ยวกับหลกั การทางานของหัว 5.1 บอกหลกั การทางานของหวั แบ่งไดถ้ ูกต้อง แบ่ง 5.2 แสดงหลักการคานวณการแบ่งแบบธรรมดา 5.2 คานวณการแบ่งแบบธรรมดาได้ถกู ต้อง 5.3 แสดงหลักการคานวณการแบ่งแบบซบั ซ้อน 5.3 คานวณการแบ่งแบบซบั ซ้อนได้ถกู ต้อง 6 การคานวณอัตราทดระบบส่งกาลงั ดว้ ยสายพานและเฟือง 6.1 แสดงความรูเ้ ก่ยี วกับหลกั การทางานของ 6.1 บอกหลกั การทางานของชนดิ สายพานได้ถูกต้อง ชนิดสายพาน 6.2 แสดงหลักการคานวณคา่ สายพานรอ่ งแบบ 6.2 คานวณหาสายพานแบบและสายพานวี (V- และสายพานร่องวี (V-Belt) Belt) ได้ถูกต้อง 6.3 แสดงหลักการคานวณอัตราทดชัน้ เดียวและ 6.3 คานวณหาอตั ราทดช้นั เดียวและแบบหลายชั้น แบบหลายชน้ั ไดถ้ ูกต้อง 6.4 แสดงหลักการคานวณส่งกาลงั ด้วยเฟืองตรง 6.4 คานวณการสง่ กาลังด้วยเฟืองตรงได้ถกู ต้อง 6.5 แสดงหลกั การคานวณการสง่ กาลงั ดว้ ยเฟือง 6.5 คานวณการสง่ กาลังดว้ ยเฟอื งหนอนไดถ้ กู ตอ้ ง หนอน 6.6 แสดงหลักการคานวณการส่งกาลังด้วยเฟือง 6.6 คานวณการส่งกาลังดว้ ยเฟอื งสะพานได้ถกู ต้อง สะพาน

ท การวเิ คราะห์สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์(ทฤษฎี) ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะที่พึงประสงค์ ระดบั ชนั้ ปวช. สาขาวชิ า ชา่ งกลโรงงาน 2 หน่วยกติ รหสั วิชา 20102-2005 ช่ือวิชา คณิตศาสตร์เครอื่ งมือกล 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์ หนว่ ย สมรรถนะท่ัวไป สมรรถนะท่ีพึงประสงค์ ที่ 7 การคานวณเกลียว 7.1 แสดงหลักการคานวณเกลียวสามเหลยี่ ม 7.1 คานวณเกลยี วสามเหล่ยี มได้ถูกต้อง 7.2 แสดงหลักการคานวณเกลียวสเ่ี หลี่ยม 7.2 คานวณเกลียวสี่เหลย่ี มได้ถูกต้อง 7.3 แสดงหลักการคานวณเกลียวสเี่ หลย่ี มคางหมู 7.3 คานวณเกลยี วส่เี หลย่ี มคางหมูได้ถกู ต้อง 7.4 แสดงหลักการคานวณเกลียวฟนั เล่อื ย 7.4 คานวณเกลียวฟนั เล่ือยได้ถกู ต้อง 8 การคานวณเรยี ว 8.1 แสดงความรู้เกยี่ วกับหลกั การคานวณ 8.1 บอกหลกั การคานวณส่วนประกอบของเรียวได้ สว่ นประกอบของเรยี ว ถูกต้อง 8.2 แสดงหลกั การคานวณเรยี วโดยวิธีเยื้องศนู ย์ 8.2 คานวณเรยี วโดยวธิ ีเย้ืองศูนย์ทา้ ยแทน่ ไดถ้ ูกตอ้ ง ท้ายแท่น 8.3 แสดงหลักการคานวณเรยี วโดยวิธเี อียงปอ้ ม 8.3 คานวณเรยี วโดยวิธเี อียงป้อมมีดได้ถกู ต้อง มดี 8.4 แสดงหลกั การคานวณเรียวโดยวธิ ีใชอ้ ปุ กรณ์ 8.4 คานวณเรยี วโดยวิธีใช้อุปกรณพ์ ิเศษไดถ้ ูกต้อง พเิ ศษ 9. การคานวณหาเวลางานเครอ่ื งกล 9.1 แสดงหลกั การคานวณเวลาในงานกลึง 9.1 คานวณเวลาในงานกลึงไดถ้ ูกต้อง 9.2 แสดงหลักการคานวณเวลางานเจาะ 9.2 คานวณเวลางานเจาะได้ถูกต้อง 9.3 แสดงหลกั การคานวณเวลางานกดั 9.3 คานวณเวลางานกดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 9.4 แสดงหลักการคานวณเวลางานเจียระไน 9.4 คานวณเวลางานเจยี ระไนไดถ้ ูกต้องได้ถูกต้อง 9.5 แสดงหลกั การคานวณเวลาไส 9.5 คานวณเวลางานไสไดถ้ กู ต้องงานไส

ธ การวิเคราะหพ์ ฤตกิ รรมการเรยี นรู้ท่พี งึ ประสงค์ (ทฤษฎี) ตารางวเิ คราะห์พฤติกรรมการเรยี นรู้ท่ีพึงประสงค์ (ทฤษฎ)ี ระดับชัน้ ปวช. สาขาวิชา ชา่ งกลโรงงาน 2 หน่วยกติ รหสั วิชา 20102-2005 ช่อื วชิ า คณิตศาสตร์เคร่ืองมือกล 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ หนว่ ย สมรรถนะทีพ่ ึงประสงค์ พฤติกรรมการเรยี นรู้ที่พงึ ประสงค์ ที่ R U Ap An E C 1 การคานวณหนว่ ยวัดในงานช่าง X 1.1 บอกหลกั การอ่านคา่ ระบบหนว่ ย เอส-ไอ (SI-UNITS)ได้ ถกู ต้อง 1.2 อธบิ ายการเขียนสญั ลักษณ์หน่วย เอส ไอ อนพุ ันธ์ได้ I ถูกต้อง 1.3 อธยิ ายความสัมพนั ธ์ของหน่วยวัดในระบบตา่ ง ๆได้ถกู ต้อง I 1.4 คานวณมาตราสว่ นได้ถูกต้อง I 2 การคานวณความยาว พนื้ ท่ี ปริมาตร และนา้ หนัก 2.1 คานวณความยาวเส้นขอบรปู ได้ถูกตอ้ ง I 2.2 คานวณความยาวเสน้ แนวศนู ย์กลางได้ถกู ต้อง I 2.3 คานวณพ้ืนทขี่ องรปู เรขาคณิตไดถ้ ูกต้อง I 2.4 คานวณปรมิ าตรรูปทรงเรขาคณติ ได้ถูกต้อง I 2.5 คานวณมวลและน้าหนักของชิน้ งานได้ถูกต้อง I 3 การคานวณพกิ ัดความเผือ่ 3.1 บอกหลักการเขียนสญั ลักษณ์ของพิกดั ความเผ่อื X 3.2 คานวณหาคา่ พิกัดความเผ่ือไดถ้ ูกต้อง I 3.3 บอกหลักการเขยี นค่าพิกัดความเผอื่ ระบบงานสวม ISO ได้ I ถกู ต้อง 3.4 คานวณค่าพกิ ดั งานสวมระบบ ISO ได้ถูกต้อง I 4 การคานวณหาความเร็วในงานเครื่องกล I 4.1 คานวณความเร็วในงานกลึงไดถ้ ูกตอ้ ง I 4.2 คานวณความเรว็ ในงานเจาะได้ถกู ต้อง I 4.3 คานวณความเรว็ ในงานกัดไดถ้ ูกต้อง I 4.4 คานวณความเร็วในงานเจียระไนได้ถูกต้อง I 4.5 คานวณความเรว็ ในงานไสไดถ้ กู ต้อง

น การวิเคราะหพ์ ฤตกิ รรมการเรียนรทู้ พ่ี ึงประสงค์ (ทฤษฎี) ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะที่พึงประสงค์ (ทฤษฎ)ี ระดบั ชัน้ ปวช. สาขาวชิ า ช่างกลโรงงาน 2 หนว่ ยกติ รหสั วชิ า 20102-2005 ชื่อวชิ า คณิตศาสตร์เคร่อื งมือกล 2 ชัว่ โมง/สัปดาห์ หน่วย สมรรถนะทพี่ ึงประสงค์ พฤตกิ รรมการเรียนรู้ที่พึงประสงค์ ที่ R U Ap An E C 5 การคานวณการแบง่ ด้วยหัวแบง่ (Index Head) X 5.1 บอกหลกั การทางานของหวั แบ่งได้ถูกตอ้ ง 5.2 คานวณการแบ่งแบบธรรมดาได้ถูกต้อง I 5.3 คานวณการแบ่งแบบซับซ้อนได้ถูกต้อง I 6 การคานวณอตั ราทดระบบการสง่ กาลังด้วยสายพานและเฟอื ง 6.1 บอกหลักการทางานของชนิดสายพานได้ถกู ต้อง X 5.2 คานวณหาสายพานร่องแบบและสายพานร่องวี (V-Belt) I ไดถ้ ูกตอ้ ง 6.3 คานวณหาอตั ราทดชน้ั เดียวและแบบหลายช้ันไดถ้ ูกต้อง I 6.4 คานวณการสง่ กาลังดว้ ยเฟอื งตรงได้ถกู ต้อง I 6.5 คานวณการส่งกาลงั ดว้ ยเฟืองหนอนไดถ้ กู ตอ้ ง I 6.6 คานวณการส่งกาลังด้วยเฟืองสะพานได้ถกู ต้อง I 7 การคานวณเกลยี ว I 7.1 คานวณเกลยี วสามเหล่ียมไดถ้ ูกตอ้ ง 7.2 คานวณเกลยี วส่เี หล่ยี มได้ถกู ต้อง I 7.3 คานวณเกลยี วสเ่ี หลยี่ มคางหมูได้ถูกต้อง I 7.4 คานวณเกลียวฟนั เลื่อยได้ถกู ต้อง I 8 การคานวณเรยี ว 8.1 บอกหลักการคานวณส่วนประกอบของเรยี วได้ถกู ต้อง X 8.2 คานวณเรียวโดยวิธีเยื้องศูนย์ทา้ ยแทน่ ได้ถูกต้อง I 8.3 คานวณเรียวโดยวิธีเอียงปอ้ มมีดได้ถูกต้อง I 8.4 คานวณเรียวโดยวธิ ีใช้อปุ กรณ์พิเศษได้ถูกต้อง I

บ การวเิ คราะห์พฤตกิ รรมการเรียนรทู้ ่ีพงึ ประสงค์ (ทฤษฎ)ี ตารางวิเคราะห์สมรรถนะทพี่ ึงประสงค์ (ทฤษฎ)ี ระดับชนั้ ปวช. สาขาวิชา ชา่ งกลโรงงาน 2 หนว่ ยกิต รหัสวชิ า 20102-2005 ชอ่ื วชิ า คณิตศาสตรเ์ คร่ืองมือกล 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ หน่วย สมรรถนะท่ีพึงประสงค์ พฤติกรรมการเรยี นรู้ที่พงึ ประสงค์ ท่ี R U Ap An E C 9 การคานวณหาเวลางานเครอื่ งกล I 9.1 คานวณเวลาในงานกลงึ ไดถ้ กู ต้อง I I 9.2 คานวณเวลางานเจาะได้ถูกต้อง I I 9.3 คานวณเวลางานกัดไดถ้ ูกต้อง 9.4 คานวณเวลางานเจียระไนได้ถูกต้อง 9.5 คานวณเวลางานไสได้ถกู ต้อง หมายเหตุ : ความหมายของระดับการเรียนรู้ท่พี งึ ประสงค์ (Bloom S Taxonomy ; 2001) ด้านความรู้ An = วเิ คราะห์ (Analyzing) ระดบั ความสาคัญ R = จา (Remembering) Ap = ประยกุ ตใ์ ช้ (Applying) X = สาคญั มากท่สี ุด U = เขา้ ใจ (Understanding) C = คิดสรา้ งสรรค์ (Creating) I = สาคญั มาก E = ประเมินค่า (Evaluting) O = สาคัญ

ป โครงการสอนรายวิชา ตารางแสดงการบรูรณาการรายวชิ า ระดับช้ัน ปวช. สาขาวิชา ช่างกลโรงงาน 2 หน่วยกิต รหสั วิชา 20102-2005 ชอ่ื วชิ า คณิตศาสตรเ์ ครอ่ื งมือกล 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ สัปดาห์ ชอื่ หน่วยการเรียน หน่วยท่ี สอน จานวน แบบฝกึ หดั ที่ คร้งั ท่ี ชวั่ โมง (ใบงาน) 1 การคานวณหนว่ ยวดั ในงานช่าง 1 1 2 2 2 2 การคานวณหนว่ ยวดั ในงานช่าง 1 3 2 4 2 3 การคานวณความยาว พนื้ ท่ี ปรมิ าตร และนา้ หนัก 2 5 2 6 2 4 การคานวณความยาว พืน้ ที่ ปรมิ าตร และนา้ หนกั 2 7 2 8 2 5 การคานวณพกิ ัดความเผื่อ 3 9 2 10 2 6 การคานวณพิกดั ความเผอื่ 3 11 2 12 2 7 การคานวณหาความเรว็ ในงานเคร่อื งกล 4 13 2 14 2 8 การคานวณหาความเรว็ ในงานเครื่องกล 4 15 2 16 2 9 การคานวณการแบ่งด้วยหัวแบง่ (Index Head) 5 17 2 18 2 10 การคานวณอตั ราทดระบบส่งกาลงั ดว้ ยสายพานและเฟือง 6 36 11 การคานวณอตั ราทดระบบสง่ กาลงั ด้วยสายพานและเฟือง 6 12 การคานวณเกลยี ว 6 13 การคานวณเกลียว 6 14 การคานวณเรยี ว 7 15 การคานวณเรยี ว 7 16 การคานวณหาเวลางาน 8 17 การคานวณหาเวลางาน 8 18 สอบปลายภาค รวม หมายเหตุ โครงการสอนนี้ เป็นแนวทางใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน ระยะเวลาอาจมีการเปล่ยี นแปลงไดต้ ามความ เหมาะสม

ผ การบูรณาการรายวชิ า การบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ น้ีได้กาหนดขึ้นตามกรอบ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ของผู้สาเร็จการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา ซ่ึง ประกอบด้วย 15 คุณลักษณะ โดยในวิชาการออกแบบเครื่องจักรกล ได้เน้น 4 คุณลักษณะ คือ ด้านความมีวินัย ด้านความรับผิดชอบ ด้านความซื่อสัตย์สุจริต และด้านความสนใจใฝ่เรียนรู้ ซ่ึงในแต่ละ ด้านมีพฤติกรรมบ่งชี้ท่ี สาคัญและนามาเลอื กใช้ ดังน้ี 1) ความมีวินัย คือปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับและข้อตกลงต่าง ๆ ของสถานศึกษาได้แก่การแต่ง กาย ถูกต้องตามระเบียบและข้อบังคับ ตรงต่อเวลา รักษาสาธารณสมบัติ ส่ิงแวดล้อมและเข้าร่วมกิจกรรมท่ีครู กาหนด และประพฤตติ นถกู ต้องตามศลี ธรรมอันดงี าม (เขา้ ชนั้ เรียนตรงเวลา) 2) ความรบั ผดิ ชอบ คอื การเตรียมความพรอ้ มในการเรียนและการปฏบิ ัติงาน ปฏิบัตงิ านตามขั้นตอนท่ี วาง ไว้ ปฏิบัติงานด้วยความตั้งใจ ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ ปฏิบัติงานท่ีได้รับมอบหมายเสร็จตาม กาหนด มีความเพียรพยายามในการเรียนและการปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานตามหน้าท่ีของตนเอง ยอมรับผลการ กระทาของ ตนเอง ปฏบิ ัติงานโดยคานึงถงึ ความปลอดภยั ต่อตนเองและสว่ นรวม (นักเรียนเอาใจใส่การเขา้ รว่ ม กจิ กรรมในแต่ละ แผนการจดั การเรยี นรมู้ งุ่ เนน้ สมรรถนะอยา่ งตง้ั ใจ) 3) ความซื่อสัตย์สุจริต คือการพูดความจริง ไม่นาผลงานของผู้อ่ืนมาแอบอ้างเป็นของตนเอง ไม่ทุจริต ใน การสอบ ไม่ลกั ขโมยเป็นต้น (นกั เรียนไมถ่ ามและไมล่ อกคาตอบจากผู้อืน่ ) 4) ความสนใจใฝ่รู้ เป็นการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ซักถามปัญหาข้อสงสัย แสวงหาประสบการณ์และ ค้นหาความรู้ใหม่ ๆ (นักเรียนใฝ่ในการเรียนรู้อยู่เสมอ โดยการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง หรือปรึกษาหารือ หา ความรู้ หรอื ศกึ ษาด้วยวธิ ีการอ่นื ๆ) 2. การบรู ณาการเข้ากบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3 ห่วง 2 เงอ่ื นไข 4 มิติประกอบดว้ ย 3 หว่ ง 2 เงือ่ นไข 4 มิติ 1. ความพอประมาณ 1. เงือ่ นไขความรู้ 1. เศรษฐกิจ 2. ความมีเหตผุ ล 2. เง่ือนไขคุณธรรม 2. สังคม 3. การมีภูมคิ ุ้มกันในตัวท่ีดี 3. ส่ิงแวดล้อม 4. วฒั นธรรม

ฝ การบูรณาการรายวชิ า ระดับช้ัน ปวช. ตารางแสดงการบรูรณาการรายวิชา 2 หน่วยกติ รหสั วชิ า 20102-2005 สาขาวิชา ช่างกลโรงงาน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ ชอ่ื วชิ า คณิตศาสตรเ์ ครอื่ งมือกล หน่วยท่ี ชอื่ หน่วยการเรยี น การบรรู ณาการ 1 การคานวณหนว่ ยวัดในงานช่าง 1,2,3 2 การคานวณความยาว พ้ืนที่ ปริมาตร และนา้ หนัก 1,2,3 3 การคานวณพกิ ดั ความเผอื่ 1,2,3 4 การคานวณหาความเรว็ ในงานเคร่อื งกล 1,2,3 5 การคานวณการแบง่ ด้วยหัวแบง่ (Index Head) 1,2,3 6 การคานวณอัตราทดระบบสง่ กาลังดว้ ยสายพานและเฟือง 1,2,3 7 การคานวณเกลยี ว 1,2,3 8 การคานวณเรยี ว 1,2,3 9 การคานวณหาเวลางาน 1,2,3 หมายเหตุ 1 หมายถงึ การบรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2 หมายถึง การบรู ณาการคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 3 หมายถงึ การบรู ณาการยาเสพตดิ 4 หมายถึง การบรู ณาการงาน...............................

คู่มือครู บ ป ชุดการสอน เรื่อง การคานวณอตั ราทดระบบการส่งกาลงั ดว้ ยสายพานและเฟือง . คาชี้แจง : ชุดการสอนเรือ่ ง การคานวณอตั ราทดระบบการส่งกาลงั ด้วยสายพานและเฟือง ต้องการให้ นกั เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั การคานวณอัตราทดระบบการสง่ กาลังดว้ ยสายพานและเฟือง . 1. สมรรถนะหลัก (สมรรถนะประจาหน่วย) แสดงความรู้เกยี่ วกบั หลกั การคานวณอตั ราทดระบบการส่งกาลังด้วยสายพานและเฟือง 2. สมรรถนะยอ่ ย (สมรรถนะการเรียนรู้) 2.1 สมรรถนะท่ัวไป (ทฤษฎี) . 2.1.1 แสดงความรเู้ กยี่ วกับหลกั การทางานของชนดิ สายพาน 2.1.2 แสดงหลกั การคานวณค่าสายพานแบบและสายพานวี (V-Belt) 2.1.3 แสดงหลักการคานวณอัตราทดชั้นเดยี วและแบบหลายช้ัน 2.1.4 แสดงหลกั การคานวณการส่งกาลงั ดว้ ยเฟอื งตรง . 2.1.5 แสดงหลักการคานวณการส่งกาลังดว้ ยเฟืองหนอน 2.1.6 แสดงหลักการคานวณการส่งกาลังดว้ ยเฟอื งสะพาน 2.2 สมรรถนะที่พึงประสงค์ (ทฤษฎี) . 2.2.1 บอกหลักการทางานของชนิดสายพานไดถ้ ูกต้อง 2.2.2 คานวณหาสายพานแบบและสายพานวี (V-Belt) ไดถ้ กู ต้อง 2.2.3 คานวณหาอตั ราทดช้ันเดียวและแบบหลายชน้ั ได้ถูกต้อง 2.2.4 คานวณการส่งกาลงั ด้วยเฟืองตรงได้ถกู ต้อง 2.2.5 คานวณการสง่ กาลงั ดว้ ยหนอนไดถ้ ูกตอ้ ง 2.2.6 คานวณการส่งกาลงั ด้วยเฟืองสะพานไดถ้ ูกตอ้ ง 3. สว่ นประกอบของชุดการสอน ประกอบด้วย .3.1 คู่มอื ครู 3.2 แผนการจดั การเรียนรู้ 3.3 ชุดการสอนสาหรับนกั เรยี น ประกอบดว้ ย 3.3.1 3.3.2 3.3.3 3.3.4 3.3.5

3.6 สอ่ื ประกอบการเรยี นการสอนชดุ การสอน 3.6.1 ส่ือของจริง แสดงชุดการทดฟันเฟือง 3.6.2 ส่ือตวั อกั ษรปรศิ นา (สาหรับใหน้ ักเรียนแข่งกันเรียบเรียงเปน็ สูตรคานวณ) 3.6.3 สอ่ื การสอน PowerPoint เรอ่ื ง อัตราทดระบบการส่งกาลงั ด้วยสายพานและเฟือง 3.7 ภาคผนวก 3.7.1 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียน 3.7.2 เฉลยแบบฝกึ หดั 3.7.3 แบบสงั เกตพฤตกิ รรม การเรียนรายบุคคล 3.7.4 แบบประเมินเจตคตแิ ละคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 4. เวลาทใ่ี ช้จดั การเรียนรู้ ใชเ้ วลาในการสอนจานวน 4 ชัว่ โมง 5. การเตรยี มการลว่ งหน้า สิ่งทคี่ รตู อ้ งเตรยี มการมดี งั น้ี 5.1 ศึกษาคู่มือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ 5.2 เตรยี มอุปกรณ์ฉายภาพ (ทีวี หรอื โปรเจคเตอร์) 5.3 ศึกษาเน้อื หาการสอน เรอ่ื ง อัตราทดระบบการส่งกาลังด้วยสายพานและเฟอื ง 5.4 ศึกษาแบบประเมินก่อนเรยี นและหลงั เรยี น 5.5 ศกึ ษาและเตรียม แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้รายบคุ คล 5.6 ศึกษาการประเมินเจตคติและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 5.7 เตรยี ม การเฉลยแบบฝกึ หดั 5.8 เตรยี ม การเฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น 5.9 เตรียมเฉลยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน 5.10 เตรยี ม 6. สื่อการเรยี นการสอน 6.1 ชุดการสอน เร่ือง อัตราทดระบบการส่งกาลังดว้ ยสายพานและเฟือง 6.2 สอื่ ตวั อักษรปริศนา (สาหรับให้นกั เรยี นแขง่ กันเรยี บเรยี งเปน็ สูตรคานวณ) 6.3 สื่อการสอน PowerPoint เรอื่ ง อตั ราทดระบบการส่งกาลงั ดว้ ยสายพานและเฟือง 7. การจดั ช้นั เรยี น การจัดช้นั เรียนตามปกติสาหรับการสอนภาคทฤษฎี โดยการจัดการเรียนการสอนแบบการบรรยาย สภาพ การจดั ชัน้ เรียนมคี วามเหมาะสมสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แก่ผ้เู รียนได้อยา่ งทวั่ ถงึ

8. ขน้ั ตอนการใชช้ ุดการสอน มดี ังนี้ . 8.1 ศกึ ษาคู่มอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ 8.2 ศึกษาการใช้สือ่ การเรยี นการสอน 8.3 ศกึ ษาความรู้ หน่วยการสอน เรอ่ื ง อตั ราทดระบบการส่งกาลงั ดว้ ยสายพานและเฟือง 8.4 ศกึ ษาวธิ วี ัดผลและการประเมินผล 9. ขน้ั ดาเนินการสอน ชดุ การสอน ประกอบดว้ ย มขี ้นั ตอนดาเนินการสอนดังน้ี 9.1 9.2 9.3 9.4 9.5 9.6 9.7 9.8 9.9 9.10 9.11 9.12 9.13 9.14 10. วธิ กี ารใช้สือ่ การเรยี นการสอน นกั เรยี น ศึกษาคาแนะนา สาหรับผเู้ รียนหรือครูช้ีแจงให้นกั เรยี นทราบวธิ ีการเรียนรู้ดว้ ยตัวเองโดยใช้ เอกสารประกอบการเรยี นเร่ือง อตั ราทดระบบการสง่ กาลงั ด้วยสายพานและเฟอื ง ครูศึกษาคาแนะนาการใชส้ ื่อการเรียนการสอนและวิธีการใชส้ อื่ การสอน ของชดุ การสอน 11. บทบาทของนักเรยี น มดี งั นี้ 11.1 11.2 11.3 12. การวดั และการประเมินผลการเรยี น มดี งั น้ี 12.1 วิธกี ารประเมนิ อาศยั ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศกึ ษาและการประเมนิ ผลการเรยี น หลกั สตู ร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พุทธศกั ราช 2562 ประเมนิ ผลการเรียนตามสภาพจริงต่อเน่อื ง ตลอดภาคเรียนทงั้ ด้าน

ความรู้ ความสามารถและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคจ์ ากกิจกรรมการเรียน การสอน การฝกึ ปฏบิ ัตริ วมทั้งการวัดผล ปลายภาคเรียน 12.2 เคร่อื งมือวัดผล 12.2.1 แบบทดสอบก่อนเรยี น 12.2.2 แบบทดสอบหลังเรยี น 12.2.3 แบบประเมินเจตคตแิ ละคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 12.2.4 แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น (ข้อสอบปลายภาคเรยี น) 12.3 เกณฑ์การประเมินผลการเรยี น กาหนดเกณฑ์ แบง่ สว่ นคะแนนดงั น้ี 12.3.1 คะแนนเกบ็ กลางภาค ร้อยละ 50 คดิ เปน็ 50 คะแนน 12.3.2 คะแนนสอบปลายภาคเรยี น ร้อนละ 30 คิดเปน็ 30 คะแนน 12.3.3 คะแนนคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ รอ้ นละ 20 คดิ เป็น 20 คะแนน 12.4 การประเมนิ ผลแผนการจดั การเรียนรู้ ดงั น้ี 12.4.1 12.4.2 คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี นหลังเรียนไม่ตา่ กวา่ ร้อยละ 70 12.4.3 12.4.4

คาแนะนาสาหรับนักเรียน 1. ชดุ การสอน : เร่ือง อัตราทดระบบการสง่ กาลงั ดว้ ยสายพานและเฟือง 1.1 นกั เรียนตอ้ งปฏิบตั ติ ามคาแนะนา และขั้นตอนการปฏบิ ตั ิงานอยา่ งเคร่งครัด 1.2 นักเรียนต้องมีความซื่อสัตยต์ อ่ ตนเองโดยไม่ลอกหรือใหเ้ พอื่ นลอกคาตอบแบบทดสอบก่อนเรยี น/ หลงั เรยี น แบบฝกึ หดั และแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 1.3 การทาแบบทดสอบก่อนเรียน ใหน้ ักเรียนรับกระดาษเขยี นคาตอบและกระดาษกากขอ้ สอบอย่างละ 1 แผ่น จากครผู ้สู อน ข้อสอบมี 2 แบบ ทัง้ แบบปรนัย (20ข้อ) และแบบอัตนยั (1 ข้อ) 1.4 ศึกษาใบเน้ือหาจากเอกสารประกอบการเรียนเรอ่ื งอัตราทดระบบการส่งกาลงั ด้วยสายพานและเฟือง 1.5 ทาแบบฝึกหดั ความความตั้งใจและรอบคอบ 1.6 การทาแบบทดสอบหลงั เรียน ใหน้ กั เรยี นรับกระดาษเขยี นคาตอบและกระดาษกากขอ้ สอบอย่างละ1 แผ่น จากครผู ู้สอน ข้อสอบมี 2 แบบ ทั้งแบบปรนัย (20ข้อ) และแบบอัตนยั (1 ข้อ) 1.7 การทาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ให้นักเรียนรับกระดาษเขียนคาตอบและกระดาษกาก ขอ้ สอบอยา่ งละ1 แผน่ จากครูผู้สอน ข้อสอบมี 2 แบบ ท้ังแบบปรนัย (20ข้อ) และแบบอตั นัย (1 ข้อ) 1.8 ตรวจผลการทาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น รว่ มกับครู 1.9 ฟังผลการประเมิน ครูนัดหมายซ่อมเสรมิ นักเรยี นท่ไี มผ่ า่ นการประเมนิ การทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี น 2. สมรรถนะหลกั (สมรรถนะประจาหนว่ ย) แสดงความรเู้ กี่ยวกับหลกั การ คานวณอัตราทดระบบการสง่ กาลังด้วยสายพานและเฟือง 3. สมรรถนะย่อย (สมรรถนะการเรียนร้)ู 3.1.1 สมรรถนะทั่วไป (ทฤษฎี) 3.1.1.1 แสดงความรู้เกย่ี วกับหลักการทางานของชนดิ สายพาน 3.1.1.2 แสดงหลักการคานวณค่าสายพานแบบและสายพานวี (V-Belt) 3.1.1.3 แสดงหลกั การคานวณอตั ราทดชั้นเดยี วและแบบหลายชนั้ 3.1.1.4 แสดงหลักการคานวณการส่งกาลังด้วยเฟอื งตรง 3.1.1.5 แสดงหลักการคานวณการสง่ กาลังด้วยเฟอื งหนอน 3.1.1.6 แสดงหลักการคานวณการส่งกาลงั ดว้ ยเฟอื งสะพาน 3.1.2 สมรรถนะที่พงึ ประสงค์ (ทฤษฎ)ี 3.1.2.1 บอกหลักการทางานของชนิดสายพานได้ถกู ต้อง 3.1.2.2 คานวณหาสายพานแบบและสายพานวี (V-Belt) ได้ถูกต้อง 3.1.2.3 คานวณหาอัตราทดชน้ั เดียวและแบบหลายชัน้ ได้ถกู ต้อง 3.1.2.4 คานวณการส่งกาลังดว้ ยเฟืองตรงไดถ้ ูกต้อง

3.1.2.5 คานวณการส่งกาลงั ด้วยเฟืองหนอนได้ถกู ต้อง 3.1.2.6 คานวณการส่งกาลังดว้ ยเฟืองสะพานไดถ้ ูกต้อง

ฟ . บนั ทกึ หลงั สอน . สัปดาห์ . ชื่อวิชา คณิตศาสตรเ์ ครอ่ื งมือกล รหัส 20102-2005 . แผนกวิชา ชา่ งกลโรงงาน วนั ท่สี อน หน่วยท่ี . ภาคเรียนท่ี.. .....1.......ปีการศึกษา……2566…. จานวนผ้เู รียน ช้นั ....… กลมุ่ ……..จานวน……คน เขา้ เรยี น………..คน ขาดเรียน…………..คน . 1.เน้อื หาทสี่ อน(สาระสาคญั ) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………... 2. ผลการสอน ………….....................................…………………………....................................................…………......................................... ............................................................................................................................. .......................................................... 3.ปญั หา อุปสรรค ทเี่ กิดขน้ึ ในระหว่างการเรียนการสอน . ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...… ลงชื่อ..................................................ผูส้ อน (นายธนทั จันทบูลย์) ........../............./............ ลงชื่อ..........................................หวั หน้าแผนก ลงช่อื ....................................หวั หน้างานหลักสตู รฯ (นายอานาจ เสมอวงศ)์ (นายสมศักดิ์ หลวงนา) ........../............./............ ........../............./............ ลงชอ่ื ...........................................รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ . (นายประเสริฐ ถงึ วสิ ัย) . ........../............./............


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook