1 ความรเู้ รอื่ ง “กฐิน” ๑. ความหมายของคา คำว่ำ กฐิน มคี วำมหมำยเกย่ี วข้องกัน ๔ ประกำร คือ เปน็ ชอื่ ของกรอบไม้ อนั เป็นแม่แบบสำหรบั ทำจีวร ซ่ึงอำจเรียกวำ่ สะดงึ ก็ได้ เป็นชอ่ื ของผ้า ท่ีถวำยแก่สงฆ์เพือ่ ทำจีวร ตำมแบบหรอื กรอบไมน้ ้นั เปน็ ชอ่ื ของบุญกิริยา ในกำรถวำยผำ้ กฐนิ เพ่ือใหส้ งฆท์ ำเป็นจวี ร เป็นชอ่ื ของสงั ฆกรรม คือกจิ กรรมของสงฆ์ทจี่ ะตอ้ งมกี ำรสวดประกำศขอรบั ควำมเห็นชอบจำกที่ประชมุ สงฆ์ในกำรมอบผำ้ กฐินให้แก่ภกิ ษุรปู ใดรูปหน่ึง กฐนิ ทเี่ ป็นชื่อของกรอบไม้ กรอบไม้แม่แบบสำหรับทำจีวร ซ่ึงอำจเรียกว่ำสะดึงก็ได้น้ัน เน่ืองจำก ในครั้งพุทธกำล กำรทำจีวรให้มีรูปลักษณะตำมท่ีกำหนดกระทำได้โดยยำก จึงตอ้ งทำกรอบไม้สำเร็จรูปไว้เพื่อเป็นอุปกรณ์สำคัญในกำรทำเป็นผ้ำห่ม หรือ ผำ้ ห่มซ้อน ท่เี รยี กวำ่ จีวรเปน็ ชอื่ รวมของผำ้ ผนื ใดผนื หน่งึ กไ็ ด้ ในภำษำไทยนิยมเรียกผ้ำนุ่งว่ำ สบง ผ้ำห่มว่ำ จีวร ผ้ำห่มซ้อนว่ำ สังฆาฏิ กำรทำผ้ำโดยอำศัยแม่แบบเช่นน้ีคือทำบผ้ำลงไปกับแม่แบบ แล้วตัด เยบ็ ย้อมทำให้เสร็จในวนั นั้นด้วยควำมสำมัคคีของสงฆ์ เป็นกำรร่วมแรงร่วมใจ กันทำกิจที่เกิดขึ้นและเม่ือทำเสร็จ หรือพ้นกำหนดกำลแล้ว แม่แบบหรือกฐิน นน้ั กร็ ้ือเก็บไวใ้ ช้ในกำรทำผ้ำเช่นนั้นอีกในปีต่อ ๆ ไป กำรร้ือแบบไม้น้ีเรียกว่ำ เดาะ คำว่ำ กฐินเดำะ หรือ เดำะกฐิน จึงหมำยถึงกำรรื้อไม้แม่แบบเพ่ือเก็บไว้ ใชใ้ นกำรโอกำสหนำ้ รวบรวมและเรยี บเรียงโดย ร.ท. สธุ รี ว์ รนิ ทร์ อินธแิ สง, ร.ท. พชิ ิต ดัชถยุ าวัตร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สูหา
2 กฐินท่ีเป็นชื่อของผ้า หมำยถึง ผ้ำท่ีถวำยให้เป็นกฐินภำยในกำหนดกำล ๑ เดือน นับตั้งแต่ วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ ผ้ำท่ีจะถวำยนั้นจะเป็น ผ้ำใหม่ หรือผ้ำเทียมใหม่ เช่น ผ้ำฟอก สะอำด หรือผ้ำเก่ำ หรือผ้ำบังสุกุล คือ ผ้ำท่ีเขำทิ้งแล้ว และเป็นผ้ำเปื้อนฝุ่นหรือผ้ำตกตำมร้ำนก็ได้ ผู้ถวำยจะเป็น คฤหัสถ์ก็ได้ เป็นพระภิกษุหรือสำมเณรก็ได้ ถวำยแก่พระสงฆ์แล้ว ก็เป็นอัน ใชไ้ ด้ กฐินท่เี ปน็ ชื่อของบญุ กริ ิยา คือกำรถวำยผ้ำกฐินเป็นทำนแก่พระสงฆ์ผู้จำพรรษำอยู่ในวัดใดวัดหนึ่ง ครบ ๓ เดือน เพ่ือสงเครำะห์ผู้ประพฤติปฏิบัติชอบ ให้มีผ้ำนุ่งหรือผ้ำห่มใหม่ จะได้ใช้ผลดั เปลี่ยนของเก่ำที่จะขำดหรือชำรุด กำรทำบุญถวำยผ้ำกฐิน หรือท่ี เรียกวำ่ ทอดกฐิน คือกำรทอดหรือวำงผ้ำลงไปแล้วกล่ำวคำถวำยในท่ำมกลำง สงฆ์ เรียกได้ว่ำ เป็นกาลทาน คือกำรถวำยทำนที่ทำได้เฉพำะกำล ๑ เดือน ดังกล่ำวในกฐินที่เป็นช่ือของผ้ำ ถ้ำถวำยก่อนหน้ำน้ัน หรือหลังจำกน้ันไม่เป็น กฐิน ทำ่ นจึงถอื ว่ำโอกำสทำได้ยำก กฐนิ ทีเ่ ป็นช่ือของสงั ฆกรรม คือกิจกรรมของสงฆ์ก็จะต้องมีกำรสวดประกำศขอรับควำมเห็นชอบ จำกทปี่ ระชุมสงฆ์ในกำรมอบผ้ำกฐนิ ใหแ้ กภ่ กิ ษรุ ปู ใดรปู หนง่ึ เม่ือทำจีวรสำเร็จ แล้วด้วยควำมร่วมมอื ของภิกษุท้ังหลำย ก็จะได้เป็นโอกำสให้ได้ช่วยกันทำจีวร รวบรวมและเรียบเรียงโดย ร.ท. สุธรี ์วรินทร์ อินธิแสง, ร.ท. พชิ ิต ดัชถุยาวัตร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สูหา
3 ของภิกษุรูปอ่ืนขยำยเวลำทำจีวรได้อีก ๔ เดือน ท้ังน้ีเพรำะในสมัยพุทธกำล กำรหำผ้ำทำจีวรทำได้โดยยำก ไม่ทรงอนุญำตให้เก็บสะสมผ้ำไว้เกิน ๑๐ วัน แต่เม่ือได้ช่วยกันทำสังฆกรรมเรื่องกฐินแล้ว อนุญำตให้แสวงหำผ้ำและเก็บผ้ำ ไวท้ ำเป็นจีวรไดจ้ นตลอดฤดูหนำวคอื จนถงึ วนั ขึน้ ๑๕ คำ่ เดอื น ๔ ข้อควำมดังกล่ำวมำแล้วข้ำงต้น จะเห็นว่ำควำมหมำยของคำว่ำกฐิน มคี วำมหมำยเก่ยี วข้องกัน ๔ ประกำร เมอ่ื สงฆ์ทำสังฆกรรมเร่ืองกฐินแล้ว และ ประชุมกันอนุโมทนำกฐิน คือแสดงควำมพอใจว่ำได้กรำนกฐินเสร็จแล้วก็เป็น อันเสรจ็ พิธี คาว่ากรานกฐนิ คอื กำรลำดหรือทำบผำ้ ลงไปกบั กรอบไม้แม่แบบเพอื่ ตดั เยบ็ ย้อมทำเป็น จีวรผนื ใดผืนหนึ่ง คาว่าการจองกฐนิ คอื กำรแสดงควำมจำนงเปน็ ลำยลักษณ์อักษร หรือด้วยวำจำต่อทำงวัด วำ่ จะนำกฐินมำถวำย เมื่อนั้น เมื่อน้ี แล้วแต่จะตกลงกัน แต่จะต้องภำยในเขต เวลำ ๑ เดอื น ตำมทก่ี ำหนดในพระวินัย รวบรวมและเรียบเรียงโดย ร.ท. สธุ ีรว์ รนิ ทร์ อนิ ธแิ สง, ร.ท. พิชิต ดชั ถยุ าวัตร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สหู า
4 คาว่าอปโลกน์กฐิน หมำยถึงกำรท่ีภิกษุรูปใดรูปหน่ึงเสนอขึ้นในที่ประชุมสงฆ์ถำมควำม เห็นชอบว่ำควรมีกำรกรำนกฐินหรือไม่ เม่ือเห็นชอบร่วมกันแล้วจึงหำรือกัน ต่อไปวำ่ ผ้ำทีท่ ำสำเรจ็ แล้วควรถวำยแก่ภิกษุรูปใด กำรปรึกษำหำรือ กำรเสนอ ควำมเห็นเช่นน้ีเรียกว่ำ อปโลกน์ (อ่ำนว่ำ อะ-ปะ-โหลก) หมำยถึงกำรช่วยกัน มองดูว่ำจะสมควรอย่ำงไรเพียงเท่ำนี้ยังใช้ไม่ได้ เม่ืออปโลกน์เสร็จแล้วจึงต้อง สวดประกำศเป็นกำรสงฆ์ จึงนับเป็นสังฆกรรมเรื่องกฐินดังกล่ำวไว้แล้วใน ตอนต้น ในปัจจุบนั มีผูถ้ วำยผำ้ กฐินมำกขน้ึ มีผู้สำมำรถตดั เย็บย้อมผ้ำที่ทำเป็น จีวรได้แพร่หลำยขึ้น กำรใช้แม่แบบอย่ำงเก่ำจึงเลิกไป เพียงแต่รักษำชื่อและ ประเพณีไว้ โดยไม่ต้องใช้กรอบไม้แม่แบบเพียงถวำยผ้ำขำวให้ตัดเย็บย้อมให้ เสร็จในวนั นน้ั หรืออกี อย่ำงหนึ่งนำผ้ำสำเร็จรูปมำถวำย กเ็ รียกว่ำ ถวำยผ้ำกฐิน เหมือนกันและเนื่องจำกยังมีประเพณีนิยมถวำยผ้ำ กฐินกันแพร่หลำยไปทั่ว ประเทศไทย จึงนับว่ำประเพณีนิยมในกำรบำเพ็ญกุศลเร่ืองกฐินนี้ ยังเป็น ส ำ ธ ำ ร ณ ะ ป ร ะ โ ย ช น์ ร่ ว ม ไ ป กั บ ก ำ ร บู ร ณ ป ฏิ สั ง ข ร ณ์ วั ด ว ำ อ ำ ร ำ ม ไ ป ใ น ขณะเดยี วกัน มูลเหตุของการทอดกฐิน คร้ังพุทธกำลมีเรื่องเล่ำไว้ในคัมภีร์พระวินัยปิฎก กฐินขันธกะว่ำ คร้ัง หน่ึงภิกษุชำวเมืองปำฐำประมำณ ๓๐ รูป ถือธุดงควัตรอย่ำงยิ่งยวดมีควำม ประสงค์จะเฝ้ำพระพุทธเจ้ำซ่ึงขณะน้ันประทับอยู่ ณ กรุงสำวัตถี แคว้นโกศล จึงพำกันเดินทำงมุ่งหน้ำไปยังเมืองนั้น พอถึงเมืองสำเกตซึ่งอยู่ห่ำงจำก รวบรวมและเรยี บเรียงโดย ร.ท. สธุ รี ว์ รนิ ทร์ อนิ ธิแสง, ร.ท. พิชติ ดชั ถุยาวตั ร, ร.ท. ปิยะพงษ์ สูหา
5 กรุงสำวัตถีประมำณ ๖ โยชน์ ก็เป็นวันเข้ำพรรษำพอดีเดินทำงต่อไปมิได้ต้อง จำพรรษำอยู่ท่ีเมืองสำเกตตำมพระวินัยบัญญัติ ขณะท่ีจำพรรษำอยู่ ณ เมืองสำเกต เกิดควำมร้อนรนอยำกเฝ้ำพระพุทธเจ้ำเป็นกำลัง ดังน้ัน พอออก พรรษำปวำรณำแลว้ ก็รีบเดินทำง แต่ระยะน้ันยังมีฝนตกมำก หนทำงท่ีเดินชุ่ม ไปดว้ ยนำ้ เป็นโคลนเป็นตมตอ้ งบกุ ตอ้ งลยุ มำจนกระท่งั ถึงกรุงสำวัตถี ได้เข้ำเฝ้ำ สมควำมประสงค์ พระพุทธเจ้ำจึงมีปฏิสันถำรกับภิกษุเหล่ำน้ันถึงเรื่อง กำรจำพรรษำอยู่ ณ เมืองสำเกต และกำรเดินทำง ภิกษุเหล่ำนั้น จึงกรำบทูล ถึงควำมตั้งใจควำมร้อนรนกระวนกระวำยและกำรเดินทำงที่ลำบำกให้ทรง ทรำบทุกประกำร พระพุทธเจ้ำทรงทรำบและเห็นควำมลำบำกของภิกษุ จึงทรงยกเป็นเหตุและมีพระพุทธำนุญำตให้พระภิกษุผู้จำพรรษำ ครบถ้วนไตรมำสแล้วกรำนกฐินไดแ้ ละเมอ่ื กรำนกฐินแลว้ จะได้รับอำนิสงส์บำง ข้อตำมพระวนิ ยั ดงั จะกลำ่ วตอ่ ไป โดยควำมเป็นจริงแล้วเรื่องผ้ำกฐินน้ันเป็นเร่ืองของพระภิกษุสงฆ์อย่ำง เดียวในกำรทำผ้ำ เม่ือพระภิกษุไปได้ผ้ำมำจำกท่ีต่ำง ๆ แล้วนำมำรวมกันเย็บ ให้เป็นผนื เดยี วแลว้ ตกลงกันวำ่ จะมอบจีวรชุดนี้ใหแ้ ก่พระภกิ ษรุ ูปใด (ซงึ่ ในสมัย พุทธกำลน้ันผ้ำส่วนใหญ่เป็นผ้ำบังสุกุล หรือผ้ำท่ีพิจำรณำมำจำกผ้ำห่อศพ ผ้ำจึงมีจำนวนน้อยและหำยำกกำรจะทำเป็นจีวรจึงทำได้เพียงผืนเดียว) และยอมมอบผำ้ ท่ที ำเปน็ จวี รน้ันใหแ้ กพ่ ระภิกษุทีม่ ีผ้ำเกำ่ ทส่ี ุดนำไปใช้นุ่งหม่ ในธรรมบทภาค ๔ กล่ำวว่ำในคร้ังพุทธกำลมีกำรประชุมใหญ่ ในกำรทำผ้ำ เมื่อคร้ังพระอนุรุทธะได้ผ้ำบังสุกุลมำ จะทำจีวรเปลี่ยน ผำ้ ครองสำรับเก่ำ พระสัมมำสัมพทุ ธเจ้ำทรงทรำบจงึ พร้อมด้วยพระภิกษุ ๕๐๐ รวบรวมและเรยี บเรยี งโดย ร.ท. สุธีร์วรินทร์ อินธิแสง, ร.ท. พิชติ ดัชถยุ าวัตร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สหู า
6 รูป เสดจ็ ไปประทับเป็นประธำนในวันนั้น พระอสีติมหำสำวก ก็ไปร่วมประชุม ช่วยทำผ้ำกฐิน พระมหำกัสสปะน่ังอยู่ต้นผ้ำ พระสำรีบุตรน่ังอยู่ท่ำมกลำงผ้ำ พระอำนนทน์ ั่งอยปู่ ลำยผำ้ พระภกิ ษุสงฆช์ ่วยกันกรอด้ำยสำหรับเย็บ พระบรม ศำสดำทรงสนเข็ม พระโมคคัลลำนะเป็นผอู้ ดุ หนุนกิจกำรทั้งปวงประชำชนต่ำง นำส่ิงของไปถวำย เมื่อผ้ำทำเสร็จแล้ว จึงมีกำรประชุมสงฆ์ทำสังฆกรรม เกี่ยวกบั ผำ้ กฐิน ต่อมำด้วยเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ของสังคมในอินเดีย มีผู้ศรัทธำนำ ผ้ำกฐินมำถวำย แต่ไม่ปรำกฏนำมว่ำผู้ใดเป็นผู้ได้ถวำยผ้ำกฐินเป็นคนแรกท่ี พระพทุ ธเจ้ำทรงมีพระบรมพทุ ธำนญุ ำต ผ้าทีค่ วรทาเปน็ ผา้ กฐนิ มี ๕ ชนดิ คือ ๑. ผำ้ ใหม่ ๒. ผำ้ เทยี มใหม่ ๓. ผำ้ เก่ำ ๔. ผ้ำบังสุกลุ ๕. ผำ้ ตกตำมร้ำน องคแ์ หง่ พระภกิ ษุผ้คู วรกรานกฐนิ มี ๘ คือ ๑. รจู้ กั บุพกรณ์ ๒. รจู้ กั ถอนไตรจีวร ๓. รู้จกั อธิษฐำนไตรจีวร ๔. รู้จักกำรกรำน ๕. รู้จกั มำติกำ ๖. รูจ้ ักปลิโพธกงั วล ๗. รู้จกั กำรเดำะกฐิน ๘. รู้จกั อำนสิ งส์กฐิน รวบรวมและเรียบเรียงโดย ร.ท. สุธรี ว์ รนิ ทร์ อินธิแสง, ร.ท. พิชิต ดชั ถุยาวตั ร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สูหา
7 บพุ กรณม์ ี ๗ คอื ๑. ซกั ผ้ำ ๒. กะผ้ำ ๓. ตัดผ้ำ ๔. เนำหรือด้นผ้ำที่ตดั แลว้ ๕. เยบ็ เปน็ จวี ร ๖. ย้อมจวี รทเ่ี ยบ็ แลว้ ๗. ทำกัปปะ คือ พินทุ (หรอื เครื่องหมำยบนผ้ำ) ความสาคญั พเิ ศษแตกต่างจากทานอยา่ งอื่น กำรถวำยกฐินนั้นมีข้อจำกัดหลำยอย่ำง ซึ่งทำให้กำรถวำยกฐินมีควำม ควำมพเิ ศษแตกตำ่ งจำกทำนอย่ำงอน่ื ดังนี้ ๑.จำกัดประเภททำน คือ ต้องถวำยเป็นสังฆทำนเท่ำนั้น จะถวำย เฉพำะเจำะจงภกิ ษุรูปใดรปู หนึ่งเหมือนทำนอย่ำงอืน่ ไม่ได้ ๒.จำกัดเวลำ คือกฐินเป็นกำลทำนอย่ำงหนึ่ง (ตำมพระบรมพุทธำ นุญำต) ดังน้ันจึงจำกัดเวลำว่ำต้องถวำยภำยในระยะเวลำ ๑ เดือน นับแต่วัน ออกพรรษำ เป็นตน้ ไป ๓.จำกัดงำน คือ พระภิกษุที่กรำนกฐินต้องตัด เย็บ ย้อม และครองให้ เสรจ็ ภำยในวนั ท่กี รำนกฐิน ๔.จำกัดไทยธรรม คือ ผ้ำท่ีถวำยต้องถูกต้องตำมลักษณะที่พระวินัย กำหนดไว้ ๕.จำกัดผ้รู ับ คือ พระภิกษุผ้รู บั กฐนิ ต้องเป็นผ้ทู ี่จำพรรษำในวัดนั้นโดย ไมข่ ำดพรรษำ และจำนวนไม่น้อยกวำ่ ๕ รูป ๖.จำกัดครำว คือ วัด ๆ หน่ึงรบั กฐนิ ไดเ้ พียงปีละ ๑ ครง้ั เท่ำนนั้ รวบรวมและเรยี บเรยี งโดย ร.ท. สุธรี ์วรนิ ทร์ อินธแิ สง, ร.ท. พชิ ติ ดชั ถุยาวัตร, ร.ท. ปิยะพงษ์ สูหา
8 ๗.เปน็ พระบรมพุทธำนญุ ำต ทำนอย่ำงอื่นทำยกทูลขอให้พระสัมมำสัม พุทธเจ้ำทรงอนุญำต เช่น มหำอุบำสิกำวิสำขำทูลขออนุญำตผ้ำอำบน้ำฝน แต่ ผ้ำกฐินนพ้ี ระองค์ทรงอนญุ ำตเอง นับเปน็ พระประสงค์โดยตรง ข้อกาหนดเกยี่ วกบั กฐิน ข้อกำหนดเกย่ี วกบั กฐิน มีดังต่อไปน้ี ๑.จานวนพระสงฆ์ในวัดที่ทอดกฐินได้ ถ้ำกล่ำวตำมหลักฐำนใน พระไตรปิฎก (เล่ม ๕ หน้ำ ๒๕๘) ซ่ึงเป็นพระพุทธภำษิตกล่ำวว่ำ สงฆ์ ๔ รูป ทำกรรมได้ทุกอย่ำงเว้นกำรปวำรณำ คือ กำรอนุญำตให้ว่ำกล่ำวตักเตือนได้ กำรอุปสมบทและกำรสวดถอนจำกอำบตั บิ ำงประกำร (อพั ภำน) จึงหมำยถึงว่ำ จำนวนพระสงฆ์ในวัดท่ีทอดกฐินได้จะต้องมีตั้งแต่ ๔ รูปข้ึนไป แต่หนังสือ อธิบำยชน้ั หลงั ทเ่ี รยี กว่ำอรรถกถำ กล่ำวว่ำต้อง ๕ รูปขน้ึ ไป เม่ือหนังสืออธิบำย ชัน้ หลังขัดแย้งพระไตรปฎิ กให้ยดึ พระไตรปฎิ กเป็นหลกั สำคญั ๒.คณุ สมบัติของพระสงฆ์ท่ีมีสิทธิรับกฐิน คือ พระสงฆ์ที่จำพรรษำใน วัดน้ันครบ ๓ เดือน ปัญหำท่ีเกิดข้ึนมีอยู่ว่ำจะนำพระสงฆ์วัดอื่นมำสมทบ จะใชไ้ ดห้ รอื ไม่ ตอบว่ำถำ้ พระสงฆ์วดั ทจ่ี ะทอดกฐนิ นนั้ มีจำนวนครบ ๔ รูปแล้ว จะนำพระสงฆท์ ่อี ่นื มำสมทบก็สมทบได้ แตจ่ ะอ้ำงสทิ ธไิ ม่ได้ ผู้มีสิทธิเฉพำะผู้จำ พรรษำครบ ๓ เดือนในวัดน้ันเท่ำน้ันกำรนำพระภิกษุมำจำกวัดอ่ืน คงมีสิทธิ เฉพำะทท่ี ำยกจะถวำยอะไรเปน็ พิเศษเทำ่ นั้น ไม่มีสิทธิในกำรออกเสียงเรื่องจะ ถวำยผำ้ แกภ่ ิกษุรูปน้ัน รูปนี้ รวบรวมและเรียบเรยี งโดย ร.ท. สุธีรว์ รนิ ทร์ อนิ ธแิ สง, ร.ท. พชิ ติ ดัชถยุ าวตั ร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สูหา
9 ๓.กาหนดกาลท่ีจะทอดกฐินได้ ได้กล่ำวไว้แล้วในเบ้ืองต้นว่ำกำร ทอดกฐินนั้นทำได้ภำยในเวลำจำกัด คือต้ังแต่วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ จนถึง วันขน้ึ ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ ก่อนหนำ้ น้นั หรอื หลังจำกน้ันไม่นบั เปน็ กฐนิ ๔.ข้อควรทราบเกี่ยวกับกฐินไม่เป็นอันทอดหรือเป็นโมฆะ เร่ืองนี้ สำคัญมำกควรทรำบทง้ั ผทู้ อดและท้ังฝ่ำยพระสงฆ์ผู้รับเพรำะเป็นเร่ืองทำงพระ วินัย (วินัยปิฎกเล่ม ๕ หน้ำ ๑๓๗) คือมักจะมีพระในวัดเที่ยวขอโดยตรงหรือ โดยอ้อม ด้วยวำจำบ้ำง ด้วยหนังสือบ้ำง เชิญชวนให้ไปทอดกฐินในวัดของตน กำรทำเช่นนัน้ ผิดพระวินยั กฐิน ไมเ่ ป็นอันกรำน นับเป็นโมฆะ ทอดก็ไม่เป็นอัน ทอด พระผูร้ ับก็ไม่ได้อำนิสงส์ จึงควรระมดั ระวงั ทำใหถ้ กู ต้องและแนะนำผู้เขำ้ ใจผดิ ปฏบิ ตั ิผิดใหท้ ำให้ ถูกตอ้ งเรยี บรอ้ ย ประเภทของกฐนิ กำรทอดกฐินทป่ี ฏบิ ัติกันมำในประเทศไทยตำมหลักฐำนที่ปรำกฏนบั ต้ังแต่สมัย กรุงสุโขทยั เปน็ รำชธำนีตรำบเทำ่ ถึงปจั จบุ นั แยกเป็นประเภทใหญ่ได้ดังนี้ คือ กฐินหลวง กฐนิ ราษฎร์ รวบรวมและเรยี บเรยี งโดย ร.ท. สุธรี ์วรินทร์ อนิ ธิแสง, ร.ท. พิชิต ดัชถุยาวัตร, ร.ท. ปิยะพงษ์ สูหา
10 กฐินหลวง มีประวัติว่ำ เมื่อพระพุทธศำสนำได้แพร่หลำยเข้ำมำในประเทศไทย และประชำชนคนไทยที่ต้ังหลักแหล่ง อยู่บนผืนแผ่นดินไทยได้ยอมรับนับถือ พระพุทธศำสนำ วำ่ เปน็ ศำสนำประจำชำติแล้ว กำรทอดกฐินก็ได้กลำยเป็นประเพณีของบ้ำนเมืองมำโดยลำดับ พระเจำ้ แผ่นดนิ ผู้ปกครองบ้ำนเมอื งทรงรบั เรอื่ งกฐนิ น้ีขนึ้ เปน็ พระรำชพิธีอย่ำง หน่ึงซ่ึงทรงบำเพ็ญเป็นกำรประจำ เมื่อถึงเทศกำลทอดกฐิน กำรท่ีพระเจ้ำ แผ่นดินทรงบำเพ็ญพระรำชกุศลเกี่ยวกับกฐินเป็นพระรำชพิธีดังกล่ำวน้ี เปน็ เหตใุ ห้เรยี กกันวำ่ กฐนิ หลวง กฐินหลวงต้องเป็นกฐินท่ีถวำยพระอำรำมหลวง ส่วนกฐินท่ีพระเจ้ำ แผน่ ดินถวำยวดั รำษฎร์ เรียกว่ำ พระกฐนิ ต้น แต่สมัยต่อมำ เร่ืองของกฐินหลวงได้เปลี่ยนไปตำมสภำวกำรณ์ของ บ้ำนเมือง เช่น ประชำชนมีศรัทธำเจริญรอยตำมพระรำชศรัทธำของพระเจ้ำ แผ่นดิน ได้รับพระมหำกรณุ ำธคิ ณุ ใหถ้ วำยผ้ำพระกฐนิ ได้ตำมสมควรแกฐ่ ำนะ เป็นต้น เป็นเหตุให้แบง่ แยกกฐนิ หลวงออกเปน็ ประเภท ดังท่ปี รำกฏในปัจจบุ ัน ดงั นี้ ๑.กฐนิ ท่กี าหนดเปน็ พระราชพธิ ี กฐินดังกล่ำวนี้ พระเจ้ำแผ่นดินเสด็จพระรำชดำเนินไปถวำย ผำ้ พระกฐินด้วยพระองคเ์ องเปน็ ประจำ ณ วัดสำคัญ ๆ ซ่ึงทำงรำชกำรกำหนด ข้ึน มีหมำยกำหนดกำรเสด็จพระรำชดำเนินไว้อย่ำงเรียบร้อย ปัจจุบัน พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวเสด็จพระรำชดำเนินไปทรงถวำยผ้ำพระกฐิน รวบรวมและเรยี บเรียงโดย ร.ท. สธุ รี ์วรนิ ทร์ อนิ ธิแสง, ร.ท. พิชิต ดัชถยุ าวตั ร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สูหา
11 ณ วัดต่ำงๆ ท้ังในกรุงเทพมหำนคร และส่วนภูมิภำค ๑๖ วัด ซึ่งล้วนแล้วแต่ เปน็ พระอำรำมหลวง ๑. วดั บวรนิเวศวิหำร กรงุ เทพมหำนคร ๒. วัดพระเชตพุ นวิมลมังคลำรำม กรุงเทพมหำนคร ๓. วดั สทุ ศั นเทพวรำรำม กรงุ เทพมหำนคร ๔. วัดรำชบพิธสถิตมหำสมี ำรำม กรุงเทพมหำนคร ๕. วัดรำชประดิษฐ์สถิตมหำสมี ำรำม กรุงเทพมหำนคร ๖. วัดรำชำธิวำส กรงุ เทพมหำนคร ๗. วดั มกุฏกษัตรยิ ำรำม กรุงเทพมหำนคร ๘. วัดเทพศริ นิ ทรำวำส กรงุ เทพมหำนคร ๙. วัดเบญจมบพิตรดสุ ติ วนำรำม กรุงเทพมหำนคร ๑๐. วดั รำชโอรสำรำม กรงุ เทพมหำนคร ๑๑. วัดมหำธำตุยวุ รำชรังสฤษฎิ์ กรงุ เทพมหำนคร ๑๒. วัดอรณุ รำชวรำรำม กรงุ เทพมหำนคร ๑๓. วดั นเิ วศธรรมประวัติ พระนครศรีอยธุ ยำ ๑๔. วดั พระปฐมเจดีย์ นครปฐม ๑๕. วดั สวุ รรณดำรำรำม พระนครศรีอยธุ ยำ ๑๖. วัดพระศรีรตั นมหำธำตุ พษิ ณโุ ลก พระอำรำมหลวงเหล่ำนี้ พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว จะเสด็จ พระรำชดำเนินไปถวำยผำ้ พระกฐนิ ดว้ ยพระองค์เอง แต่มิได้เสด็จไปทั้ง ๑๖ วัด จะเสดจ็ พระรำชดำเนนิ เพียงบำงวดั เทำ่ น้ัน นอกน้ันทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำฯ รวบรวมและเรยี บเรียงโดย ร.ท. สุธีรว์ รินทร์ อินธแิ สง, ร.ท. พชิ ติ ดัชถุยาวัตร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สูหา
12 ให้พระบรมวงศำนวุ งศห์ รือองคมนตรี หรือผู้ทรงเหน็ สมควรเป็นผู้แทนพระองค์ ไปถวำย ส่วนพระอำรำมหลวงนอกจำก ๑๖ พระอำรำมหลวงน้ี พระบำทสมเด็จ พระเจ้ำอยู่หัวทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำฯ ให้ส่วนรำชกำร หน่วยงำน องค์กร บริษัท ห้ำงร้ำน บุคคล นำไปถวำยกฐินท่ีกำหนดเป็นพระรำชพิธีน้ีทรง พระกรณุ ำโปรดเกล้ำฯ ใหส้ ำนกั พระรำชวังออกหมำยกำหนดกำรเป็นประจำปี จึงไม่มกี ำรจองลว่ งหน้ำ แนวปฏบิ ัติกฐินที่กาหนดเป็นพระราชพิธี กำรเฝ้ำฯ รับเสด็จฯ งำนถวำยผ้ำพระกฐินหลวงประจำปี ท่ีสำนัก พระรำชวังออกเป็นหมำยกำหนดกำร และกำหนดกำรแตง่ กำยเฝำ้ ฯ รบั เสด็จฯ ผทู้ เ่ี ฝ้ำฯ รับเสด็จฯ ตำมหมำยกำหนดกำร เจ้ำหน้ำที่สำนักพระรำชวังจะได้รบั รองเชญิ ให้น่ังพัก ณ ที่ซึ่งจัดไว้นอกพระอโุ บสถตำมลำดับชนั้ ยศ หรือตำแหนง่ งำนเสด็จฯ ถวำยผ้ำพระกฐินตำมรำชประเพณีประจำปี ทสี่ ำนักพระรำชวัง ออกเป็นหมำย กำหนดกำรแต่งเครื่องแบบเต็มยศ จะมีกองเกียรติยศทหำรมหำดเล็ก รักษำพระองค์พร้อมทั้งแตรวง ธงประจำกองและทหำรมหำดเล็กรักษำ พระองค์ฯ ต้ังแถวรับ เม่ือใกล้เวลำเสด็จฯ ประมำณ ๕ หรือ ๑๐ นำที เจ้ำหน้ำที่ผู้รับรองของสำนักพระรำชวังจะได้เชิญ ข้ำรำชกำรผู้มีเกียรติที่มำ เฝ้ำฯ ไปยืนเรียงแถวรอรับเสด็จฯ ตำมแนวทำงลำดพระบำท (ถ้ำสถำนท่ีมีไม่ พอจะเขำ้ แถว ก็คงเฝำ้ ฯ ณ ท่ีซ่ึงจัดไว้น้ัน) รวบรวมและเรยี บเรียงโดย ร.ท. สธุ รี ์วรินทร์ อนิ ธิแสง, ร.ท. พิชติ ดชั ถยุ าวตั ร, ร.ท. ปิยะพงษ์ สหู า
13 ๒.กฐินตน้ กฐินดังกล่ำว เกิดข้ึนเพรำะพระเจ้ำแผ่นดินเสด็จพระรำชดำเนินไป ถวำยผ้ำพระกฐิน ณ วัดท่ีมิใช่พระอำรำมหลวงและมิได้เสด็จไปอย่ำงเป็นทำง รำชกำรหรืออย่ำงเป็นพระรำชพิธี แต่เป็นกำรบำเพ็ญพระรำชกุศลส่วน พระองค์อีกดว้ ย พลตรี หม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ (ม.ร.ว.เฉลิมลาภ ทวีวงศ์) ได้เล่ำ ประวัตเิ รอื่ งกำรเกิดขึ้นของกฐินต้นนี้ไวว้ ำ่ “กฐินส่วนพระองค์น้ี ในสมัยก่อนรัชกำลท่ี ๕ จะเรียกว่ำอย่ำงไรนั้น ยังไม่พบ หลักฐำน มำเรียกกันว่ำ กฐินต้นในรัชกำลที่ ๕ ภำยหลังท่ีได้มีกำรเสด็จ ประพำสหัวเมืองต่ำง ๆ เม่ือปีพุทธศักรำช ๒๔๔๗ กำรเสด็จประพำสคร้ังน้ัน โปรดให้จัดให้ง่ำยกว่ำกำรเสด็จประพำสเพ่ือสำรำญพระรำชอิริยำบถอย่ำง สำมัญ คือ โปรดไม่ให้มีห้องตรำสั่งหัวเมือง ให้จัดทำที่ประทับแรม ณ ท่ีใด ๆ พอพระรำชหฤทัยจะประทบั ท่ีไหน ก็ประทับท่ีน้ัน บำงครำวก็ทรงเรือเล็กหรือ เสด็จรถไฟไปโดยมิให้ใครรู้กำรประพำสคร้ังน้ันเรียกกันว่ำ เสด็จประพาสต้น เหตุท่ีเรียกว่ำประพำสต้นก็เพรำะเมื่อวันท่ี ๑๘ กรกฎำคม ๒๔๔๗ เสด็จทรง เรอื มำด ๔ แจว ประพำสในแม่น้ำอ้อม ไดท้ รงกรุณำโปรดเกล้ำฯ ให้ซื้อเรือมำด ๔ แจว เพิ่มขึ้นอีกลำหนึ่ง สำหรับแจวตำมเรือมำดพระที่นั่งเวลำมีพระรำช ประสงค์ท่ีจะเสด็จพระรำชดำเนินโดยมิให้มีใครรจู้ ักพระองค์ เมอื่ ซื้อเรือมำดได้ดังพระรำชประสงค์แล้วก็ทรงพระรำชทำนช่ือเรือลำ นั้นว่ำ เรือต้น ในวันนั้น กว่ำจะเสด็จพระรำชดำเนินกลับถึงที่ประทับแรมท่ี เมอื งรำชบุรีเกือบ ๓ ทุ่ม เพรำะน้ำเชี่ยวผู้คนในขบวนเสด็จเหนื่อยหอบตำมกัน รวบรวมและเรียบเรยี งโดย ร.ท. สุธรี ว์ รินทร์ อินธแิ สง, ร.ท. พชิ ิต ดชั ถุยาวัตร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สูหา
14 และได้เร่ิมเรียกกำรเสดจ็ ประพำสในวันท่กี ล่ำวนี้วำ่ ประพำสต้น จึงเป็นมูลเหตุ ให้เรียกกำรเสด็จพระรำชดำเนินถวำยผ้ำพระกฐินเป็นกำรส่วนพระองค์ว่ำ พระกฐินต้น เรียกแบบเรือนไทยที่ทรงสร้ำงสำหรับประทับอย่ำงชำวบ้ำนว่ำ เรือนต้น กนั ตอ่ มำ” พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวรัชกำลปัจจุบัน ทรงดำเนินตำมพระยุคล บำทพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว โปรดเสด็จพระรำชดำเนินไป ทรงบำเพ็ญพระรำชกุศลถวำยผ้ำพระกฐินต้นเป็นประจำทุกปี กำรจะเสด็จฯ ไปถวำยผำ้ พระกฐนิ ตน้ ท่วี ัดใดนน้ั มหี ลกั เกณฑ์ ดงั น้ี ๑.เป็นวดั ท่ียังไม่เคยเสด็จพระรำชดำเนนิ ถวำยผ้ำพระกฐินมำกอ่ น ๒.ประชำชนมคี วำมเลอ่ื มใสในวดั น้นั มำก ๓.ประชำชนในท้องถน่ิ น้ันไมค่ ่อยมีโอกำสไดเ้ ฝ้ำทูลละอองธุลพี ระบำทเม่ือเสด็จ พระรำชดำเนนิ ไปจะไดม้ ีโอกำสเข้ำเฝ้ำทลู ละอองธุลพี ระบำทอยำ่ งใกลช้ ดิ ด้วย แนวปฏิบัติกฐนิ ตน้ ในกรณีท่ีเสด็จฯ ไปถวำยผำ้ พระกฐนิ เปน็ กำรสว่ นพระองค์ที่เรียกกันว่ำ พระกฐินต้น ส่วนมำกจะเป็นวัดในต่ำงจังหวัด สำนักพระรำชวังจะออกเป็น หมำยรบั สงั่ สว่ นมำกจะแต่งเครอื่ งแบบปกติขำวเฉพำะเจ้ำหน้ำที่ ผู้มีหน้ำท่ีเฝ้ำ ฯ เจ้ำหน้ำที่นอกน้ันหรอื ขำ้ รำชกำรในทอ้ งถ่ินแต่งกำยเคร่ืองแบบปกติหรอื กำกี คอตงั้ หรือกำกคี อพับกำรเฝ้ำฯ รับเสดจ็ ฯ เจ้ำหนำ้ ท่สี ำนกั พระรำชวังจะรับรอง ขำ้ รำชกำรและผูม้ ีเกยี รติรอเฝ้ำฯ รวบรวมและเรียบเรียงโดย ร.ท. สุธีร์วรินทร์ อนิ ธิแสง, ร.ท. พิชติ ดัชถุยาวตั ร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สหู า
15 ๓.กฐินพระราชทาน เปน็ กฐนิ ท่ีพระเจ้ำแผ่นดินพระรำชทำนผ้ำของหลวงแก่ผู้ที่กรำบบังคม ทูลขอพระรำชทำนเพื่อไปถวำยยังวัดหลวง นอกจำกวัดสำคัญท่ีทรงกำหนดไว้ ว่ำจะเสด็จพระรำชดำเนินด้วยพระองค์เอง ปัจจุบันก็เว้น ๑๖ วัดดังกล่ำวแล้ว เหตุท่ีเกดิ กฐนิ พระรำชทำนกเ็ พรำะว่ำปัจจบุ นั วดั หลวงมีเปน็ จำนวนมำก จึงเปิด โอกำสใหก้ ระทรวง ทบวง กรมต่ำง ๆ ตลอดจนคณะบุคคลหรอื บคุ คลทส่ี มควร รบั พระรำชทำนผ้ำกฐินไปถวำยได้ และผู้ทไี่ ด้รับพระรำชทำนจะเพ่ิมไทยธรรม เป็นส่วนตวั โดยเสด็จพระรำชกุศลตำมกำลังศรทั ธำก็ได้ ปัจจุบันกระทรวง ทบวง กรม คณะบุคคลหรอื บุคคลใดมีควำมประสงค์ จะรบั พระรำชทำนผำ้ พระกฐนิ ไปถวำย ณ วัดหลวงวัดใดก็ติดต่อไปยังกรมกำร ศำสนำ กระทรวงวฒั นธรรม ตำมระเบียบซ่งึ เท่ำกับเปน็ กำรจองกฐินไวก้ อ่ น กฐนิ ราษฎร์ เป็นกฐินท่ีรำษฎร หรือประชำชน ผู้มีศรัทธำนำผ้ำกฐินของตนไปทอด ณ วัดตำ่ ง ๆ เว้นไวแ้ ต่วัดท่ีได้กล่ำวมำแล้วในเร่ืองกฐินหลวง กำรทอดกฐินของ รำษฎรตั้งแต่สมัยสโุ ขทยั เป็นต้นมำจนกระท่ังปัจจุบันมีช่ือเรียกแตกต่ำงกันตำม ลักษณะของวิธีกำรทอด คือ ๑. กฐนิ หรอื มหำกฐิน ๒. จุลกฐิน ๓. กฐนิ สำมัคคี ๔. กฐินตกค้ำง รวบรวมและเรียบเรยี งโดย ร.ท. สธุ รี ว์ รนิ ทร์ อนิ ธิแสง, ร.ท. พชิ ิต ดชั ถยุ าวตั ร, ร.ท. ปิยะพงษ์ สหู า
16 ๑. กฐิน หรือ มหากฐิน เป็นกฐินท่ีรำษฎรนำไปทอด ณ วัดใดวัดหน่ึงซ่ึงตนมีศรัทธำเป็นกำร เฉพำะกล่ำวคือ ท่ำนผู้ใดมีศรัทธำจะทอดกฐิน ณ วัดใด ก็นำผ้ำกฐิน บำงครั้ง เรียกว่ำ ผ้ำที่เป็นองค์กฐินซึ่งจะเป็นผ้ำผืนเดียวก็ได้ หลำยผืนก็ได้ เป็นผ้ำขำว ซึง่ ยงั ไม่ไดต้ ัดก็ได้ ตดั ออกเปน็ ช้ิน ๆ พอท่ีจะประกอบเข้ำเป็นจีวรผืนใดผืนหนึ่ง ก็ได้ ทำเสร็จแล้วยังมิได้ย้อมหรือย้อมแล้วก็ได้อย่ำงใดอย่ำงหน่ึง จัดเป็นองค์ กฐนิ ควำมนิยมที่นำกฐินไปทอด ณ วัดต่ำง ๆ ของรำษฎรน้ัน มิใช่จะมีแต่ องค์กฐินดังกล่ำวมำแล้วเท่ำน้ัน เจ้ำภำพบำงรำยอำจมีศรัทธำถวำยของอ่ืนๆ ไปพร้อมกับองค์กฐินเรียกกันว่ำ บริวารกฐิน ตำมที่นิยมกันนั้นมีปัจจัย ๔ คือ เคร่ืองอำศัยของพระภิกษุสำมเณร มีไตรจีวร บริขำร อ่ืน ๆ ที่จำเป็น หรือ เคร่ืองใช้ประจำมี มุ้ง หมอน ท่ีนอน เตียง ต่ัง โต๊ะ เก้ำอ้ี โอ่งน้ำ กระถำง กระทะ กระโถน เตำ ภำชนะสำหรับใสอ่ ำหำรคำวหวำน เครื่องซ่อมเสนำสนะมี มีด ขวำน กบ สิ่ว เล่ือย ไม้กวำด จอบ เสียม ยำรักษำโรค ยำสีฟัน แปรงสีฟัน ตลอดจนเคร่ืองครัวมี ข้ำวสำร ผลไม้ เป็นต้น หรือจะมีอย่ำงอื่นนอกจำก กล่ำวถึงนี้ก็ได้ขอให้เป็นของท่ีสมควรแก่พระภิกษุสำมเณรจะบริโภคเท่ำนั้น หำกจะมขี องสำหรบั แจกจ่ำยแกค่ นท่อี ยู่ในวดั หรือคนท่ีมำร่วมงำนกฐินด้วยก็ได้ สดุ แต่กำลังศรัทธำและอธั ยำศยั ไมตรี นอกจำกที่ได้กล่ำวมำแล้วน้ัน ยังมีธรรมเนียมที่เจ้ำภำพผู้ทอดกฐิน จะต้องมี “ผ้าห่มพระประธาน” อีกหนึ่งผืน เทียนสำหรับจุดในเวลำที่ พระภิกษุสวดพระปำติโมกข์ที่เรียกกันสั้น ๆ ว่ำ “เทียนปาติโมกข์” จานวน รวบรวมและเรียบเรยี งโดย ร.ท. สุธรี ์วรินทร์ อนิ ธแิ สง, ร.ท. พชิ ติ ดชั ถยุ าวตั ร, ร.ท. ปิยะพงษ์ สหู า
17 ๒๔ เล่ม และมีธงผ้ำขำวเขียนรูปจระเข้หรือสัตว์น้ำอย่ำงอื่น เช่น ปลำ นำง เงอื ก เป็นต้น สำหรับปักหน้ำวัดที่อยู่ตำมริมน้ำ เมื่อทอดกฐินเสร็จแล้ว และมี ธงผ้ำขำวเขียนเป็นรูปตะขำบ ปกั ไวห้ น้ำวดั สำหรบั วัดท่ีตั้งอยู่บนดอยไกลแม่น้ำ ท่ีใช้ปักน้ีเป็นเคร่ืองแสดงให้ทรำบว่ำ วัดนั้น ๆ ได้รับกฐินแล้วและอนุโมทนำ ร่วมกุศลด้วยได้ อนงึ่ ยงั มปี ระเพณีนยิ มอีกอย่ำงหนง่ึ เกี่ยวกับเวลำกำรทอดกฐิน ถ้ำเป็น เ ว ล ำ เ ช้ ำ จ ะ มี ก ำ ร ท ำ บุ ญ ถ ว ำ ย อ ำ ห ำ ร เ พ ล แ ก่ พ ร ะ ภิ ก ษุ ส ำ ม เ ณ ร ใ น วั ด กฐินที่รำษฎรผู้เป็นเจ้ำภำพนำองค์กฐินและบริวำรกฐินไปทอดยังวัดต่ำง ๆ ดังกล่ำวนี้ เรียกกันว่ำ กฐินหรือมหากฐิน เป็นลักษณะของกฐินท่ีรำษฎรทอด กนั เปน็ สว่ นใหญ่อยใู่ นปัจจบุ ัน แตเ่ หตุทเ่ี รยี กวำ่ มหำกฐินนั้น อำจเป็นเพรำะให้ เห็นแตกต่ำงจำกกฐนิ อีกชนิดหนึง่ ที่เรียกว่ำ จุลกฐินก็ได้ ๒.จลุ กฐิน เป็นกฐินท่ีต้องทำด้วยควำมเร่งรีบ เดิมเรียกกันเป็นแบบไทย ๆ ว่ำ กฐินแล่น เจ้ำภำพผู้ที่จะทอดกฐินเช่นน้ีได้ต้องมีพวกมำกมีกำลังมำก เพรำะ ต้องเร่ิมตั้งแต่กำรทำผ้ำท่ีนำไปทอดตั้งแต่ต้นกล่ำวคือ เริ่มต้ังแต่นำฝ้ำยที่แก่ ใชไ้ ดแ้ ล้วแตย่ งั อยใู่ นฝกั มปี รมิ ำณให้พอแก่กำรที่จะทำเป็นผ้ำจีวรผืนใดผืนหนึ่ง ได้แล้วทำพิธีสมมติว่ำฝ้ำยจำนวนนั้น ได้มีกำรหว่ำน แตกงอกออกต้น เติบโต ผลิดอก ออกฝัก แก่ สุกแล้วเก็บมำเอำเมล็ดออก ดีดเป็นผง ทำเป็นเส้นด้ำย เปียออกเป็นไจ กรอออกเป็นเข็ด แล้วฆ่ำด้วยน้ำข้ำว ตำกให้แห้งใส่กงป่ันเส้น รวบรวมและเรยี บเรยี งโดย ร.ท. สุธีรว์ รนิ ทร์ อนิ ธแิ สง, ร.ท. พิชติ ดชั ถุยาวัตร, ร.ท. ปิยะพงษ์ สูหา
18 หลอด ใสก่ ระสวยเครอื แลว้ ทอเป็นแผ่นผ้ำตำมขนำดที่ต้องกำร นำไปทอดเป็น ผ้ำกฐิน เมอื่ พระสงฆร์ ับผำ้ นนั้ แลว้ มอบแกพ่ ระภกิ ษผุ ู้เป็นองค์ครองซึ่งพระองค์ ครองจะจดั กำรตอ่ ไปตำมพระวินยั หลงั จำกนน้ั ผูท้ อดต้องชว่ ยทำตอ่ คือ นำผ้ำ น้ันมำขยำทุบ ซัก แล้วเอำไปตำกให้แห้ง แล้วนำมำตัดเป็นจีวรผืนใดผืนหน่ึง แลว้ เยบ็ ย้อม ตำกแห้ง พับ ทับรีดเสร็จเรียบร้อยแล้วนำไปถวำยองค์ครองอีก ครั้งหนึ่ง เพ่ือให้ท่ำนทำพินทุอธิษฐำนเม่ือเสร็จจำกกำรพินทุอธิษฐำนแล้ว จะมีกำรประชุมสงฆ์แจ้งให้ทรำบ พระภิกษุสงฆ์ทั้งหมดจะอนุโมทนำ เป็นอัน เสรจ็ พธิ จี ุลกฐนิ แต่อย่ำงไรก็ตำม ในกรณีท่ีผู้ทอดกฐินไม่มีกำลังคนมำกพอ จะตัดพิธี กำรในตอนต้น ๆ ออกเสียก็ได้โดยเริ่มด้วยกำรเอำผ้ำขำวผืนใหญ่มำกะ ประมำณใหพ้ อท่ีจะตัดเป็นจีวรผืนใดผืนหน่ึงแล้วนำไปทอด เม่ือพระภิกษุสงฆ์ ท่ำนนำไปดำเนินกำรตำมพระวินัยแล้ว ก็ช่วยทำต่อจำกท่ำน คือ ซัก กะ ตัด เยบ็ ย้อมให้เสรจ็ แล้วนำกลบั ไปถวำยองค์ครองเพื่อพินทุอธิษฐำนต่อไป เหมือน วธิ ที ำท่ีกลำ่ วมำแล้วในกำรทำจลุ กฐนิ เตม็ ตำมรูปแบบ อนึ่ง ข้อท่ีควรกำหนดจดจำไว้คือ จุลกฐินจะเป็นวิธีใดวิธีหน่ึงก็ตำม จะตอ้ งทำใหเ้ สร็จในวนั เดยี วเรม่ิ ตน้ ตั้งแต่เวลำเช้ำถึงย่ำรุ่งของวันรุ่งข้ึน คือต้อง ทำให้เสรจ็ ก่อนรุ่งอรุณของวนั ใหม่ ไมเ่ ชน่ นนั้ แลว้ กฐินน้ันไม่เป็นกฐนิ สว่ นบริวำรของจุลกฐนิ ผ้ำห่มประธำนและเทียนปำติโมกข์ ตลอดจนธง จระเข้ ธงตะขำบ ก็คงเปน็ เหมือนท่กี ล่ำวมำแลว้ ในเรือ่ งกฐิน หรอื มหำกฐนิ รวบรวมและเรยี บเรยี งโดย ร.ท. สุธรี ์วรนิ ทร์ อินธิแสง, ร.ท. พชิ ติ ดัชถยุ าวัตร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สูหา
19 ๓.กฐนิ สามัคคี เป็นกฐินท่ีมีเจ้ำภำพหลำยคนร่วมกัน มิใช่เจ้ำภำพเพียงคนเดียว อย่ำงเรื่องกฐินหรือมหำกฐินทุกคนเป็นเจ้ำภำพท้ังหมด ใครบริจำคมำกน้อย อย่ำงไร ไม่เปน็ ประมำณ แต่เพ่ือไม่ให้กำรจัดงำนกฐินยุ่งยำกสับสนมำกเกินไป ก็มกั จะตั้งคณะกรรมกำรขึ้นคณะหนึ่งเพ่ือดำเนินกำรแล้วมีหนังสือบอกบุญไป ยังผู้อื่นด้วย เมื่อได้ปัจจัยมำเท่ำไรก็จัดผ้ำอันเป็นองค์กฐิน รวมทั้งของบริวำร ดังกลำ่ วแล้วนั้น เม่ือมีปจั จัยเหลือก็ถวำยวัดไว้เพ่ือทำงวดั จะนำไปใช้จ่ำยในทำง ที่ควร เช่น กำรก่อสร้ำงศำสนสถำน กำรบูรณปฏิสังขรณ์กุฏิ โบสถ์ เจดีย์ เป็นต้น กฐินสำมัคคีน้ี มักจะนำไปทอดยังวัดที่กำลังมีกำรก่อสร้ำงหรือกำลัง บูรณปฏิสังขรณ์ เพ่ือเป็นกำรสบทบทุนให้สิ่งอันพึงประสงค์ของวัดให้สำเร็จ เสร็จส้ินไปโดยเร็ว เร่ืองของกฐินสำมัคคี เป็นเรื่องท่ีนิยมกันอย่ำงแพร่หลำย เพรำะนอกจะถือกันว่ำเป็นบุญเป็นกุศลแล้วยังเป็นกำรช่วยทำนุบำรุงวัด ตลอดจนเป็นเรอื่ งเพมิ่ ควำมสนกุ ครกึ ครน้ื แก่งำนเปน็ สำมคั ครี ส อนั เนื่องมำจำก กำรทอดกฐนิ สำมคั คี ๔.กฐนิ ตกคา้ ง กฐินประเภทนี้มีช่ือเรียกอย่ำงอื่น อีกว่ำ กฐินตก หรือ กฐินโจร ศำสตรำจำรย์พระยำอนุมำนรำชธน ได้กล่ำวถึงเหตุผลท่ีเกิดกฐินชนิดนี้ ตลอดจนชอื่ ท่เี รียกไปเป็นตำ่ ง ๆ กันของกฐินประเภทนี้ไว้ในเร่ืองเทศกำลออก พรรษำวำ่ “แตท่ ่ที ากันเช่นนี้ ทำกันอย่ใู นท้องถ่นิ ที่มวี ดั มำก ซึง่ อำจมวี ัดตกค้ำง รวบรวมและเรยี บเรียงโดย ร.ท. สุธีร์วรนิ ทร์ อนิ ธิแสง, ร.ท. พชิ ติ ดชั ถุยาวตั ร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สูหา
20 ไม่มีใครทอดก็ได้ จึงมักมีผู้ศรัทธำไปสืบเสำะหำวัดอย่ำงน้ีเพื่อทอดกฐิน ตำมปกตใิ นวันใกล้ ๆ จะสน้ิ หนำ้ ทอดกฐนิ หรือในวันสุดท้ำย คือวันก่อนแรมค่ำ หนึ่งของเดือน ๑๒ กำรทอดกฐินอย่ำงน้ีเรียกกันว่ำ กฐินตกค้ำงหรือเรียกว่ำ กฐินตก บำงถิ่นก็เรียกว่ำ กฐินโจร เพรำะกิริยำอำกำรที่ไปทอดอย่ำงไม่รู้เน้ือ รู้ตัวจู่ ๆ ก็ไปทอดไม่บอกกล่ำวล่วงหน้ำไว้ให้วัดรู้ เพื่อเตรียมควำมพร้อม กำร ทอดกฐินตกถือว่ำได้บุญอำนิสงค์แรงกว่ำทอดกฐินธรรมดำ บำงทีเตรียมข้ำว ของไปทอดกฐินหลำย ๆ วัด แต่ได้วัดทอด น้อยวัด เคร่ืองไทยธรรมที่ ตระเตรียมเอำไปทอด ยังมีเหลืออยู่ หรือทำงวัดทอดไม่ได้ ก็เอำเครื่องไทย ธรรมเหล่ำน้นั จัดทำเป็นผำ้ ป่ำ เรยี กกนั ว่ำ “ผา้ ป่าแถมกฐนิ ” ส่วนข้อแตกต่ำงของกฐินประเภทนี้ คือ ไม่มีกำรจองวัดล่วงหน้ำกำร ทอดเฉพำะวัดท่ียังไม่มีใครทอดและอำจทอดหลำยวัดได้ตลอดจนสำมำรถเอำ ของไทยธรรมทเี่ หลือทำเปน็ กำรบุญอีกชนดิ หนึ่ง เรยี กวำ่ ผ้าป่าแถมกฐิน ขอ้ ปฏบิ ัติในการจองกฐิน กำรจองกฐิน คือ กำรแจ้งล่วงหน้ำให้ทำงวัดและประชำชนได้ทรำบว่ำ วัดนั้น ๆ มีผู้ศรัทธำจะนำผ้ำพระกฐินมำทอดแล้ว ทั้งนี้เป็นเพรำะว่ำปัจจุบัน มีผู้ศรัทธำทอดกฐนิ เปน็ จำนวนมำก ถ้ำไมจ่ องไว้ก่อนอำจไมม่ ีโอกำส จงึ เกิดเป็น ธรรมเนียมขึ้นว่ำจะทอดกฐินต้องจองล่วงหน้ำ เพ่ือให้มีโอกำสและเพื่อไม่เกิด กำรทอดซ้ำวัดหนึ่งปีหนึ่งทอดกฐินได้คร้ังเดียวและในเวลำจำกัด คือ หลังจำก ออกพรรษำแล้วเพียงเดอื นเดยี วดงั กล่ำวในตอนต้นเท่ำนนั้ ส่วนกฐนิ หลวง ไม่มกี ารจองลว่ งหนา้ รวบรวมและเรยี บเรียงโดย ร.ท. สธุ ีรว์ รนิ ทร์ อินธแิ สง, ร.ท. พิชิต ดชั ถยุ าวตั ร, ร.ท. ปิยะพงษ์ สูหา
21 การจองกฐนิ พระราชทาน ผูข้ อรบั พระรำชทำนผ้ำพระกฐินไปถวำยต้องเป็นพระอำรำมหลวงต้อง จองล่วงหนำ้ และดำเนินกำร ดงั นี้ สว่ นกลาง ๑. กรมกำรศำสนำจัดทำประกำศกรมกำรศำสนำ เรื่องกำรขอรับ พระรำชทำนผ้ำพระกฐินแล้วจะแจ้งส่วนรำชกำร กระทรวง กรม รัฐวิสำหกิจ บริษัทห้ำงร้ำน สมำคม มูลนิธิ ฯลฯ และเจ้ำอำวำสพระอำรำมหลวง เพื่อแจ้ง กำหนดระยะเวลำทจ่ี ะทำกำรถวำยผ้ำพระกฐนิ ๒. ในกรุงเทพมหำนคร ผู้ขอรับพระรำชทำนผ้ำพระกฐินสำมำรถจอง กฐินพระรำชทำนได้ ดังน้ี กองศำสนูปถัมภ์ กรมกำรศำสนำ กระทรวง วฒั นธรรม หรือ จองกับพระอำรำมหลวงโดยตรง ๓. กรมกำรศำสนำจะแจ้งกำหนดวันถวำยกฐินให้ผู้ขอรับพระรำชทำน ทรำบ เพ่ือประสำนงำนกับทำงวดั ๔. ผขู้ อรับพระรำชทำนผ้ำพระกฐินจะต้องทำหนังสือถึงอธิบดีกรมกำร ศำสนำ เพ่ือขอรับพระรำชทำนผ้ำพระกฐิน ๕. กรมกำรศำสนำทำหนังสือแจ้งกำรรับจองพระอำรำมหลวงท่ีผู้รับ พระรำชทำนผ้ำพระกฐินจะนำผำ้ พระกฐินพระรำชทำนไปถวำย ๑ ฉบับ และมี หนังสือนมัสกำรเจ้ำอำวำสพระอำรำมหลวงท่ีผู้ขอรับพระรำชทำน จะนำผ้ำ พระกฐินไปถวำย ๑ ฉบับ ๖. เมอ่ื กรมกำรศำสนำจดั เตรยี มเครื่องพระกฐินพระรำชทำนเรียบร้อย แลว้ กรมกำรศำสนำจะมหี นังสือแจง้ ผขู้ อรับพระรำชทำนผ้ำพระกฐิน ให้มำรับ รวบรวมและเรยี บเรียงโดย ร.ท. สุธรี ว์ รินทร์ อนิ ธแิ สง, ร.ท. พิชติ ดชั ถุยาวัตร, ร.ท. ปิยะพงษ์ สูหา
22 เคร่ืองพระกฐินพระรำชทำนด้วยตนเองท่ี กองศำสนูปถัมภ์ กรมกำรศำสนำ กระทรวงวฒั นธรรม เพือ่ นำไปถวำยยังวดั พระอำรำมหลวงต่อไป ส่วนภูมภิ าค ๑. กรมกำรศำสนำจัดทำประกำศกรมกำรศำสนำ เร่ืองกำรขอรับ พระรำชทำนผ้ำพระกฐินแจ้งผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดทุกจังหวัด ให้ทรำบกำหนด ระยะเวลำที่จะทำกำรถวำยผ้ำพระกฐิน เพ่ือจะได้ประกำศให้ส่วนรำชกำร รัฐวิสำหกิจ บริษัท ห้ำงร้ำน สมำคม มูลนิธิ ฯลฯ ภำยในจังหวัดทรำบทั่วกัน พร้อมท้ังจะได้มอบหมำยงำนให้สำนักงำนวัฒนธรรมจังหวัดเป็นผู้รับผิดชอบ และเจ้ำอำวำสพระอำรำมหลวง ในกรณีมีผู้ติดต่อขอรับพระรำชทำนผ้ำพระ กฐนิ กับทำงวดั ๒.ผู้ขอรับพระรำชทำนผ้ำพระกฐินสำมำรถจองกฐินพระรำชทำนได้ ดังนี้ สำนักงำนวัฒนธรรมจังหวัดทุกจังหวัด กองศำสนูปถัมภ์ กรมกำรศำสนำ กระทรวงวัฒนธรรม หรอื จองกบั พระอำรำมหลวงโดยตรง ๓.กรมกำรศำสนำจะแจ้งกำหนดวันถวำยกฐินให้ผู้ขอรับพระรำชทำน ทรำบ เพื่อประสำนงำนกับทำงวดั ๔.เมื่อผู้ขอรับพระรำชทำนผ้ำพระกฐินได้จองพระอำรำมหลวง เพ่อื ขอรบั พระรำชทำนผ้ำพระกฐนิ ต้องดำเนินกำร ดงั น้ี ผขู้ อรบั พระรำชทำนผ้ำพระกฐินกับสานักงานวัฒนธรรมจังหวัด ต้อง ทำหนังสือถึงอธบิ ดีกรมกำรศำสนำ ผ่ำนสำนักงำนวัฒนธรรมจังหวดั รวบรวมและเรยี บเรียงโดย ร.ท. สธุ รี ว์ รนิ ทร์ อินธิแสง, ร.ท. พิชติ ดชั ถุยาวัตร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สหู า
23 ผู้ขอรับพระรำชทำนผ้ำพระกฐินกับพระอารามหลวง ต้องทำหนังสือ ถงึ อธิบดีกรมกำรศำสนำส่งไปที่กรมกำรศำสนำ หรือผ่ำนสำนักงำนวัฒนธรรม จงั หวัด ผขู้ อรบั พระรำชทำนผ้ำพระกฐินกับกรมการศาสนา ต้องทำหนังสือถึง อธบิ ดีกรมกำรศำสนำสง่ ไปทก่ี รมกำรศำสนำ ๕.กรมกำรศำสนำทำหนังสือแจ้งกำรรับจองพระอำรำมหลวงท่ีผู้รับ พระรำชทำนผำ้ พระกฐินจะนำผ้ำพระกฐินพระรำชทำนไปถวำย ๑ ฉบับ และมี หนังสือนมสั กำรเจ้ำอำวำสพระอำรำมหลวงท่ผี ู้ขอรบั พระรำชทำนจะนำผ้ำพระ กฐนิ ไปถวำย ๑ ฉบบั ๖.เมอื่ กรมกำรศำสนำจัดเตรียมเคร่ืองพระกฐินพระรำชทำนเรียบร้อย แล้ว กรมกำรศำสนำจะมีหนังสือสอบถำมผู้ขอรับพระรำชทำนผำ้ พระกฐิน แจ้ง ผู้ขอรับพระรำชทำนผ้ำพระกฐินไปถวำยพระอำรำมหลวงในส่วนภูมิภำค ท้งั หมดเพือ่ ทรำบว่ำต้องกำรจะรับเคร่ืองพระกฐินด้วยตนเองท่ีกรมกำรศำสนำ หรอื ให้จดั สง่ ไปยังสำนกั งำนวฒั นธรรมจังหวัด ๗.กรมกำรศำสนำทำหนังสือแจ้งผู้ขอรับพระรำชทำนผ้ำพระกฐิน เพือ่ ใหไ้ ปรบั เคร่อื งพระกฐนิ ทก่ี รมกำรศำสนำ หรือ สำนกั งำนวัฒนธรรมจังหวัด ตำมท่แี จ้งไวก้ บั กรมกำรศำสนำ การจองกฐนิ ราษฎร์ จะต้องจองไว้ก่อน เว้นไว้แต่กฐินตกค้ำงซึ่งไม่ต้องจอง วิธีจองกฐิน รำษฎร์ไม่ว่ำจะเป็นกฐินธรรมดำ จุลกฐินหรือกฐินสำมัคคี มักจะจองแบบท่ีให้ โอกำสแก่ผูม้ ีศรทั ธำจะบรจิ ำคทรัพย์มำกกวำ่ ท่ีตนกำหนด ตวั อยำ่ งใบจองกฐนิ รวบรวมและเรยี บเรียงโดย ร.ท. สธุ ีร์วรนิ ทร์ อินธิแสง, ร.ท. พชิ ติ ดชั ถุยาวตั ร, ร.ท. ปิยะพงษ์ สูหา
24 ข้ำพเจ้ำ ชื่อ....... บ้ำนเลขท่ี..........ตำบล........อำเภอ...............จังหวัด......... มีศรทั ธำปรำรถนำจะทอดกฐินแก่พระสงฆว์ ดั น้ี มอี งคก์ ฐนิ ................................ มบี รวิ ำรกฐนิ ............... กำหนดวัน...............เดอื น...........ปี...........เวลำ.......... ขอเชิญท่ำนทั้งหลำยมำร่วมกุศลด้วย หำกท่ำนผู้ใดมีศรัทธำมำกกว่ำ กำหนด ขอผนู้ น้ั จงไดโ้ อกำสเพอื่ ทอดเถิด ข้ำพเจ้ำยนิ ดอี นโุ มทนำรว่ มกศุ ลด้วย ถำ้ หำกว่ำมีผ้ศู รทั ธำมำกกว่ำจะนำกฐินมำทอด ณ วัดเดียวกันกต็ อ้ งทำ ใบจองดังกลำ่ วมำน้มี ำปิดไว้ท่ีวดั ในทีเ่ ปิดเผย เชน่ ศำลำกำรเปรยี ญ เป็นตน้ และเป็นธรรมเนยี มท่ีถือกันวำ่ กำรทมี่ ีผู้มำจองทับเช่นน้ีไม่เปน็ กำรเสียมำรยำท แต่อยำ่ งใด แต่ถอื เป็นเร่ืองสนกุ สนำนในกำรทำบุญกุศลอยำ่ งหนึง่ กล่ำวกันว่ำ กำรจองกฐนิ ทับกนั ไปทบั กนั มำนี้เองได้กลำยเป็นตน้ แบบของกฐินสำมคั คีใน เวลำต่อมำ แต่ในปัจจุบันนี้มักไม่นิยมจองทับกันแล้ว หำกผู้มีศรัทธำจะทอดในวัด เดียวกัน กค็ วรร่วมกันซึ่งเรียกว่ำ กฐินสำมัคคีในกำรทอดกฐินสำมัคคีนี้ ผู้ทอด อำจเชิญชวน ผู้มีจิตศรัทธำให้มำร่วมกันทำบุญ โดยแจกใบบอกบุญหรือที่ เรียกว่ำฎกี ำกไ็ ด้ ขอ้ ปฏิบัตใิ นการทอดกฐินพระราชทาน ๑. เม่ือได้รับผ้ำพระกฐินพระรำชทำนจำกกรมกำรศำสนำแล้ว ควรถวำยภำยหลังวันแรม ๖ ค่ำเดือน ๑๑ หรือเม่ือพระบำทสมเด็จพระ เจ้ำอยหู่ ัวเสด็จพระรำชดำเนินทอดพระกฐินวันแรกแลว้ รวบรวมและเรยี บเรียงโดย ร.ท. สุธรี ว์ รนิ ทร์ อินธแิ สง, ร.ท. พิชิต ดชั ถุยาวัตร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สหู า
25 ๒.ใหต้ ดิ ต่อกบั ทำงวัดโดยตรง เพอื่ แจง้ วัน เวลำ และขอให้เจ้ำอำวำสสั่ง ไวยำวจั กรเตรียมสถำนทีแ่ ละสิ่งจำเป็นมที บี่ ูชำพระรตั นตรยั มเี ครือ่ งบชู ำพรอ้ ม อำสนส์ งฆส์ ำหรบั พระสงฆ์อนโุ มทนำพระกฐนิ โต๊ะขนำดกว้ำงพอสมควรสำหรบั วำงพำนแว่นฟ้ำ ผ้ำไตรพระกฐนิ และพำนเทยี นพระปำตโิ มกข์ โต๊ะวำงเครอื่ ง บรขิ ำรพระกฐนิ และเครอ่ื งไทยธรรม โตะ๊ เก้ำอ้ีสำหรบั ผ้เู ป็นประธำน และผ้ไู ป ร่วมพิธีตำมสมควร ๓. เมื่อถึงวันกำหนด ก่อนผู้เป็นประธำนจะไปถึงหรือก่อนเร่ิมพิธีให้ เจ้ำหนำ้ ท่ีเชญิ เครอื่ ง พระกฐินจัดไว้บนโต๊ะ วำงเทียนปำติโมกข์ไว้บนพำนและ ให้มีเจ้ำหน้ำที่แต่งเครื่องแบบหรือแต่งสำกลนิยมคอยส่งผ้ำพระกฐินให้ผู้ เป็น ประธำนทเี่ ชงิ บันไดหรือประตูเข้ำสถำนที่ประกอบพิธี (ปัจจุบันนิยมจัดโต๊ะหมู่ ถวำยรำชสักกำระพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว ไว้ที่หน้ำพระอุโบสถ และวำง ผ้ำพระกฐินไวท้ ่ีโต๊ะ และให้ประธำนรับผ้ำพระกฐินจำกโต๊ะหน้ำพระบรมฉำยำ ลักษณ์นน้ั ๔.ประธำนรับผ้ำกฐินจำกเจ้ำหน้ำท่ีท่ีเชิงบันได พระอุโบสถผู้อุ้ม ประคองยืนตรงถวำยควำมเคำรพพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวขณะดนตรี บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบำรมีแล้วจึงเข้ำสู่พระอุโบสถตรงไปวำงไว้ที่พำน แวน่ ฟ้ำซงึ่ ตง้ั อยูห่ น้ำอำสน์สงฆ์ ๕. เมือ่ วำงผ้ำพระกฐินแล้ว จดุ ธูปเทียนเครือ่ งสกั กำรบูชำพระรตั นตรยั แล้วกรำบ ๓ หน ๖. เม่ือกรำบพระรัตนตรัยแล้ว ไปท่ีพำนแว่นฟ้ำ หยิบผ้ำห่มพระ ประธำนส่งให้เจ้ำหน้ำท่ีนำไปมอบแก่ไวยำวัจกร แล้วยกผ้ำพระกฐินยกข้ึน รวบรวมและเรยี บเรยี งโดย ร.ท. สุธรี ว์ รนิ ทร์ อินธแิ สง, ร.ท. พชิ ิต ดัชถุยาวตั ร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สูหา
26 ประคองประนมมือ หันไปทำงพระประธำนว่ำ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ทุ ธฺ สฺส วำ่ ๓ จบ ต่อจำกนัน้ หันไปทำงพระสงฆ์ว่ำคำถวำยพระกฐิน ดังน้ี “ผ้ำพระกฐินทำนกับท้ังผ้ำอำนิสงส์บริวำรท้ังปวงน้ี พระบำทสมเด็จ พระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดชมหิตลำธิเบศรรำมำธิบดี จักรีนฤบดินทร สยำมมินทรำธิรำชบรมนำถบพิตร ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ กอปรด้วย พระรำชศรัทธำ โปรดเกล้ำโปรดกระหม่อม พระรำชทำนให้....................... น้อมนำมำถวำยแด่พระสงฆ์ซ่ึงจำพรรษำกำลถ้วนไตรมำสในอำวำสวิหำรนี้ ขอพระสงฆ์จงรับผ้ำพระกฐินทำนน้ี กระทำกฐินัตถำรกิจตำมพระบรม- พทุ ธำนุญำตนนั้ เทอญ” กล่ำวถวำยพระกฐนิ ทำนจบแลว้ ประเคนพร้อมด้วยเทยี นพระปำติโมกข์ เสร็จแล้ว เข้ำน่ัง ณ ท่ีซ่ึงจัดไว้ ระหว่ำงที่ผู้เป็นประธำนเข้ำสู่สถำนที่ประกอบ พิธี ผู้อยู่ในพิธีทั้งหมด ยืนแสดงควำมเคำรพจนกว่ำประธำนจะน่ังลงจึงนั่งลง พรอ้ มกนั ถ้ำมีปี่พำทย์หรือเครื่องดนตรี ให้บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบำรมี ขณะผู้เป็นประธำนรับผ้ำไตรจำกเจ้ำหน้ำท่ีหรือรับท่ีโต๊ะหมู่ในกรณีท่ีจัดไว้ ต่อจำกนน้ั จงึ บรรเลงเพลงชำ้ ขณะประธำนเขำ้ สู่สถำนทปี่ ระกอบพิธีจนถึงเวลำ จุดธูปเทียนบูชำพระรัตนตรัยแล้วจึงส่งเทียนชนวนคืน ให้หยุดบรรเลงทันที แม้จะยงั ไม่จบเพลงก็ตำม และควรมีเจำ้ หน้ำที่คอยให้สัญญำณเวลำให้เริ่มเพลง หรือใหห้ ยดุ บรรเลง ๗.พระสงฆท์ ำพธิ กี รรม รวบรวมและเรยี บเรียงโดย ร.ท. สุธรี ์วรินทร์ อินธิแสง, ร.ท. พิชิต ดชั ถุยาวตั ร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สหู า
27 ๘.เมื่อพระสงฆ์ทำพิธีเสร็จออกไปครองผ้ำ (ป่ีพำทย์บรรเลงเพลง สำธุกำร ถ้ำมี) ครองผ้ำเสร็จกลับเข้ำนั่งยังอำสน์สงฆ์ (ป่ีพำทย์หยุดบรรเลง) ผ้เู ปน็ ประธำนและผูไ้ ปรว่ มพิธีถวำยเครอื่ งพระกฐินแก่องค์ครองเริ่มตั้งแต่บำตร เปน็ ตน้ ไปจนถึงเครื่องมือก่อสรำ้ ง ถำ้ จัดเครอ่ื งไทยธรรมถวำยเพม่ิ เตมิ ควรถวำย ภำยหลงั เครอื่ งพระกฐนิ หลวง ๙.ถ้ำมีผู้บริจำคร่วมโดยเสด็จพระรำชกุศล ควรประกำศให้ท่ีประชุม ทรำบ ๑๐.พอพระสงฆอ์ นโุ มทนำ ผูเ้ ป็นประธำนกรวดน้ำแลว้ พระสงฆ์ถวำย อดเิ รกจบ ประธำนกรำบพระรตั นตรยั เป็นเสร็จพธิ ี (ปพี่ ำทยบ์ รรเลงเพลงกรำว รำ ถำ้ มี) ๑๑. กรมกำรศำสนำเป็นผู้จัดสรรและดำเนินกำรขอพระรำชทำน จึงขอให้รำยงำนถวำยผ้ำพระกฐินพระรำชทำนและยอดเงินโดยเสด็จพระรำช กุศลไปยังกรมกำรศำสนำ หลังจำกถวำยผ้ำพระกฐินเสร็จแล้ว เพื่อจะได้ รวบรวมดำเนินกำรกรำบบังคมทูลพระกรุณำ ขอพระรำชทำนถวำยพระรำช กศุ ลโดยพรอ้ มเพรียงกนั ขอ้ ปฏิบัติในการทอดกฐนิ ราษฎร์ เมือ่ ได้ตระเตรียมพรอ้ มแลว้ ถึงกำหนดกน็ ำผ้ำกฐินกับบริวำรไปยังวัดที่ จองไว้ กำรนำไปนั้นจะไปเงียบ ๆ หรือจะแห่แหนกันไปก็ได้ เม่ือไปถึงแล้ว พักอยู่ ณ ท่ีใดท่ีหนึ่งท่ีสะดวก เช่น ที่ศำลำท่ำน้ำศำลำโรงธรรม โรงอุโบสถ หรอื ท่ใี ดที่หนง่ึ ซ่ึงทำงวดั จัดไว้ เมอ่ื พระสงฆพ์ รอ้ มแล้ว ก่อนถวำยกฐินอำรำธนำ รวบรวมและเรียบเรียงโดย ร.ท. สุธีร์วรนิ ทร์ อนิ ธแิ สง, ร.ท. พิชติ ดัชถุยาวัตร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สูหา
28 ศีลรับศีล เม่ือรับศีลแล้วประกำศให้รู้พร้อมกัน หัวหน้ำผู้ทอดกฐินหันหน้ำไป ทำงพระพุทธรูป ต้ัง นะโม ๓ จบ แล้วหันหน้ำมำทำงพระสงฆ์กล่ำวคำถวำย เป็นภำษำบำลี ภำษำไทย หรือทั้งสองภำษำก็ได้ ว่ำคนเดียวหรือว่ำนำแล้วคน ทั้งหลำยว่ำตำมพร้อมกันก็ได้ กำรกล่ำวคำถวำยน้ันจะกล่ำวเป็นคำ ๆ หรือจะ กล่ำวรวมกันเป็นวรรค ๆ แล้วแต่ควำมสะดวกของผู้กล่ำวนำและผู้กล่ำวตำม คำถวำย เมื่อจบคำถวำยแล้ว พระสงฆร์ ับสำธุพร้อมกัน องค์กฐินพร้อมท้ังบริวำร น้ี ถ้ำปรำรถนำถวำยเป็นสงฆ์ท้งั หมดก็ไม่ต้องประเคน ถ้ำปรำรถนำจะประเคน ก็อย่ำประเคนสมภำร หรือองค์ที่รู้ว่ำจะต้องครองให้ประเคนองค์อ่ืน องค์ท่ี เหมำะก็คือรองลงมำเฉพำะองค์กฐินนั้นไม่จำเป็นต้องประเคน ส่วนบริวำรน้นั ถ้ำจำนงถวำยแก่ภิกษุสำมเณรในวัดน้ันเป็นส่วนเฉพำะ ก็ช่วยกันถวำยโดยท่ัวกัน เมื่อประเคนเสร็จแล้วจะกลับเพียงนั้นก็ได้ แต่ถ้ำยัง ไมก่ ลบั เพยี งนนั้ จะรอจนพระสงฆอ์ ปโลกน์และมอบผ้ำกฐินเสร็จแล้วกไ็ ด้ ถ้ำผ้ำกฐินนั้นต้องทำต่อไปอีก เช่น ซัก กะ ตัด เย็บ ย้อม จะอยู่ช่วย พระก็ได้ ถ้ำไมม่ ีอย่ำงนนั้ จึงมีธรรมเนียมว่ำ ประเคนเฉพำะองค์กฐินแก่พระรูป ใดรูปหนึง่ เทำ่ นั้นกอ่ น แลว้ รออยู่ เม่อื พระสงฆ์ทำพธิ ีเบื้องต้นของท่ำนเสร็จแล้ว จึงประเคนบริวำรกฐินภำยหลัง เม่ือประเคนเสร็จแล้ว พระสงฆ์อนุโมทนำ ผูถ้ วำยท้ังหมดตง้ั ใจฟงั คำอนุโมทนำและขณะน้ันเจำ้ ภำพกรวดน้ำอุทศิ ส่วนกุศล เพยี งเท่ำนนั้ เสรจ็ พิธถี วำยกฐินสำหรบั ทำยกผู้มีศรทั ธำ ต่อจำกนั้นเป็นหน้ำท่ีของพระสงฆ์จะได้ดำเนินกำรในเรื่องกรำนกฐิน ต่อไป ถ้ำผ้ำนั้นยังไม่สำเร็จรูปพระภิกษุจะต้องช่วยกันทำจีวร ทำเสร็จเมื่อไร รวบรวมและเรยี บเรยี งโดย ร.ท. สุธีรว์ รนิ ทร์ อนิ ธแิ สง, ร.ท. พชิ ติ ดัชถุยาวัตร, ร.ท. ปิยะพงษ์ สหู า
29 แจ้งให้พระภิกษุท้ังหลำยทรำบเพื่ออนุโมทนำ ถ้ำผ้ำน้ันสำเร็จรูปแล้ว กิจที่พระภิกษุทั้งหลำยจะต้องทำจีวรไม่มี ท่ำนก็ดำเนินกำรอนุโมทนำได้ เมื่อ พระภิกษุท้ังหลำยได้อนุโมทนำกฐินแล้วในวันน้ันชื่อว่ำสงฆ์ได้กรำนกฐินแล้ว เป็นอนั เสร็จพิธีของสงฆ์ อานิสงสห์ รอื ผลดีของการทอดกฐิน ผลดีฝ่ายผู้ทอดและคณะ อำนิสงส์หรือผลดีของฝ่ำยผู้ทอดและคณะ มีดงั นี้ ๑.ช่ือว่ำได้ถวำยทำนภำยในกำลเวลำกำหนดที่เรียกว่ำกำลทำน คือ ในปีหนึ่งถวำยได้เพียงระยะเวลำ ๑ เดือน เท่ำนั้น ในข้อถวำยทำนตำมกำลนี้ มพี ระพทุ ธภำษติ ว่ำ ผใู้ หท้ ำนตำมกำลควำมต้องกำรท่ีเกิดข้ึนตำมกำลของผู้น้ัน ยอ่ มสำเรจ็ ได้ ๒.ชือ่ ว่ำไดส้ งเครำะหพ์ ระสงฆ์ผ้จู ำพรรษำใหไ้ ด้ผลดั เปลย่ี นผ้ำนุ่งห่มใหม่ แม้ผ้ำกฐินน้ันจะตกแก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งก็ช่ือว่ำได้ถวำยแก่สงฆ์เป็นส่วนรวม มีพระพทุ ธภำษติ วำ่ ผู้ใหผ้ ้ำชอ่ื วำ่ ให้ผิวพรรณ ๓.ช่ือว่ำได้ทำนุบำรุงพระพุทธศำสนำ ส่งเสริมผู้ประพฤติดีปฏิบัติชอบ ให้เป็นหลกั เป็นตวั อย่ำงแห่งคณุ งำมควำมดีของประชำชนสบื ไป ๔.จิตใจของผู้ทอดกฐินท้ัง ๓ กำล คือ ก่อนทอด กำลังทอด และทอด แล้วท่ีเลือ่ มใสศรทั ธำและปรำรถนำดีน้นั จัดเป็นกุศลจิต คนที่มีจิตเป็นกุศลย่อม ได้รับควำมสุขควำมเจริญ รวบรวมและเรยี บเรียงโดย ร.ท. สุธีรว์ รินทร์ อินธิแสง, ร.ท. พิชิต ดชั ถุยาวัตร, ร.ท. ปิยะพงษ์ สหู า
30 ๕.กำรทอดกฐิน ทำให้เกิดสำมัคคีธรรม คือ กำรร่วมมือกันทำคุณงำม ควำมดี และถ้ำกำรถวำยกฐินนั้นมีส่วนได้บูรณปฏิสังขรณ์วัดวำอำรำมด้วย ก็เป็นกำรรว่ มสำมคั คี เพอื่ รกั ษำศำสนวัตถศุ ำสนสถำนให้ยั่งยนื สถำพรสืบไป กิติสัทโท เป็นผ้มู ชี ื่อเสยี งฟุ้งขจรขจำยไปท่ัวสำรทิศ ได้ช่ือว่ำเป็นผู้สืบอำยุพระพุทธศำสนำ ถวำยกำลังแก่สมณะสงฆ์ ดำรงพระศำสนำ ได้สงเครำะห์พระสงฆ์ตำมพระวินัยซึ่งเป็นไปตำมพระบรมพุทธำ นญุ ำต เปน็ กำรรกั ษำประเพณที ่ดี งี ำมไวม้ ใิ ห้เส่อื มสญู ไป เป็นกำรบชู ำพทุ ธโอวำทของพระบรมศำสดำ ไดช้ อื่ วำ่ บำเพญ็ มหำบุญ เป็นปัตตำนโุ มทนำมัย ทำทรพั ย์และชีวิตใหม้ สี ำระ เปน็ กำรสรำ้ งควำมสำมคั คใี นระหว่ำงพุทธบริษัท เปน็ กำรส่ังสมทุนคอื บุญกุศลไวใ้ นภำยภำคหน้ำ เป็นกำรสรำ้ งทำงไปสวรรคแ์ ละนพิ พำนใหแ้ กต่ นเอง ผลดีฝ่ายพระสงฆ์ผู้รับและกรานกฐิน อำนิสงส์หรือผลดีของฝ่ำย พระสงฆ์ผรู้ ับและกรำนกฐนิ มีดงั น้ี รวบรวมและเรียบเรียงโดย ร.ท. สธุ รี ว์ รนิ ทร์ อนิ ธิแสง, ร.ท. พิชิต ดัชถุยาวัตร, ร.ท. ปิยะพงษ์ สูหา
31 พระพุทธเจ้ำตรัสไว้ (ในวินัยปิฎกเล่ม ๕ หน้ำ ๑๓๖) ว่ำภิกษุผู้กรำน กฐินแลว้ ย่อมไดร้ บั ประโยชน์ ๕ ประกำร ๑.รับนิมนต์ฉันไว้แล้วไปไหนไม่ต้องบอกลำภิกษุในวัดตำมควำมใน สกิ ขำบทที่ ๖ แห่งอเจลกวรรค ปำจติ ตีย์ ๒.ไปไหนไม่ต้องนำไตรจีวรไปครบสำรบั ๓.เกบ็ ผำ้ ที่เกิดขึน้ เป็นพิเศษ ได้ตำมปรำรถนำ ๔.จีวรอนั เกิดในทน่ี ้ันเปน็ สทิ ธิของภิกษุเหล่ำนั้น ๕.ขยำยเขตแห่งกำรทำจีวรหรือกำรเก็บจีวรไว้ได้จนถึงสิ้นฤดูหนำว (คือจนถึงวนั ข้นึ ๑๕ คำ่ เดือน ๔ เปน็ วันสุดทำ้ ย) ลักษณะอันเป็นประชาธปิ ไตยของพิธกี รรมกฐิน ได้กล่ำวแล้วว่ำเรื่องของกฐินเป็นสังฆกรรม คือ กำรกระทำที่เป็นกำร สงฆ์ คือ พระสงฆ์ท้ังวัดต้องรับรู้รับผิดชอบร่วมกันในกำรช่วยกันทำจีวรให้ สำเร็จ ในกำรประชุมกันหำรือว่ำ จะควรมอบผ้ำกฐินให้ภิกษุรูปใดรูปหน่ึง และ แม้เพียงกำรปรึกษำหำรือก็ยังใช้ไม่ได้ต้องมีกำรสวด ประกำศเป็นกำรสงฆ์ เสนอญตั ติว่ำจะมอบผ้ำกฐินแก่ภิกษุรูปน้ันรูปน้ีแล้วสวดประกำศจบแล้วไม่มีผู้ คัดค้ำน จึงจะถวำยผ้ำนั้นแก่องค์ครอง คือ ภิกษุผู้รับมติจำกท่ีประชุมให้เป็น ผู้รับผ้ำนน้ั ในนำมของสงฆ์ได้ ลกั ษณะเช่นน้ีเป็นกำรสอนให้ถือมติท่ีประชุมสงฆ์เป็นใหญ่ ไม่ทำอะไร ตำมอำเภอใจเปน็ หลักในกำรปกครองคณะสงฆ์ ซึ่งเป็นตวั อยำ่ งแก่กำรปกครอง ทำงโลกดว้ ย รวบรวมและเรยี บเรยี งโดย ร.ท. สุธีรว์ รนิ ทร์ อนิ ธแิ สง, ร.ท. พชิ ิต ดชั ถุยาวตั ร, ร.ท. ปิยะพงษ์ สหู า
32 ข้อเสนอแนะ ๑.พุทธศำสนิกชนควรทอดกฐินให้ถูกต้องตำมควำมมุ่งหมำยของกฐิน ได้แก่ กำรบำเพ็ญด้วยกำรถวำยผ้ำกฐินแก่ภิกษุซึ่งอยู่จำพรรษำครบสำมเดือน ตำมพระพุทธำนุญำต (ในข้อน้ีโปรดดูข้อควำมเรื่องกำรแก้ปัญหำเร่ืองกฐิน ตกคำ้ ง) ๒.กำรรวบรวมทุนท่ีมีผู้บริจำคเพ่ือบำรุงวัดหรือสถำนศึกษำในวัด ควรให้เป็นไปตำมควำมศรัทธำของผู้บริจำคโดยมีเหตุผลอันสมควร เช่น ชว่ ยปฏสิ ังขรณว์ ัดทท่ี รดุ โทรมใหม้ ่ันคงถำวรสืบไป ๓.ในกำรเดินทำงไปทอดกฐิน ณ วัดท่ีอยู่ห่ำงไกลซึ่งผู้จัดมักจะพ่วง วัตถุประสงค์ของกำรท่องเทย่ี วไว้ด้วยนั้น ควรมีมำตรกำรรักษำควำมปลอดภัย ของผ้ทู จี่ ะเดนิ ทำงไปเป็นหมู่คณะ ท้งั น้ีเพือ่ ควำมไมป่ ระมำท ๔.ควรงดเว้นกำรเล้ียงสุรำเมรัยในระหว่ำงเดินทำงหรือระหว่ำงท่ีมีงำน กฐนิ ทง้ั นเี้ พ่อื ให้กำรบำเพญ็ กุศลเปน็ ไปด้วยควำมมรี ะเบียบเรียบร้อย ๕.ควรงดกำรใชจ้ ่ำยในสงิ่ ท่ีฟุ่มเฟือยและไม่จำเป็น โดยยึดถือกำรจัดให้ แนวประหยดั เปน็ หลกั สำคญั ๖.กำรฉลองหรือสมโภชกฐินก่อนทอดนั้น ควรทำเพียงเพื่อประโยชน์ ของกำรนัดหมำยให้พร้อมเพรียงกันและเพื่อเป็นกำรส่งเสริมศรัทธำของผู้มำ ร่วมงำนเท่ำนั้น ไม่ควรมุ่งควำมสนุกสนำน อันมิใช่วัตถุประสงค์ของกำร ทอดกฐิน ถ้ำมีขบวนแห่เชิญผ้ำพระกฐินไป ผู้เข้ำขบวนควรแต่งกำยให้ เรียบร้อย ถ้ำมีขบวนฟ้อนรำควรเลือกกำรแต่งกำยสุภำพชุดสุภำพเพรำะเป็น งำนทำงศำสนำ รวบรวมและเรียบเรยี งโดย ร.ท. สุธีร์วรนิ ทร์ อนิ ธิแสง, ร.ท. พชิ ิต ดัชถุยาวัตร, ร.ท. ปิยะพงษ์ สหู า
33 ๗.กำรพมิ พห์ นงั สือแจกในงำนกฐินน้ัน จะมหี รอื ไม่กไ็ ดไ้ ม่เป็นกำรบงั คับ แตถ่ ำ้ มีควรเลอื กพมิ พ์หนงั สอื ทม่ี สี ำระประโยชน์ ๘.ไมค่ วรทอดกฐินในวัดท่ีพระภิกษุอยู่ในวัดนั้นบอกกล่ำวโดยตรงหรือ โดยออ้ มใหไ้ ปทอด เพรำะเป็นกำรผิดพระวินัยและกฐินที่ทอดก็ไม่เป็นกฐินถือ เป็นโมฆะ (พระไตรปิฎกเล่ม ๕ หน้ำ ๑๓๘) แต่พระภิกษุผู้อยู่ในวัดหน่ึงอำจ แนะนำใหไ้ ปทอดในวดั อ่ืนได้ ๙.ในกำรพิมพ์ใบบอกบุญหรือฎีกำเพื่อเชิญชวนผู้มีจิตศรัทธำมำร่วม ทำบุญน้ันไม่ควรพิมพ์ชื่อบุคคลเป็นกรรมกำรโดยไม่ได้รับอนุญำตจำกเจ้ำของ ก่อน ข้อเสนอแนะ อำจพิจำรณำเทยี บเคยี งกับขอ้ เสนอแนะบำงประกำรเก่ียวกับเร่ืองกฐิน ได้ แต่ข้อท่ีควรเน้นเป็นพิเศษ คือ กำรไม่ใช้จ่ำยฟุ่มเฟือยโดยไม่จำเป็นควร พิจำรณำกระทำในทำงที่จะเป็นประโยชน์ และไม่ชักชวนกันไปในทำง สนุกสนำนเกินขอบเขต หรือมัวเมำประมำทซ่ึงมิใช่ควำมประสงค์ของ พระพทุ ธศำสนำ ความหมายของธงกฐนิ ทงั้ ๔ ( จระเข้ นางมจั ฉา ตะขาบ และเต่า ) ธงกฐนิ ทง้ั ๔ คอื จระเข้ นำงมัจฉำ ตะขำบ และเต่ำ เป็นปริศนำธรรม ของคน โบรำณ ๑) จระเข้ หมำยถงึ ควำมโลภ (ปำกใหญ่ กินไมอ่ ิม่ ) รวบรวมและเรียบเรียงโดย ร.ท. สธุ รี ์วรนิ ทร์ อนิ ธแิ สง, ร.ท. พิชติ ดัชถยุ าวัตร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สูหา
34 ๒) ตะขาบ หมำยถึง ควำมโกรธ (พิษท่ีเผ็ดร้อน เหมือนควำมโกรธ ทแ่ี ผดเผำจิต) ๓) นางมัจฉา หมำยถึง ควำมหลง (เสน่ห์แห่งควำมงำม ท่ีชวน หลงใหล) ๔) เต่า หมำยถึง สติ (กำรระวังรักษำ อำยตนะทั้ง ๖ ดุจเต่ำ ทีห่ ดอวัยวะ ซอ่ นในกระดอง) \"ธงจระเข้\" ใช้ประดับในการแห่ (มีตำนำนว่ำ เศรษฐี เกิดเป็นจระเข้ วำ่ ยนำ้ ตำมขบวนกฐิน จนขำดใจตำย) \"ธงนางมจั ฉา\" ใชป้ ระดบั งานพิธีถวายผ้ากฐิน (เป็นตัวแทนหญิงสำว ตำมควำมเชือ่ วำ่ อำนิสงส์จำกกำรถวำยผำ้ แกภ่ ิกษสุ งฆ์จะมีรูปงำม) \"ธงตะขาบ\" ใช้ประดับ เพ่ือแจ้งว่ำ วัดน้ีมีคนมาจองกฐินแล้ว (ใหผ้ จู้ ะมำปวำรณำทอดกฐิน ผำ่ นไปวัดอ่ืนเลย ไมต่ ้องเสียเวลำมำถำม) \"ธงเต่า\" ใช้ประดับ เพื่อแจ้งว่ำ วัดนี้ทอดกฐินเรียบร้อยแล้ว (จะปลดลงในวันเพญ็ เดือน ๑๒) ในปัจจุบัน จะเห็นเพียง ธงจระเข้ และ นำงมัจฉำ ท่ีจะปรำกฏในงำน กฐนิ สว่ นธงตะขำบและเตำ่ พบเห็นได้น้อย จะมเี ป็นบำงวัดที่ยังคงรักษำธรรม- เนียมเกำ่ อยู่ สังเกตไหมว่ำ ทำไมในงำนทำบุญทอดกฐิน ผู้คนจะแย่งและอยำกได้ ธงมจั ฉำ และธงจระเข้กันมำก หำกจะได้จริงๆ ต้องจอง หรือไม่ก็เป็นประธำน ใหญเ่ ทำ่ นนั้ กฐนิ งำนหนึง่ จะมีธงใหญ่แค่อยำ่ งละ ๑ ผืนเทำ่ น้นั รวบรวมและเรยี บเรยี งโดย ร.ท. สธุ รี ว์ รนิ ทร์ อนิ ธิแสง, ร.ท. พิชติ ดชั ถุยาวัตร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สหู า
35 เพรำะว่ำคนท่ีได้ไปบูชำ ติดบ้ำนเรือน ร้ำนค้ำ จะมีเงินทอง ไหลมำเท มำ ไม่ขำดสำย ด่ังงำนกฐิน ของตำมวัดต่ำงๆ ท่ีมีแต่คน นำเงิน ทอง ข้ำวของ เครื่องใช้ตำ่ งๆ มำให้ ดว้ ยจติ ศรัทธำ ************ พระราชศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนา ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว ร.๑๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนา อยา่ งมัน่ คงตัง้ แตย่ งั ทรงพระเยาว์ ครัง้ ทรงดารงพระอิสริยยศสมเด็จพระเจ้าลูก ยาเธอ เจ้าฟ้าวชริ าลงกรณ นอกจากทรงเข้าพระราชพิธีประกาศพระองค์เป็นพุทธมามกะแล้ว ยังทรงอุปถัมภ์พระอารามต่างๆ ในพระพุทธศาสนาอีกด้วย พระอาราม แห่งแรกที่ทรงรับไว้ในพระราชูปถัมภ์ คือ วัดวชิรธรรมสาธิตวรวิหาร เม่ือวัน พฤหัสบดีท่ี ๙ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๐๘ ตามพระราชปรารภ ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ตลอดชว่ งเวลาทที่ รงดาเนนิ พระอสิ ริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้ทรงพระราชดาเนินแทนพระองค์ พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไปทรงปฏิบตั พิ ระราชกรณียกจิ ด้านการศาสนานานาประการ เชน่ - ทรงเปลี่ยนเครื่องทรงพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้ว มรกต) ประจาฤดูรอ้ น ฤดูฝน และฤดูหนาว ณ วัดพระศรรี ตั นศาสดาราม - ทรงบาเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา มีพระราชพิธีทรงบาเพญ็ พระราชกศุ ลวันมาฆบชู า วนั อาสาฬบูชา เปน็ ต้น รวบรวมและเรยี บเรียงโดย ร.ท. สุธรี ว์ รนิ ทร์ อนิ ธิแสง, ร.ท. พชิ ติ ดชั ถยุ าวัตร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สูหา
36 - ทรงเป็นประธานในพิธียกฉัตรมหาเจดีย์ พิธียกช่อฟ้าพระอุโบสถ ฯลฯ วัดต่างๆ เป็นอนั มาก - ทรงเปน็ ประธานในพระราชพธิ อี ปุ สมบทนาคหลวง พระราชพิธีถวาย ผา้ พระกฐนิ ฯลฯ สาหรับพระราชกรณียกิจด้านพระพุทธศาสนา โดยพระราชดาริริเร่ิม ของพระองค์นัน้ นอกจากทรงผนวชตามโบราณขัตติยราชประเพณีแล้ว ยังทรง หมั่นเย่ียมพระเถระผู้ใหญ่ เพ่ือทรงสนทนาศึกษาพระธรรมอยู่เสมอ ด้วยพระราชจริยวัตรท่ีนอบน้อมศรัทธา รวมทั้งทรงบาเพ็ญพระบารมี เพื่อธารงพระพุทธศาสนาหลากหลายลกั ษณะ เช่น - เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเป็นประธานในการสร้างพระพุทธรูป ลายเส้น ณ หน้าผาเขาชีจรรย์ วัดญาณสังวราราม อาเภอบางละมุง จังหวัด ชลบุรี ซึ่งเป็นพระพุทธรูปลายเส้นบนหน้าผาท่ีใหญ่ท่ีสุดแห่งหน่ึงของโลก เพ่ือเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลย เดชมหาราช บรมนาถบพิตร เน่ืองในโอกาสที่ทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๙ พระพุทธรูปนม้ี ีนามพระราชทานว่า “พระพุทธมหาวชิร อุตตโมภาสศาสดา” มีความหมายว่า พระพุทธเจ้าทรงเป็นศาสดาที่รุ่งเรือง สวา่ งประเสรฐิ ดงั่ มหาวชิระ - ทรงรบั มลู นธิ ิพระรตั นตรัยไว้ในพระราชูปถมั ภ์ ซึ่งสมเด็จพระมหาธีรา จารย์ (ประสิทธ์ิ เขมงกโร) กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าอาวาสวัดยานนาวา ประธานมูลนิธิพระรัตนตรัยจัดตั้งขึ้น เพ่ือส่งเสริมศาสนศึกษา การศึกษา สงเคราะห์ การเผยแผ่ธรรมะและกิจกรรมเทิดทูนสถาบันของชาติ เน่ืองในโอกาสมหามงคลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระ บรมราชชนนีพนั ปหี ลวง ในรชั กาลที่ ๙ ทรงพระเจริญพระชนมพรรษา ๖ รอบ วันท่ี ๑๒ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗ ครั้นทรงราชย์แล้ว พระบาทสมเด็จ รวบรวมและเรียบเรียงโดย ร.ท. สธุ ีรว์ รนิ ทร์ อินธิแสง, ร.ท. พิชติ ดัชถยุ าวัตร, ร.ท. ปิยะพงษ์ สูหา
37 พระเจ้าอยู่หัวยังได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจต่างๆ ที่เกี่ยวกับการศาสนา เปน็ จานวนมาก เชน่ - ทรงบาเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุปทาน เน่ืองในวันคล้าย วันพระบรมราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานสมณศักดิ์และเคร่ืองราช อิสรยิ ยศแดส่ มเดจ็ พระราชาคณะ พระราชาคณะ และเจา้ คณะรอง - ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ มใหแ้ กไ้ ขเพ่ิมเติมกฎหมายว่า ด้วยคณะสงฆ์ และตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ.๒๕๖๐ มาตรา ๗ โดยให้ใช้ความต่อไปน้ีแทน คือ “มาตรา ๗ พระมหากษัตริย์ทรง สถาปนาสมเด็จพระสังฆราชองค์หน่ึง และให้นายกรัฐมนตรีลงนามรับสนอง พระบรมราชโองการ” - ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งสมเด็จพระมหา- มุนีวงศ์ (อัมพร อมฺพโร) วัดราชบพิตรสถิตมหาสีมาราม เป็นสมเด็จ พระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายก องคท์ ี่ ๒๐ แห่งกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ **แม้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระองค์ได้มีพระราชดารัส ประกาศพระองคเ์ ปน็ พุทธศาสนูปถัมภก ความว่า \"ขา้ แต่พระสงฆ์ผเู้ จริญ แต่เดิมมาข้าพระพุทธเจ้าได้มีจิตศรัทธาเลื่อมใส และไดน้ ึกถึงพระรตั นตรยั เปน็ สรณะด้วยวิธีน้ันๆ ฉะนั้น บัดน้ี ข้าพระพุทธเจ้าได้ เถลิงถวัลยราชสมบัติ บรมราชาภิเษกแล้ว จึงขอมอบตัวแด่พระพุทธเจ้า พระ ธรรมเจ้า และพระสังฆเจ้า จะได้รับการจัดการและให้การคุ้มครองรักษา พระพุทธศาสนาโดยชอบธรรมตลอดไป ข้าแตพ่ ระสงฆ์ผู้เจริญ ขอพระสงฆ์จงจา ไวด้ ว้ ยดีว่า ขา้ พเจ้าเปน็ พุทธศาสนูปถัมภกเถิด\" รวบรวมและเรียบเรยี งโดย ร.ท. สุธรี ว์ รินทร์ อินธแิ สง, ร.ท. พิชิต ดัชถุยาวัตร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สูหา
38 บทกลอนงานบุญ บุญคอื ควำมดแี หง่ ชวี ติ นำดวงจติ พบสขุ ทุกสถำน บญุ นำให้ทรัพยย์ ิ่งศฤงคำร บุญนำผ่ำนสขุ สมควำมร่มเย็น บญุ ชว่ ยให้ผวิ พรรณสสี นั สวย บุญสง่ ช่วยชูตำมให้งำมเด่น บุญเหมอื นเงำตำมนำผู้บำเพ็ญ บญุ ยงั เปน็ ส่ือนำทำงสมั มำ บญุ ช่วยให้อำยุยืนอยยู่ ำวม่ัน บญุ ช่วยสรรคใ์ หพ้ ลังอย่ำงสงู ค่ำ บญุ ช่วยนำสง่ เสรมิ เพิม่ ปญั ญำ บุญช่วยพำสตู่ ระกูลสมบูรณค์ รัน บุญช่วยให้ห่ำงโศกไกลโรครำ้ ย บญุ ช่วยใหไ้ กลทกุ ข์พบสขุ สันต์ บุญชว่ ยให้สดช่ืนทุกคนื วนั บุญชว่ ยใหห้ ลบั ฝนั อนั สลำย บุญช่วยให้เบิกบำนสำรำญจติ บญุ ช่วยให้ชวี ติ มคี วำมหมำย บุญช่วยเสรมิ เพมิ่ คุณอ่นุ ใจกำย บญุ ส่ือสำยโยงใจใกล้นพิ พำน จงึ ควรกอบกอ่ บญุ เปน็ ทนุ ไว้ เพอ่ื พน้ ภยั โศกโอฆสงสำร จุดช่วยพน้ จำกแดนแสนกันดำร กอ่ บุญทำนดีไวใ้ หแ้ กต่ น. ...................... กำรสัง่ สมก่อสรำ้ งซ่งึ ทำงบุญ คอื สรำ้ งคุณควำมดีไมม่ เี นำ่ จะนำสขุ มำให้สู่ใจเรำ ใหม่หรอื เก่ำให้ผลดลบันดำล อย่ำดูหมิ่นบญุ กรรมว่ำทำน้อย จกั ไม่ต้อยตำมตอ้ งสนองผล แม้ตมุ่ นำ้ เปดิ หงำยรับสำยชล เต็มลน้ ด้วยอุทกที่ตกลง อนั นกั ปรำชญ์สง่ั สมบม่ บญุ บ่อย ทลี ะน้อยทำไปไมไ่ หลหลง ย่อมเต็มลน้ ด้วยบุญนัน่ อย่ำงม่นั คง บญุ ย่อมส่งพบสถำนวิมำนทอง ...................... รวบรวมและเรยี บเรียงโดย ร.ท. สธุ รี ว์ รนิ ทร์ อินธิแสง, ร.ท. พชิ ติ ดชั ถยุ าวัตร, ร.ท. ปิยะพงษ์ สูหา
39 กำรทำบุญ ทำทำน หมนั่ ทำเถดิ เป็นบ่อเกดิ แห่งควำมสุข ทุกสถำน อยำ่ ท้อถอย ศรทั ธำ หมั่นทำทำน ผลบุญนน้ั ตำมสนอง ไม่หมองมัว แม้แตใ่ น ชำตนิ ้ี กม็ ีสุข บุญจะปลุก ใหเ้ รำตนื่ จำกควำมช่ัว ใครทำดี ไดด้ ี เปน็ ของตัว จงละช่วั ทำดเี ถิด ประเสรฐิ เอย ...................... ขอคณุ พระศรีรัตน์เป็นฉตั รก้นั ใหท้ ุกทำ่ นภิญโญสโมสร ใหเ้ จริญด้วยชำติศำสนำ สถำพร ขอวิงวอนใหไ้ ดย้ ศหมดทุกคน ประสงค์สิ่งใดท่ีตั้งไวใ้ นดวงจิต ขอให้สมั ฤทธติ์ ้นทนุ บุญกศุ ล หำกแมพ้ ำลใด ๆ มำผจญ ขอให้ผ่ำนพ้นประสบสขุ ทุกท่ำนเทอญ ขอให้โยมเปน็ เฒำ่ แก่นำปี เป็นเศรษฐีนำปรัง มีนำดอนขอให้เขำทำ มนี ำดำขอให้เขำหวำน ควำมเจ็บอย่ำใกล้ ควำมไข้อยำ่ เห็น ควำมเขญ็ อย่ำได้ มี ประสทิ ธิพรสวัสดี เจรญิ ศรีเจรญิ ชนเสมอสมัย นิรำศทกุ ขน์ ิรำศโศกนริ ำศ โรค นริ ำศภยั ประสงค์สรรพกุศลใด จงสมประสงคเ์ ทอญ มีคู่สมหมำย สหำยสมคิด ลูกสำวสมใจ ลูกชำยสมจิต ลูกสะใภ้ไม่เปรียบ เปรย ลูกเขยสุจริต มีลูกหญิงเอำไว้สืบเชื้อสำย มีลูกชำยเอำไว้สืบสกุล ผู้ท่ีมำทำบุญขอให้มีลูกหญิงและลูกชำย เป็นเด็กให้ช่ืนชุ่ม เป็นหนุ่มก็เข้ำท่ำ เป็นคนแกก่ ็สง่ำ เป็นชรำกส็ บำย แม้ตำยก็สงบพบสคุ ติ รวบรวมและเรยี บเรยี งโดย ร.ท. สธุ ีรว์ รินทร์ อินธิแสง, ร.ท. พิชติ ดัชถุยาวัตร, ร.ท. ปิยะพงษ์ สหู า
40 ๓ เดือนกข็ อใหเ้ ปน็ เศรษฐี ๓ ปี ขอใหเ้ ป็นแมค่ ำ้ ขำยทอง นอนขอให้ได้เงนิ พัน นอนฝันขอใหไ้ ด้เงนิ หมน่ื นอนตืน่ ขอให้ไดเ้ งนิ แสน กำงแขนขอให้ได้โชคลำภ มีควำมรชู้ ตู นคนเคำรพนับถือ มีฝมี ือไม่เส่อื มคนเลื่อมใส มขี องแพงแต่งตนคนเกรงใจ มเี งินใชอ้ ย่ำรจู้ นคนบชู ำ บญุ จะได้ชชู ่วยใหส้ วยงำม ผิวอร่ำมชำยมองต้องล่มุ หลง เสยี งท่ำนจะไพเรำะเสนำะองค์ ทั้งทรวดทรงไฉไลใหโ้ สภำ อีกทั้งรูปก็งำมซ้ำเข้ำที แมเ้ ทวีเบ้อื งบนต้องบน่ หำ ทำบุญไวส้ ิง่ ไรได้ผลมำ วำสนำอำนวยด้วยผลบญุ บญุ เทำ่ น้ันแหละดไี ม่มีทุกข์ มแี ตส่ ุขอยำ่ งเดยี วไม่เหีย่ วเฉำ เปน็ ทพี่ ง่ึ พึงรู้อย่ำหูเบำ บญุ ของเรำรำบร่นื ชมุ่ ชื่นใจ กำรทำบุญเหมอื นนำนำ้ สะอำด มำรดรำดเพ่ือชำระอกศุ ล จติ สกำวขำวผ่องไม่หมองมล เปน็ บุญลน้ ควรทำเช้ำคำ่ เอย รวบรวมและเรียบเรยี งโดย ร.ท. สธุ ีรว์ รินทร์ อินธแิ สง, ร.ท. พิชติ ดัชถุยาวัตร, ร.ท. ปยิ ะพงษ์ สหู า
บทพธิ ีกร พิธถี วายผ้าพระกฐนิ พระราชทานของ...................... ณ วัด.........................ตาบล.............อาเภอ...............จงั หวดั ...................... วนั ท.่ี .........เดือน................พ.ศ............เวลา...............น. ---------------------- กอ่ นเรมิ่ พธิ กี าร -พดู ข้อมูลเกี่ยวกบั วัด -พดู ขอ้ มูลเก่ยี วกับหน่วยงานท่ไี ด้รบั ผา้ กฐินพระราชทานไปถวาย -พดู ขอ้ มลู เก่ยี วกบั พระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนา (อยใู่ นบทประชาสมั พนั ธ์) เวลา.............น - ผรู้ ่วมพิธพี ร้อมกนั ณ พระอุโบสถ เวลา.............น - ประธานฯ เดินทางถึงบริเวณพธิ ี (ลงจากรถ) - เจ้าหน้าที่บรรเลงหรอื เปิดเพลงมหาฤกษ์ - ประธานฯ เดินทางไปยงั ด้านหนา้ พระอุโบสถ - ประธานฯ ยืนประจาจุดดา้ นหน้าพระฉายาลกั ษณ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่โตะ๊ หมู่ - เจ้าหนา้ ที่ สั่ง ถวายความเคารพพระบรมฉายาลักษณ์ฯ - ประธานฯ เปิดกรวยดอกไมถ้ วายราชสกั การะ - ประธานฯ รบั ผา้ พระกฐนิ พระราชทาน อุ้มประคอง ยืนตรง (ดนตรีบรรเลงเพลงสรรเสรญิ พระบารม)ี จบแล้ว
- ประธานเดนิ เข้าสูพ่ ระอโุ บสถ วางผ้าพระกฐนิ ทีพ่ าน แวน่ ฟ้าหน้าพระสงฆ์รูปที่ ๒ - จดุ ธูปเทียนบชู าพระประธานพระอโุ บสถ กราบ ๓ ครัง้ - ลกุ ขึ้นหนั ไปอมุ้ ประคองผา้ พระกฐนิ ประนมมือผินหนา้ ไปทางพระประธานพระอโุ บสถ กล่าว นะโม (๓ จบ) แลว้ ผนิ หนา้ มาทางพระสงฆ์ กล่าวคาถวายผ้าพระกฐิน จบแล้ว - วางผ้าพระกฐนิ บนพานแวน่ ฟ้าหนา้ พระสงฆร์ ปู ที่ ๒ ยกท้งั พานประเคนพระสงฆ์รปู ที่ ๒ เสร็จแล้ว ประเคนเทียนพระปาฏโิ มกข์ กลับไปนัง่ ณ ทีร่ บั รอง - พระสงฆก์ ระทาพธิ อี ปโลกนกรรม และลงไปครองผ้า เสร็จแล้วข้นึ มานั่ง ณ อาสนะสงฆ์ - ประธานพิธีเขา้ ไปถวายบริวารกฐินแด่พระสงฆท์ ่เี ป็น เจ้าอาวาส เสร็จแล้ว - ผู้ร่วมพิธีถวายจตปุ จั จัยไทยธรรมแด่พระสงฆ์ - ประกาศยอดเงินถวายพระสงฆแ์ ละปจั จยั บารุง พระอาราม (โดยทั่วไปให้เจา้ หน้าท่ีการเงนิ หรอื ศาสนพธิ กี รเป็นผ้ปู ระกาศ) - ประธานถวายใบปวารณาแดเ่ จ้าอาวาส พระสงฆ์ อนโุ มทนา ประธานพิธกี รวดนา้ -รับพร - หากมีการมอบเงินหรอื สิ่งชองบารุงการศึกษา
แกโ่ รงเรียน ใหม้ อบในขณะนี้ - ประธานพธิ กี ราบลาพระรัตนตรัย กราบลาพระสงฆ์ เปน็ เสร็จพธิ ี หมายเหตุ : ขา้ ราชการ แตง่ เคร่ืองแบบชดุ ปกติขาว ประชาซนทั่วไป แตง่ กายชุดสภุ าพ
คำประกำศ นมัสการ............................................และเรียนผมู้ จี ติ ศรทั ธาทุกทา่ น ในการท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานผ้าพระกฐินให้................................................... นามาถวาย พระสงฆ์จาพรรษาถ้วนไตรมาศ ณ พระอารามนี้ เพื่อเป็นการทานุบารุง พระพุทธศาสนา จึงขอปวารณาถวายจตุปัจจัยถวายพระราชกุศล มีรายการ ดงั ตอ่ ไปนี้ - ถวายบารุงและบูรณะพระอาราม................................................บาท - ถวาย..........................องค์ครอง..................................................บาท - ถวายพระคสู่ วด...........รปู ๆ ละ................บาท............................บาท - ถวายพระอันดับ...........รปู ๆ ละ................บาท...........................บาท - ถวายสามเณร..............รูปๆ ละ................บาท............................บาท - บารงุ โรงเรียน..............................................................................บาท - ให้ทนุ การศึกษา...........................................................................บาท - ค่าใชจ้ ่ายอนื่ ๆ (ถ้ามี)....................................................................บาท รวมทง้ั สิ้น.....................................................บาท ตัวอักษร (..........................................................................) จงึ ประกาศเพ่อื พระภิกษุสงฆ์ท้ังปวง อบุ าสก อุบาสกิ า และผมู้ ีจิตศรัทธา ทกุ ทา่ นได้โปรดทราบ และอนุโมทนาโดยท่ัวกนั * พระคุณเจา้ ทเ่ี คารพอย่างยิง่ ใช้กับสมเด็จพระราชาคณะ และรองสมเด็จพระราชาคณะ * พระคณุ ทา่ นทเ่ี คารพอย่างสงู ใชก้ บั พระราชาคณะ (ช้ันสามญั ช้ันราช ชนั้ เทพ ชน้ั ธรรม) * พระคุณทา่ นทีเ่ คารพ ใชก้ บั เจ้าอาวาส (พระคร)ู
บทพธิ ีกรงานกฐินสามคั คี พธิ กี ร นมัสการ พระคณุ เจา้ ท่ีเคารพอย่างสูง เรียน......(เจ้าภาพกฐิน).... และทา่ นผู้มีเกยี รตทิ เ่ี คารพทุกท่าน คุณ.......(เจ้าภาพกฐิน)........ ......มีศรัทธาเลื่อมใสใ น พระพุทธศาสนา พร้อมพุทธศาสนิกชนผู้มีจิตศรัทธาทุกหมู่เหล่า ได้จัดกฐิน สามัคคี มาทอดถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ผู้จาพรรษากาลถ้วนไตรมาส ณ วัด............................. ตาบล....................อาเภอ................จังหวัด.................. โดยมวี ัตถุประสงค์ ๑. เพ่อื บาเพ็ญกาลทาน ถวายผ้ากฐนิ ตามพระบรมพุทธานุญาตขององค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ๒. เพ่ือนารายได้สมทบทุน...........(ตามวตั ถุประสงคข์ องกฐนิ ).......... บัดนี้ ได้เวลาอันเปน็ มหามงคลแล้ว ขอเรยี นเชิญ.........(เจ้าภาพกฐิน).... (ถวายสกั การะ พระเดชพระคณุ ..........(กรณีมีพระเถระเป็นประธานสงฆ์.............) จดุ ธูปเทียนบชู าพระรัตนตรรยั และถวายตาลปัตรแด่ ........(ช่ือประธานสงฆ์)...... เจ้าอาวาสวดั .................................. ตามลาดบั ขอเรยี นเชิญครบั - เจ้าภาพกฐนิ จุดธปู เทียนบชู าพระรตั นตรัย กราบ ๓ ครัง้ - ถวายผ้าห่มพระประธาน ณ บรเิ วณโต๊ะหมู่บชู า/หรอื มอบให้ไวยาวจั กร - ถวายตาลปตั รแด่ประธานสงฆ์ แล้วกลับเข้าทน่ี ่งั รับรองประธาน - อศจ.อาราธนาศลี - ประธานสงฆใ์ ห้ศีล - ประธานในพิธแี ละผู้ร่วมพธิ ีรบั ศลี
พธิ ีกร - ลาดับต่อไป เรยี นเชิญ...(เจา้ ภาพกฐนิ )... ยกผา้ ขนึ้ ประคอง ระหว่างแขน ประนมมอื หันหนา้ ไปทางพระพุทธปฏิมาประธาน ต้ัง “นะโม” ๓ จบ เสร็จแล้ว หนั หน้าไปทางพระสงฆ์ นากลา่ ว คาถวายผา้ กฐิน ขอเรยี นเชิญครบั - จบแลว้ พระสงฆ์รบั “สาธ”ุ พร้อมกนั พธิ กี ร - ลาดบั นี้ เรียนเชญิ ...(เจ้าภาพกฐนิ ).........นาผ้ากฐินไปวางบนพาน แวน่ ฟา้ ยกประเคนพระสงฆ์รูปท่ี ๒ และประเคนเทยี นปาตโิ มกข์ แลว้ กลับเข้าทน่ี ่งั รบั รองตามลาดบั ขอเรียนเชญิ ครับ - พระสงฆ์กระทาอปโลกนกรรม (ผู้รว่ มพิธไี มต่ อ้ งประนมมือ) พธิ ีกร - เรยี นเชญิ ...(เจ้าภาพกฐนิ ).... ได้ถวายเครื่องบริวารกฐินแด่พระสงฆ์ องคค์ รองกฐิน และถวายผา้ ไตรแดพ่ ระคสู่ วด ๒ รปู ขอเรียนเชิญครบั พธิ กี ร - ลาดบั ต่อไป เรยี นเชิญ.........(ผู้ร่วมพิธตี ามจานวน)......... ถวายเครื่อง ไทยธรรมแด่พระสงฆ์ จานวน.............รปู - พธิ กี ร อ่านปวารณาปัจจยั บารงุ วัด พธิ ีกร - เรียนเชญิ ...(เจา้ ภาพกฐนิ )......ถวายใบปวารณาแด.่ ..(ประธานสงฆ)์ .. เจา้ อาวาสวดั .................................. พธิ กี ร - ต่อไป พระสงฆจ์ ะไดอ้ นุโมทนาให้พร เรียนเชิญ......เจา้ ภาพกฐนิ ...... ได้กรวดน้ารับพร - พระสงฆอ์ นโุ มทนา (บางคร้ังพระสงฆก์ ล่าวสัมโมทนียกถากอ่ น) - เจ้าภาพกฐนิ กรวดน้า – รบั พร
พธิ กี ร - ลาดบั ต่อไป เรียนเชิญ......(เจ้าภาพกฐิน)..........กราบพระรตั นตรยั ณ โตะ๊ หมู่บชู าและลาประธานสงฆ์ เจ้าอาวาสวัด....................... ตามลาดบั ขอเรียนเชิญครบั - เสรจ็ พิธี -----------------------
Search
Read the Text Version
- 1 - 48
Pages: