Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3. หลักสูตรชั้นนายร้อย

3. หลักสูตรชั้นนายร้อย

Published by ตำราเรียน, 2019-11-16 17:51:58

Description: 3. หลักสูตรชั้นนายร้อย _ปรับปรุง ๕๗_

Search

Read the Text Version

๑ กองทพั บก วชิ า การศาสนาและศลี ธรรม หลักสูตรช้ันนายรอ้ ย (RELIGION AND MORALITY OFFICER BASIC COURSE) จัดทาํ โดย กองอนศุ าสนาจารย์ กรมยุทธศกึ ษาทหารบก เม่อื ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๗

ก คํานาํ ตาํ ราวิชาการศาสนาและศีลธรรม สําหรับหลักสูตรนายร้อย กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธ ศึกษาทหารบกได้รวบรวมเรียบเรียงเพื่อใช้เป็นหลักฐานทางวิชาการและประกอบการเรียนการ สอนในหลกั สตู รนายรอ้ ย ของโรงเรียนเหล่า สายวิทยาการและหนว่ ยจดั การศึกษาของกองทัพบก เนื้อหาสารธรรมในตําราเล่มน้ี นอกจากจะเป็นประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าของผู้เข้ารับ การศึกษาแล้ว ยังมุ่งประโยชน์ต่อผู้สนใจในพระพุทธศาสนาท่ัวไปอีกด้วย เพราะเกี่ยวข้องกับ หลักธรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาตนให้เป็นคนดีและมีความสุข ซึ่งผู้ศึกษาสามารถนําไป ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดําเนินชีวิตประจําวันและการปฏิบัติหน้าท่ีในฐานะกําลังพลของ กองทพั บกอีกด้วย กองอนุศาสนาจารย์ กรมยทุ ธศึกษาทหารบก ตลุ าคม ๒๕๕๗

ข . สารบญั . หนา้ คํานาํ ก ขอบขา่ ยรายวิชา..............................................................................................................ง บทท่ี ๑ พระพุทธศาสนากบั ความม่ันคงของชาติ ............................................................. ๑ หลักธรรมทส่ี ง่ เสรมิ ความม่ันคงของชาติ..................................................................................................๒ หลกั ธรรมสง่ เสริ มความมน่ั คงทางเศรษฐกิจ ............................................................................................๒ หลกั ธรรมสง่ เสริ มความมนั่ คงทางสังคม ..................................................................................................๓ หลักธรรมสง่ เสริ มความม่นั คงทางการเมือง.............................................................................................๙ หลักธรรมส่งเสริ มความมัน่ คงทางการทหาร.........................................................................................๑๑ บทที่ ๒ คณุ ธรรมของผู้นาํ .................................................................................................................๑๒ พรหมวิหาร ๔.......................................................................................................................................๑๓ สงั คหวตั ถุ ๔.........................................................................................................................................๑๓ อคติ ๔..................................................................................................................................................๑๕ สาราณยี ธรรม ๖...................................................................................................................................๑๕ อปริหานิยธรรม ๗ ................................................................................................................................๑๖ สัปปรุ สิ ธรรม ๗.....................................................................................................................................๑๗ จกั รวรรดธิ รรม ๕..................................................................................................................................๑๙ บทท่ี ๓ กฏแห่งกรรม.....................................................................................................๒๐ ความหมายและความสาํ คญั ของเร่อื งกรรม ..........................................................................................๒๑ ประเภทของกรรม ................................................................................................................................๒๑ การให้ผลของกรรม............................................................................................................................... ๒๒ เกณฑต์ ัดสินกรรมดีกรรมช่ัว.................................................................................................................๒๒ บทที่ ๔ หลกั การบาํ เพญ็ บญุ ในพระพทุ ธศาสนา.............................................................๒๓ ความหมายของบุญและบาป ................................................................................................................๒๔ บญุ กริ ิยาวัตถุ ๓ – บญุ กริ ิยาวัตถุ ๑๐...................................................................................................๒๔ หลักใหญ่ในการเจริญวปิ สั สนากรรมฐาน..............................................................................................๒๗

ค บทที่ ๔ คณุ คา่ ของพธิ ีกรรม..................................................................................................๓๒ พธิ ีกรรมส่ือวินยั ....................................................................................................................................๓๓ พธิ กี รรมเป็นจุดหมายใหต้ ้งั ใจเริม่ ทาํ การอยา่ งจรงิ จงั ...........................................................................๓๔ พธิ กี รรมเป็นวินยั พ้นื ฐานและนําคนใหป้ ระสานเขา้ ในชวี ติ ชมุ ชน .........................................................๓๔ พธิ กี รรมเปน็ เครือ่ งนอ้ มนําศรัทธาท่ีนําพาให้เข้าถงึ ธรรมทีส่ ูงขน้ึ ไป.......................................................๓๕ พิธีกรรมเป็นโอกาสทีจ่ ะปรากฏตัวและให้ธรรม....................................................................................๓๖ พธิ ีกรรมเป็นรูปแบบทีจ่ ะสือ่ ธรรมสาํ หรับคนหมูใ่ หญ.่ ............................................................................๓๗ การกลา่ วคาํ อาราธนาในพุทธศาสนพิธี..................................................................................................๓๙ เอกสารอา้ งองิ ...............................................................................................................๔๐ ภาคผนวก .....................................................................................................................๔๑ แบบประเมนิ ความรู้หลังเรยี น...............................................................................................................๔๒ คณะกรรมการตรวจชาํ ระตํารา ............................................................................................................๔๗

ง ความมุ่งหมาย : ขอบข่ายรายวิชา วิชาการศาสนาและศีลธรรม (หลักสตู รนายร้อย) 7 ชั่วโมง เพ่อื ใหม้ คี วามรูเ้ กีย่ วกบั พุทธธรรม เพอื่ ชวี ิตและสังคม สามารถนาํ หลกั ธรรม ประยุกต์ใช้ดําเนนิ ชวี ติ ครองตนใหเ้ ปน็ คนดี มคี วามสขุ เร่อื งและความหมาย ชม. / ชนิด ขอบเขตการสอน หลักฐาน การสอน -พระพุทธศาสนากับ -หลักธรรมที่ส่งเสรมิ ความมน่ั คงของชาติ - วิชาการศาสนาและศลี ธรรม ความม่นั คงของชาติ 1 สช. -ดา้ นเศรษฐกิจเช่นทิฏฐธมั มิกัตถประโยชน์ ของ กอศจ.ยศ.ทบ. -ดา้ นสังคม เช่น เบญจศลี -เบญจธรรม - ศาสนพธิ ขี องกอศจ.ยศ.ทบ. -ด้านการเมอื ง เช่นพรหมวิหารธรรม พทุ ธธรรมของ พระธรรมปิฎก -ดา้ นการทหาร เช่น ความเสียสละ (ป.อ.ปยุตโต) -พรหมวิหาร ๔ -พธิ ีกรรมใครว่าไมส่ ําคัญ ของพระ -สงั คหวัตถุ ๔ ธรรมปฏิ ก (ประยุทธ์ ปยุตโต) -อคติ ๔ -คุณธรรมของผู้นํา ๒ สช. -สาราณียธรรม ๖ -อปหานยิ ธรรม ๗ -สปั ปรุ ิสธรรม ๗ จักรวรรดธิ รรม ๕ -กฏแห่งกรรม ๑.5 สช. -ความหมายและความสําคญั ของเรือ่ งกรรม -หลักการบําเพ็ญบุญ ๑ สช. -ประเภทของกรรม ในพระพุทธศาสนา -การให้ผลของกรรม -เกณฑต์ ัดสินกรรมดกี รรมชัว่ -ความหมายของบญุ –บาป -บญุ กริ ิยาวัตถุ ๓ –บญุ กริ ยิ าวัตถุ ๑๐ -ความมุ่งหมาย,องค์ประกอบและผลของ ทาน-ศลี -ภาวนา -การเจรญิ วิปัสสนากรรมฐานตามหลกั สติปัฏ ฐาน ๔

จ เร่อื งและความหมาย ชม. / ชนิด ขอบเขตการสอน หลักฐาน การสอน - คุณคา่ ของพธิ ีกรรม ๑ สช. - -ความมุงหมายของพธิ ีกรรม -พิธกี รรมส่ือวินยั -พธิ กี รรมเปน็ จดุ นัดหมายแหง่ การเริ่มทาํ กจิ กรรม -พิธกี รรมเปน็ วินัยพนื้ ฐานและนาํ คนให้ ประสานเข้าในชวี ิตชุมชน -พีกรรมเป็นเคร่ืองน้อมนําศรัทธา -พิธีกรรมเป็นโอกาสแห่งการสอื่ ธรรมแก่ มหาชน -วินยั สอื่ ธรรม -การกลา่ วคาํ อาราธนาในพุทธศาสนพิธี - การสอบวดั ผล 0.5 สช. - สอบความรทู้ ี่เรียนมาท้งั หมด

๑ พระพทุ ธศาสนากบั ความม่ันคงของชาติ สาระการเรียนรู้ ๑. ความสําคญั ธรรมะกบั ความมั่นคงของชาติ ๒. ธรรมะกบั ความมนั่ คงทางเศรษฐกจิ ๓. ธรรมะกบั ความมน่ั คงทางสงั คม ๔. ธรรมะกับความมน่ั คงการเมืองการปกครอง ๕. ธรรมะกบั คงทางทหาร ผลการเรียนร้ทู ่ีคาดหวัง ๑. ไดเ้ ขา้ ใจหลักธรรมทางพุทธศาสนา ๒. ได้ศกึ ษาหลกั ธรรมทางพทุ ธศาสนาทม่ี คี วามเก่ยี วข้องกับสถาบันต่าง ๆ ๓. นําหลักธรรมท่ีไดเ้ รียนรู้ มาพัฒนาด้านพฤตกิ รรม ๔. มกี ารเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมเชิงบวก ๕. มคี วามมั่นคงและศรทั ธาในพุทธศาสนามากย่งิ ข้นึ กิจกรรมระหว่างเรยี น ๑. บรรยาย ๒. สอบถาม ๓. ใบงาน สอ่ื การสอน ๑. เพาเวอรพ์ อยท์ ๒. เอกสารตาํ รา ๓. คลิปวีดโิ อทีเ่ ก่ียวข้อง ประเมินผล ๑. ให้ตอบคาํ ถาม ๒. แบบทดสอบหลังเรยี น

๒ หลักธรรมทสี่ ่งเสริมความมัน่ คงของชาติ ความมั่นคงของชาติเปน็ พื้นฐานของความสขุ ความเจรญิ ในทกุ ๆดา้ น ดุจคนท่มี สี ุขภาพร่างกายดี ยอ่ ม นาํ มาซึง่ ความสุขความเจรญิ อน่ื ๆ องค์ประกอบแหง่ ความมั่นคงของชาติ (๑) เศรษฐกจิ (๒) สังคม (๓) การเมอื งการปกครอง (๔) การทหาร ศาสนากับความมัน่ คงของชาติ การสร้างความมั่นคงใหแ้ ก่ชาตบิ า้ นเมืองน้นั ปจั จยั สําคญั อย่ทู ี่คนในชาตินนั้ ๆ วา่ จะมีคณุ ภาพมาก น้อยเพียงใด ประเทศใดประชาชนของชาติมีประสทิ ธิภาพ การสร้างความเจรญิ มน่ั คง กย็ อ่ มเปน็ ไปได้โดยง่าย ตรงกนั ขา้ ม ถา้ คนในชาติขาดคณุ ธรรม การพฒั นาใหเ้ กดิ ความมน่ั คง กย็ อ่ มจะเปน็ ไปได้ โดยยากหรอื อาจเป็นไปไม่ได้เลย ศาสนาเปน็ เรื่องของคุณธรรม หรอื อดุ มการณ์ เมอื่ เกิดขน้ึ ในจติ ใจของผใู้ ด ยอ่ มกลอ่ มเกลา หลอ่ หลอมให้บคุ คลผนู้ ้ันเปน็ คนมคี ณุ ภาพ หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาทีเ่ กอื้ กลู ตอ่ การสรา้ งความมนั่ คงของชาติมหี ลายประการ จะนํามากล่าว เฉพาะท่ีสาํ คัญ ๆ บางประการดังต่อไปนี้ ๑.ธรรมเพอ่ื ความม่ันคงทางเศรษฐกิจ ก. ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถประโยชน์ ๔ ประโยชน์ในปจั จบุ ัน (การสร้างตัว) พระพทุ ธศาสนาสอนให้คนพึง่ ตนเอง ความสําเร็จทกุ อยา่ ง ย่อมเป็นผลจากการกระทําของแต่ละคน มใิ ช่ได้ดว้ ยการออ้ นวอนผูศ้ ักด์ิสิทธิ์เบ้อื งบนใหป้ ระทานลงมา พระพทุ ธเจ้าทรงสอนให้ คนสร้างตวั ใหส้ าํ เร็จ ผ้ทู ีส่ รา้ งตัวเองใหเ้ ปน็ หลักฐานม่นั คงไม่ได้ ยอ่ มยากที่จะปฏิบตั ิธรรมะช้ันสูงข้นึ ไปใหไ้ ดผ้ ลดี นอกจากไม่ สามารถจะนําตวั เองและครอบครัวใหป้ ระสบความสุขแลว้ ยังเป็นภาระของสังคมอกี ด้วย การสรา้ งตัว การสร้างตวั คือ การจดั การเศรษฐกิจใหก้ บั ตัวเอง ทางพระพทุ ธศาสนา พระพุทธองค์ไดท้ รงวางหลักไว้ ๔ อยา่ ง คอื ๑. อุฏฐานสมั ปทา ถงึ พรอ้ มดว้ ยความ หม่ัน คือ ถึงพรอ้ มด้วยความหมั่น จะศกึ ษาเล่า เรยี น หรือประกอบอาชีพใด ๆ ก็ตามความหมัน่ ขยนั นี้ เปน็ สง่ิ สาํ คญั ทสี่ ดุ ทจ่ี ะให้ไดร้ ับผลสาํ เร็จเราตอ้ งการ ทรัพย์ ตอ้ งการความสขุ ตลอดจนความเคารพรกั จากผ้อู ่ืน เราจะไดส้ ง่ิ เหล่านน้ั มาด้วยความหมั่นขยนั ยนั ๒. อารกั ขสมั ปทา ถึงพรอ้ มด้วยการรักษา เชน่ รกั ษาทรพั ย์ทีห่ ามาไดไ้ มใ่ ห้สญู หาย ประหยดั ใช้ ให้เกิดประโยชน์ รกั ษาหน้าทขี่ องตนมใิ ห้เสอื่ มเสยี มที รพั ย์แล้วตอ้ งรักษาทรพั ยท์ มี่ ีไว้ ทรัพยจ์ ึงจะมากขึน้ ไปได้ มีวชิ าแลว้ ตอ้ งรักษา ดว้ ยวธิ นี าํ ออกใชใ้ หเ้ หมาะ วชิ าจงึ จะรงุ่ เรอื ง ๓. กัลยาณมติ ตตา ความมคี นดเี ปน็ มิตร คนที่มีทรพั ยแ์ ละรกั ษาไว้ได้ แต่ขาดเพอ่ื น กค็ บั แคบ มเี พ่ือนไม่ดี ก็ทาํ ให้เสยี ตัว เสยี ความประพฤติ และเสียทรพั ยส์ มบตั ไิ ด้ แตถ่ า้ มีเพ่ือนดี กจ็ ะเปน็ การ สนบั สนุนให้อาชพี ร่งุ โรจน์ได้ ทั้งยงั คอยป้องกนั ชว่ ยเหลอื ในยามตกทุกข์ไดย้ ากอกี ด้วย ๔. สมชีวติ า การครองชีพเหมาะสม คือใช้จา่ ยตามควรแกร่ ายได้ ไม่ฟมุ่ เฟือยหรือ ฝดื เคอื งเกนิ ไป คนจ่ายทรพั ย์เกินกําลัง หรือไมจ่ ําเปน็ แตย่ งั ขนื จา่ ย เรยี กวา่ ฟุ่มเฟือย เป็นสาเหตุใหเ้ กิด หนส้ี ินและทุจริต คนทที่ นอด ทนหิว หรือจําเป็นแล้วไมจ่ ่าย เป็นการฝดื เคอื งเรียกว่า ตระหนี่ ผู้ ประหยัดทรัพย์ ใช้จ่ายในสิง่ ที่จาํ เป็นและสมควร ทําใหเ้ กิดผลคุ้มคา่ ของเงินทีจ่ า่ ยไป ชอื่ วา่ เปน็ ผคู้ รองชีวติ เหมาะสม

๓ ผู้ประพฤตหิ ลกั ธรรมการสรา้ งตวั ทง้ั ๔ นีใ้ หเ้ ต็มที่ ย่อมสร้างตวั ไดส้ าํ เร็จ แมฐ้ านะทางการ ศกึ ษา และทางสงั คมของแต่ละคนจะแตกต่างกันเพยี งใดก็ตาม หลักธรรม ๔ ข้อน้ีจะชว่ ยใหผ้ ู้ปฏบิ ัติสามารถ สร้างตวั ได้ตามฐานะนั้น ๆ ถา้ ถอื คตวิ า่ “สรา้ งทกุ อย่างที่สร้างสรรคข์ ้ึนมาได้ รกั ษาทุกอย่างทีจ่ ะรักษาไวไ้ ด้ เสียสละทกุ อยา่ งทจ่ี ะเสยี สละได้” กย็ ่อมเป็นบุคคลทส่ี รา้ งตนไดอ้ ย่างสมบรู ณ์แท้ ข. หลกั ความสุขของผคู้ รองเรือน (๑) สขุ เกิดแตก่ ารมที รัพย์ (๒) สขุ เกดิ แตก่ ารใช้จ่ายทรพั ย์ (๓) สขุ เกดิ แต่การไม่เปน็ หน้ี (๔) สขุ เกิดจากความประพฤตไิ ม่มีโทษ ค. หลกั การใชจ้ ่ายทรพั ย์ (๑) เลยี้ งตวั บดิ ามารดา บตุ ร ภรรยาและคนอาศยั ใหเ้ ป็นสขุ (๒) เล้ียงเพ่อื นฝงู ให้เป็นสุข (๓) บําบัดอันตรายทเี่ กดิ ขน้ึ แต่เหตุต่าง ๆ (๔) ทาํ พลีกรรม ( การเสียสละ ) ๕ อย่าง คอื ก.ญาตพิ ลี - สงเคราะหญ์ าติ ข.อติถพิ ลี - ตอ้ นรบั แขก ค.ปพุ พเปตพลี - อทุ ิศส่วนกุศลใหแ้ ก่บรรพบุรษุ ง.ราชพลี - บาํ รงุ ราชการด้วยการเสียภาษีอากร เป็นต้น จ.เทวตาพลี - ถวายเทวดา คือ สกั การะ บาํ รงุ หรอื ทําบุญอุทศิ สิง่ ทเี่ คารพบูชาตาม ความเชื่อถือ (๕) อปุ ถมั ภ์บาํ รงุ สมณะพราหมณผ์ ู้ประพฤตดิ ี ง. หลกั การรกั ษาทรพั ยส์ มบตั ิ (ก) เวน้ อบายมขุ ๖ (ข) ปฏบิ ัตติ ามหลักของตระกูลท่ีม่ันคง ก) อบายมขุ ๖ (๑) ติดสุราและของมึนเมา (๒) ชอบเท่ยี วกลางคนื (๓) ชอบเท่ียวดกู ารละเลน่ (๔) ตดิ เล่นการพนัน (๕) คบคนช่ัวเป็นมิตร (๖) เกียจครา้ นทาํ การงาน ข) หลักการของตระกลู ทีต่ ้งั มนั่ (๑) ของหายของหมดรู้จกั หามาไว้ (๒) ของเกา่ ชาํ รุด ร้จู ักบรู ณะซ่อมแซม (๓) รู้จักประมาณในการกินการใช้ (๔) ต้งั ผมู้ ีศีลธรรมให้รบั ผิดชอบครอบครวั ๒.ธรรมะเพอื่ ความมัน่ คงทางสงั คม ก. เบญจศลี เบญจศลี หมายถงึ ข้อปฏิบัตสิ าํ หรับละเว้นการทาํ ความชว่ั ๕ ประการ เพราะคนที่จะไดช้ อื่ วา่ เปน็ ผู้มคี วามดีอยา่ งสมบรู ณ์นั้น นอกจากจะละเวน้ การทาํ ความช่วั แลว้ ยงั ต้องกระทําคณุ ความดีด้วย

๔ ศีลธรรม คือข้อปฏบิ ตั ิเพื่อฝึกหัดกล่อมเกลานิสยั จติ ใจของคนให้ประณตี มมี ากมายหลายประการ แตเ่ ม่อื กลา่ วถึงศลี ธรรมพืน้ ฐาน ทสี่ มควรจะปลูกฝังใหเ้ กิดมกี อ่ นหลักธรรมอื่น ๆ มี ๒ ประการคอื เบญจศลี และเบญจธรรม ซึ่งเปน็ ข้อปฏิบัตเิ บอ้ื งตน้ ทคี่ นควรยดึ ถือทําตาม เพ่ือความสงบสขุ ของชีวิตและสังคมโดย ส่วนรวม หลักแห่งพระพทุ ธโอวาทคอื หลักการที่เราจะปฏบิ ัติตามคําสอนของพระพทุ ธศาสนา มี ๓ ข้อ ใน หลกั ทัง้ ๓ ข้อน้ี ถา้ พิจารณาถงึ งานที่ทาํ กม็ ีอยู่ ๒ ลกั ษณะ คอื ๑. เว้นจากการทําคามชัว่ ๒. บาํ เพญ็ คณุ ความดี ความชัว่ เป็นข้อควรเว้นเป็นเบ้อื งต้น คอื การทําผดิ ศลี หา้ ส่วนคุณความดีที่ควรบําเพญ็ คอื ธรรม ในทีน่ ้ีทา่ นแสดงไว้ ๕ ขอ้ คูก่ ับศีล ศลี ๕ เรยี กว่า เบญจศลี และธรรม ๕ เรียกว่า เบญจธรรม เบญจศีล หรือ ศีล ๕ ประการ ในบางแหง่ ท่านเรยี กศลี หา้ วา่ นิจศลี คอื เป็นศลี ทีท่ กุ คน ควรรกั ษาเป็นนจิ คือ ๑. ปาณาตปิ าตา เวรมณี เจตนางดเวน้ จากการฆ่าสตั ว์ คอื ละเวน้ การฆา่ การสงั หาร ไม่ประทษุ รา้ ย ต่อชวี ิตและร่างกาย ทั้งน้รี วมถงึ การไมท่ าํ รา้ ยร่างกาย การทรมาน การใชแ้ รงงานของคน และสตั ว์จนเกิน กําลังความสามารถดว้ ย ๒. อทนิ นฺ าทานา เวรมณี เจตนางดเวน้ จากการลกั ทรัพย์ คอื ละเว้นการลกั ขโมย เบียดเบียนแยง่ ชิง ไม่ประทุษร้ายต่อทรพั ย์สิน ท้งั น้รี วมถึงการไมถ่ ือเอาส่ิงของท่เี จา้ ของเขาไมใ่ หม้ าเปน็ ของตนด้วย ไม่วา่ จะ เป็นโดยวิธกี ารหลอกลวง ฉ้อโกง เบยี ดบงั ยักยอก ตลอดจนการทําความเสยี หายใหแ้ ก่ทรพั ย์สินของผูอ้ น่ื โดยมิ ชอบ ๓. กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี เจตนางดเว้นจากการผดิ ประเวณี คือ ละเว้นประพฤติผิดในกาม ไม่ ประทษุ รา้ ยตอ่ ของรักของหวงแหน อนั เปน็ การทาํ ลายเกยี รติภมู แิ ละจติ ใจ ตลอดจนทําวงศต์ ระกูลเขาให้ สับสน หมายถงึ การไมไ่ ปยงุ่ เกย่ี วทางเพศสมั พันธ์กับหญิงหรือชายทม่ี คี คู่ รองแล้ว ผทู้ ่ยี งั ไมบ่ รรลุนติ ภิ าวะ และผู้ ทีก่ ฎหมายคุ้มครอง ๔. มสุ าวาทา เวรมณี เจตนางดเวน้ จากการกลา่ วเท็จ คอื ละเวน้ จากการพูดเท็จโกหกหลอกลวง ประทุษร้ายเขาหรือประโยชน์สขุ ของเขาดว้ ยวาจา หมายถงึ การไมม่ ีเจตนาทีจ่ ะบดิ เบอื นความจริงทกุ อยา่ ง เชน่ ไม่พูดเล่นสํานวนให้คนเข้าใจผดิ ไมอ่ วดอา้ งตนเอง ไม่พูดเกินความจรงิ หรอื ไมพ่ ูดนอ้ ยกว่าท่เี ปน็ จรงิ เปน็ ต้น ๕. สรุ าเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี เจตนางดเวน้ จากการดมื่ นา้ํ เมา คอื สุราและเมรยั อันเป็นทีต่ ั้งแห่งความประมาท คือไม่เสพเครอ่ื งดองของเมาสงิ่ เสพตดิ อันเปน็ เหตุใหเ้ กดิ ความประมาท มวั เมา กอ่ ความฉิบหาย เสยี หายผิดพลาดเพราะขาดสติ หมายถงึ ละเว้นการด่ืมเคร่ืองดื่มทีท่ ําใหต้ นเองครองสติ ไม่อยู่ เช่น เหลา้ เบียร์ น้าํ ตาลเมา และรวมถึงละเว้นการเสพสิง่ เสพติดท้งั หลายดว้ ย ไม่วา่ จะเป็น ยาบ้า บหุ รี่ ฝ่ิน กญั ชา เฮโรอีน เป็นต้น ความหมายของศลี คาํ ว่า ศีล แปลได้มากความหมาย ๆ หน่งึ แปลว่า ปกติ ท่ี “รักษาศลี ” ก็คอื ตัง้ ใจรกั ษาปกติ ของตนนน่ั เอง ต้องทําความเข้าใจเรื่องปกตกิ อ่ น แลว้ จะเข้าใจเรือ่ งรักษาศลี ไดด้ ีขึ้น ทกุ ส่ิงทุกอยา่ งมี ความปกติในตนประจําอยู่ทงั้ นน้ั ดงั ทีจ่ ะยกมาเปน็ ตัวอย่างดงั ต่อไปน้ี ดวงอาทติ ย์ ขนึ้ ทางทศิ ตะวันออกเวลาเช้า สอ่ งแสงสวา่ งอยตู่ ลอดวนั แล้วหายลับไป ทาง ทศิ ตะวันตกในเวลาเยน็ การข้นึ การส่องแสง และการหายลบั ไปอย่างน้ี เป็นปกตขิ องดวงอาทติ ย์ เพราะดวง อาทิตยไ์ ด้เป็นอย่างนอี้ ยู่ทกุ วัน ถ้าดวงอาทิตย์เกิดมีอันเป็นไปอยา่ งอ่ืนนอกจากน้ี กเ็ รยี กว่าผดิ ปกติ เช่น กลางวันเคยสอ่ งแสงกลบั ไมส่ ่องแสง อยา่ งน้ีเปน็ ตน้ เรียกว่า ผดิ ปกติ

๕ การรกั ษาศลี ทง้ั ๕ ข้อ น้ัน การรกั ษาปกตขิ องตนนน่ั เอง ลองยกมาพจิ ารณาดวู ่า ขอ้ ห้ามทง้ั ๕ ข้อ ตรงกันกับปกตขิ องคนใช่หรือไม่ ขอให้พิจารณาทลี ะข้อดงั ต่อไปนี้ ๑. การฆ่ากบั การไม่ฆา่ อยา่ งไหนเปน็ ปกติของคน แน่นอน ปกตขิ องคนตอ้ งไมฆ่ ่ากนั อยา่ งทเ่ี ราอยใู่ นลกั ษณะนีแ้ หละ ไมใ่ ช่ว่าคนเราจะตอ้ งฆา่ กันอยเู่ รือ่ ย ถา้ การฆ่ากนั เปน็ ปกติของคน ตัวเราเองก็ จะถูกคนอ่นื ฆ่าไปนานแลว้ เท่าน้กี เ็ หน็ ไดแ้ ล้วว่า ปกติของคนต้องไม่ฆ่ากัน ส่วนการฆา่ เปน็ การทําผดิ ปกติ โดยนัยน้ี การรกั ษาศลี ขอ้ ที่ ๑ คือ ต้ังใจไม่ฆา่ กค็ ือต้งั ใจอยู่ในปกติเดิมน่ันเอง ๒. การขโมยกบั การไมข่ โมย อยา่ งไหนเป็นปกติของคน การไมข่ โมยน่นั แหละ เป็น ปกติ ปกตขิ องคนตอ้ งทาํ มาหากนิ ไม่ใชแ่ ยง่ กนั กนิ โกงกนั กิน ไมเ่ หมือนไก่ ไกน่ ั้น ถา้ หากินดว้ ยกนั ตง้ั แต่สอง ตวั ขึน้ ไป มนั ต้องแย่งกันกิน ตัวหน่งึ คยุ้ ดนิ หาอาหาร อีกตวั หนึ่งขโมยจิกกนิ ประเดยี๋ วเดียว ตวั คุ้ยก็ตีตวั ขโมย ปกติของไกเ่ ปน็ อย่างน้ี ไมเ่ หมือนปกติของคน เราเป็นคนจะตอ้ งอยใู่ นปกตขิ องคน ถ้าใครคดิ แย่งกันกิน ขโมยกันกนิ กผ็ ิดปกติของคน แต่ไพล่ไปอยใู่ นปกติของไก่ การรักษาศลี ขอ้ ท่ี ๒ คอื ต้งั ใจไม่ขโมยของของคนอื่น ท่ีแท้ กค็ ืออยใู่ นปกติเดิมของตนนัน่ เอง ๓. เก่ยี วกบั ประเวณี ปกติของคนย่อมหวงแหนประเวณี และเหน็ อกเหน็ ใจคนอืน่ ในเรื่องนี้ ไม่เหมอื นพวกเดรัจฉานท่สี อ้ งเสพสาํ ส่อน เพราะปกติของเดรัจฉานเปน็ อย่างนนั้ เปน็ ความจริงใช่หรอื ไม่ มนษุ ยเ์ ราก็จึงตอ้ งอยใู่ นปกติของคน คอื ไมล่ ่วงเกนิ ประเวณี การรักษาศีลขอ้ ท่ี ๓ จงึ เป็น การต้งั อยู่ใน ปกตขิ องตนอีกเหมือนกัน ๔. เก่ยี วกบั การกล่าวเจรจา ตามปกติ เรากล่าวความจริงกันเปน็ พน้ื ไม่ใชโ่ กหกกัน เรอ่ื ยไป เพราะฉะนัน้ การรกั ษาศลี ข้อที่ ๔ คอื ตง้ั ใจงดเว้นการกลา่ วคําเทจ็ ทแ่ี ท้ ก็คอื อยใู่ นปกตเิ ดิมของตน นั่นเอง ๕. เก่ียวกบั การดม่ื สุรา คนเราไม่ใชว่ า่ จะต้องด่มื สุราอยู่เร่ือยอย่างนนั้ ก็หาไม่ เพราะแมค้ นที่ ติดสุราขนาดไหนก็คงทาํ ไม่ได้ ใครขนื ทาํ ก็ตาย ปกตขิ องคนคอื ด่ืมนา้ํ บริสุทธิ์ ไม่ใชด่ ืม่ สรุ า ส่วนการดม่ื สุรานนั้ เป็นการทาํ ผิดปกติ ฉะนัน้ การรกั ษาศลี ข้อท่ี ๕ คอื เวน้ จากการดื่มสรุ า กเ็ ป็นการอยู่ในปกติเดิมของตน อกี นั่นแหละ ศีลวตั ร บางทอี าจจะสงสยั กนั ว่า ทวี่ ่า การรักษาศีล เป็นการรกั ษาปกติ อย่ใู นปกตเิ ดิม แต่เหตุไฉนศีล ๘ ศลี ๑๐ จงึ ห้ามในสิ่งทเี่ ป็นปกตอิ ยู่แลว้ เชน่ หา้ มเสพเมถุน และห้ามรบั ประทานอาหารเย็น เพราะปกติ ของมนุษย์ต้องเสพกาม และต้องกนิ อาหาร จะไม่ค้านกบั ท่ีอธิบายมาแล้วหรือ ? ขอช้ีแจงวา่ ศลี ทแ่ี ปลว่ารกั ษาปกติ นนั้ มงุ่ ถงึ ศลี ๕ โดยตรงเทา่ นัน้ สว่ นศลี ชนั้ สูง สงู กว่าศลี ๕ ข้ึน ไป มีลักษณะและความมุง่ หมายต่างจากศีลห้า เขา้ ลกั ษณะเป็น “วัตร” นกั ศึกษาคงจะเคยได้ยินคาํ วา่ “ศีล วัตร” หรอื “ศีลพรต” หรือคาํ ว่า “บาํ เพญ็ พรต” คําว่า พรต กบั คําว่า วัตร เปน็ คาํ เดยี วกัน หมายถงึ ข้อ ปฏบิ ัตเิ พื่อฝกึ ฝนตนเอง ใหส้ ามารถถอนใจออกจากกามารมณไ์ ด้ทลี ะนอ้ ย ๆ เป็นทางนาํ ไปสู่การละกเิ ลสได้ เด็ดขาดต่อไป ข้อปฏบิ ัตใิ นข้นั วัตร เป็นการฝืนปกตขิ องคนนน้ั ถกู แล้ว ยิ่งวัตรช้ันสงู ชั้นพระภกิ ษุ ยง่ิ ฝืน ปกตเิ อามากทีเดยี ว ผลการรกั ษาศลี ผลของการรักษาศีล เราจะแยกพจิ ารณาเป็น ๓ ลกั ษณะคอื ๑. ผลทางสว่ นตัว การรกั ษาศลี มคี วามม่งุ หมายปรากฏชดั เจนอยู่แลว้ ว่าเป็นการเว้น จาก การกระทําทีไ่ ม่ดี ทัง้ นี้ หมายความวา่ การรกั ษาศลี เปน็ การปอ้ งกันตัวเราไว้ไม่ใหเ้ สือ่ มเสยี ลงไป ขอ้ นเ้ี ปน็ เหตผุ ลตรงตัว เมื่อทา่ นศกึ ษารายละเอยี ดของศลี แตล่ ะขอ้ แลว้ ย่งิ จะเหน็ ไดช้ ัดวา่ การรักษาศลี เป็นการ ป้องกันตัวมใิ หเ้ สื่อมเสยี อย่างดยี ง่ิ เป็นการรกั ษาพนื้ ฐานของชีวิตเพอ่ื ความเจรญิ แกส่ ว่ นตนโดยเฉพาะ และมี ผลตอ่ สังคมโดยรวมอีกต่างหาก ซ่งึ ในท่ีนี้จะไดแ้ สดงถึงพื้น (ฐาน) ของคนและสว่ นประกอบทเ่ี ก่ยี วข้องต่อไป ดังน้ี

๖ พน้ื ของคน การรักษาศลี เปน็ การปรับพ้ืนตัวของผู้รักษาศลี นนั้ เองให้เปน็ คนมีพืน้ ดี เหมาะทจี่ ะสรา้ งความดี ความเจรญิ แกค่ นสว่ นรวมตอ่ ไป พื้น เปน็ ส่ิงสาํ คัญมาก แตค่ นไมค่ ่อยสนใจ การจะทาํ อะไรทุกอย่าง ต้องพจิ ารณาถึง พน้ื เดมิ ของสงิ่ นัน้ ก่อน ตอ้ งทําพนื้ ให้ดี สง่ิ ทท่ี าํ นน้ั จึงจะเด่นดีขน้ึ อยา่ งเวลาเขยี นรูป กอ่ นทจ่ี ะวาดรปู ลงไป ผู้เขยี นต้องลงสพี ้นื ก่อน จะใหพ้ ้ืนเปน็ สอี ะไร ตอ้ งเลือกใหเ้ หมาะ ๆ แล้วกล็ งสพี ้ืน ถา้ พ้นื ไมเ่ ด่น รูปก็ไมเ่ ดน่ ถึงการเขียนหนังสือก็ เหมอื นกัน ต้องใชพ้ นื้ กระดาษท่เี ขยี นได้สะอาดเรยี บร้อยจงึ จะดี ถงึ คน ผ้มู ีลายมอื ดี ถ้าเขยี นลงบนพืน้ เลอะ เทอะเปรอะเป้ือน คณุ ค่าของหนงั สอื ก็ดีไม่ถงึ ขนาด ถนนลาดยาง หรือถนนคอนกรตี ทเ่ี ราสญั จรไปมาอยนู่ ่ี กเ็ หมอื นกนั เวลาทํา นายชา่ งต้องลงพื้นใหด้ ีเสยี กอ่ น ถา้ พน้ื ไมด่ ี ถา้ ทํากันสักแตว่ ่าสุกเอาเผากิน ไม่ช้ากท็ รดุ ตกึ รามใหญ่ ๆ โต ๆ ทเ่ี ราเหน็ กนั อยู่ท่ัวไปกเ็ หมือนกัน พืน้ นั้นสําคญั มาก ต้องตอกเสาเข็มลงรากใหแ้ ข็งแรง ไม่เช่นน้นั จะทรุด และถา้ ลงไดท้ รุดแลว้ จะซอ่ มยากลําบากลาํ บนจริง ๆ ให้ฝาหรือหลงั คาร่วั เสียอีก ดเู หมอื น จะดกี ว่าพ้นื ทรุด เพราะซอ่ มงา่ ยกว่า ลงทนุ นอ้ ยกว่า คนเราก็มีลกั ษณะเหมอื นถนนหนทาง หรืออาคารบ้านเรอื น ดังกล่าวแลว้ ถา้ พื้นดี กด็ ี ถา้ พ้ืนเสยี ก็ เสียหาย คนพน้ื ดี ทาํ อะไรก็ดขี ้นึ ไมว่ ่าจะเลา่ เรยี น หรือเปน็ ขา้ ราชการ ทหาร ตาํ รวจ เปน็ พ่อคา้ ชาวนา ชาวสวน จนกระทง่ั บวชเปน็ พระสงฆ์ ก็มคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ ท่เี รยี กวา่ ทําดีขนึ้ ถ้าไดพ้ ้ืนดแี ลว้ จะดจี รงิ ๆ จึงกล่าวไดว้ ่าโชคลาภในชวี ิตอะไร ๆ ก็ดูจะสู้เปน็ คนท่ีมพี น้ื ดไี มไ่ ด้ และถา้ วา่ ข้างอาภพั คนทีอ่ าภพั ทสี่ ดุ ก็คอื คนทมี่ ีพื้นเสีย ทําอะไรไม่ดขี ้นึ วิธีสงั เกตพน้ื คน การจะดูพ้นื วา่ ดีหรือไมด่ ี เป็นการที่ยากสกั หนอ่ ย เพราะเปน็ ของที่จมอยขู่ ้างลา่ ง หรอื แอบแฝง อย่เู บอื้ งหลัง เหมอื นพื้นรากของโบสถ์ วหิ าร กจ็ มอยใู่ นดิน ไมไ่ ดข้ ึน้ มาลอยหน้าอวดใคร ๆ เหมือนชอ่ ฟา้ ใบระกา แต่ถงึ จะดูยาก เราก็ตอ้ งพยายาม ตอ้ งหดั ดใู หเ้ ป็น วิธีดูพ้ืนของสิ่งตา่ ง ๆ ลว้ นมที ี่สงั เกต คอื สังเกตส่วนทป่ี รากฏออกมาให้เห็นน่ันเอง เชน่ จะดูพืน้ ถนน ว่าดหี รอื ไม่ดี กด็ ูหลุมบอ่ ดูพน้ื ตึก กใ็ ห้ดูรอยรา้ ว เชน่ ถา้ เราเหน็ ตกึ หลังใดมีรอยร้าวตามฝาผนงั เปน็ ทาง ๆ เรา กส็ ันนิษฐานไดว้ ่า รากหรือพน้ื ตึกหลังนนั้ ไมด่ ี รอยรา้ วท้งั หา้ การดพู ้ืนคน ก็ใหด้ ูรอยร้าวเหมือนกัน อาการทเี่ ป็นรอยร้าวของคนทส่ี าํ คัญมี ๕ อยา่ ง ใช้คําเรียก อยา่ งสามญั ได้ ดังน้ี ๑. โหดรา้ ย ๒. มอื ไว ๓. ใจเร็ว ๔. ขี้ปด ๕. หมดสติ ถ้าใครมีรอยร้าวทงั้ ๕ อยา่ งน้ี ปรากฏออกมา ใหพ้ ึงรู้เถอะว่า ผนู้ ้ันเปน็ คนพนื้ เสยี อาคารสถานท่ี ท่ี พ้นื ไม่แขง็ แรง ถ้าปลอ่ ยไวเ้ ป็นท่ีว่างเปล่า เพยี งแต่ทรงตวั ของมันอยบู่ างทกี อ็ ยู่ได้ คือ ทรงรูปร่างอยู่ได้ไมท่ รดุ ไม่พัง แตเ่ วลาใช้การ เชน่ มคี นข้ึนไปอยู่ หรอื นําสง่ิ ของข้ึนไปเก็บ อาคารจะทนไมไ่ หว ประเด๋ยี วก็ทรุด พลาดท่า พังครืนทัง้ หลัง เคยมีตวั อย่างมาแลว้ ผทู้ พ่ี น้ื เสยี ก็เหมือนกนั ลําพังเขาเองก็อยู่ได้ แตพ่ อมหี นา้ ทตี่ อ้ งรองรบั เข้า ก็ทนไมไ่ หว การรักษาศีล ๕ เป็นเรอื่ งของการทําพ้นื ตวั โดยตรง พื้นตึก นายช่างสรา้ งด้วยไม้ ดว้ ยหิน ปูน ทราย และเหล็ก แตพ่ ื้นคน ต้องสรา้ งดว้ ยศลี ลงศีลหา้ เป็นพน้ื ไวเ้ สยี แล้ว รอยรา้ วทงั้ ห้าจะไม่ปรากฏ

๗ ๒. ผลทางสังคม การอยู่ร่วมกันของมนุษย์ ซง่ึ เรียกว่า สงั คม ตง้ั แตส่ ว่ นน้อย จนกระทั่งถงึ ส่วนใหญ่ จะมคี วามสขุ ความเจริญได้ ตอ้ งมคี วามสงบ (สนั ต)ิ เปน็ พืน้ ฐาน ถ้าความสงบมสี ขุ อ่ืน ก็มขี ้นึ ได้ ถ้าไมม่ คี วามสงบแลว้ สุขอืน่ กพ็ งั ทลาย ดงั น้นั ความสงบ หรือสนั ติ จงึ เปน็ สิ่งท่ีสงั คมต้องการอย่างยง่ิ กค็ วามสงบของสังคมนน้ั ย่อมมาจากคนในสงั คมแตล่ ะคนนัน่ เองเปน็ ผสู้ งบ ถ้าคนในสังคมเป็นผไู้ ม่ สงบแลว้ ความสงบของสงั คมจะมีไม่ไดเ้ ลย คนรกั ษาศลี ก็เป็นคนทาํ ความสงบแก่ตนเอง คอื ทําตนเองใหส้ งบ และการทําตนเองใหส้ งบ ก็ เท่ากับสรา้ งความสงบให้แกส่ งั คมโดยตรงน่ันเอง ๓. ผลทางประเทศชาติ การดํารงรกั ษาประเทศชาติ มีภาระสําคญั ยิ่งอยู่ ๒ ประการ คอื ๓.๑ การบาํ รงุ ให้ประเทศชาติเจริญ เชน่ การเสริมสร้างการศกึ ษา การบําบดั ทุกข์บาํ รุงสขุ การ สง่ เสรมิ อาชีพ เป็นตน้ และ ๓.๒ การรกั ษา คอื ปอ้ งกันการรุกรานจากศัตรู ทั้ง ๒ ประการนรี้ วมเรียกวา่ บํารงุ รักษาประเทศชาติ ได้มผี ขู้ ้องใจอยู่ว่า การที่คนรกั ษาศลี ทําให้ การบาํ รุงรักษาประเทศชาติไมไ่ ด้ผลเต็มท่ี ทค่ี ดิ ดงั น้เี ป็นเพราะคดิ แง่เดียว คือนกึ ถงึ ตรงทป่ี ระหตั ประหาร ข้าศึกเท่านั้น ซ่ึงความจริงแล้วการบาํ รุงรักษาชาติ ยงั มอี ีกรอ้ ยทางพันทางซง่ึ มคี วามสงบเปน็ พื้นฐาน และ เราได้ความสงบน้ันกจ็ ากบคุ คลแต่ละคนซ่ึงเปน็ ผูม้ ีศลี ดังกลา่ วแลว้ ลองนึกวาดภาพดูซวิ า่ ถ้าคนทงั้ ประเทศทง้ิ ศลี กันหมด ฆา่ ฟันกนั อยทู่ วั่ ไป ลกั ปล้นฉอ้ โกงกนั ดาษดน่ื ล่วงเกนิ บุตรภรรยากันอย่างไม่มยี างอาย โกหกปลน้ิ ปล้อน และดมื่ สุรายาเมา สบู ฝ่นิ กนิ กัญชาท้งั เด็กท้งั ผู้ใหญ่ เหตุการณ์จะเป็นอยา่ งไร อย่าว่าแตจ่ ะปราบศตั รู ภายนอกเลย แมแ้ ตจ่ ะปราบโจรภายใน ก็ไม่ไหวแล้ว ถึงแมย้ ามสงครามที่ทหารอตุ สา่ หท์ ้งิ ครอบครวั ไปรบ ก็ เพราะเชอื่ แน่ว่าเพอื่ นร่วมชาติท่อี ยแู่ นวหลัง จะเปน็ คนมศี ลี ไม่ขม่ เหงครอบครวั เขา และเช่ืออีกวา่ ครอบครวั เขาเองกม็ ีศลี มสี ัตยต์ อ่ เขาด้วย บรรพบรุ ษุ ของเรา รกั ษาประเทศชาตใิ ห้อยูร่ อดมาได้จนถงึ ทุกวันนี้ ก็เพราะชาวไทย เราพากนั รกั ษาศีล คอื ไมท่ าํ ลายลา้ งผลาญกนั ทัง้ ทางชวี ิตร่างกาย ทางทรัพย์ และทางอ่ืน ๆ เราไมท่ าํ ลายกนั และกัน เราควบคมุ กนั เปน็ ปกึ แผ่น ดนิ แดนไทยกเ็ ป็นถน่ิ ท่สี งบน่าอยู่ บางคราว มเี หตรุ ้ายเกิดขนึ้ เพราะคนไมม่ ีศลี เราชาวไทยต้องทาํ การปราบปรามเหตกุ ารณ์รา้ ยนน้ั ให้สงบราบคาบอย่างเดด็ ขาด การสู้รบน้นั เป็นวิธี สดุ ทา้ ยท่เี ราทาํ ด้วยความรักประเทศชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ของเรา เราตอ้ งการให้ประชาชน พลเมอื งมีความสงบสขุ เท่านน้ั หาใช่กระทําดว้ ยความเหย้ี มโหดทารุณในจติ ใจไม่ เรารักเยน็ เราเกลยี ดรอ้ น แต่ เมอ่ื ไฟไหม้ข้ึนแล้ว เรากต็ อ้ งวง่ิ เข้าไปหาไฟ เพ่ือจะดบั ไฟนน้ั แมก้ ารเขา้ ไปดบั ไฟตวั จะรอ้ นแทบไหม้ เราก็ ตอ้ งยอมทน เพราะเหน็ แกป่ ระโยชน์ส่วนใหญ่ การรักษาศลี จึงไม่ไดท้ าํ ให้กําลังป้องกันรักษาประเทศชาตขิ องเราออ่ นลง บรรพบุรษุ ของเราทา่ นได้นาํ ประเทศชาติลุล่วงมาจนถึงตัวเราทกุ วนั น้ี ท่านก็รักษาศีล คนรักษาศีลเปน็ คนอ่อนก็จรงิ แตเ่ ป็นการอ่อนโยน ไมใ่ ช่อ่อนแอ ความออ่ นโยนเปน็ เกราะปอ้ งกันตวั ดีท่ีสดุ เพราะไมท่ ําให้คนอ่ืนมาเป็นศัตรู การทีเ่ ราชาวไทยยดึ มน่ั ในศีล คือชอบสงบเรียบร้อย จงึ เป็นการสร้างกําแพงเหลก็ กล้าปอ้ งกนั ประเทศชาตขิ องเราด้วย วริ ัติ ศีล จะมีได้ก็ดว้ ยการตั้งเจตนางดเวน้ จากความผิดน้ัน ๆ ถา้ ไม่มีเจตนาจะงดเวน้ แมม้ ิไดท้ ําการละเมิด เช่นผู้รา้ ยท่ถี กู จบั ขังไว้ ขณะทอ่ี ย่ใู นห้องขงั นัน้ ไมไ่ ด้ฆา่ คน ไมล่ กั ของของใคร กไ็ มน่ ับว่า มีศีล (เว้นแต่เขาจะมี เจตนางดเวน้ ) เจตนางดเวน้ จากการทาํ ผิดศีล เรยี กว่า “วิรตั ”ิ มี ๓ อยา่ ง คอื ๑. สมาทานวิรตั ิ เจตนางดเว้นด้วยการสมาทานศีลไว้ล่วงหน้า ๒. สัมปัตตวริ ตั ิ เจตนางดเว้นเม่อื เผชญิ กบั เหตุท่จี ะทําให้ผิดศีล ๓. สมุจเฉทวริ ตั ิ เจตนางดเวน้ เดด็ ขาดของท่านผู้สิน้ กิเลสแล้ว

๘ ข.เบญจธรรม เบญจธรรมนั้น บางทีเรียก กลั ยาณธรรม แปลวา่ ธรรมอนั ทําใหผ้ ูป้ ระพฤติเป็นคนดงี าม บางที ใช้คาํ วา่ “เบญจธรรม” เฉย ๆ แปลวา่ ธรรมหา้ อย่าง ก็เป็นอนั รู้กันว่าหมายถงึ กัลยาณธรรมนี้ สว่ นมากใช้ ควบกับคาํ ว่า เบญจศีล เช่นใช้ว่า “เบญจศลี เบญจธรรม” ท่านทเ่ี คยเครง่ ศพั ท์ใชเ้ ต็มอตั ราเลย กม็ เี หมอื นกัน คอื ใช้คําวา่ เบญจกลั ยาณธรรม เราไดท้ ราบมาจากตอนต้นแลว้ ว่า พระพุทธศาสนาประกอบด้วยพระธรรมกับพระวินัย หมายความวา่ โอวาทของพระพทุ ธองคท์ ั้งสิน้ น้ัน เม่ือแบ่งออกแล้ว มอี ยสู่ องประเภท คือ ๑. ธรรมะ ได้แก่ขอ้ ปฏบิ ตั ิตา่ ง ๆ อนั จะทาํ ใหก้ าย วาจา ใจ ประณีตขนึ้ ๒. วนิ ัย ไดแ้ กข่ ้อห้าม หรอื ระเบยี บควบคุมมิใหต้ ัวเราตกไปสคู่ วามชวั่ ธรรมกบั วนิ ยั นี้ สาํ นวนทางพระ เวลาเรียกชอบเรยี กวา่ “ธรรมวนิ ัย” แตส่ าํ นวนชาวบ้านเราใช้ คําวา่ “ศีลธรรม” เชน่ ในหลกั สูตรโรงเรียนกเ็ รยี กว่า วิชาศลี ธรรม ความหมายกเ็ หมอื นกบั คําว่า ธรรมวินัย คอื คํา ว่า ศีล = วินัย คาํ ว่าธรรม = ธรรม การประพฤตธิ รรมวินยั เมื่อพระบรมศาสดาของเรา ได้ทรงรับส่ังไว้ให้เราทราบอย่างชัด ๆ ว่า พระโอวาทของพระองค์ มีอยูส่ องประการคือ ธรรม กบั วินยั อย่างนี้ เราผเู้ ป็นศาสนิกของทา่ น เปน็ ผ้รู ับปฏิบตั ิตามศาสนาของท่าน ก็ ตอ้ งใสใ่ จปฏิบตั ใิ หค้ รบท้งั ธรรมท้ังวินัย (ศลี ) ควบกนั ไปเสมอ จงึ จะได้ชอื่ วา่ ได้เขา้ ถงึ พระศาสนาทเ่ี รยี กว่า เปน็ ผูม้ ีศลี ธรรม การรกั ษาศีลกท็ าํ ให้เราเปน็ คนดีได้ แต่เป็นเพยี งคนดีขั้นต้น คือดีทีเ่ ป็นคนไมท่ ําความช่ัวเท่า นน้ั เอง ถ้าหยดุ อยู่เพียงน้อี าจเสยี ได้ ยกตวั อย่างคนเว้นจากการฆา่ สัตว์ ซึง่ เรายอมรบั กันว่าเป็นคนมศี ีล ถ้า คนผู้นเ้ี ดนิ เลน่ ไปตามรมิ คลอง เห็นเดก็ ตกน้าํ กาํ ลงั จะจมน้ําตาย ถ้าจะช่วยเขากช็ ว่ ยได้ แต่ไม่ชว่ ย กลบั ยนื มือก็ กอดอกอยู่เฉย ๆ ถือว่าตัวไมไ่ ด้ฆ่า ศีลบริสทุ ธิ์อยู่ ตามตัวอยา่ งนี้ ทา่ นนกั ศึกษาจะเห็นเป็นอย่างไร คนท้ังโลกก็ ต้องลงความเห็นวา่ เขาเปน็ คนไม่ดี เพราะคนดีจะตอ้ งรู้จักเวน้ จากการฆ่าคนด้วย และรจู้ กั ช่วยชวี ติ คนดว้ ย การเว้นจากการฆ่า นัน่ เป็นการรกั ษาศลี การชว่ ยชีวิตเขา นเี้ ป็นการปฏบิ ัติธรรม ฉะนัน้ ผู้รักษาศลี ห้า พึงประพฤติเบญจธรรมกาํ กบั ไปด้วยจัดเป็นคู่ ๆ ดงั นี้ เบญจศลี เบญจธรรม เวน้ จากการฆา่ สตั ว์ คกู่ ับ เมตตากรณุ า เว้นจากการลกั ทรพั ย์ ค่กู ับ สัมมาอาชีพ เวน้ จากการผิดในกาม คู่กบั กามสงั วร เว้นจากการพูดเทจ็ ค่กู บั สจั จะวาจา เวน้ จากการด่ืมสุรา คูก่ ับ สติสมั ปชัญญะ ความหมายของ “เบญจธรรม” เบญจธรรม คอื หลักธรรม ๕ ประการอันเปน็ คขู่ อง เบญจศีล แตล่ ะขอ้ มคี วามหมายดงั นี้ ๑. เมตตากรณุ า คือปรารถนาใหผ้ อู้ ืน่ มีความสุข และชว่ ยเหลือเขาให้พ้นทกุ ข์ การไม่ทาํ รา้ ยผอู้ ่ืนน้ันกน็ บั ว่าเป็นคนดีแล้ว แตถ่ ้าจะให้ดียิ่งขึ้น ตอ้ งเอ้ือเฟือ้ ช่วยเหลือผอู้ ่ืนดว้ ย สงั คมจงึ จะสงบรม่ เย็นย่ิง ๆ ข้ึน ๒. สัมมาอาชพี คอื ต้ังใจทํามาหาเล้ยี งโดยสุจรติ หมายถึง การหาเลี้ยงชพี ในทางทชี่ อบ ธรรมขอ้ นค้ี กู่ ับศีลข้อสองทใ่ี หล้ ะเวน้ จากการถือเอาของทเี่ ขาไม่ให้ คนทปี่ ระกอบอาชีพสุจรติ ขยนั ขันแขง็ ในการ ทาํ มาหากิน ยอ่ มยินดกี บั ของท่ีตนหาได้เอง ไมค่ ดิ ฉกฉวยเอาของผูอ้ น่ื

๙ ๓. กามสังวร คือระมัดระวังในเรอื่ งรัก ๆ ใคร่ ๆ ทางกามารมณ์ หมายถึง การยินดี เฉพาะในคู่ครองของตนและการไม่คิดหมกมุ่นอยู่แต่เรอ่ื งความรกั ความใครจ่ นเกนิ ขอบเขต การท่ีคนเรามีความ ตอ้ งการทางเพศน้นั มใิ ช่ของผดิ ปกติแต่อยา่ งใด แตถ่ า้ เดนิ สายกลางไว้ ก็จะทําให้เราไมไ่ ปผดิ ลกู เมีย ผอู้ ่นื ธรรม ขอ้ นีค้ กู่ บั ศีลขอ้ สาม ๔. สจั จะวาจา คือรักษาวาจาให้ไดจ้ ริง บชู าคําจรงิ หมายถงึ การพูดความจรงิ เป็นธรรมท่ี ใช้คู่กับศลี ขอ้ สที่ ใ่ี ห้เวน้ จากการพดู เท็จ ธรรมขอ้ นี้เป็นการส่งเสรมิ ใหม้ นษุ ยร์ จู้ ักแสดงไมตรีจติ ตอ่ กนั ทางวาจา การพูดความจริงน้ีหมายรวมถงึ การพดู คาํ สุภาพ คาํ อ่อนหวาน และการสอ่ื สารท่ีตรงกบั ความเปน็ จรงิ ไม่ บดิ เบือนส่ือ ๕. สตสิ มั ปชญั ญะ คือฝึกตนมิใหป้ ระมาท หมายถงึ มสี ติรอบคอบรสู้ กึ ตวั อยู่ตลอดเวลาว่า กาํ ลังทําอะไร พูดอะไร ธรรมขอ้ นคี้ ่กู บั ศีลข้อห้าทหี่ ้ามมใิ ห้ดมื่ สุราเมรยั ผทู้ ปี่ ระพฤติปฏบิ ตั ติ ามศลี และธรรมขอ้ ที่หา้ อยเู่ สมอจะเปน็ ผู้ทไี่ มข่ าดสติ ไมป่ ระมาท จะทําการสงิ่ ใดก็จะสาํ เรจ็ ไดโ้ ดยไม่ยาก และโอกาสท่จี ะเผลอตวั ทําผดิ ด้วยความประมาทกม็ นี ้อยหรือไมม่ เี ลย มนษุ ยธรรม มขี อ้ ควรทราบอีกอย่างหนึ่ง คอื ศีลหา้ นี้ ความจริงเป็นขอ้ ปฏิบตั ิต่อกนั ในระหวา่ งมนษุ ยม์ าแตด่ ึกดํา บรรพ์เรยี กว่า มนุษยธรรม แปลวา่ ธรรมของมนษุ ย์ หรอื ธรรมะเคร่อื งทาํ ผ้ปู ระพฤติใหเ้ ปน็ มนุษย์ ครน้ั เมือ่ พระสิทธตั ถะตรสั รูแ้ ลว้ กไ็ ด้ทรงรบั รองและสง่ เสริมศีลห้านี้ ทรงรบั เข้าเปน็ คาํ สอนใน ศาสนาของพระองค์ ทรงแสดงความหมายหรือเงอ่ื นไขของแต่ละข้อให้ละเอียดแจม่ แจง้ ยิง่ ขึ้น เพอื่ ปิดกน้ั ความ ชว่ั ทีจ่ ะไหลซึมเขา้ มาสู่ใจไดส้ นทิ ๓.ธรรมะเพอื่ ความม่ันคงทางการเมือง ก. พรหมวหิ าร ๔ คณุ ธรรมสาํ หรบั ผบู้ งั คบั บญั ชา หรอื ของผ้ใู หญ่ ความรักใครน่ บั ถือและจงรักภกั ดี ยอ่ มมีความสําคัญอยา่ งยิ่งในการปกครองบังคับบัญชา เพราะจะนาํ มาซ่งึ ความเคารพเชอ่ื ฟังของผ้ใู ตบ้ ังคับบญั ชาหรอื ผูน้ อ้ ย จะเปน็ ประโยชนท์ ้ังในการปกครอง และการสั่งการต่าง ๆ ความเคารพนบั ถือและความจงรกั ภกั ดีจะเกิดขึ้นได้ จะตอ้ งอาศยั การประพฤตธิ รรมของ ผู้ใหญห่ รอื ของผูบ้ งั คบั บัญชาเปน็ ประการสาํ คญั และหลกั ธรรมเพอ่ื สร้างความจงรกั ภักดีมดี งั นี้ ๑. เมตตา ความรกั คอื ความปรารถนาดี มไี มตรี ต้องการให้ผ้นู อ้ ยมคี วามสขุ ความเจรญิ ๒. กรุณา ความสงสาร คอื เมือ่ ผ้นู ้อยประสบทุกข์ มคี วามเดอื ดรอ้ นด้วยประการใด กม็ ใี จฝกั ใฝ่อยากจะปลดเปล้อื งบําบดั ความทุกข์รอ้ นนนั้ ๆ ใหห้ มดสิน้ ไป ๓. มุทิตา ความเบิกบานพลอยยินดี เมื่อเห็นผู้น้อยอยู่ดีมีสุข หรือประสบความสําเร็จ ในชีวติ หนา้ ท่กี ารงาน ๔. อุเบกขา ความมีใจเป็นกลาง คือมองตามความเป็นจริง มีความม่ันคงเท่ียงตรง ดจุ ตราช่ังไมเ่ อนเอียงหวัน่ ไหว โดยสรปุ คอื เวน้ จากอคติ ๔ ข. ทศพธิ ราชธรรม ๑๐ ธรรมสาํ หรับผ้นู าํ หรอื ผบู้ รหิ ารบา้ นเมือง ๑. หนา้ ท่ขี องผนู้ าํ เรามักจะพบว่าที่ใดก็ตามท่ีมีคนหลาย ๆ คนอยู่ร่วมกัน ท่ีน้ันมักจะต้องมีหัวหน้าหรือผู้นํา ในกลุ่ม เล็ก ๆ เช่นครอบครัวมีพ่อแม่เป็นผู้นํา ในหมู่บ้านมีผู้ใหญ่บ้านเป็นหัวหน้า ในโรงเรียนมีครูใหญ่เป็นหัวหน้า ในกระทรวงต่าง ๆ มีรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า หลาย ๆ กระทรวงรวมกันเข้าเป็นคณะรัฐบาลมีนายกรัฐมนตรีเป็น หวั หนา้ และเมอ่ื มองประเทศไทยท้ังประเทศ เรากม็ พี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นพระประมขุ ของชาติ ผู้นํามีหน้าที่เป็นผู้ประสานงานของกลุ่มหรือของหมู่คณะ ทําให้หมู่คณะอยู่ด้วยกันเป็นระเบียบ เรียบร้อย มีกติกาและหลักปฏิบัติอันเดียวกัน ทําให้เกิดความสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เมื่อมีปัญหาท่ี

๑๐ เกิดข้ึนกับหมู่คณะก็เป็นผู้ประสานงานเพื่อแก้ปัญหาน้ัน ๆ หากไม่มีหัวหน้าหรือผู้นําเป็นศูนย์กลางในการ รว่ มมือกนั ไม่มีผูต้ ดั สินใจว่าจะทําอยา่ งไรดี การแก้ปัญหากไ็ ม่อาจจะราบร่นื ผู้นํายังเป็นผู้คอยดูแลปกป้องผู้ท่ีอ่อนแอกว่า หรือด้อยกว่าคนอื่นในกลุ่มหรือในสังคม เป็นผู้ พยายามทําให้เกิดความเป็นธรรมในสังคม มิให้มีการเอารัดเอาเปรียบ ข่มเหงรังแกกันจนเกิดความไม่ยุติธรรม นอกจากน้ีผู้นํายังเป็นผู้แทนของกลุ่มติดต่อกับกลุ่มอ่ืน ๆ ในระดับประเทศก็เป็นผู้แทนของประเทศติดต่อ กบั ประเทศอืน่ ๆ เป็นต้น ๒. คุณธรรมของผู้นาํ คณุ ธรรมของผ้นู ําหรือหัวหน้าเป็นสิ่งสําคัญมาก โดยท่ัวไปหัวหน้ามักจะมีสิทธิ์และอํานาจที่จะส่ัง การและดําเนนิ การกิจการของหมู่คณะ หากหัวหน้าหรือผู้นําปราศจากคุณธรรมแล้ว สมาชิกของหมู่คณะก็จะ อยู่ด้วยกันอย่างปราศจากความสงบสุข หมู่คณะเองก็จะไม่เจริญก้าวหน้า ในหมู่คณะใดหมู่คณะหนึ่งหากมี สมาชิกคนหน่งึ ไร้คุณธรรม ผลร้ายที่เกิดขึ้นอาจตกอยู่กับคนใกล้เคียงไม่กี่คน แต่หากผู้นําขาดคุณธรรมผลร้าย จะเกดิ กับคนท้งั หมด พระพทุ ธศาสนาไดส้ อนไว้ว่า ผู้นําทีด่ นี ้นั ควรมคี ณุ ธรรม ๑๐ ประการ เรียกว่า ทศพธิ - ราชธรรม ๑๐ ดังนี้ ๑. การให้ (ทาน) หมายถึงการสละทรัพย์สิ่งของด้วยความเต็มใจเพื่อช่วยเหลือสมาชิกของหมู่ คณะท่ีด้วยและอ่อนแอกว่าผู้อ่ืน ในระดับประเทศก็คือการบํารุงเลี้ยงและช่วยเหลือประชาชนท่ียากจนเพื่อให้ อยู่ดีกนิ ดขี ้นึ ดังทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวของเราไดท้ รงปฏบิ ัตเิ สมอมา ๒. ต้ังอยู่ในศีล (ศีล) หมายถึงการมีความประพฤติดีงาม มีความซื่อสัตย์สุจริต ไม่หลอกลวงคน ทั่วไปเพ่ือผลประโยชน์ของตน ทาํ ตัวให้เปน็ ตัวอย่างที่ดีงามของผูอ้ ่ืน ใหเ้ ป็นทเ่ี คารพนบั ถอื ของผ้ทู ีอ่ ยู่ในความดแู ล ๓. การบริจาค (ปริจจาคะ) คือการเสียสละความสุขความสําราญตลอดจนชีวิตาของตนเพ่ือ เปน็ ประโยชนข์ องประชาชนและความสงบเรยี บร้อยของบ้านเมือง ไม่ทําตนเป็นคนฟุ้งเฟ้อ เป็นตน้ ๔. ความซอ่ื ตรง (อาชชวะ) คือมคี วามจรงิ ใจกับคนทกุ คน ไมท่ ําตนเปน็ คนเจา้ เลห่ ์ พูดอย่างหน่ึงแต่ใจคิดอีกอย่างหน่ึง หากผู้นําของสังคมใดก็ตามเป็นคนไม่ซื่อแต่ชอบกลับหลอกแล้ว สังคมนั้น ก็จะมแี ตค่ วามระสา่ํ ระสายหาความสงบมิได้ ๕. ความอ่อนโยน คือสุภาพนุ่มนวลไม่เย่อหย่ิงแข็งกระด้าง มีวาจาอ่อนหวาน จะพูดจะเดินก็มี ความสํารวม แต่ในเวลาเดียวกันก็ต้องทําตนให้มีสง่าราศี เพื่อให้ผู้อื่นเกิดความยําเกรง กล่าวคือเป็นคน อ่อนโยนแต่ไม่อ่อนแอเปน็ คนเข็มแขง็ แตไ่ มแ่ ข็งกระด้าง ๖. การขจัดกิเลส (ตปะ) คือการพยายามข่มใจมิให้มีกิเลสตัณหามาครอบงําจิตใจ ไม่ หมกมุ่นกับความสนุกสนานจนลืมตน มีความเป็นอยู่ง่าย ๆ รักษาจิตใจให้บริสุทธิ์อยู่เสมอ พยายามศึกษา ธรรมะ และนาํ มาปฏิบัตอิ ยา่ งสม่าํ เสมอ ๗. ความไม่โกรธ (อโกธะ) คือมีจิตใจมั่นคง ไม่ฉุนเฉียว ต้องอดกล้ันความไม่พอใจไว้ได้มิให้ อารมณเ์ ข้ามามีอาํ นาจเหนอื ปญั ญา ต้องเป็นคนไม่วู่วาม มีสติอยู่เสมอ ความโกรธน้ันอาจทําให้ตัดสินใจอะไร ผดิ ไดง้ า่ ย ๆ ถ้าผู้นําเป็นโกรธง่ายแล้วสังคมจะสงบสุขได้ยาก เพราะการกระทําท่ีเกิดจากความโกรธน้ัน บาง ทไี ด้ผลร้ายจนยากท่ีจะแก้ไขได้ ๘. ความไม่เบียดเบียน (อวิหิงสา) คือไม่บังคับกดข่ีคน ไม่หลงระเริงในอํานาจ ไม่อาฆาตเกลียด ชัง ถ้าจะลงโทษคนก็เป็นไปตามกติกาหรือกฎหมาย ไม่เอาแต่ใจตัวเช่ือฟังแต่คนใกล้ชิด ต้องถือหลักความ ยุติธรรมเป็นใหญ่ ๙. ความอดทน (ขันติ) คืออดทนต่อการงาน เข็มแข็งไม่ย่อท้อเมื่อพบปัญหา ถึงจะลําบาก กายและใจแค่ไหนก็อดทน ไม่หมดกาํ ลงั ใจง่าย ๆ เปน็ คนมนั่ คงเดด็ เดยี่ วในเป้าหมายท่จี ะบรรลุถึง

๑๑ ๑๐. ไม่คลาดธรรม (อวิโรธนะ) คือต้ังใจม่ันในธรรม ไม่หว่ันไหวในเรื่องดีเรื่องร้าย ไม่หลงใหลใน ลาภสักการะ ไม่ส่ันคลอนด้วยคําสรรเสริญหรือนินทา มีความยุติธรรมไม่ลําเอียง เป็นผู้ยึดแบบแผนท่ีชอบ ธรรม เปน็ ต้น คุณธรรมทั้ง ๑๐ ข้อนี้ เป็นของจําเป็นสําหรับผู้นําหรือหัวหน้าทุกระดับต้ังแต่ครอบครัวถึง ประเทศชาติ ต้ังแต่ทีมฟุตบอลถึงหน่วยงานระดับกระทรวง หากผู้นํามีคุณธรรมท้ัง ๑๐ ข้อนี้ สังคมก็มี ส่ิงจาํ เป็นพนื้ ฐานทจ่ี ะพัฒนาใหก้ า้ วหน้าขึน้ ๆ ไป แต่ถา้ ผนู้ ําไร้คุณธรรมทงั้ ๑๐ ข้อน้แี ล้ว สงั คมกจ็ ะปั่นป่วน หาความสขุ ความเจรญิ ไม่ได้ ๔.ธรรมเพือ่ ความมนั่ คงทางทหาร การเสยี สละ การให้ของรกั เป็นกรรมสทิ ธ์ขิ องตนแก่ผู้อ่ืน หรอื แกส่ ว่ นรวม โดยผูใ้ ห้ไม่หวังผลประโยชน์อะไรตอบ แทนเลย เรียกวา่ เป็นการเสยี สละ ในโคลงโลกนติ ทิ ่านว่า “ ในรอ้ ยคนจะมีคนกลา้ สักหนงึ่ คน ในพันคนจะมี บัณฑติ สักหนึ่งคน ในแสนคนจะมคี นพูดจรงิ (คําไหนคาํ นนั้ ) สักหน่งึ คน คนเสียสละไดน้ น้ั (ในโลกขณะนี)้ จะมี หรอื ไมม่ ีก็ยังไม่แน”่ ทั้งนี้ เพราะถือว่าคนท่เี สียสละได้อยา่ งแทจ้ รงิ นนั้ เปน็ ผูป้ ระเสรฐิ ทีม่ หาชนหรือชาวโลก ควรบชู า เช่น องคพ์ ระสัมมาพทุ ธเจา้ และวรี ชนอน่ื ๆ ท่ีเสียสละทาํ ประโยชนใ์ ห้แกส่ ว่ นรวมอย่างบริสทุ ธ์ใิ จ หลกั การเสยี สละ หลักการเสยี สละนั้นถอื วา่ ใหเ้ สียสละสง่ิ ทม่ี คี ุณประโยชนน์ ้อย เพ่อื รักษาส่งิ ท่มี ีคณุ ประโยชนม์ ากไว้ หรอื เสียสละประโยชน์สุขสว่ นนอ้ ยเพอ่ื ประโยชนส์ ุขสว่ นรวมอันไพศาล ดงั ทว่ี ีรบรุ ุษผกู้ ลา้ หาญของชาติไทยใน ประวัติศาสตร์ไดเ้ สยี สละชวี ติ เลอื ด เนื้อ เพ่ือป้องกนั เอกราชของชาติ และรักษาผนื แผน่ ดนิ นไ้ี ว้ใหเ้ ราไดอ้ ยู่ อาศัย ในทางพระพทุ ธศาสนาสอนคนให้เสียสละ สรรเสรญิ ผู้ท่ีเสยี สละทรพั ยส์ นิ ท่หี ามาได้ เพือ่ ประโยชน์ สว่ นรวม เชน่ สรา้ งโรงพยาบาล โรงเรียน วดั ถนนหนทาง เป็นต้น ถอื ว่าเป็นมหากุศลแก่ผทู้ ํา และชาวโลกก็ช่นื ชมสรรเสรญิ ท่านวางหลักการเสียสละไว้ ๓ อยา่ ง ตามลาํ ดับที่รักนอ้ ย รักมาก คือ:- ๑. เสยี สละทรพั ย์ เพ่ือรกั ษาอวัยวะ โดยถอื ว่าแม้เราจะรกั และหวงแหนทรัพยเ์ พยี งใดก็ ตาม แตเ่ พื่อรกั ษาอวัยวะรา่ งกาย เราก็ต้องเสียสละทรัพยน์ น้ั เช่นการใช้ทรพั ย์รกั ษาสขุ ภาพให้แขง็ แรง ๒. เสียสละอวยั วะ เพื่อรกั ษาชวี ติ เชน่ เมอ่ื เกิดโรคร้าย มี มะเร็ง ทข่ี าหรือแขน เป็นตน้ ถ้า ไมผ่ า่ ตัดสว่ นนน้ั ออกไปเสยี ตนก็จะถึงแก่เสยี ชีวิต ในกรณนี ้ี กค็ วรยอมถูกตดั ขาหรอื แขนกลายเปน็ คนขาดว้ น หรือแขนด้วนดีกวา่ เพ่อื ใหม้ ชี วี ติ อย่ตู ่อไป ๓. เสยี สละทกุ อยา่ ง เพื่อรกั ษาธรรมะ ธรรมะคือคุณธรรมความถกู ตอ้ ง ความสจุ ริต ยุติธรรม หรือหลักธรรมะอนั เป็นปรชั ญาทเี่ ป็นอดุ มคตขิ องชีวิต คนทตี่ กอยูใ่ นอาํ นาจของกิเลส ยอ่ มมุ่ง ประโยชน์ส่วนตน บางคราวก็ละเลยต่อหลกั ธรรมะไป แตป่ ราชญผ์ ้เู สยี สละ ยอ่ มจะรักษาธรรมะและตอ่ สูก้ บั อธรรม แม้จะแลกด้วยทรัพย์ อวยั วะ และชีวติ กย็ อม ชอ่ื ว่าเป็นผเู้ สียสละเพ่อื ธรรม อนั จะเปน็ รากฐานของ ความเจริญและความสงบสุขแกโ่ ลกเปน็ สว่ นรวม อยา่ งไรกด็ ี บคุ คลท่ีเสียสละประโยชนส์ ุขสว่ นตน หรอื ประโยชนส์ ่วนนอ้ ยเพอื่ ส่วนรวมด้วยใจอัน บรสิ ทุ ธน์ิ น้ั ชอ่ื วา่ เป็นผู้มีจิตใจสูง มคี ุณธรรม นา่ เคารพบชู า ผ้กู ลา้ หาญหรือนักปราชญท์ ัง้ หลายผู้เสยี สละได้ นน้ั คอื ยอดคนอยา่ งแท้จรงิ

๑๒ คณุ ธรรมของผู้นาํ สาระการเรียนรู้ ๑. คณุ ธรรมกับผู้นํา ๒. หมวดธรรมะตา่ ง ๆ ท่เี ก่ยี วกับผนู้ าํ ๓. หลกั ธรรมทางพทุ ธศาสนาทีผ่ นู้ ําควรนาํ ไปปฏิบตั ิ ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง ๑. ผู้นาํ ได้เขา้ ใจหลกั ธรรมทางพทุ ธศาสนามากยง่ิ ข้นึ ๒. ผนู้ าํ สามารถนาํ หลักธรรมมาประยุกตใ์ ช้ในการดําเนินชีวิต ๓. ผนู้ ําเมื่อได้เรยี นรูห้ ลักธรรม สามารถแก้ปญั หาในการปกครองได้ ๔. ผนู้ ํามีการเปล่ียนแปลงทางพฤตกิ รรมเชิงบวก ๕. ผนู้ ําเป็นแบบอยา่ งทีดีได้ ในด้านความมคี ุณธรรม กิจกรรมระหวา่ งเรยี น ๑. บรรยาย ๒. สอบถาม ๓. ใบงาน สือ่ การสอน ๑. เพาเวอร์พอยท์ ๒. เอกสารตาํ รา ๓. คลิปวดี โิ อทเี่ กี่ยวข้อง ประเมนิ ผล ๑. ให้ตอบคําถาม ๒. แบบทดสอบหลังเรียน

๑๓ คุณธรรมของผนู้ ํา ความสําคญั ของความเปน็ ผู้นาํ งานในสงั คมมนษุ ย์ท่ีถือวา่ สาํ คญั และเปน็ งานบญุ กศุ ล มี ๓ งาน คอื ๑. งานของนกั ปกครอง ๒. งานของครู ๓. งานของนักบวช งานดังกล่าวทวี่ ่าสําคญั และเป็นงานไดก้ ุศล เพราะไดท้ ําประโยชนเ์ กอื้ กลู แก่เพอื่ นมนษุ ย์ นํามาซงึ่ ความสขุ ความเจรญิ แกค่ นทัง้ หลายเป็นอันมาก นักปกครองคอื ผูน้ าํ ของกลุ่มชน เป็นดุจโค ผเู้ ปน็ หัวหน้าฝูง หากนําไปถกู ทางมหาชนผอู้ ยอู่ าศัยในใต้ บังคบั บญั ชา ก็ไดร้ ับความสขุ ความเจริญ แตถ่ ้านําไปผิด มหาชนกไ็ ด้รบั ความทุกข์ความเสอ่ื ม คณุ ธรรมของผ้นู าํ ผนู้ าํ ท่ดี ี สามารถเปน็ ทพี่ งึ่ พาอาศยั ของคนทั้งหลายได้ นอกจากจะต้องประกอบดว้ ยคุณธรรม ประจาํ ใจ คือ ตอ้ งมีทั้งวิชาความรูค้ วามสามารถดแี ละจรณะ มีคุณธรรมความประพฤตปิ ฏบิ ัติดี คณุ ธรรมสําหรบั ผู้นําทีด่ ีนนั้ มมี ากมายหลายประการ และแม้หลกั ธรรมเกี่ยวกบั ความมน่ั คงทางการ เมืองที่กล่าวมาแล้วเชน่ ทศพิธราชธรรม ๑๐ เปน็ ตน้ ก็มีความสําคญั ต่อผนู้ ํา แต่เพ่ือใหเ้ หมาะแก่เวลา จงึ นํามา ศึกษาเพม่ิ เตมิ เพียง ๖ ข้อ ดังน้ี ๑. พรหมวิหาร ๔ ๒. สังคหวตั ถุ ๔ ๓. เวสารัชชกรณธรรม ๔ ๔. สัปปรุ สิ ธรรม ๗ ๕. ทศพิธราชธรรม ๑๐ ๖. จักรวรรดิวตั ร ๕ ๑. พรหมวหิ าร ๔ คณุ ธรรมสําหรบั ผนู้ ําหรอื ผูใ้ หญ่ (เนื้อหาเชน่ เดยี วกับท่ีกล่าวมาแล้ว) ๒. สังคหวัตถุ หลักสรา้ งมนษุ ย์สัมพนั ธ์ ทุกสิ่งในโลกจะเจริญขน้ึ ได้ และจะดาํ รงอยู่ในความเจรญิ ได้ ยอ่ มต้องอาศยั ส่ิงแวดลอ้ มชว่ ยเหลอื สนับสนุน ดงั เช่นเมล็ดผลไมท้ จี่ ะงอกงามขนึ้ ได้ กต็ อ้ งได้ดิน นา้ํ ป๋ยุ อากาศเขา้ สนับสนนุ อาคารตกึ รามที่ ใหญ่โต จะทรงตวั อยูไ่ ด้กต็ ้องไดไ้ ม้ อิฐ หิน ปนู ทราย เหลก็ และอืน่ ๆ คุมกันเข้า ไม่ตอ้ งอน่ื ไกล รา่ งกายของเรา น้ี เตบิ โตข้นึ มาและมีชีวติ อยูไ่ ด้ ก็ตอ้ งได้รบั ความสนบั สนนุ จากอาหาร อากาศ และเครือ่ งอปุ โภคอ่ืน ๆ อีก มาก ขอ้ ทีว่ ่า ทกุ สิ่งจะเจรญิ ขึ้นได้ต้องอาศัยการสนับสนนุ ของส่ิงแวดล้อมน้ี เป็นความจริงอย่างหนึง่ ชีวติ ของ เรากเ็ หมือนกนั จะมคี วามเจริญรงุ่ โรจนไ์ ม่วา่ ทางการครองชีพ ทางการศกึ ษา ทางการสังคม หรอื ทางการงานก็ ตาม จาํ เปน็ จะตอ้ งได้รับความสนบั สนนุ จากบคุ คลอ่นื จึงจะสําเร็จได้ ไมม่ ผี ใู้ ดทีจ่ ะเจริญรุ่งเรืองข้นึ ไดโ้ ดยลําพัง คนเดยี ว โดยไม่ตอ้ งอาศัยคนอนื่ เลย การท่ีคนอ่นื เขาจะยนิ ดีสนับสนนุ ชว่ ยเหลอื แกเ่ ราเพียงใดน้นั ส่วนสาํ คัญกอ็ ยทู่ ี่ใจของเขาที่จะตอ้ งมีความ รกั ใครน่ ับถอื ในตวั เราเปน็ ทุนอยู่กอ่ น ดงั นั้น เราจึงมีปญั หาสําคัญทจ่ี ะต้องแก้ในลําดบั แรก คอื ปัญหาท่ีว่า ทํา อย่างไรคนอนื่ จงึ จะรักใคร่นบั ถอื เรา และทาํ อยา่ งไรผ้ทู ีร่ กั และนับถอื อยแู่ ล้วจึงจะมคี วามรักนับถือไมจ่ ดื จาง พระพทุ ธเจา้ ไดท้ รงแสดงธรรมะเครอ่ื งยดึ เหนยี่ วใจคนอืน่ ไว้ เรยี กวา่ สังคหวตั ถุ (หลกั สร้างมนุษย์ สมั พนั ธ)์ มี ๔ ประการคือ

๑๔ ๑. ทาน การให้ปันของของตนแก่คนท่คี วรให้ปนั ทาน ในท่นี ตี้ า่ งจากทานในบุญกิรยิ าวตั ถุ คอื ในบุญกิริยาวัตถุนัน้ เป็นการใหโ้ ดยการมงุ่ จะทาํ บุญ แต่ในท่นี ี้ มงุ่ การสงเคราะหแ์ กผ่ ้รู ับ มีการปฏบิ ัติ และผล คอื ๑.๑ วิธีปฏิบัติ คอื รู้จักแบง่ ของกนิ ของใช้แก่คนอ่ืนบ้าง เพือ่ แสดงอธั ยาศยั ไมตรี ต่อกัน ไม่เป็นคนตระหนีใ่ จแคบหวงกินหวงใชแ้ ต่คนเดียว ๑.๒ ผลทีผ่ ใู้ ห้จะไดจ้ ากผู้รบั ลาํ ดบั แรกทส่ี ดุ คือจะไดร้ บั ความรักจากผรู้ บั ทนั ทที ใี่ ห้ ตอ่ จากน้ันไป ยงั จะได้รบั ไมตรจี ิตและอามสิ ตอบแทน คนทง้ั หลายท่รี ู้เหน็ จะสรรเสรญิ ๒. ปยิ วาจา ได้แก่ การเจรจาถอ้ ยคํานา่ รกั ซ่งึ คาํ พดู โดยทั่วไปน้ันมีสองประเภท คอื ๒.๑ ปิยวาจา คําพดู ที่พูดแลว้ ทําใหค้ นฟงั รักคนพดู ๒.๒ อัปปยิ วาจา คําพูดทพ่ี ูดแล้วทาํ ใหค้ นฟงั ชงั คนพูด ในคําทัง้ สองน้ี ปยิ วาจาเท่านั้นทค่ี รองใจคนฟงั ได้ ในทางปฏิบัติ ผูป้ ฏิบตั จิ ะตอ้ งร้จู กั คําหยาบ แล้วเวน้ จากการพูดคําหยาบเสีย พดู แต่คาํ ที่ตรงกนั ขา้ ม คาํ หยาบมลี กั ษณะตา่ ง ๆ คอื - คาํ ดา่ ได้แก่ การกล่าวโดยกดใหต้ าํ่ ลง - ประชด ไดแ้ ก่ การกลา่ วโดยยกใหส้ งู เกนิ ตวั - กระทบ ไดแ้ ก่ การกลา่ วโดยเลียบเคียงใหเ้ จบ็ ใจ - แดกดนั ได้แก่ การกลา่ วด้วยเจตนาจะแดกดนั - สบถ ได้แก่ คํากลา่ วเข่นฆ่านา่ สยอง - คาํ ตาํ่ ได้แก่ ใช้คาํ กล่าวที่สังคมถอื ว่าตา่ํ ทราม คํากลา่ วทงั้ หมดนี้ จะเปน็ คําหยาบหรอื ไม่ วินิจฉัยดว้ ยเจตนาของผกู้ ลา่ วนัน่ เอง ถ้าเจตนาหยาบกเ็ ปน็ คํา หยาบ บางคนเข้าใจผิดวา่ การกลา่ วคาํ หยาบเป็นการแสดงอาํ นาจในตวั คนกลา่ ว แตค่ วามจริงแลว้ คําหยาบไดล้ ด ความศกั ด์ิสทิ ธิแ์ ละละลายอํานาจในตวั คนกลา่ วลงทุกคร้งั ท่ีกลา่ วคาํ หยาบ ผูก้ ล่าวคําหยาบ เปน็ ผ้สู รา้ งเสนียด ขึน้ ในตัว ในครอบครัว และในสังคมอยา่ งน่าอับอาย ทกุ คนควรจําไวว้ า่ ส่ิงท่จี ะมัดส่งิ อ่นื ไวไ้ ด้ ต้องเป็นของ ออ่ น และคาํ ที่จะมดั ใจคนอน่ื ไวไ้ ด้ กม็ แี ตค่ าํ สุภาพออ่ นโยนเทา่ นนั้ ๓. อัตถจรยิ า คอื การบาํ เพญ็ ประโยชน์ การบําเพ็ญประโยชน์หมายความว่า รู้จัก ช่วยเหลือผ้อู ืน่ ดว้ ยแรงตน มิใช่ประพฤตเิ ป็นคนตดั ชอ่ งนอ้ ยเอาตัวรอด ในทางปฏิบัติ ผบู้ าํ เพญ็ อัตถจริยา จะตอ้ งคาํ นึงถึงการปฏิบตั ิตน ๒ สถาน คือ ๓.๑ การทาํ ตนให้เปน็ คนมีประโยชน์ คอื สร้างกําลงั กาย กาํ ลังความคดิ กาํ ลังความรู้ กําลังทรัพย์ขึ้นในตน ให้พอทจี่ ะใชก้ ําลงั อยา่ งใดอยา่ งหน่งึ ช่วยเหลือคนอ่นื ได้ คนอยา่ งนี้ เรียกวา่ คนมปี ระโยชน์ และ ๓.๒ จา่ ยกาํ ลงั ทีต่ นมอี ยู่น้ัน บําเพ็ญสิ่งที่เป็นประโยชน์แกเ่ พอ่ื นฝงู เพ่ือนบ้าน ตลอดจนเพอื่ นมนุษย์ทว่ั ไปตามสมควรแกเ่ รอื่ ง การบาํ เพ็ญประโยชน์ดังกล่าวน้ี หมายถึงการไม่ดูดายในการ ชว่ ยเหลือคนอ่นื เป็นการแสดงอธั ยาศยั นา่ รกั น่านับถือของผู้บําเพ็ญ อนึ่ง ผู้บําเพ็ญอัตถจริยา จะต้องเว้นการกระทาํ อันเป็นภัยแก่ผู้อื่นเสีย แม้แต่ การกระทําเล็ก ๆ นอ้ ย ๆ เชน่ ทิ้งเศษแกว้ ลงตามทางเดิน หรือถ่ายเทของสกปรกในท่อี นั จะทําลายความสขุ ของ คนอน่ื เปน็ ตน้ ๔. สมานตั ตตา คอื การวางตนเหมาะสม เสมอสมาน ความเป็นผู้มีตนเสมอ หมายถึงการ วางตัวสมกับภาวะและฐานะของตน ไม่ลมื ตวั กลายเป็นคนเย่อหยงิ่ จองหองเหยียบยํ่าญาตพิ นี่ อ้ งและคนท่เี คย นับถือกนั เปน็ คนประพฤติความดสี มํา่ เสมอ ความมตี นเสมอมี ๒ นยั คือ

๑๕ ๑. ความมีตนเสมอในบคุ คล หมายความถึงนับถือกนั สมํ่าเสมอ หรอื เสมอตน้ เสมอปลาย ไม่ ถือตวั เช่น บุคคลใดเป็นพอ่ แม่หรอื ญาตชิ ั้นใด ควรจะนับถอื ยกย่องอยา่ งใด และเคยนับถอื กนั มาอยา่ งใด กน็ ับ ถืออยา่ งน้นั ไมเ่ ปล่ยี นแปลง แม้ฝา่ ยหนง่ึ ฝ่ายใดจะมฐี านะเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาและเหตุการณ์ อกี อยา่ ง หนง่ึ หมายถึงความสามารถที่ปฏบิ ัตติ นเข้ากบั บุคคลอน่ื ได้ ๒. ความมีตนเสมอในธรรม หมายความวา่ สิง่ ใดเป็นความดีและเคยประพฤตมิ าอย่างใด กป็ ระพฤติอยา่ งน้ัน ไมใ่ ช่ต่อหน้าอย่างหนง่ึ ลับหลังอยา่ งหน่ึง หรือเม่อื กอ่ นนป้ี ระพฤติอยา่ งหนงึ่ คร้นั บัดน้ีลืม ความดี ประพฤตวิ ิปรติ ไป ซึ่งคําวา่ ธรรมในท่ีน้หี มายถึง กฎ ข้อบงั คบั ระเบียบ แบบแผน สจุ รติ ธรรม และคําวา่ การวางตนเสมอภาค ในความหมายทางธรรมกค็ อื การวางตนเสมอต้นเสมอปลาย ๓. อคติ ๔ อคติ คอื ความลาํ เอยี ง ความไมย่ ตุ ธิ รรม ๔ ประการ เพราะอคตธิ รรมเปน็ อปุ สรรค และมแี ตจ่ ะ สรา้ งความเสื่อมทรามใหแ้ กก่ ารปกครองตลอดมาในทกุ สมัยและทุกวงการ ผใู้ หญ่ทีข่ าดความยตุ ธิ รรมยอ่ มจะไม่ได้ รับความเคารพหรอื นับถอื และความจงรกั ภกั ดี ฉะนัน้ บุคคลผู้เป็นใหญ่ หากหวังจะใหเ้ ป็นทีเ่ คารพนบั ถอื และ เปน็ ท่ีจงรกั ภักดขี องผนู้ อ้ ย จะต้องเว้นอคติ ๔ ประการ คอื ๑. ฉันทาคติ ลาํ เอยี งเพราะรกั ใคร่ เห็นแกห่ น้า เหน็ แก่พวกพอ้ ง หรอื คนใกล้ชิด เห็นแก่ ประโยชน์ตน ๒. โทสาคติ ลาํ เอยี งเพราะไม่ชอบกนั เช่น เพราะชะตาไม่ตอ้ งกนั หรอื เคยมเี ร่ืองโกรธเคืองกัน มาก่อน ตลอดจนเปน็ คนอื่นพวกอืน่ ผใู้ หญต่ ้องรูจ้ ักใหอ้ ภยั ไม่ถอื โทษโกรธาโดย ไมม่ วี ันสนิ้ สุด ๓. โมหาคติ ลาํ เอยี งเพราะเขลา คือรู้เทา่ ไมถ่ งึ การณ์ ขาดการตรวจสอบพิจารณา ๔. ภยาคติ ลาํ เอียงเพราะกลวั คือกลัวเสอื่ มลาภ เสือ่ มยศ ตลอดจนกลัวอันตรายต่าง ๆ จน ยอมเสยี ความยตุ ธิ รรม ๔. สาราณยี ธรรม ๖ สาราณยี ธรรม ๖ แปลวา่ ธรรมทชี่ ่วยใหร้ ะลกึ ถงึ กนั หมายถึง ธรรมทเี่ ปน็ หลักในการสรา้ งความสามัคคี ความสามคั คี คือ การร่วมมือสมัครสมานกันทั้งกาย วาจา ใจ เพ่ือให้บรรลุจุดหมายปลายทางอัน ชอบธรรมร่วมกัน การร่วมมือนั้นจะเกิดผลดีย่ิงหากทุกคนท่ีเกี่ยวข้องเห็นพ้องต้องกัน แต่การที่จะให้ทุกคน เห็นตรงกันหมดนั้นมิใช่ของง่าย ดังนั้น หลังจากที่พิจารณากันด้วยเหตุผลแล้ว คนส่วนน้อยจะต้องเห็นคล้อย ตามคนสว่ นมาก ความสามคั คีจงึ จะเกดิ ข้นึ ได้ ๑. ความสําคัญของความสามคั คี ความสามัคคีมีความสําคัญมาก เพราะทําให้เกดิ พลัง พลงั น้ีใช้ไดท้ ง้ั ทางดีและทางช่ัว การใช้ พลังในทางชั่วนั้นเป็นการทําลายผู้อ่ืนและตัวเอง ควรละเว้น การที่ความสามัคคีก่อให้เกิดพลังน้ันเราเห็นได้ แม้กบั ธรรมชาตทิ ่ไี ร้ชีวิต เช่น ถ้าเราใช้กระจกนูนรวมแสงอาทิตย์ให้มารวม ณ จุดเดียวกันได้ ก็จะเกิดพลังเผา ไหม้ได้ หรอื เชอื กทที่ าํ ข้ึนจากหอหรือป่านแต่ละเส้น ฟน่ั รวม ๆ กนั จนเปน็ เกลยี วเหนียวแนน่ ดึงขาดไดย้ าก แต่ถ้าปอหรือป่านแต่ละเส้นอยู่เส้นเดียวเดี่ยว ๆ ก็ไม่เกิดความเหนียวเท่าไร สามารถดึงขาดได้ง่าย ในหมู่สัตว์ เองก็ต้องการความสามัคคี เช่น การอยู่รวมกันของผึ้ง มีการแบ่งงานแบ่งหน้าที่กันทํางาน ช่วยกันหาอาหาร นอกจากน้ันใครจะไปทําลายก็กลัวพลังความสามัคคีของผ้ึงท้ังรัง ในสังคมมนุษย์ ถ้าหากสังคมใดมีความสมัคร สมานสามัคคี ก็ทําใหส้ งั คมนน้ั มแี รงมพี ลงั สามารถปฏิบตั ิ กจิ กรรมต่าง ๆ ใหล้ ุลว่ งไปด้วยดี เช่น นักเรยี นทกุ คนรว่ มกันรักษาความสะอาดของโรงเรียน ไม่ท้ิงขยะมูล ฝอยในสนาม ก็ทําให้โรงเรียนนั้นดูสะอาดเรียบร้อย หรือคนในหมู่บ้านร่วมแรงร่วมใจกันป้องกันภัยจากโจร ผู้ร้าย ด้วยการอยู่เวรยามหรือช่วยกันสอดส่องดูแลคนแปลกปลอมเข้ามาในหมู่บ้านก็จะทําให้หมู่บ้านนั้นพ้น จากภัยของโจรท่ีจะมาลักเล็กขโมยน้อยได้ แต่ถ้าสังคมใดขาดความสามัคคีก็จะทําให้สังคมน้ันถึงซึ่งความวิบัติ ได้ง่าย ไม่ว่าจะเป็นสังคมระดับครอบครัว หมู่บ้าน โรงเรียนหรือประเทศชาติก็ตาม ดังน้ันการเสียกรุงศรี

๑๖ อยุธยาทั้ง ๒ ครั้ง ก็เพราะการขาดความสามัคคี คนไทยบางคนเอาใจออกห่างไปข้างข้าศึก พม่าจึงเข้าโจมตี ได้ง่าย ดังนี้ เปน็ ตน้ ๒. หลกั ธรรมในการสร้างความสามคั คี หลกั ธรรมท่ีพระพุทธเจา้ ทรงสอนเกี่ยวกบั เรือ่ งการสร้างความสามคั คี คอื “สาราณยี ธรรม ๖“ ซึ่งมี ๖ ขอ้ ด้วยกนั ดงั นี้ ๑) เมตตากายกรรม หมายถึง การมีความเอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่ต่อสมาชิกในหมู่คณะเดียวกัน นับตั้งแต่คนใกล้ตัว เช่น พ่อแม่พี่น้อง ญาติมิตร ตลอดจนเพ่ือนร่วมงาน หรือเพื่อนร่วมชาติ เป็นต้น ด้วย การอนุเคราะห์ช่วยเหลือคนท่ีอ่อนแอกว่า ไม่เห็นแก่ตัวหรือเห็นแก่ได้ เอาตัวรอดแต่เพียงผู้เดียว เป็นการให้ ความรักความเมตตาแก่สมาชิกร่วมสังคม ทําใหส้ งั คมมีแตค่ วามรกั ความสามัคคี ตนเองก็เปน็ ทีร่ ักของคนอื่น ๒) เมตตาวจกี รรม คือ การมวี าจาดตี ่อกนั เชน่ พูดจาสภุ าพ ไม่พูดค่อนขอดนินทา เมื่อ มีปัญหาขัดแย้งก็พูดจาตกลงกันด้วยเหตุผล ไม่พูดจาข่มขู่หรือเยาะเย้ยถากถางกัน นอกจากนี้เมตตา- วจีกรรมยังหมายถึงการแจ้งข่าวท่ีเป็นประโยชน์ หรือสั่งสอนตัดเตือนกันด้วยความหวังดี หากปฏิบัติได้ดังน้ี ย่อมนาํ ความสามคั คีมาสูส่ งั คมอย่างดยี ง่ิ ๓) เมตตามโนกรรม คือ การคดิ ดตี ่อกัน ไม่คิดมุ่งร้ายพยาบาทหรืออิจฉาริษยากัน ดีใจ ด้วยเม่ือสมาชิกร่วมหมู่คณะได้ดี เสียใจด้วยเมื่อเขาประสบความเสียหาย ทั้งน้ีต้องจริงใจต่อกัน มี ความปรารถนาดีต่อกัน ไม่มัวแต่จ้องจะจับผิดกัน ควรมองกันในแง่ดี คนเราน้ันความคิดมาก่อนการกระทํา เม่ือคิดแล้วจึงทํา ถ้ามีจิตใจดีต่อกันแล้ว ก็มีแต่ความเป็นมิตร ไม่คิดร้ายซึ่งกันและกัน หมู่คณะใดที่มีน้ําใจดี งามตอ่ กันเชน่ น้ี ย่อมทาํ ใหห้ มคู่ ณะนนั้ มคี วามสามัคคีอยูอ่ ย่างเหนียวแน่น ๔) สาธารณโภคี คือ การแบ่งปันส่ิงของให้แก่กันและกัน ไม่ตระหน่ีหรือหวงไว้แต่ผู้เดียว แม้จะเป็นของเล็กน้อยก็ตาม ดูแลเอาใจใส่ส่ิงของผู้อื่นเหมือนกันเป็นของตนเอง ไม่ทําลายทรัพย์สินซ่ึงเป็น สาธารณประโยชน์ หากสมาชิกของหมู่คณะผู้ใดอัตคัดขาดแคลนก็ช่วยเหลือเจือจานกันตามกําลัง ความสามารถ ความรกั ใครก่ ลมเกลียวย่อมเกิดขนึ้ อยแู่ ละอยู่ไดน้ านในหมูค่ ณะ ซ่ึงปฏบิ ตั ดิ ังที่กลา่ วมาน้ี ๕) สีลสามัญญตา คือ มีความประพฤติสุจริตดีงาม มีระเบียบวินัย ไม่ละเมิดกฎเกณฑ์ ของหมู่คณะตามอําเภอใจ เมื่อมีกฎหรือระเบียบก็ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด และปฏิบัติให้เสมอเหมือนกันหมู่ คณะทม่ี แี ต่คนทจุ รติ คอยเอารัดเอาเปรยี บผ้อู ืน่ มแี ต่การเกย่ี งงอนกัน จะหาความสามัคคีในหม่คู ณะน้นั มิได้ ๖) ทิฏฐิสามัญญตา คือ มีความเห็นชอบร่วมกัน หากมีปัญหาใด ๆ ก็หาทางยุติปัญหา รว่ มกัน ใชต่ ่างคนต่างคิด ต่างคนตา่ งเหน็ วา่ ตนถูก ตอ้ งยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผู้อื่น ขจัดความเห็นแก่ตัว รู้จักใช้ปัญญาพิจารณาหาเหตุผล ร่วมมือร่วมใจกันสร้างสรรค์ความดีงามให้กับสังคม และความสามัคคีก็จะ ตามมา หมู่คณะใดก็ตามปฏิบัติตามหลักสาราณียธรรมทั้ง ๖ ประการน้ี ก็จะเป็นการสร้างและรักษาความ สามัคคีให้เกิดแก่หมู่คณะนั้น ทําให้เกิดพลังในการปฏิบัติงานของหมู่คณะ และอยู่ร่วมกันด้วยความสงบสุข ศตั รูอนื่ ใดก็ไมอ่ าจกลาํ้ กรายมาทาํ รา้ ยได้ ๕. อปรหิ านยิ ธรรม ๗ ธรรมข้อนไี้ ดช้ ่อื วา่ ธรรมมะอันเปน็ เหตุไม่ให้เกดิ ความเสอื่ ม พระพทุ ธเจ้าได้ทรงสอนธรรมะท่ีจะ ป้องกันมใิ หเ้ กิดความเส่อื มขน้ึ ทง้ั ในศาสนจกั รและอาณาจกั ร คอื ทงั้ ฝา่ ยบา้ นเมืองและฝา่ ยคณะสงฆ์ ธรรมะ ข้อนี้เรยี กว่า “อปรหิ านิยธรรม ๗” ซงึ่ มีทัง้ ฝา่ ยบ้านเมืองและฝ่ายคณะสงฆ์ ในทน่ี จี้ ะกลา่ วเพียงของฝา่ ย บา้ นเมอื ง บ้านเมืองใดกต็ าม หากผู้คนปฏบิ ัติไมเ่ หมาะสม อาจทาํ ใหเ้ กดิ ความหายนะ คอื ความเสือ่ มได้ วธิ ี ปอ้ งกันไมใ่ ห้เกดิ ความเสือ่ มข้ึนในบา้ นเมืองทพ่ี ระพุทธเจา้ ทรงสอนไว้ ซึง่ เรยี กวา่ อปรหิ านิยธรรม ๗ คอื ธรรมะ อนั เป็นเหตุไมใ่ ห้เกดิ ความเสอ่ื ม มีดังนี้

๑๗ ๑) หม่ันประชุมกันเนื่องนิตย์ การประชุมเป็นการปรึกษาหารือ เพ่ือแก้ไขปัญหาของ บ้านเมืองร่วมกัน เป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และควรยอมรับในเหตุผลที่ถูกต้อง และ เป็นประโยชน์ เพ่อื นาํ ไปเป็นหลกั ในการบรหิ ารบา้ นเมืองต่อไป ๒) พร้อมเพรียงกันประชุม เลิกประชุม และทํากิจที่ควรทํา การประชุมปรึกษากันนั้น หากมาไม่พร้อมเพรียงกัน ข้อตกลงที่มีขึ้นอาจไม่เป็นที่ยอมรับของผู้ท่ีไม่เข้าประชุมก็ได้ การตรงต่อเวลาจึง เป็นส่ิงสําคัญ เมื่อเลิกประชุมก็ต้องเลิกพร้อมกัน มิฉะนั้นจะเกิดปัญหาตามมาได้ เช่น ความคิดเห็นของบาง คนไม่ได้รับการพิจารณา หรือพิจารณาแล้วไม่ยอมรับ เป็นต้น ส่วนกิจกรรมของบ้านเมืองนั้นก็ต้องปฏิบัติ ด้วยความสามัคคเี ป็นนาํ้ หน่งึ ใจเดียวกนั จึงจะช่วยให้กจิ กรรมนั้นสาํ เรจ็ ลลุ ว่ งไปด้วยดี ๓) ไม่บัญญัติหรือเลิกล้มข้อบัญญัติตามอําเภอใจ ความสงบสุขของบ้านเมืองจะเกิดข้ึนได้ ต้องอาศัยระเบียบและกฎเกณฑ์และประชาชนร่วมมือปฏิบัติตามกฎเกณฑ์น้ัน ไม่ล้มเลิกหรือร่างระเบียบ กฎเกณฑข์ ้นึ มาเองโดยปราศจากการยอมรับของผอู้ ่ืน เพราะกฎเกณฑ์เปน็ สิง่ ท่ีต้องปฏิบัตริ ว่ มกัน เช่น การข้าม ถนนตรงทางขา้ ม ซ่งึ เป็นทรี่ ู้และเข้าใจกนั ท้ังคนขบั รถและคนข้าม แตถ่ า้ คนขา้ มไมข่ า้ มถนนในทางขา้ มก็ อาจจะถกู รถชนได้ เพราะคนขบั รถจะคดิ ว่ายังไมถ่ งึ ทางข้ามก็เลยไม่ลดความเรว็ เป็นตน้ การปฏิบตั ิตามกฎ จราจรนอกจากจะทําให้การจราจรคล่องตวั แลว้ ยงั ช่วยลดอบุ ตั ิเหตไุ ด้อีกด้วย ๔) เคารพและรบั ฟงั ความเหน็ ของผใู้ หญ่ ผู้ใหญเ่ ปน็ ผทู้ ่ีเกดิ ก่อนเรา ผา่ นประสบการณม์ า มาก ได้ทําคุณประโยชน์นานัปการให้แกบ่ ้านเมอื ง และยงั ชว่ ยรกั ษาบา้ นเมอื งใหอ้ ย่รู อดมาได้จนปจั จบุ นั ชนรนุ่ หลังจงึ ควรใหค้ วามเคารพและเชอื่ ฟงั คําสัง่ สอนของทา่ น การรับฟงั คาํ ส่งั สอนของผู้ใหญน่ ับเป็นสิง่ ดีไมท่ าํ ให้ เสียหายอย่างไร แต่จะยดึ ถือปฏิบตั ิตามหรือไมอ่ ยา่ งไรกข็ ้นึ อยู่กบั การใช้ปญั ญาไตร่ตรอง พจิ ารณาความ เหมาะสมหรือทดลองปฏิบตั ิดู เพราะการรบั ฟงั แล้วนํามาไตร่ตรองนั้นมีแต่ผลดี เดก็ บางคนมกั จะมองผ้ใู หญว่ ่า มีความคิดลา้ สมยั ไม่ทันเหตกุ ารณ์ โดยหาไดค้ ดิ ว่าการเปลี่ยนแปลงทีเ่ รง่ รอ้ นเกินไป อาจเกดิ ความเสียหายจน เกนิ กวา่ จะแกไ้ ขได้ การฟงั คาํ ทักทว้ งของผใู้ หญแ่ ล้วรู้จักใช้ปัญญาตัดสนิ จึงมแี ตผ่ ลดที ัง้ ตอ่ ตัวเราและสว่ นรวม ๕) ไมข่ ม่ เหงหรอื ฉดุ ครา่ สตรี สตรถี ือเปน็ เพศท่อี อ่ นแอ เป็นตวั แทนของความสวยงาม บุรุษจึงควรให้เกียรติและให้การทะนุถนอม การที่ผู้ชายซึ่งแข็งแรงกว่าทําร้ายสตรีด้วยการฉุดคร่าอนาจารถือ เป็นภัยที่ร้ายแรงของสังคม เพราะนอกจากจะทําให้เสียหายได้รับอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือทําให้จิตใจเส่ือม โทรมแลว้ ยังทําให้คนรักไม่วา่ จะเป็นพอ่ แม่ ญาตพิ ี่น้อง พลอยได้รบั ความเจ็บปวดและกระทบกระเทือนใจไป ดว้ ย ๖) เคารพสักการบูชาเจดีย์ คือ การให้ความเคารพและปกปักรักษาส่ิงที่ควรบูชา ใน สมัยปัจจุบันหมายรวมถึงอนุสาวรีย์ของผู้ที่บําเพ็ญประโยชน์ให้แก่บ้านเมือง สําหรับเจดีย์นั้น เป็นสัญลักษณ์ อย่างหนง่ึ เพอ่ื กระลึกถงึ คณุ ความดขี องพระพทุ ธองค์ ๗) ให้ความอารักขาแก่พระอรหันต์ พระอรหันต์ในท่ีน้ีหมายรวมถึงบรรพชิตผู้ทรงธรรม และปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างท่ีดีของคนท่ัวไป นอกจากนั้นยังสั่งสอนคนให้ตั้งอยู่ในศีลธรรมอันดี เราจึงช่วยกัน รักษาท่านไวไ้ มท่ าํ ลายหรือปล่อยใหผ้ ู้อน่ื มาลาํ ลายทา่ น ๖. สปั ปรุ สิ ธรรม ๗ การกลา่ วถงึ ชือ่ คนประเภทต่าง ๆ เชน่ คนพาล บณั ฑติ พุทธมามกะ อบุ าสก อบุ าสิกา ภกิ ษสุ ามเณร พุทธศาสนิกชน ปุถชุ น อรยิ ะชน และชอ่ื อน่ื ๆ อกี มาก เปน็ การร้องเรยี กแยกประเภทตามวัตรปฏบิ ตั ิหรือความ ประพฤติของบุคคลเหลา่ นัน้ วธิ แี ยกประเภทคนข้ันมลู ฐาน คอื แยกข้ันตน้ ตามทรรศนะของพระพทุ ธศาสนา คอื แยกคน ออกเป็น ๒ พวก ได้แก่ ก. สัตบรุ ุษ คนดี ข. อสตั บรุ ุษ คนไมด่ ี

๑๘ ท่วี า่ ดหี รือไม่ดนี ว้ี ่าตามทรรศนะของศาสนาพุทธ ท่พี ระพทุ ธเจา้ ระบไุ ว้ หรือจะพดู สน้ั ๆ วา่ ตาม พทุ ธนยิ มก็ได้ ประโยชนข์ องการศกึ ษาสปั ปรุ สิ ธรรม คอื ๑. เราจะได้ปรบั ปรุงตัวเองใหถ้ ูกแบบที่ดี ๒. มีคาํ สอนอยู่มากในศาสนา สอนให้เราคบหาสมาคมกบั สัตบรุ ุษ เรากจ็ ะได้ร้วู ่าคน อย่างไรเป็นสตั บุรษุ ๓. มักมีคนตําหนิติเตียนว่าคนทปี่ ฏิบตั ติ ามธรรมะของพระพทุ ธศาสนาเป็นคนครึ เซอ่ ซา่ น่ารงั เกยี จในสงั คมสมัยใหม่ เม่ือศกึ ษาเรอื่ งนี้แลว้ เราจะตัดสินใจไดเ้ องว่า คาํ ติเตียนน้ันจรงิ หรือไมจ่ รงิ ข้อขดี คน่ั ระหว่างศาสนิกชน พระพุทธศาสนาประกอบดว้ ยผูน้ ับถือจาํ นวนมากมายประมาณ ๕๐๐ ล้านคนทั่วโลก คนเหล่านี้ เรียกวา่ พทุ ธศาสนิกชน ทัง้ สนิ้ แตค่ นเหล่านก้ี ม็ ิใช่จะเป็นคนดที ุกคน เรานบั รวมหมดทัง้ ทเ่ี ป็นคนดแี ละคนชั่ว คนพาลเกเร กระท่ังเป็นโจรมหาโจรก็มี รวมอยู่ในนี้ เพราะแมเ้ ขาจะช่วั ชา้ อย่างเขากย็ งั นับถือศาสนานอ้ี ยู่ ยัง ไมข่ าดจากศาสนา เรากต็ ้องยอมรบั ว่าเขาเปน็ พทุ ธศาสนิกชน แต่เราแยกเรียกเฉพาะ ศาสนกิ ชนทด่ี วี า่ “ สตั บุรษุ ” ฉะนนั้ คําวา่ สัตบุรษุ จึงพอเทียบได้กบั คําว่า พลเมอื งดแี ละเม่ือพระพุทธองค์ทรงจาํ กัดไว้วา่ มคี นพวก หน่งึ เป็นสัตบุรษุ กเ็ ป็นอันส่องความใน มมุ กลบั วา่ ยงั มีคนอกี พวกหนงึ่ เป็น อสตั บุรุษคอื คนไม่ดอี ยู่ ธรรมของสตั บรุ ษุ ธรรมะของสตั บรุ ษุ มีอยู่ ๗ ข้อ ทงั้ ๗ ข้อนี้ เปน็ คุณสมบัติของสตั บรุ ุษ เป็นเครือ่ งหมายวา่ ผนู้ นั้ เป็น สัตบรุ ษุ ใครกต็ ามไม่วา่ จะยากดีมีจนอย่างไร ถ้ามีคณุ สมบตั ิ ๗ ประการน้ี ผนู้ นั้ เป็นสตั บรุ ษุ แตถ่ า้ ขาดคณุ สมบัติ แม้ว่าจะเป็นคนมชี าตสิ กลุ มวี ทิ ยฐานะสงู มยี ศศกั ด์ิอัครฐาน ม่งั มเี งนิ ทองสักปานใด ก็ไมเ่ รยี กว่า สตั บุรษุ ธรรม ของสตั บุรุษ ธรรมทท่ี ําให้เปน็ สตั บรุ ุษ คณุ สมบตั ิของคนดี ธรรมของผู้ดมี ี ๗ ประการ คอื ๑.ธัมมัญญุตา ความรจู้ กั ธรรม รหู้ ลกั หรอื รู้จักเหตุ คอื รหู้ ลักความจรงิ รู้หลกั การ รู้หลกั เกณฑ์ รู้ กฎ แหง่ ธรรมชาติ รู้กฎเกณฑแ์ ห่งเหตุผล และรู้หลักการที่จะทาํ ให้เกดิ ผล เชน่ ภิกษรุ วู้ า่ หลักธรรมข้อน้ัน ๆ คืออะไรมีอะไรบ้าง พระมหากษัตริย์ ทรงทราบว่าหลักการปกครองตามราชประเพณีเปน็ อย่างไร มอี ะไรบา้ ง รู้ว่าจะต้องกระทาํ เหตุอนั นี้ ๆ หรือกระทาํ ตามหลกั การข้อนี้ ๆ จงึ จะใหเ้ กดิ ผลทตี่ ้องการอันน้ัน ๆ เปน็ ตน้ ๒. อตั ถัญญตุ า ความรู้จักอรรถ รูค้ วามมุ่งหมายหรอื ร้จู ักผล คือ รคู้ วามมงุ่ หมาย รปู้ ระโยชนท์ ี่ ประสงค์ รจู้ ักผลที่จะเกิดขนึ้ สืบเนือ่ งจากการกระทาํ หรือความเปน็ ไปตามหลกั เชน่ รู้ว่าหลกั ธรรมหรือภาษิต ขอ้ นั้น ๆ มีความหมายอยา่ งไร หลกั น้ัน ๆ มคี วามมุง่ หมายอย่างไร กาํ หนดไว้ หรือพึงปฏิบตั ิเพือ่ ประสงค์ ประโยชนอ์ ะไร การท่ตี นกระทาํ อยมู่ ีความมงุ่ หมายอยา่ งไร เม่ือทาํ ไปแล้วจะบงั เกิดผลอะไรบา้ ง ดงั น้เี ปน็ ตน้ ๓. อตั ตญั ญุตา ความรูจ้ ักตน คอื รู้ว่าเราน้ัน ว่าโดยฐานะ ภาวะ เพศ กําลงั ความรู้ ความสามารถ ความถนัด และคุณธรรม เปน็ ต้น บัดนี้เทา่ ไร อยา่ งไร แลว้ ประพฤตใิ ห้เหมาะสมและรทู้ ี่ จะแก้ไขปรบั ปรุงตนเองใหด้ ีย่ิง ๆ ขน้ึ ต่อไป ๔. มัตตัญญุตา ความรู้จักประมาณ คือ ความพอดี เช่น ภิกษุรู้จักประมาณในการรับและ บริโภคปัจจัยสี่ คฤหัสถ์รู้จักประมาณในการใช้จ่ายโภคทรัพย์ พระมหากษัตริย์ หรือรัฐบาลรู้จักประมาณใน การลงทัณฑ์อาชญาและในการเกบ็ ภาษี เปน็ ต้น ๕. กาลัญญตุ า ความรูจ้ กั กาล คอื รูก้ าลเวลาอันเหมาะสมและระยะเวลาท่จี ะตอ้ งใชใ้ น การประกอบกจิ กระทําหน้าทก่ี ารงาน เชน่ ให้ตรงเวลา ให้เปน็ เวลา ให้ทันเวลา ใหพ้ อเวลา ให้เหมาะเวลาเป็นต้น ๖. ปริสัญญุตา ความรจู้ ักบรษิ ทั คอื รจู้ กั ชมุ ชน และร้จู ักที่ประชมุ รกู้ ิรยิ าทีจ่ ะประพฤติ ต่อชมุ ชนนั้น ๆ วา่ ชมุ ชนน้เี มือ่ เข้าไปหา จะต้องทาํ กริ ยิ าอย่างนี้ จะต้องพดู อย่างน้ี ชมุ ชนนคี้ วรสงเคราะห์ อย่างนี้ เป็นต้น

๑๙ ๗. ปุคคลญั ญุตา หรือ ปคุ คลปโรปรัญญตุ า ความรูจ้ ักบุคคล คือ ความแตกต่างแห่งบุคคลว่า โดย อัธยาศัย ความสามารถและคุณธรรม เป็นต้น ใคร ๆ ยิ่งหรือหย่อนอย่างไร และรู้ที่จะปฏิบัติต่อบุคคลน้ัน ๆ ดว้ ยดีว่าควรจะคบหรือไม่ จะใช้ จะตําหนิ ยกย่อง และแนะนําสงั่ สอนอยา่ งไร เป็นตน้ ๖. จักรวรรดวิ ตั ร ๕ ๖.๑ ธรรมาธปิ ไตย ถอื ธรรมเปน็ ใหญ่ ๖.๒ ธรรมิการกั ขา ให้ความคมุ้ ครองโดยธรรม ๖.๓ มา อธรรมการ ห้ามกน้ั การอันอาธรรม์ ๖.๔ ธนานุประทาน ปนั ทรพั ยเ์ ฉลี่ยแก่ชนผูไ้ รท้ รพั ย์ ๖.๕ สมณพราหมณปริปจุ ฉา สอบถามปรกึ ษาพระสงฆ์ และนกั ปราชญร์ าชบัณฑิตเป็นต้น

๒๐ กฎแห่งกรรม สาระการเรียนรู้ ๑. รคู้ วามหมายและความสําคญั เร่ืองกรรม ๒. ประเภทของกรรม ๓. การใหผ้ ลของกรรม ๔. เกณฑต์ ัดสนิ กรรมดีกรรมชั่ว ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวัง ๑. ได้เข้าใจหลกั กรรมทางพทุ ธศาสนา ๒. มคี วามเช่อื ในเร่อื งของการกระทาํ ทงั้ ฝ่ายดแี ละชวั่ ๓. มกี ารเปลย่ี นแปลงในดา้ นพฤติกรรมทดี่ ีขึ้น ๔. มคี วามเกรงกลัวต่อบาปอกุศล กจิ กรรมระหวา่ งเรยี น ๑. บรรยาย ๒. สอบถาม ๓. ใบงาน สื่อการสอน ๑. เพาเวอรพ์ อยท์ ๒. เอกสารตํารา ๓. คลิปวดี ิโอท่เี กย่ี วขอ้ ง ประเมนิ ผล ๑. ใหต้ อบคําถาม ๒. แบบทดสอบหลงั เรยี น

๒๑ กฎแหง่ กรรม ความหมายและความสาํ คญั ของเรอื่ งกรรม กรรมแปลตามศพั ท์วา่ การกระทาํ หรือการงาน แตใ่ นทางธรรม หมายถงึ การกระทําทป่ี ระกอบดว้ ย เจตนาหรือการกระทําท่ีมีความจงใจดังพระพุทธพจน์ท่วี า่ “เจตนาหัง ภกิ ขะเว กมั มัง วะทาม”ิ แปลว่า ภิกษุ ทง้ั หลาย เจตนานนั่ เอง เราเรยี กวา่ “กรรม” ถา้ เป็นการกระทาํ ทไี่ ม่มเี จตนา ไม่มีความจงใจก็ไม่เรียกว่าเป็นกรรม พระพทุ ธศาสนาบางคร้งั ได้ช่ือว่า “กมั มวาท” คือศาสนาท่ีสอนเร่อื งกรรม แมพ้ ระพทุ ธองคก์ ไ็ ดพ้ ระนาม วา่ “กมั มวาที”คือผ้ทู รงสอนเรื่องกรรม ฉะนน้ั ผทู้ ่นี ับถือพระพุทธศาสนา หากยงั ไม่เชื่อเรื่องกฎแหง่ กรรม ก็ยงั ไมไ่ ด้ชือ่ วา่ นับถือพระพทุ ธศาสนาอยา่ งแท้จริง ประเภทของกรรม ก.จําแนกตามคณุ ภาพหรอื ตามมลู เหตแุ ห่งการกระทาํ มี ๒ อยา่ งคือ ๑) กุศลกรรม กรรมทเี่ ปน็ กุศล การกระทาํ ที่ดี ซง่ึ กระทาํ จากมูลเหตุทดี่ ที ีเ่ รียกวา่ กศุ ลมูล คอื อโล ภะ ความไม่โลภ อโทสะ ความไมโ่ กรธ หรือ อโมหะ ความไม่หลงงมงาย ๒) อกศุ ลกรรม กรรมทเี่ ป็นอกศุ ล การกระทาํ ทีไ่ ม่ดี ซ่ึงกระทําจากมลู เหตทุ ช่ี วั่ ที่เรียกวา่ อกศุ ลมูล คือ โลภะ ความโลภ โทสะ ความโกรธ หรอื โมหะ ความหลงงมงาย ข. จําแนกตามทวาร คือทางที่แสดงออกของการกระทํา มี ๓ อยา่ ง คือ ๑) กายกรรม การกระทําทางกาย ๒) วจีกรรม การกระทาํ ทางวาจา ๓) มโนกรรม การกระทาํ ทางใจ ค. กรรม ๑๒ ตามทแ่ี สดงไว้ในอรรถกถาและฎกี าทงั้ หลาย ดังน้ี หมวดที่ ๑ จาํ แนกตามเวลาทใี่ ห้ผล (โดยปากกาล) ๑) ทฏิ ฐธรรมเวทนยี กรรม กรรมท่ใี หผ้ ลในปัจจบุ ันในภพน้ี คอื กรรมดชี ัว่ ท่ีกระทําในขณะแห่ง ชวนจิตดวงแรก กรรมนี้ถ้าไมม่ โี อกาสใหผ้ ลในชาติน้ีก็กลายเปน็ อโหสิกรรม ไม่มผี ลต่อไป ๒) อุปปชั ชเวทนียกรรม กรรมท่ีใหผ้ ลในภพที่จะไปเกิดคอื ในภพหนา้ คอื กรรมดีหรือชั่วที่กระทํา ในขณะแห่งชวนจติ ดวงสดุ ทา้ ย กรรมนใ้ี หผ้ ลเฉพาะในชาตถิ ดั จากนไี้ ปเท่านน้ั ถ้าไมม่ ีโอกาส ใหผ้ ลในชาติหนา้ ก็กลายเป็นอโหสกิ รรม ๓) อปราปรเวทนียกรรม กรรมทใ่ี หผ้ ลในภพตอ่ ๆ ไป กรรมน้ใี หผ้ ลไดเ้ รือ่ ยไปในอนาคต เม่อื เลย จากภพหน้าไปแลว้ คือได้โอกาสเมอ่ื ใดก็ให้ผลเมอื่ น้นั ไมเ่ ป็นอโหสิกรรม ตราบเทา่ ทย่ี ังอย่ใู นสังสารวัฎ ๔) อโหสิกรรม กรรมท่เี ลิกใหผ้ ล คอื กรรมทไี่ มม่ โี อกาสท่จี ะใหผ้ ลในเวลาที่จะออกผลได้ เมื่อผา่ น ล่วงเวลานัน้ ไปแล้ว ก็ไมใ่ หผ้ ลอีกตอ่ ไป หมวดท่ี ๒ จาํ แนกการใหผ้ ลตามหน้าท่ี (โดยกิจ) ๕) ชนกกรรม กรรมแตง่ ใหเ้ กดิ หรือกรรมทเ่ี ป็นตวั นําใหเ้ กิด สามารถใหเ้ กดิ วบิ ากเอง ๖) อปุ ตั ถัมภกกรรม กรรมสนบั สนุน ซึง่ ไมส่ ามารถใหเ้ กิดวิบากเอง แต่จะทาํ หนา้ ท่ีชว่ ยสนบั สนนุ หรือซํา้ เติมต่อจากชนกกรรม ๗) อุปปีฬกกรรม กรรมบีบคน้ั เปน็ ฝ่ายตรงกนั ข้ามกบั ชนกกรรม ทาํ หน้าทีบ่ บี คน้ั มใิ หผ้ ลแหง่ ชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมนั้นใหแ้ ปรเปลีย่ นทุเลาลงไป บั่นทอนวบิ ากมใิ หเ้ ปน็ ไปไดน้ าน ๘) อปุ ฆาตกกรรม กรรมตดั รอน คือกรรมทต่ี รงกันข้ามกับชนกกรรมและอปุ ัตถัมภกกรรมทีม่ ี กาํ ลงั แรง เขา้ ตดั รอนกรรมท่มี ีกําลังนอ้ ยกวา่ เสีย หา้ มวบิ าก (ผล) ของกรรมอ่ืน แลว้ เปิดชอ่ งให้แกว่ บิ ากของตน หมวด ๓ จาํ แนกตามความแรงในการให้ผล (โดยปากทางปรยิ าย) ๙) ครกุ กรรม กรรมหนักทมี่ ผี ลแรงมาก ฝา่ ยดไี ด้แก่สมาบัติ ๘ ฝ่ายช่ัวไดแ้ ก่ อนันตริยกรรม (กรรมหนกั ) มีฆา่ มารดา เปน็ ตน้ จะให้ผลกอ่ นและครอบงํากรรมอน่ื ๆ เสีย

๒๒ ๑๐) พหุลกรรมหรอื อาจิณณกรรม กรรมทาํ มากหรอื กรรมเคยชิน กระทําบอ่ ย ๆ สง่ั สมจนเคยชนิ เปน็ นิสัย กรรมนี้ถา้ ไม่มีครกุ กรรมจงึ จะใหผ้ ล ๑๑) อาสนั นกรรม กรรมจวนเจียน หรือกรรมใกลต้ าย คือกรรมท่ีระลึกได้ในเวลาใกลต้ าย ถ้าไม่มี กรรม ๒ ข้อกอ่ นนก้ี ็จะให้ผลกอ่ นกรรมอ่นื ๆ ๑๒) กตัตตากรรม หรอื กตตั ตาวาปนกรรม กรรมสกั แตว่ า่ กระทาํ คอื กรรมทที่ าํ ดว้ ยเจตนา อนั อ่อน หรอื มิใชเ่ จตนาอยา่ งน้ัน โดยตรง เป็นกรรมท่เี บา ถ้าไม่มกี รรม ๓ ขอ้ ก่อน กรรมนจ้ี งึ จะใหผ้ ล การใหผ้ ลของกรรม คํากลา่ วท่ชี าวพทุ ธนยิ มพูดเรอ่ื งการให้ผลของกรรมคือ “ทําดไี ด้ดี ทําชั่วได้ช่วั ” น้มี าจากพทุ ธศาสน สุภาษติ ซ่งึ นับว่าเป็นขอ้ ความทแ่ี สดงหลักกรรมไดอ้ ยา่ งกระทดั รัดชดั เจน วา่ “ยาทสิ งั วะปะเต พชี งั ตาทสิ งั ละภะเต ผะลงั กลั ยาณะการี กลั ยาณงั ปาปะการี จะ ปาปะกงั ” “บุคคลหว่านพืชเช่นใด ยอ่ มไดผ้ ลเช่นนั้น ผทู้ าํ ดยี อ่ มไดด้ ี ผทู้ ําช่วั ย่อมได้ชว่ั ” เกณฑต์ ดั สนิ กรรมดหี รอื ช่วั ก. เกณฑ์หลกั ตดั สนิ ดว้ ยพิจารณาจากมูลเหตุว่า เปน็ เจตนาท่ีเกดิ จากกุศลมลู ถอื ว่าเปน็ กรรมดี หรือเปน็ เจตนาที่ เกิดจากอกศุ ลมลู ถือวา่ เปน็ กรรมชัว่ และพิจารณาตามสภาวะว่า เป็นสภาพเก้อื กูลแก่ชีวติ จิตใจ ส่งเสริม คณุ ภาพและสมรรถภาพจิตชว่ ยให้กุศลธรรมเจริญงอกงามขน้ึ ถอื ว่าเป็นกรรมดี ถา้ บัน่ ทอนคุณภาพและ สมรรถภาพของจิตถอื วา่ เป็นกรรมช่ัว ข. เกณฑร์ ่วม ๑) ใช้มโนธรรมคือความรู้สึกผิดชอบชว่ั ดีของตนเองพจิ ารณาว่า การทกี่ ระทําน้ันตนเองตเิ ตียนตนเอง ไดห้ รือไม่ เสียความเคารพตนเองหรือไม่ ๒) พิจารณาความยอมรับของวิญญูชนหรือนกั ปราชญ์วา่ ท่านเหลา่ นั้นยอมรบั ชื่นชมสรรเสรญิ หรอื ตําหนิติเตียน ๓) พิจารณาลักษณะและผลของการกระทําท่มี ตี ่อตนเองและผูอ้ นื่ ว่าเปน็ การเบยี ดเบียนตนและผอู้ นื่ ให้เดอื ดรอ้ นหรอื ไม่ เป็นไปเพ่ือประโยชน์สุขแก่ตนเองและผู้อ่นื หรือไม่

๒๓ หลกั การบําเพ็ญบญุ ในพระพุทธศาสนา สาระการเรียนรู้ ๑. ความหมายเรื่อง บุญ – บาป ๒. การทาํ บญุ ในพระพทุ ธศาสนา ๒ นยั ๓. หลักการทาํ บญุ ๓ วธิ ี ๔. ความหมาย ทาน - ศลี - ภาวนา ๕. ผลของการใหท้ าน ผลของการรกั ษาศีล ผลของการเจรญิ จติ ภาวนา ผลการเรยี นร้ทู คี่ าดหวัง ๑.ผู้เรียนไดท้ ราบความหมายเรอ่ื งบญุ - บาป ๒.ผู้เรยี นมคี วามเขา้ ใจในเร่ืองการทาํ บญุ ๓.ผู้เรียนสามารถทราบวิธีการทําบุญในพระพทุ ธศาสนาได้อย่างถูกต้อง ๔.ผู้เรียนมีความศรทั ธาในพระพุทธศาสนา กิจกรรมระหวา่ งเรียน ๑. บรรยาย ๒. สอบถาม ๓. ใบงาน สือ่ การสอน ๑. เพาเวอรพ์ อยท์ ๒. เอกสารตํารา ๓. คลปิ วีดโิ อท่ีเกี่ยวขอ้ ง ประเมินผล ๑. ให้ตอบคําถาม ๒. แบบทดสอบหลังเรยี น

๒๔ หลกั การบาํ เพญ็ บญุ ในพระพุทธศาสนา ความหมายของ บญุ – บาป มีคนอยู่ไม่น้อยเข้าใจว่า บุญเป็นวตั ถุอะไรอยา่ งหนึ่ง ซงึ่ แห่ล้อมไปกับผู้มบี ุญ คอยใหผ้ ลอย่าง มากมายในชาตหิ นา้ และบาปก็เป็นวัตถุอีกชนิดหน่ึง หรือเป็นบันทึกโทษท่ียมบาลได้จารึกไว้ ความจริง บุญคือ ความดีแห่งจิต และบาปก็คือความเสียหายแห่งจิตนั่นเอง หมายความว่า คําว่า บุญ ได้แก่ สภาพจิตที่ดีขึ้น เจริญข้ึน ประณีตขึ้น ส่วนคําว่า บาป ได้แก่ สภาพของจิตท่ีตํ่าทรามลงไป เส่ือมลง บุญคือ ความสะอาด แห่งจิต เป็นสิ่งท่ีมีความสําคัญต่อมนุษย์มาก เพราะเม่ือจิตสะอาดแล้วจะรู้สึกปลอดโปร่ง สดชื่น เบาสบาย เป็นปัจจัยในการดําเนินชีวิตไปอย่างราบรื่น ท้ังยังเป็นพลังสําคัญเป็นการส่งจิตเข้าสู่คติอันดี เมื่อออกจากร่างน้ี ไปแลว้ การทําบุญในพระพทุ ธศาสนา เรียกว่า บญุ กิรยิ าวตั ถุ มี ๒ นัย คือ ๑. บุญกิริยาวัตถุ ๓ ๒. บุญกิรยิ าวตั ถุ ๑๐ ๑. บญุ กริ ยิ าวตั ถุ ๓ (ทต่ี ้งั แห่งการทําบญุ หลกั การทาํ ความดี) ๑.๑ ทานมัย ทาํ บญุ ด้วยการใหเ้ ป็นสิ่งของ ๑.๒ ศีลมัย ทําบุญดว้ ยการรักษาศลี รกั ษากายวาจาใจ ๑.๓ ภาวนามัย ทาํ บญุ ดว้ ยการเจริญภาวนาคอื ฝึกอบรมจิตใจ ๒. บญุ กริ ยิ าวตั ถุ ๑๐ ๒.๑ ทานมยั บุญสําเรจ็ ดว้ ยการให้เปน็ สงิ่ ของ ๒.๒ ศลี มัย บุญสาํ เรจ็ ด้วยการรักษาศลี ๒.๓ ภาวนามยั บญุ สําเรจ็ ดว้ ยการเจรญิ ภาวนาคอื ฝึกอบรมจติ ใจ ๒.๔ อปจายนมยั บญุ สําเรจ็ ดว้ ยการประพฤตอิ ่อนน้อม ๒.๕ เวยยาวจั จมยั บญุ สาํ เร็จด้วยการช่วยทํากจิ ท่ีชอบหรือชว่ ยขวนขวายรับใช้ ๒.๖ ปัตตทิ านมัย บญุ สาํ เร็จดว้ ยการใหส้ ว่ นบญุ เฉล่ียความดีใหผ้ อู้ ืน่ ๒.๗ ปัตตานุโมทนามยั บญุ สําเร็จดว้ ยการอนโุ มทนาสว่ นบุญยินดีในความดีของผอู้ นื่ ๒.๘ ธัมมัสสวนมัย บุญสาํ เร็จด้วยการฟังธรรมศึกษาหาความรู้ ๒.๙ ธมั มเทสนามัย บุญสาํ เร็จดว้ ยการส่งั สอนธรรมให้ความรู้ ๒.๑๐ ทฎิ ฐชุ กุ ัมม์ บญุ สําเร็จด้วยการ ทําความเหน็ ใหต้ รง ความหมายและจาํ นวนของวธิ ีการทาํ บญุ บุญกริ ิยาวัตถุ แปลวา่ วธิ ที าํ บญุ หมายความวา่ บญุ คอื ความสะอาดของจิต หรอื คณุ ภาพอันดขี องจิต เราจะทําได้ด้วยวธิ ีเหล่าน้คี ือ ทาํ ด้วยการใหท้ าน รักษาศีล เจริญภาวนา และข้ออ่นื ๆ ทัง้ หมดนี้คือ วิธที าํ บญุ ใน พระพุทธศาสนา การทาํ บญุ หลักใหญ่ ๆ มเี พยี ง ๓ วิธคี ือ การใหท้ าน, การรักษาศีล, และการเจรญิ ภาวนา จุดมงุ่ หมายเพื่อ ขจดั กเิ ลส ๓ ตระกลู คือ โลภะ โทสะ โมหะ ส่วนทม่ี ีการจัดให้มีบุญกริ ยิ าวัตถุ ๑๐ นนั้ ทา่ นขยายออกจากบญุ กริ ยิ าวตั ถุ ๓ นนั่ เอง หลกั การทาํ บญุ ๓ วธิ ี เน่ืองจากหลักการทําบุญในพระพุทธศาสนา โดยสรุปมเี พยี ง ๓ วิธคี ือ การใหท้ าน การรกั ษาศีล และ การเจริญภาวนา ฉะนน้ั ในทน่ี ้ีจะอธบิ ายเฉพาะบุญกิรยิ าวัตถุ ๓ พอเปน็ แนวทางโดยย่อ ดังนี้ ๑. ทาน การให้ - ความมงุ่ หมายของการบําเพญ็ ทาน - ข้อควรทราบในการบําเพ็ญทาน

๒๕ - ผลทาน ความหมายของการบาํ เพญ็ ทาน คาํ วา่ ทาน ในทางธรรมะท่านกล่าวถึงหลายแห่ง โดยสรปุ มคี วามม่งุ หมาย ๒ ประการคอื .- ก. ทาน = การใหม้ งุ่ ฟอกกเิ ลสภายในของผใู้ ห้ ข. ทาน = การใหม้ ่งุ สงเคราะห์ผ้รู ับ ทาน การใหใ้ นบุญกิรยิ าวตั ถนุ ม้ี คี วามมุ่งหมายในประการแรกคือ ใหเ้ พอ่ื ฟอกกเิ ลสในใจของผใู้ ห้ ข้อควรทราบในการบาํ เพญ็ ทาน ๑. ทานสมบัติ คณุ สมบัติของทาน ๓ ประการ คือ ก. วตั ถุ คือ ของท่จี ะให้ทาน ตอ้ งได้มาโดยสจุ รติ ข. เจตนา คือ ความต้งั ใจทจ่ี ะทําบุญเสยี สละ มใิ ช่มุ่งอยา่ งอ่นื ค. บุคคล คือ บคุ คลผ้ใู หแ้ ละผรู้ ับเป็นคนดีมศี ลี ธรรม ๒. ทานวิธี วิธถี วายทาน ๒ ประการ คอื ก. บคุ ลกิ ทาน การให้เจาะจงบุคคล ข. สังฆทาน การให้ไม่เจาะจงบุคคล ให้เพ่ือส่วนรวม ผลทาน ๓.๑ ผลโดยตรง ผลโดยตรงของการใหท้ านคือ ทําใจให้บรสิ ุทธ์ิสะอาดปราศจากการรบกวนของกเิ ลสข้อ โลภะ คอื ความโลภ ๓.๒ ผลโดยออ้ ม ผลโดยออ้ ม ไดแ้ ก่ การอุทิศผลของการถวายทานนัน้ ไปใหผ้ ู้ทลี่ ่วงลับแลว้ ซ่งึ ถอื ปฏบิ ัตกิ ันอย่ใู น พระพุทธศาสนา ตง้ั แตส่ มยั พุทธกาล ความรู้เบด็ เตลด็ เก่ียวกบั ทาน ๑. ทาน ๒ อย่าง คอื ก. อามิสทาน ให้สงิ่ ของต่าง ๆ ข. ธรรมทาน ให้ธรรมเป็นทาน ๒. ทาน ๓ ชน้ั ก. ทาสทาน ให้อยา่ งดหู ม่ิน หรอื ใหอ้ ย่างให้คนใช้ ข. สหายทาน ใหโ้ ดยขาดคารวะเหมอื นให้แกเ่ พอื่ น ค. สามทิ าน ให้ดว้ ยความเคารพเหมือนให้แกน่ าย ๒. ศีล การรักษากายวาจาใหเ้ รียบรอ้ ย ขอ้ ท่คี วรศกึ ษาในเรอื่ งของศีล ๔ ประการ คอื - ความหมายของศลี - ประเภทของศีล - ผลของการรักษาศีล - วิรัติ ความหมายของศีล คําว่า ศลี แปลวา่ ปกติ ทีว่ า่ “ รกั ษาศีล “ ก็คือ ตั้งใจรกั ษาปกตขิ องตนน่ันเอง คําวา่ “ศีล” แปลวา่ ปกติ หมายเอา เฉพาะศลี ๕ ส่วนศลี ท่สี ูงกวา่ นน้ั มีความหมายตา่ ง ออกไป คอื หมายถงึ วตั รหรือ พรต เพราะเปน็ การบําเพญ็ วัตรช้นั สงู เกนิ กว่าปกตขิ องคนทัว่ ไป ประเภทของศลี ๑. ศลี ๕

๒๖ ๒. ศลี ๘ ๓. ศลี ๑๐ ๔. ศลี ๒๒๗ ๕. ศลี ๓๑๑ ผลการรกั ษาศลี ๑. ผลทางสว่ นตวั ๒. ผลทางออ้ ม ๓. ผลทางประเทศชาติ วริ ัติ (การงดเว้น) ๑. สมาทานวิรัติ เจตนางดเวน้ ด้วยการสมาทานศีลไวล้ ว่ งหนา้ ๒. สัมปตั ตวริ ัติ เจตนางดเว้นเมื่อเผชญิ กับเหตุทจ่ี ะทาํ ใหผ้ ิดศลี ๓. สมุจเฉทวริ ัติ เจตนางดเวน้ เด็ดขาดของทา่ นผู้ส้ินกิเลสแลว้ ๓. ภาวนาและการเจรญิ ภาวนา มีคนเป็นจํานวนมากเข้าใจว่า คําว่า ภาวนา หมายถึง การนั่งสมาธิ หลับตา แล้วก็ว่าคําบริกรรมท่ี เรียกวา่ นงั่ ภาวนา จงึ ทาํ ใหเ้ หน็ ไปว่า ภาวนา เหมาะกับคนแก่ ท่ีจริง คําวา่ ภาวนา มคี วามหมายทั้งเบื้องต่ํา เบ้ืองสูง ซึ่งเมื่อสรุปแล้ว คําว่า ภาวนามีความหมาย ๔ ประการ คือ ๑. การศึกษา ๒. การทํางานดว้ ยการพนิ จิ พิเคราะห์ ๓ .การทาํ จติ ใหส้ งบ (สมถภาวนา) ๔. การพิจารณาไตรลกั ษณ์ ( วปิ ัสสนาภาวนา) ๑. การศึกษา - การเรยี น - การอ่านหนังสอื - การฝึกฝน - การฟงั เทศน์ - การไปดงู าน - การไปชมศิลป์ - สนทนาหาความรู้ - ถามเอาความรู้ - จดบันทกึ - แตง่ หนงั สือ ฯลฯ ๒. การทาํ งานดว้ ยพนิ ิจพเิ คราะห์ - รู้จกั เลอื กทาํ แตง่ านท่เี ป็นประโยชน์ - รู้จกั วางแผนงานให้เหมาะเจาะ - ร้จู กั ปรับปรงุ งานให้ดขี ้นึ - รู้จักคน้ ควา้ ทํางานใหด้ ีขึ้น - รู้จกั ตรวจตรางาน - รจู้ กั ทาํ งานถูกกาลเทศะ ๓. ประเภทของภาวนา ๒ ประเภท คือ ก. สมถะ หมายถงึ การทําสมาธิใหใ้ จสงบ ข. วปิ สั สนา หมายถงึ การใช้ปญั ญาพจิ ารณาสังขาร

๒๗ การทําใจใหส้ งบ (สมถภาวนา) หมายถงึ การทําจิตให้สงบได้แก่ การทําใจให้สงบน่ิงเป็นอารมณ์เดียว ไม่วอกแวกฟงุ้ ซา่ นไปทางอน่ื วิธที าํ สมถะ ไดแ้ ก่ การนง่ั ขดั สมาธิตงั้ ตวั ตรง มอื ทงั้ สองวางท่ีตัก เอามอื ขวาทบั มือซา้ ย ปล่อยสว่ น ต่าง ๆ ของร่างกายให้เลอื ดลมเดนิ สบาย หลบั ตา แลว้ นกึ บรกิ รรมอารมณ์ของสมถะ ๔๐ อยา่ ง อย่างใดอย่างหนึง่ เช่น “พทุ โธ ๆ ๆ” จนจติ ตัง้ มน่ั ไมฟ่ ุ้งซา่ นไปทางอ่ืนหรือไปในอารมณอ์ น่ื เรยี กว่าจติ เป็นสมาธิ การพจิ ารณาไตรลกั ษณ์ - ได้แก่ การเจริญภาวนาตามหลักของสติปัฏฐาน ๔ คือ พิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม ยกขึ้นสู่ไตร ลักษณ์ คือ ไม่เท่ยี ง เปน็ ทกุ ข์ เป็นอนัตตา ซ่ึงเรยี กว่า การเจริญวิปัสสนาภาวนา - การเจรญิ วิปัสสนา คอื การใช้ปัญญาเข้าไปวจิ ยั ใน “ตวั ตนของเรา” นนั้ ความจรงิ มนั เปน็ อนตั ตา คือ ไม่เป็นตวั ตนเราเขา ในท่สี ดุ จะเกิดความเบอื่ หน่าย หมดความยดึ ม่ันถือม่ัน ซ่ึงถอื ว่า เปน็ เป้าหมายของ การเจรญิ วปิ ัสสนาภาวนาหลกั การบําเพญ็ ในพระพทุ ธศาสนา วิปสั สนากรรมฐาน เปน็ อุบายให้เรอื งปญั ญา คอื เกดิ ปัญญาเหน็ แจง้ หมายความว่าเห็นปัจจุบัน เหน็ รูปนาม เห็นพระไตรลักษณ์ และเหน็ มรรค ผล นพิ พาน การเรียนวปิ ัสสนากรรมฐานนั้นเรียนได้ ๒ อย่าง คอื ๑. เรยี นอันดับ ๒. เรยี นสันโดษ การเรยี นอันดบั คอื การเรียนใหร้ ้จู กั ขันธ์ ๕ ว่า ได้แกอ่ ะไรบ้าง ยอ่ ให้สั้นในทางปฏบิ ตั เิ หลอื เทา่ ใด ได้แก่อะไร เกิดทไ่ี หน เกิดเมือ่ ไร เม่อื เกิดข้นึ แลว้ อะไรจะเกิดตามมาอีก จะกาํ หนดตรงไหนจงึ จะ ถกู ขนั ธ์ ๕ เมอ่ื กําหนดถูกแล้วจะได้ประโยชนอ์ ยา่ งไรบ้างเปน็ ตน้ นอกจากน้กี ต็ อ้ งเรียนให้รู้เรอ่ื งในอายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒ อริยสัจ ๔ ปฏจิ จสมุปบาท ๑๒ โดยละเอยี ดเสยี กอ่ น เรียกว่าเรียนภาคปรยิ ัติ วิปัสสนาภูมินนั่ เอง แล้วจึงจะลงมอื ปฏิบตั ไิ ด้ การเรียนสันโดษคือการเรียนยอ่ ๆ สน้ั ๆ สอนเฉพาะทจี่ ะตอ้ งปฏิบัติเท่าน้นั เรยี นช่วั โมงนี้กป็ ฏิบตั ิ ชั่วโมงนี้เลย เช่น สอนการเดินจงกรม สอนวิธีน่ังกาํ หนด สอนวิธีกาํ หนดเวทนา สอนวิธีกําหนดจิต แล้วลง มอื ปฏบิ ตั ิเลย หลักใหญใ่ นการปฏบิ ตั วิ ปิ ัสสนาฯ มหี ลักอยู่ ๓ ประการ คอื ๑. อาตาปี ทําความเพียรเผากเิ ลสใหเ้ ร่ารอ้ น ๒. สติมา มสี ติ คอื ระลกึ อยเู่ สมอว่าขณะนีเ้ ราทาํ อะไร ๓. สมั ปชาโน มสี มั ปชญั ญะ คือ ขณะทาํ อะไรอยนู่ น้ั ตอ้ งรูต้ วั อยู่ตลอดเวลา วธิ ีปฏบิ ตั ิ ๑. การเดินจงกรม ก่อนเดนิ ให้ยกมือไขวห้ ลงั มอื ขวาจับขอ้ มอื ซา้ ยวางไว้ตรงกระเบนเหนบ็ ยนื ตัวตรง เงยหนา้ หลบั ตา ใหส้ ตจิ บั อย่ทู ี่ปลายผม กําหนดว่า ยนื หนอ ชา้ ๆ ๕ ครั้ง เรมิ่ จากศีรษะลงมาปลายเทา้ และจากปลายเทา้ ข้นึ ไปบนศีรษะกลับขนึ้ กลับลงจนครบ ๕ ครง้ั แต่ละครง้ั แบง่ เป็นสองชว่ ง ชว่ งแรก คํา วา่ ยืนจิตวาดมโนภาพร่างกายจากศรี ษะลงมาหยดุ ที่สะดือ คําวา่ หนอ จากสะดือลงไปปลายเท้า กาํ หนดขนึ้ คาํ วา่ ยนื , จากปลายเทา้ มาหยดุ ทส่ี ะดอื คาํ วา่ หนอ จากสะดอื ขึ้นไปปลายผม กําหนด กลับไป, กลับมา จนครบ ๕ คร้งั ขณะนน้ั ใหส้ ตอิ ยูท่ ่ีรา่ งกาย อย่าให้ออกไปนอกกาย เสรจ็ แล้วลืมตาขนึ้ ก้มหน้าทอดสายตา ไปขา้ งหนา้ ประมาณ ๔ ศอก สติจบั อยู่ทเ่ี ทา้ การเดิน กําหนดวา่ ขวา ยา่ ง หนอ กาํ หนดในใจ คาํ วา่ ขวา ตอ้ งยกสน้ เท้าขวาขึ้นจากพน้ื ประมาณ ๒ น้วิ เท้ากบั ใจนกึ ต้องใหพ้ รอ้ มกนั ยา่ ง ตอ้ งกา้ วเทา้ ขวา ไป ข้างหน้าช้าทส่ี ุดเทา้ ยังไมเ่ หยียบพืน้ คาํ ว่า หนอ เท้าลงถงึ พ้ืนพรอ้ มกนั เวลายกเท้าซา้ ยกเ็ หมือนกัน กาํ หนด วา่ ซ้าย ย่าง หนอ คงปฏบิ ัตเิ ช่นเดียวกันกบั ขวา ยา่ ง หนอ ระยะกา้ วในการเดินหา่ งกนั ประมาณ ๑ คืบ เป็นอย่างมากเพือ่ การทรงตัวขณะก้าวจะได้ดขี ้นึ เมือ่ เดนิ สดุ สถานท่ใี ชแ้ ล้ว ให้นาํ เทา้ มาเคียงกนั เงยหนา้

๒๘ หลับตา กาํ หนด ยืน หนอ ชา้ ๆ อกี ๕ ครั้งเหมอื นกบั ทไี่ ดอ้ ธบิ ายมาแล้ว ลมื ตา กม้ หน้า ท่ากลบั การกลับ กําหนดวา่ กลับ หนอ ๔ ครงั้ คาํ วา่ กลบั หนอครัง้ ทหี่ นง่ึ ยกปลายเทา้ ขวา ใชส้ น้ เทา้ หมนุ ตวั ไปทางขวา ๙๐ องศา ครั้งที่ ๒ ลากเท้าซ้ายมาติดกับเท้าขวา ครั้งท่ี ๓ ทําเหมือนคร้ังที่หนึ่ง คร้ังที่ ๔ ทาํ เหมือนครง้ั ที่ ๒ ขณะนจ้ี ะอยู่ในทา่ กลบั หลงั แล้วต่อไปกาํ หนด ยนื หนอ ช้า ๆ อกี ๕ ครงั้ ลมื ตากม้ หนา้ แล้วกําหนดเดนิ ต่อไป กระทาํ เช่นนีจ้ นหมดเวลาท่ตี ้องการ ๒. การนงั่ กระทําต่อจากการเดนิ จงกรมอย่าใหข้ าดตอนลง เมือ่ เดินจงกรมถึงทจี่ ะนั่งให้กาํ หนดยืนหนอ อกี ๕ คร้งั ตามทีก่ ระทํามาแลว้ เสียก่อน แล้วกําหนดปลอ่ ยมอื ลงขา้ งตัวว่าปล่อยมอื หนอๆๆๆ ชา้ ๆ จนกวา่ จะ ลงสุด เวลานงั่ ค่อย ๆ ยอ่ ตวั ลงพร้อมกบั กาํ หนดตามอาการทที่ ําไปจรงิ ๆ เชน่ ย่อลงหนอๆๆๆ เทา้ พืน้ หนอๆๆๆ คุกเขา่ หนอๆๆๆ นง่ั หนอๆๆๆ เปน็ ต้น วิธีนง่ั ให้นั่งขัดสมาธิ คอื ขาขวาทับขาซา้ ย นั่งตวั ตรง หลับตา เอาสติมาจับอยทู่ ส่ี ะดอื ที่ท้องพองยุบ เวลาหายใจเขา้ ท้องพอง กาํ หนดว่า พอง หนอ ใจนึกกบั ท้องท่ีพองต้องใหท้ นั กัน อยา่ ใหก้ อ่ นหรือ หลังกนั หายใจออกท้องยุบ กาํ หนดวา่ ยุบ หนอ ใจนึกกบั ท้องทย่ี บุ ต้องทนั กนั อย่าให้ก่อนหรอื หลงั กนั ข้อสําคญั ให้ สติจับอยทู่ ี่ พอง ยบุ เท่าน้ัน อย่าดูลมทจี่ มกู อยา่ ตะเบง็ ทอ้ ง ใหม้ คี วามรู้สกึ ตามความเปน็ จริงว่า ทอ้ งพองไป ขา้ งหน้า ทอ้ งยุบมาทางหลัง อยา่ ใหเ้ หน็ เปน็ ไปวา่ ท้องพองขึ้นข้างบนท้องยบุ ลงข้างลา่ ง ใหก้ าํ หนด เช่นนตี้ ลอดไป จนกวา่ จะถงึ เวลาที่กาํ หนด เมือ่ มีเวทนา เวทนาเปน็ เรือ่ งสําคญั ทสี่ ุด จะตอ้ งบังเกิดขึ้นกับผูป้ ฏบิ ัตแิ น่นอนจะตอ้ งมีความอดทน เพอื่ เป็นการสร้างขันติบารมไี ปด้วย ถา้ ผู้ปฏิบัตขิ าดความอดทนเสียแลว้ การปฏิบตั วิ ปิ ัสสนากรรมฐานนนั้ ก็ ลม้ เหลว ในขณะท่นี ัง่ หรอื เดนิ จงกรมอยนู่ ้นั ถา้ มีเวทนาความเจ็บปวด เม่ือย คัน ๆ เกดิ ขึน้ ใหห้ ยุดเดนิ หรอื หยดุ กาํ หนดพองยบุ ใหเ้ อาสติไปต้ังไว้ทีเ่ วทนาเกิด และกาํ หนดไปตามความเปน็ จริงว่าปวดหนอ ๆ ๆ ๆ เจบ็ หนอ ๆๆๆ เมอ่ื ยหนอ ๆ ๆ ๆ คนั หนอ ๆ ๆ ๆ เปน็ ต้น ใหก้ าํ หนดไปเร่ือย ๆ จนกวา่ เวทนาจะหายไป เมอ่ื เวทนาหายไปแล้ว ก็ให้กาํ หนดนัง่ หรอื เดิน ต่อไป จติ เวลานง่ั อยู่หรือเดินอยู่ ถา้ จิตคดิ ถงึ บา้ น คิดถึงทรพั ยส์ ิน หรอื คิดฟงุ้ ซา่ นต่าง ๆ นานา กใ็ ห้เอา สติปักลงที่ลิ้นปี่ พร้อมกับกาํ หนดวา่ คดิ หนอ ๆ ๆ ๆ ไปเรื่อย ๆ จนกว่าจติ จะหยดุ คิด แม้ดใี จ เสยี ใจ หรือ โกรธ ก็กาํ หนดเชน่ กนั วา่ ดีใจหนอ ๆ ๆ ๆ เสียใจหนอ ๆ ๆ ๆ โกรธหนอ ๆ ๆ ๆ เปน็ ตน้ เวลานอน เวลานอนค่อย ๆ เอนตวั นอนพร้อมกับกําหนดตามไปว่านอนหนอๆๆๆ จนกว่าจะนอน เรียบร้อย ขณะนนั้ ใหเ้ อาสตจิ ับอยกู่ ับอาการเคลอื่ นไหวของรา่ งกาย เมื่อนอนเรียบร้อยแล้วให้เอาสตจิ บั ทที่ ้อง แล้วกาํ หนดว่าพองหนอ ยุบหนอ ต่อไปเร่ือยๆ ใหค้ อยสังเกตใหด้ ีวา่ จะหลับไป ตอนพอง หรอื ตอนยบุ อิริยาบถย่อยต่าง ๆ การเดนิ ไปในทต่ี ่าง ๆ การเข้าห้องนาํ้ การเขา้ หอ้ งส้วม การรับประทานอาหาร และการกระทาํ กิจการงานทั้งปวง ผู้ปฏิบัติตอ้ งมสี ตกิ าํ หนดอยูท่ กุ ขณะในอาการเหล่าน้ี ตามความเป็นจรงิ คือ มีสติ สัมปชัญญะ เปน็ ปจั จบุ ันอยูต่ ลอดเวลา หมายเหตุ การเดินจงกรมนั้น เราทาํ การเดินได้ถึง ๖ ระยะ การเดินระยะต่อไปนั้นจะต้องเดิน ระยะท่ี ๑ ให้ถกู ต้องคือ ไดป้ ัจจบุ นั ธรรมจรงิ ๆ จงึ จะเพม่ิ ระยะตอ่ ไปให้ตามผลของการปฏบิ ัติแตล่ ะบคุ คล กําหนดเดนิ ระยะต่าง ๆ ดังน้ี ท่าเดนิ ระยะที่ ๑ ขวาย่างหนอ ท่าเดนิ ระยะท่ี ๒ ยกหนอ เหยยี บหนอ ท่าเดนิ ระยะที่ ๓ ยกหนอ ย่างหนอ เหยยี บหนอ ทา่ เดิน ระยะท่ี ๔ ยกซ่นหนอ ยกหนอ ยา่ งหนอ เหยียบหนอ ท่าเดนิ ระยะท่ี ๕ ยกซน่ หนอ ยกหนอ ย่างหนอ ลงหนอ ถกู หนอ ทา่ เดนิ ระยะที่ ๖ ยกซ่นหนอ ยกหนอ ยา่ งหนอ ลงหนอ ถกู หนอ กดหนอ

๒๙ สรุปการกําหนดต่าง ๆ พอสังเขป ดงั น้ี ๑. ตาเหน็ รปู จะหลับตาหรอื ลมื ตาก็แล้วแต่ ใหต้ ัง้ สตไิ ว้ท่ีตา กาํ หนดวา่ เหน็ หนอๆๆๆ ไปเรือ่ ย ๆ จนกว่าจะร้สู ึกวา่ เห็นกส็ กั แตว่ า่ เห็น ละความพอใจและความไม่พอใจออกเสยี ได้ ถา้ หลับตาอย่กู ก็ ําหนดไป จนกว่าภาพนั้นจะหายไป ๒. หไู ดย้ นิ เสยี ง ใหต้ ั้งสตไิ วท้ ่ีหู กาํ หนดวา่ เสียงหนอๆๆๆ ไปเร่ือย ๆ จนกวา่ จะร้สู กึ เสยี งกส็ ักแตว่ ่า เสยี ง ละความพอใจและความไมพ่ อใจออกเสยี ได้ ๓. จมกู ได้กล่นิ ต้ังสตไิ ว้ท่ีจมกู กําหนดวา่ กลนิ่ หนอๆๆๆ ไปเร่อื ย ๆ จนกว่าจะร้สู ึกว่ากล่นิ กส็ ักแต่ วา่ กล่นิ ละความพอใจและความไม่พอใจออกเสยี ได้ ๔. ล้ินได้รส ตงั้ สติไว้ท่ีลิน้ กาํ หนดวา่ รสหนอๆๆๆ ไปเรอื่ ย ๆ จนกวา่ จะรู้สกึ วา่ รสก็สกั แต่วา่ รส ละ ความพอใจและความไมพ่ อใจออกเสยี ได้ ๕. การถูกตอ้ งสัมผสั ตง้ั สติไว้ตรงท่สี มั ผสั กําหนดตามความเป็นจริงทเ่ี กดิ ข้นึ ละความพอใจและ ความไมพ่ อใจออกเสียได้ ๖. ใจนกึ คิดอารมณ์ ตัง้ สติไวท้ ่ลี ิ้นปี่ กาํ หนดวา่ คิดหนอๆๆๆ ไปเร่อื ย ๆ จนกวา่ ความนกึ คดิ จะหายไป ๗. อาการบางอย่างเกดิ ขน้ึ กําหนดไมท่ ัน หรือกาํ หนดไมถ่ กู ว่าจะกําหนดอย่างไร ตง้ั สติไว้ท่ีลิ้นป่ี กาํ หนดวา่ รู้หนอๆๆๆ ไปเรอื่ ย ๆ จนกวา่ อาการนนั้ จะหาย การท่ีเรากําหนดจิต และตั้งสติไว้เช่นนี้ เพราะ เหตุว่าจิตของเราอยู่ใต้บังคับของความโลภ ความโกรธ ความหลง เช่น ตา เห็น รปู ชอบใจเป็นโลภะ ไม่ ชอบใจเป็นโทสะ ขาดสติ ไมไ่ ด้กําหนดเป็นโมหะ หไู ดย้ นิ เสยี ง จมูกได้กลน่ิ ลน้ิ ได้รส กายถกู ต้องสัมผสั ก็ เชน่ เดยี วกัน การปฏบิ ตั ิวปิ สั สนากรรมฐาน โดยเอาสตเิ ข้าไปตั้งกํากับตามอายตนะน้นั เมือ่ ปฏิบัตไิ ดผ้ ลแก่กลา้ แล้ว กจ็ ะเข้าตัดท่ีต่อของอายตนะตา่ ง ๆ เหลา่ น้ันมิให้ตดิ ตอ่ กนั ได้ คอื วา่ เม่ือเหน็ รปู ก็สกั แตว่ า่ เห็น เมอื่ ไดย้ นิ เสียงก็สกั แตว่ า่ ไดย้ นิ ไมท่ ําความร้สู กึ นกึ คดิ ปรุงแตง่ ใหเ้ กิดความพอใจหรอื ความไม่พอใจในสง่ิ ทปี่ รากฏ ใหเ้ หน็ และได้ยินนนั้ รูปและเสยี ง ทไี่ ด้เห็นและได้ยินนน้ั ก็จะดบั ไป เกิดและ ดับอยทู่ ่นี ั้นเองไม่ไหลเข้ามาภายใน อกศุ ลธรรมความทกุ ขร์ ้อนใจทคี่ อยจะติดตาม รปู เสยี ง และอายตนะ ภายนอกอืน่ ๆ เข้ามากเ็ ขา้ ไมไ่ ด้ สติท่ีเกิดข้ึนขณะปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานนั้น นอกจากจะคอยสกัดก้ันอกุศลธรรมและความทุกข์ ร้อนใจทจ่ี ะเขา้ มาทางอายตนะแลว้ สตเิ พ่งอยทู่ ่ี รูป นาม เมอ่ื เพ่งเลง็ อยกู่ ย็ ่อมเห็นความเกดิ ดับของ รปู นาม น้ันจะนาํ ไปส่กู ารเห็นพระไตรลักษณ์ คือความไมเ่ ที่ยง ความทุกข์ และความไม่มีตวั ตนของสงั ขารหรอื อัตภาพอย่างแจม่ แจง้ สตปิ ัฎฐาน ๔ มักจะมีคาํ ถามอยเู่ สมอวา่ เราจะปฏบิ ัติธรรมในแนวไหน หรือสาํ นกั ใดจงึ จะเป็นการถูกตอ้ งและ ได้ผล คาํ ถามเชน่ น้เี ปน็ คําถามที่ถกู ตอ้ งและไม่ควรถูกตาํ หนิวา่ ชอบเลอื กนนั่ เลือกนี่ ทถี่ ามกเ็ พ่อื ระวังไว้ ไมใ่ ห้ เดินทางผิด ทางปฏิบตั ทิ ี่ถูกตอ้ งคอื ปฏิบัติตามสติปัฎฐาน ๔ สตปิ ัฎฐาน ๔ แปลให้เข้าใจงา่ ย ๆ กค็ ือฐานท่ตี ้ังของสติ หรือ เหตปุ ัจจยั สําหรับปลกู สติใหเ้ กิดขึน้ ใน ฐานท้งั ๔ คือ ๑. กายานปุ สั สนาสตปิ ัฎฐาน คือการพจิ ารณากายจาํ แนกโดยละเอยี ดมี ๑๔ อย่าง คอื ๑. อสั สาสะปสั สาสะ คอื ลมหายใจเขา้ ออก ๒. อริ ิยาบถ ๔ ยืน เดนิ นั่ง นอน

๓๐ ๓. อริ ิยาบถย่อย การกา้ วไปข้างหน้า ถอยไปทางหลัง คู้ขาเข้า เหยยี ดขาออก งอแขนเขา้ เหยยี ดแขนออก การถา่ ยหนกั ถ่ายเบา การกนิ การด่มื การเคี้ยว ฯลฯ คอื การเคลื่อนไหวรา่ งกายตา่ ง ๆ ๔. ความเป็นปฏกิ ูลของรา่ งกาย (อาการ ๓๒) ๕. การกาํ หนดร่างกายเปน็ ธาตุ ๔ ๖. ปา่ ชา้ ๙ ๒. เวทนานปุ สั สนาสตปิ ฎั ฐาน คอื การเจริญสติเอาเวทนาเปน็ ทต่ี ้ัง เวทนา แปลวา่ การเสวยอารมณ์มี ๓ อย่างคอื ๑. สขุ เวทนา ๒. ทุกขเวทนา ๓. อุเบกขาเวทนา เมอื่ เวทนาเกดิ ขนึ้ กใ็ ห้สตสิ มั ปชญั ญะกําหนดไปตามความเป็นจริงว่า เวทนาน้ีเมือ่ เกิดขึ้น ตัง้ อยู่ ดบั ไป ไมเ่ ทย่ี งแทแ้ น่นอน เวทนากส็ กั แต่ว่าเวทนา ไม่ใชส่ ตั ว์บุคคลตัวตนเราเขา ไมย่ นิ ดยี ินรา้ ย ตัณหาก็จะไม่ เกิดข้ึนและปล่อยวางเสียได้ เวทนานี้เมื่อเจริญให้มาก ๆ เป็นไปอย่างสมบูรณ์แล้ว อาจทําให้ทุกขเวทนาลด น้อยลงหรือไม่มีอาการเลยก็เป็นได้ อย่างท่เี รียกกันว่าสามารถแยก รูป นามออกจากกันได้ (เวทนาอย่าง ละเอียด ๙ อยา่ ง) ๓. จิตตานปุ สั สนาสตปิ ัฎฐาน ได้แก่ การปลูกสตโิ ดยเอาจติ เปน็ อารมณห์ รือเปน็ ฐานที่ต้งั จิตน้มี ี ๑๖ คอื จติ มรี าคะ จิตปราศจากราคะ จติ มีโทสะ จิตปราศจากโทสะ จติ มโี มหะ จติ ปราศจากโมหะ จิตหดหู่ จิตฟุ้งซ่าน จติ ยง่ิ ใหญ่ (มหัคคตจิต) จติ ไมย่ ง่ิ ใหญ่ (อมหัคคตจติ ) จติ ยิ่ง (สอุตตรจติ ) จติ ไมย่ ่งิ (อนุตตรจิต) จติ ตั้งม่นั จิตไม่ตงั้ ม่นั จติ หลดุ พน้ จติ ไม่หลุดพ้น การทาํ วิปัสสนาใหม้ ีสติพิจารณากาํ หนดให้เหน็ วา่ จติ น้ีเม่อื เกิดขน้ึ ตัง้ อยู่ ดบั ไป ไม่เทยี่ งแท้ แนน่ อน ละ ความพอใจและความไมพ่ อใจออกเสียได้ ๔. ธมั มานปุ สั สนาสตปิ ัฎฐาน คือมสี ติพิจารณาธรรมทัง้ หลายท้งั ปวง คือ ๔.๑ นวิ รณ์ คอื รูช้ ัดในขณะนั้นว่านิวรณ์ ๕ แตล่ ะอย่างมอี ยใู่ นใจหรือไม่ ทีย่ งั ไมเ่ กิด เกดิ ข้ึนได้ อย่างไร ที่เกดิ ข้นึ แล้วละเสยี ไดอ้ ย่างไร ทล่ี ะไดแ้ ลว้ ไม่เกิดขน้ึ อีกตอ่ ไปอยา่ งไร ใหร้ ชู้ ัดตามความเปน็ จรงิ ท่ี เป็นอยใู่ นขณะนั้น ๔.๒ ขันธ์ ๕ คอื กาํ หนดรวู้ า่ ขันธ์ ๕ แตล่ ะอย่างคืออะไร เกดิ ข้นึ ไดอ้ ยา่ งไร ดบั ไปได้อยา่ งไร ๔.๓ อายตนะ คือ รชู้ ดั ในอายตนะภายในภายนอกแตล่ ะอย่าง รูช้ ดั ในสงั โยชน์ที่เกิดขน้ึ เพราะ อาศยั อายตนะน้นั ๆ รู้ชดั วา่ สังโยชน์ทยี่ ังไมเ่ กดิ เกิดข้ึนไดอ้ ยา่ งไร ทเ่ี กดิ ข้นึ แลว้ ละเสยี ได้อย่างไร ๔.๔ โพชฌงค์ คือ รชู้ ดั ในขณะนัน้ ว่า โพชฌงค์ ๗ แต่ละอย่างมอี ยู่ในใจตนหรอื ไม่ท่ยี งั ไม่เกดิ เกดิ ข้นึ ไดอ้ ยา่ งไร ทีเ่ กิดขนึ้ แล้วเจรญิ เตม็ บรบิ ูรณไ์ ดอ้ ย่างไร ๔.๕ อริยสจั ๔ คอื รชู้ ดั อรยิ สัจ ๔ แตล่ ะอยา่ งตามความเปน็ จริงว่าคืออะไร สรปุ ธัมมานปุ ัสสนาสติปัฎฐาน นี้ คือ จติ ท่คี ิดเป็น กศุ ล อกุศล และอัพยากฤต เทา่ น้ัน ผู้ปฏบิ ัตสิ ติปัฎ ฐาน ๔ ต้องทําความเข้าใจอารมณ์ ๔ ประการให้ถูกตอ้ ง คอื ๑. กายท่วั รา่ งกายนไี้ มม่ ีอะไรสวยงามแมแ้ ตส่ ว่ นเดยี ว ควรละความพอใจและความไม่พอใจออกเสียได้ ๒. เวทนา สขุ ทกุ ข์ และไมส่ ุขไมท่ ุกขน์ ั้น แท้จรงิ แล้วมีแตท่ กุ ข์ แม้เป็นสุขก็เพียงปดิ บังความทุกขไ์ ว้ ๓. จิต คือความคดิ นึก เปน็ ส่ิงท่เี ปล่ยี นแปลงแปรผันไม่เทย่ี งไมค่ งทน ๔. ธรรม คอื อารมณท์ ีเ่ กิดกบั จติ อาศัยเหตุปจั จัยเกดิ ขึน้ เมอื่ เหตุปัจจยั ดับไปอารมณน์ ้นั ก็ดับไปดว้ ย ไม่มสี ง่ิ เปน็ อตั ตาใด ๆ เลย

๓๑ ภาพแสดงสตปิ ฎั ฐาน ๔ สติปัฎฐาน ๔ ทงั้ ๔ ขอ้ มกี ารเก่ยี วโยงกันตลอด ผ้ปู ฏิบตั ิชํานาญแลว้ จะปฏบิ ตั ิข้อใดขอ้ หน่งึ ก็ได้ เพราะทกุ ข้อเมอ่ื ปฏิบตั ิแลว้ กส็ ามารถรู้ รูป นาม เกิด ดบั เห็นไตรลกั ษณ์ด้วยกนั ทั้งส้ิน กาย ธรรม ปญั ญา เวทนา อานสิ งสใ์ นการเดินจงกรม จติ ๑. อดทนตอ่ การเดินทางไกล ๒. อดทนตอ่ ความเพียร ๓. มีอาพาธนอ้ ย ๔. ยอ่ ยอาหารไดด้ ี ๕. สมาธิทไ่ี ดข้ ณะเดินตง้ั อย่ไู ด้นาน

๓๒ คุณคา่ ของพิธีกรรม สาระการเรียนรู้ ๑.ความหมายเรอ่ื งพธิ ีกรรม ๒.พิธกี รรมส่ือวินัย ๓.พธิ กี รรมเปน็ จุดหมายแหง่ การเร่มิ ทํากจิ กรรม ๔.พิธีกรรมเปน็ วินยั พนื้ ฐานและนําคนให้ประสานเข้าในชวี ิตชุมชน ๕.พิธกี รรมเปน็ เครอื่ งน้อมนาํ ศรัทธา ๖.พธิ กี รรมเปน็ โอกาสแหง่ การส่อื ธรรมแกม่ หาชน ผลการเรียนร้ทู ่คี าดหวงั ๑.ผู้เรยี นได้ทราบความหมายเรอื่ งพิธีกรรม ๒.ผู้เรียนมคี วามเข้าใจในเร่ืองพิธีกรรมอันจะนาํ คนเข้าสธู่ รรม ๓.ผเู้ รียนสามารถทราบพธิ กี รรม ซง่ึ จะเปน็ ตวั ประสานประโยชน์ในทกุ ดา้ น กจิ กรรมระหวา่ งเรียน ๑. บรรยาย ๒. สอบถาม ๓. ใบงาน สอื่ การสอน ๑. เพาเวอร์พอยท์ ๒. เอกสารตํารา ๓. คลปิ วีดิโอที่เกี่ยวขอ้ ง ประเมินผล ๑. ให้ตอบคําถาม ๒. แบบทดสอบหลังเรียน

๓๓ คุณคา่ ของพธิ ีกรรม พธิ กี รรมสื่อวินยั ในพระพุทธศาสนานี้ สิ่งท่ีเหนือกว่าพิธีกรรมยังมีอีกหลายอย่าง แต่เด๋ียวน้ีเรามองเห็นกันว่าชาว พุทธใส่ใจในเรื่องที่สําคัญ ๆ เหล่าน้ันน้อยไปหน่อย แล้วก็มัวไปเน้นในด้านพิธีกรรมกันมากไป อย่างไรก็ตาม จะต้องเข้าใจว่าเรือ่ งพธิ กี รรมนน้ั ไม่ใช่ไม่สาํ คญั ในบางโอกาสเรานา่ จะพดู กนั ถงึ เร่ืองพิธกี รรมใหช้ ัดลงไปว่า เรา ควรจะปฏิบัตติ อ่ มันอยา่ งไร อยา่ งน้อยก็จะได้สิ่งท่ีเป็นอยู่ปรากฏอยู่มาใช้ให้เป็นประโยชน์ เพ่ือเป็นสื่อนําเข้าสู่ ส่ิงทสี่ ําคัญยง่ิ ขึน้ ไป ถ้าเราไปมองว่าอย่าไปวุ่นวายในเรื่องพิธีกรรมนี้เลยไม่มีประโยชน์ ไม่ใช่ตัวแท้ตัวจริงของ พระพุทธศาสนาแล้วเลยไมเ่ อาใจใส่ กอ็ าจจะทาํ ให้พลาด ในเมอื่ มนั เป็นของมอี ยู่ปรากฏอย่กู ็ต้องทําให้ถูกต้อง ถ้าเราเข้าใจความหมายถูกและปฏิบัติให้ถูก ทําด้วยความรู้ความเข้าใจ มันก็จะเป็นส่ือนําเข้าสู่ส่ิงที่ถูกต้องดี งามย่ิงข้ึน จนถึงส่ิงท่ีเป็นหลักการของพระพุทธศาสนาเลยทีเดียว เพราะฉะน้ันพิธีกรรมนี้ถ้าเข้าใจถูกต้อง และปฏิบัตถิ กู ตอ้ ง กจ็ ะกลบั นําเข้าสพู่ ระพทุ ธศาสนาได้ดี เวลานี้เรารสู้ กึ กนั ว่าพระพทุ ธศาสนาเสอ่ื ม หลายคนบอกวา่ “มนั เสอ่ื มจนเหลือแต่พิธีกรรม แย่ แล้วพระพุทธศาสนา” ทีนี่เรามองพลิกกลับเสียใหม่ว่า พระพุทธศาสนายังเหลือพิธีกรรมอยู่ ก็แสดงว่ายังไม่หมดไป ทีเดียว ยังคงเหลือพิธีกรรมเป็นรูปแบบอยู่ ตามธรรมดานั้นรูปแบบต้องมีเนื้อหาสาระจึงจะถูกต้อง เมื่อเหลือแต่ รูปแบบไมม่ ีเนอื้ หาสาระก็ไมม่ ีความหมายอะไร เหมอื นกับคนถา้ มแี ตร่ ่างกายกค็ ือศพ เม่อื ไมม่ จี ติ ใจกเ็ หลือแต่ซาก มองในแง่หนึ่ง พระพุทธศาสนาถ้าเหลือแต่พิธีกรรมจริง ๆ ก็คือเหลือแต่ซากแต่มองอีกแง่หนึ่งก็ อาจจะเป็นได้ว่ามันไม่ใช่คนที่ตายก็ได้ มันอาจจะเป็นร่างที่หลับอยู่ ยังไม่ถึงตาย ร่างกายคนหลับทําอะไร ไม่ได้ ไม่มีประโยชน์ แต่ก็ยังไม่ตาย ชีวิตของเรายังต้องอาศัยมัน เม่ือยังมีร่างกายอยู่ก็ยังทําให้มันมีชีวิต กลับคนื มาได้ คอื ทําให้มนั ต่ืนกลบั ข้ึนมา แล้วมันก็อาจจะเดนิ หน้าใหมไ่ ด้ เพราะฉะน้ัน พิธีกรรมนี้ในแง่หน่ึงก็เหมือนที่ม่ันหรือปราการสุดท้ายของพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนามาถึงขณะนี้ก็จวนจะหมดแล้ว แต่ก็ยังมีป้อมค่ายสุดท้ายเหลืออยู่ ทําไมเราไม่อาศัยปราการ สุดทา้ ยนี้เปน็ ที่ตั้งหลกั ใหด้ แี ล้วเดินหนา้ กลับไปอกี การที่ยงั มพี ธิ ีกรรมอยู่ ในแง่หน่ึงกแ็ สดงวา่ พระพทุ ธศาสนายังไม่หมดไปสน้ิ ทีเดียว ทําอย่างไรเรา จะใช้มันให้เป็นประโยชน์ เราไม่ควรจะมามัวทอดถอนใจตรอมใจว่า โอยจะหมดแล้ว พระพุทธศาสนามาถึง ที่สุดแล้ว แต่ควรคิดว่า โอ้ พุทธศาสนายังเหลืออยู่นี่ ดีแล้วเราจะอาศัยส่วนที่เหลืออยู่นิดหน่อยน้ีเป็นหลักใน การเดินกลับไปสู่ความก้าวหน้าท่ีถูกต้องใหม่ ถ้าคิดได้อย่างนี้ก็กลับเป็นดีไป เรียกว่ารู้จักมองให้เป็นประโยชน์ สิ่งทัง้ หลายถงึ แม้วา่ จะแย่แล้วแต่ถา้ เรามองเปน็ กก็ ลับใชป้ ระโยชน์ได้ พิธีกรรมนี้มีประโยชน์หลายอย่าง พิธีกรรม แปลว่า การกระทําท่ีเป็นพิธี คือเป็นวิธีที่จะให้ สําเรจ็ ผลทีต่ อ้ งการ หรือการกระทําที่เป็นวธิ ีการเพือ่ ใหส้ ําเร็จผลทต่ี ้องการหรือนําไปสผู่ ลทต่ี อ้ งการ คาํ วา่ พิธี ก็แผลงมาจากคาํ วา่ วธิ ี น้ันเอง แต่มาในภายหลัง คําว่า พิธี มีความหมายเลือนลาง หรือคลาดเคลื่อนไป ก็เหมือนกับสิ่งอ่ืน ๆ ท่ีเป็นอนิจจังเช่นเดียวกัน เดี๋ยวน่ีเรามาประดิษฐ์ศัพท์กันขึ้นใหม่ เช่นคําว่ากรรมวิธี ซ่ึงสมัยโบราณไม่มี แล้วกลับเป็นศัพท์โก้ซึ่งที่แท้จริงก็อันเดียวกันน้ันแหละ กรรมวิธีไม่ใช่ อะไร อาจจะใช้ในความหมายแตกต่างกันไปบ้าง แต่ตัวถ้อยคําก็ความหมายแบบเดียวกัน ทํานองเดียวหรือ ประเภทเดียวกัน เพยี งกลับหนา้ กลับหลังกนั พิธกี รรมคอื วิธกี รรม กลายเป็นกรรมวธิ ี พอมาถึงปัจจุบนั มัน เลือนไปจนกระทัง่ ว่าพธิ ีกรรมหรอื วิธกี รรม คอื สงิ่ ท่ีทํากนั ไปอย่างนั้นเอง หรือสกั แต่วา่ ทาํ เช่นพดู กันวา่ ทําพอ เปน็ พธิ ี กลายเปน็ ว่าไม่จรงิ ไม่จัง ทาํ พอใหเ้ ห็นวา่ ไดท้ าํ แล้วแตท่ ีจ่ รงิ เดมิ นนั้ มนั คอื การกระทําท่ีเป็นวิธีการ เพื่อจะให้สําเร็จผล เพื่อจะให้สําเร็จผล เพ่ือจะให้เกิดความเป็นจริงเป็นจัง เพ่ือจะ ใหไ้ ด้ผลขน้ึ มาเราจึงทาํ พิธีกรรม

๓๔ พิธกี รรมเป็นจุดนัดหมายให้ต้ังใจเริม่ ทําการอยา่ งจรงิ จงั เวลาจะทําอะไรก็ตาม ถ้าเราไมม่ เี ป็นพิธีข้ึนมา เราก็ไม่มีจุดนัดพบนัดหมาย ไม่มีจุดเร่ิมต้นท่ีชัดเจน ว่าจะลงมือเม่ือไร จะเอาอย่างไร จะทําอะไร คนมาชุมนุมกันเป็นกลุ่ม ถ้าทําอะไรต่างคนต่างทําก็ไม่เป็นจริง เปน็ จัง แต่พอเป็นพิธีกรรมก็คือมีจุดเร่ิมต้น แล้วก็เป็นจุดนัดหมายให้ทุกคนรู้ว่าต่อไปนี้ กิจกรรมจะเริ่มแล้ว นะ ถ้าไม่มีพิธีกรรมทุกคนท่ีมายังกระจัดกระจายกันอยู่ ก็ไม่รู้จะเอายังไง จะทําอะไร จะเร่ิมต้นอย่างไร เมอื่ ไร เพราะฉะนน้ั พธิ ีกรรมนี้ จึง ๑. เป็นจดุ นัดพบใหท้ ุกคนท่ตี อนแรกยงั กระจดั กระจายอยู่ มารวมกนั เป็นจุดเดยี ว ๒. เปน็ จุดนดั หมายวา่ จะเริม่ เรือ่ งนน้ั แล้ว พิธีกรรมเป็นเครื่องทําให้คนเตรียมตัว ท้ังเตรียมกายวาจา และเตรียมใจให้พร้อมที่จะทําเรื่องนั้น ๆ ก่อนจะถึงพิธี ยังพูดจา ยังหันไปทางโน้นทางนี้ ยังเคลื่อนไหววุ่นวายกันอยู่ แต่พอบอกว่าเริ่มพิธี ทุกคนก็ หยุดหมด ต้องหันมาสนใจ เตรียมทําสิ่งเดียวกัน ฉะน้ัน พิธีกรรมจึงเป็นจุดนัดพบและเป็น จุดนัดหมาย โดยเฉพาะสาํ หรบั ชมุ ชนหรอื หมู่ชนในสงั คมน้ี ให้มองเหน็ ความสาํ คญั ทีจ่ ะเริ่มการอะไร ๆ กันอย่างจรงิ จงั วา่ ท่จี ริง การทาํ อะไรสักอยา่ งหนง่ึ ถา้ เป็นเรื่องของชมุ ชน หรือเร่ืองของสว่ นรวม ก็ต้องมพี ิธีกรรม ท้งั นัน้ อย่างเช่นจะมีการประชุมสักครงั้ หนงึ่ กต็ อ้ งมีพธิ กี รรมมนั อาจจะไม่ใชพ่ ธิ กี รรมตามแบบอย่างทเ่ี ราเขา้ ใจ ทีเ่ ปน็ ของโบราณ เป็นศาสนพธิ ี แต่พธิ กี รรมก็คืออันนน้ั แหละ เชน่ ลาํ ดบั การกระทาํ ต่าง ๆ ในการประชุม การเปดิ ประชุมการปฏบิ ตั ติ ่อกันในทป่ี ระชมุ เช่นเวลามปี าฐกถา มีการขนึ้ ไปบอกกลา่ วนดั หมายที่ประชุมและ เชิญผแู้ สดงปาฐกถาข้ึนไป นเี่ ปน็ พธิ ีทง้ั นัน้ พธิ ีกรรมกอ็ ันน่แี หละ คือจดุ เริม่ ต้นของการท่จี ะกระทําใหจ้ รงิ จงั เป็นจดุ นดั หมายทจี่ ะทาํ ใหก้ ิจการนั้น มกี ารเอาจริงเอาจงั กนั ขึน้ มา ใหท้ กุ คนเตรียมตวั เตรยี มใจไวใ้ หพ้ รอ้ มทีจ่ ะทําในเร่อื งนน้ั อนั น้ีก็เป็นความหมาย อยา่ งหนึ่งทงี่ ่าย ๆ ในเรอ่ื งพิธีกรรม พิธกี รรม เป็นวินยั พื้นฐานและนําคนใหป้ ระสานเขา้ ในชีวติ ชุมชน อย่างไรก็ตาม พิธีกรรมยังมีความหมายมากกว่าน้ันอีก คือ เป็นเคร่ืองฝึกวินัย หรือ เป็นพ้ืนฐานในการท่ี จะฝึกฝนพฒั นาคนในด้านศีล ศีลก็คอื การควบคมุ กายวาจาไดใ้ ห้อยู่ในความดีงามเรยี บรอ้ ยสจุ ริต แต่เราจะคุมกายวาจาให้ดงี าม สจุ รติ ในเรอ่ื งใหญ่ ๆ เป็นศลี ได้ ก็ต้องควบคมุ กายวาจา ตั้งแต่ในเร่อื งเล็ก ๆ นอ้ ย ๆ ขึน้ ไป พิธกี รรมเปน็ เคร่ือง ฝกึ กายวาจาใหอ้ ยใู่ นระเบียบ เพราะฉะนน้ั พิธีกรรมจึงเป็นวนิ ัยขนึ้ ตน้ การใหค้ นเข้ามาสู่พธิ ี กรรมนน้ั ทําเพอื่ อะไร ความหมายอย่างหนึง่ กค็ อื เพอ่ื ฝกึ คนให้จดั หรอื ควบคุมพฤติกรรมของตน ๆ ให้ลงตัวเข้าท่ี เช่น ให้มานั่งเป็นระเบียบให้สงบกายวาจา และให้ทําตามลําดับตามแบบตามแผนที่ตกลงกัน ให้หมู่คน เรียบรอ้ ยงดงาม และทํากจิ กรรมอยา่ งไดผ้ ลพร้อมเพียงกัน เปน็ ส่วนหน่ึงของวินยั เปน็ การฝกึ เบ้อื งต้นของศลี คนท่ีอยู่ในชุมชนร่วมกันท้ังหมดนี้จะมีศีล คือมีพฤติกรรมดีงาม ไม่เบียดเบียนกัน ก็ต้องรู้จักควบคุม กายวาจาของตนเองได้ ไม่ทําตามใจชอบของตัว ถ้าเอาแต่ใจชอบย่างเดียวก็เบียดเบียนกัน การทําพิธีกรรม หรือเข้ามาร่วมในพิธีกรรมน้ี เป็นการฝึกคนให้เริ่มรู้จักระเบียบแบบแผน ให้เร่ิมท่ีจะไม่ทําตามใจชอบของตน น่ีแหละคือการเร่ิมรู้จักควบคุมพฤติกรรมของตัวเองได้ อย่างเด็กๆ ก่อนจะไป ควบคุมตัวเองในเร่ืองใหญ่ ๆ ได้ ก็อาศัยการฝึกในเร่ืองเล็ก ๆ น้อย ๆ ก่อนแต่เราจะต้องรู้จักโยงให้มันไปเช่ือมโยงต่อกัน เร่ืองของพิธีกรรมจึง เป็นการฝึกวินัยหรือเป็นวินัยเบื้องต้นท่ีจะนําเข้าสู่การท่ีจะเป็นคน มีศีล พิธีกรรมจึงจัดอยู่ในฝ่ายของศีลด้วย พิธีกรรมถ้าจะทําใหถ้ ูกต้องกต็ อ้ งเข้าใจความมุ่งหมายอนั น้ี เม่ือเรานําพิธีกรรมมาใช้ในการฝึกคน มันก็มีความหมายต่อไปอีกในแง่ท่ีว่าเป็นเครื่องนําคนเข้าสู่ชุมชน ให้เขามีชวี ติ ของชุมชนน้นั หรือของสงั คมน้นั เป็นธรรมดาของหมู่มนุษย์ที่คิดว่า เด็กรุ่นใหม่เกิดมาแล้วจะให้เขาอยู่ร่วมในชุมชนหรือในสังคมได้ อย่างไร พอเรามีพิธีกรรมอะไรต่าง ๆ ข้ึนมาเด็กก็จะเริ่มเข้าสู่ชุมชนน้ันและเข้าสู่วิถีชีวิตของสังคมนั้น เขาเริ่ม

๓๕ เรียนรู้ว่าระเบียบแบบแผน วัฒนธรรม ประเพณีของชุมชนหรือสังคมน้ันเป็นอย่างไร และด้วยการร่วมพิธีกรรม นั้น ซึ่งเป็นกิจกรรมทางวัฒนธรม เขาก็กลมกลืนเข้าไปในชีวิตของชุมชนและในวัฒนธรรม พิธีกรรมก็จึง กลายเป็นลักษณะหรือเป็นรูปแบบเฉพาะแห่งวัฒนธรรมของสังคมน้ัน ๆ อย่างท่ีเรียกว่าเป็นเอกลักษณ์ อันน้ีก็ เป็นคุณค่าอีกด้านหน่ึงของพิธีกรรม ซึ่งเป็นเร่ืองเกี่ยวกับศีล อันสืบเน่ืองจากวินัยที่แสดงผลออกมาทางด้าน วฒั นธรรม เป็นเรือ่ งของชวี ติ ชุมชน หรือของหมู่คณะ ซง่ึ เป็นเอกลักษณ์ของสังคม พธิ ีกรรม เป็นเครือ่ งนอ้ มนําศรทั ธาที่จะพาให้เข้าถงึ ธรรมท่สี งู ขน้ึ ไป อีกด้านหนึ่ง พิธีกรรมเป็นส่ิงน้อมนําจิตให้เกิดความเส่ือมใสและเพ่ิมพูนศรัทธา เพราะว่า พิธีกรรมที่ทําถูกต้องจะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความพรักพร้อมความพร้อมเพรียง และความประสาน กลมกลืน เช่น คนตั้งร้อยตั้งพันก็สวดมนต์พร้อมกันหมด พระตั้ง ๑๐๐ รูป ก็สวดมนต์ประสานเป็นเสียง เดยี วกัน กิรยิ าวาจากเ็ รยี บร้อยสงบ ทําให้เกิดศรัทธาปสาท คนผ่านไปมาได้ยินเสียงพระสวดพร้อมกันอย่างเป็น ระเบียบ ไม่ใช่สวดกระแทกกระท้ันเอาตามใจ แต่สวดโดยตั้งใจจริง จากจิตที่สงบผ่องใส คนที่ได้ยินได้ฟังก็เกิด ความอ่ิมใจ ปลื้มใจ ฟังแล้วเกดิ ศรทั ธาปสาทะ โน้มนําจติ ใจใหส้ งบ แล้วก็เจรญิ ย่ิงขึ้นไปในกุศลธรรม ในคมั ภีร์ทา่ นเลา่ ถึงเรื่องพระ ๕๐๐ รปู นงั่ ฟังพระพทุ ธรปู เจา้ เงยี บไมม่ เี สียงเลย เช่นในสามัญญ-ผลสูตร มีเร่ือง ว่า พระเจ้าอชาตศัตรู ทําปิตุฆาต คือ ฆ่าพ่อ ต่อมาคงเกิดสํานึกหันมาสนใจจะฟังคําสอนทางศาสนา ก็ปรึกษาข้าราช บรพิ ารวา่ วันนีเ้ ราจะไปหาอาจารย์สักท่านหน่ึง จะไปทีไ่ หนดี ข้าราชบรพิ ารก็เสนอกันต่าง ๆ ขณะน้ันได้มีหมอชีวกอยู่ด้วย ในฐานะทเี่ ปน็ ลูกศิษย์พระพทุ ธเจา้ หมอชวี กเมื่อถกู ถามก็เสนอมาทางพระพุทธเจ้า พระเจา้ อชาตศัตรตู กลงกเ็ สด็จไป พอถึงเวฬุวัน ท่ีพระพุทธเจ้าประทับอยู่ หมอชีวกกราบทูลว่าพระพุทธเจ้ากําลัง แสดงธรรมแก่พระ จํานวนตัง้ ๕๐๐ รูป สงบมาก เม่ือเข้าไปใกล้ก็ทําให้แปลกในว่า ทําไมจึงเงียบอย่างนี้ คนต้ัง ๕๐๐ ไม่มีแม้แต่ เสียงกระแอมไอ พระเจ้าอชาตศัตรูก็หวาดขึ้นมาทันที คงเป็นเพราะเกรงกลัวความผิดที่ตนได้กระทํามาแล้วก็ ระแวงไป พระพุทธเจ้าก็คุ้นเคยกับพ่อด้วยจะเอาอย่างไรกับเราแน่ ก็เกิดหวาดกลัวขึ้นมาโดยระแวงว่าหมอชี วกวางแผนเพ่ือจะจับตัวเรามาฆ่าเสียละกระมัง ก็เลยตรัสกับหมอชีวกทํานองนี้ หมอชีวกก็ปลอบโยนให้เบา พระทัยว่า ลักษณะชีวิตและวินัยของพระเป็นอย่างไร ท่านอยู่กันอย่างไร ก็เลยเบาพระทัยแล้วจึงเข้าไปเฝ้า พระพุทธเจ้า แล้วพระเจ้าอชาตศัตรูก็ทรงเกิดความซาบซ้ึงพระทัยอย่างหน่ึงว่าพระตั้ง ๕๐๐ องค์นั่งฟัง พระพุทธเจ้า สงบ เงียบเหลือเกิน ไม่มีเสียงอะไร พระเจ้าอชาตศัตรูก็ทรงเกิดท้ังความเกรงขามและความ ประทับใจ น่ีเป็นตัวอย่าง ที่แสดงว่าความงามสง่าน่าเกรงขาม ความน่าประทับใจ และความน่าเล่ือมใส ศรัทธาสามารถเกดิ ไดจ้ ากพธิ กี รรมท่ีเป็นไปตามความหมายแท้ ๆ คือมคี วามเรยี บร้อย มีความเป็นระเบยี บ ทํา ให้เกดิ ความงดงามในตัว หรบั คนสว่ นมากท่ีอยใู่ นโลกขา้ งนอกซึ่งยังไม่คุ้นเคย ยังไม่เข้าถึงความลึกซ้ึงของธรรม จู่ ๆ จะให้ถึงนามธรรม เลย ก็มักไม่ไหว หรือไม่สนใจเลย จึงต้องพบกับส่ิงที่เป็นรูปธรรมก่อนเพราะฉะน้ันพิธีกรรมจึงเป็นรูปแบบที่จะ สื่อเข้าหาคนท่ียังไม่เข้าถึงพระศาสนาได้ลึกซ้ึง เรียกได้ว่าเป็นจุดนัดพบอีกแบบหนึ่ง โดยเป็นสื่อที่ชักนําหรือ เป็นจุดเช่ือมต่อเขาให้เร่ิมต้น อาจจะทําให้สนใจเกิดความประทับใจ แล้วน้อมนําจิตให้อยากรู้อยากจะเข้ามา เก่ียวข้อง จนกระทั่งเข้ามาในพระศาสนาได้ เพราะฉะน้ันเราจึงอาจจะใช้พิธีกรรมในแง่ที่เป็นเคร่ืองชักจูงใน เบ้อื งตน้ สําหรับคนที่เดินหน้าไปบ้างแล้วก็ดีไป ถือว่าเขาพอจะช่วยตัวเขาเองได้ การศึกษาธรรมในเบ้ืองสูง ก็ปล่อยให้เป็นเร่ืองของตัวเขาเอง ท่ีเขาสนใจจริง ๆ แต่ในแง่ของคนท่ัวไปส่วนมากต้องอาศัยส่ิงเหล่านี้มาเป็น ส่อื นําเบือ้ งต้นก่อน พิธกี รรมเมอ่ื ใชถ้ กู ต้องก็เป็นประโยชนม์ ากในแงน่ ี้ อยา่ งท่ีว่าเป็นจุดนัดพบกับคนทั่วไปท่ียัง อย่ใู นระดบั เพ่ิงจะแว่วเสยี งธรรม ยังไม่เขา้ สูธ่ รรมในเบ้ืองสูง

๓๖ พิธกี รรม เปน็ โอกาสสําหรับพระทีจ่ ะปรากฏตวั และให้ธรรม ทีน้ี สําหรับพระเองก็อาศัยพิธีกรรมน้ีเป็นที่ปรากฏตัว ถ้าไม่มีพิธีกรรมพระก็ไม่ค่อยได้มีโอกาส ปรากฏตัว เพราะฉะนนั้ กอ็ ย่ทู ่พี ระเองจะใชพ้ ิธีกรรมอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เพ่ือเป็นสื่อนําคนเข้าสู่พระศาสนา เข้าสู่พระธรรม ถ้าไม่รู้จักประโยชน์ พิธีกรรมก็อาจจะเส่ือมเสียกลายเป็นเหตุให้เกิดผลร้ายไป แต่โดย หลกั การพิธกี รรม คือโอกาสทีพ่ ระจะปรากฏตัวแก่ประชาชนแลว้ ก็จะได้ทําหนา้ ทข่ี องท่าน พระมหี น้าที่อะไร วา่ ตามหลกั หนา้ ที่ของพระก็คือการให้ธรรมแก่ประชาชน เรียกว่าธรรมทาน แต่ การให้ธรรมนั้นให้อย่างไร ถ้าพูดให้เขาฟัง เช่น เทศน์ แสดงธรรม บรรยายธรรม อันนี้แน่นอน ชัด แต่การให้ ธรรมน้ีให้โดยไม่ต้องพูดก็มี และพระจํานวนมากก็ยังพูดไม่เป็น ยังสอนธรรมด้วยการเทศน์ไม่เป็น บางทีก็ เพราะเรยี นรไู้ มม่ ากพอหรือบางองค์แมจ้ ะเรียนร้มู ากแล้ว แตก่ พ็ ดู ไมเ่ ป็น เทศน์ไม่เป็น ท่ีจริง พระสามารถให้ธรรมได้โดยไม่ต้องพูด พระอัสสชิท่านเดินไปบิณฑบาตในเมืองราชคฤห์ แต่ อาการปรากฏตัวของท่านเป็นการให้ธรรมแก่อุปติสสมาณพ (คือพระสารีบุตร) โดยไม่ต้องพูดเลย อุปติส สมาณพน้ันเม่ือเห็นพระอัสสชิผู้มีอาการสงบงามสง่าและมีลักษณะของผู้เลื่อมใสว่าทา่ นผู้น้ีต้องมีดี ก็เลยตาม ไปแล้วกไ็ ดพ้ บได้พูดโดยเดินตามไปตั้งแต่ท่านบิณฑบาต จนกระท่ังท่านหยุดเตรียมฉัน จึงเข้าไปนมัสการแล้วก็ พดู สนทนาซึ่งนําไปสกู่ ารไดเ้ ขา้ ถงึ ธรรมตอ่ ไป เปน็ อันว่าพิธีกรรมน้ีเป็นจุดปรากฏตัวของพระสงฆ์ พระสงฆ์มีทั้งผู้สอนเป็นและสอนไม่เป็น แต่การ ให้ธรรมนี้ไม่จําเป็นต้องพูด การให้ธรรมโดยไม่ต้องพูด ก็เริ่มต้ังแต่การปรากฏตัวของพระไปทีเดียว ซ่ึง สามารถให้ธรรมแก่ประชาชนโดยทันที ท่านจึงเน้นเร่ืองวินัยว่าให้พระมีวินัยและวินัยนั้นก็ออกมาปรากฏใน ความเปน็ อยู่ การดําเนินชีวิตประจําวันและการทํากิจหน้าท่ีต่าง ๆ พิธีกรรมต่าง ๆ ก็เป็นส่วนเบื้องต้นของวินัย ซงึ่ ให้มคี วามเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย เมอื่ พระไปปรากฏตวั ท่ไี หน กส็ อนธรรมไดท้ ่นี น่ั แมโ้ ดยไมต่ ้องพดู คาํ ว่าสอนธรรมอาจจะแคบไป การใหธ้ รรมนอ้ี าจจะให้โดยตรงเข้าไปถึงจิตใจเลย จะให้อย่างไร ขอทํา ความเขา้ ใจกันหนอ่ ย ธรรมเบื้องแรกทพี่ ระจะใหแ้ กป่ ระชาชนกค็ ือใหป้ สาทะ ความผ่องใสของจิตใจ ประชาชนชาวบ้านนั้นวุ่นวายเดือดร้อนกับกิจการงานมากมาย ตลอดจนเรื่องในครอบครัวและอารมณ์ กระทบกระทัง่ ในชวี ิตประจาํ วันสารพัด จิตใจไม่ค่อยสงบแต่พอเห็นพระจิตใจก็สบายผ่องใสสดช่ืน แต่ท้ังนี้หมายถึงว่า พระนี้ต้องปฏิบัติดีปฏิบัติชอบด้วย แต่โดยท่ัวไปที่เป็นมาพระท่านได้ปฏิบัติดีงามกันมาจนทําให้เกิดเป็นบุญภาพ ข้ึน ในสังคมแล้ว พอชาวบ้านเห็นพระก็จะเกิดความรู้สึกสบายใจ จิตใจผ่องใสเรียกว่าปสาทะขึ้นมาทันที ปสาทะนี่เป็น กุศลธรรม จติ ใจดงี ามเป็นกศุ ลข้นึ มาแล้วก็คอื ธรรมเกดิ ข้นึ ในใจของเขาแลว้ โดยไมต่ ้องพดู อะไร เพราะฉะนน้ั การปรากฏตวั ของพระนี่ ถ้าปรากฏให้ถูกต้องกเ็ ป็นการให้ธรรมแก่ประชาชน คอื ทําให้ เขาไดธ้ รรมทนั ทีเลย เมอ่ื เกิดกุศลธรรมข้นึ ในใจแลว้ จติ ใจเบิกบานผอ่ งใส กอ็ าจจะส่งผลดีไปในวันน้ันทงั้ วนั ก็ ได้ ทาํ ใหท้ ําอะไร ๆ ด้วยจิตใจช่ืนบานผ่องแผ้ว อันน้เี ป็นคณุ คา่ ที่สาํ คญั มาก เพราะฉะน้ันเราจะต้องไม่ลมื หลกั ขอ้ นี้ คือการให้ธรรมโดยไมต่ ้องพดู ซงึ่ พระส่วนใหญใ่ ห้ได้ท้ังนน้ั เพราะชาวบา้ นนับถอื พระอยู่แลว้ เพียงแต่ต้งั ใจสักหน่อยไมต่ ้องรอให้เทศน์เปน็ เพราะถ้าจะให้พดู เก่งน้ีบางทีก็ยาก ธรรมข้อตน้ ทพ่ี ระจะให้แก่ประชาชน คอื ปสาทะและความปลอดเวรภยั การให้ธรรมอย่างที่ว่านี้เป็นกิจเบื้องแรกของพระสงฆ์เลยทีเดียว เพราะฉะนั้นพระดีท่ีท่านพรรณนาไว้ ในพระไตรปิฎก จึงมีลักษณะอยา่ งหนึง่ ทีเ่ รยี กวา่ “มโนภาวนีย”์ แปลว่าผเู้ ปน็ ท่ีเจรญิ ใจ ชาวบ้านญาติโยมอุบาสกอุบาสิกาน้ีไปวัดบางทีเพียงแค่เพื่อให้ได้พบพระแล้วก็สบายใจ จิตใจก็เจริญงอกงาม พัฒนาขึน้ มาเลย ดงั ทท่ี า่ นกล่าวถึงอุบาสกบางท่านปรารภตอนที่พระพุทธเจ้าจะปรินิพพานว่าเม่ือพระพุทธเจ้า ปรินพิ พานแล้วเขากจ็ ะเสียโอกาสที่จะไดพ้ บพระสงฆผ์ ู้เปน็ ท่ีเจริญใจ ท่ีเรียกว่า มโนภาวนยี า ไม่เหมอื นตอนที่ มีพระพุทธเจ้าอยูซ่ งึ่ มพี ระสงฆ์ผู้ใหญ่ท่ีน่าเลื่อมใสเคารพมาอยู่กันพร้อม เขาไปได้เห็นพระเหล่าน้ันก็ทําให้ช่ืนใจ สบายใจ มีจิตใจผ่องใสเบิกบานเป็นกุศลไปตลอดท้ังวัน เป็นทัศนานุตริยะ เป็นยอดทัศนา เข้ากับหลักท่ีว่า สมณานัญจ ทสั สนงั เอตมมงคลมตุ ตมัง แปลวา่ การเหน็ สมณะเปน็ อุดมมงคล

๓๗ ที่ว่ามานกี้ เ็ ป็นหลกั การอย่างหนึ่งท่ีสําคัญ และเปน็ ลักษณะท่ีสาํ คญั ของพระสงฆ์ในพระพทุ ธศาสนา คือ ความเป็นพระไม่ไดอ้ ยู่ทีค่ วามศักดิ์สทิ ธิม์ ีฤทธิ์ปาฏิหาริย์ ไม่ไดอ้ ยูท่ ีก่ ารทําหน้าทีเ่ ปน็ สือ่ กลางระหวา่ งสวรรค์กบั มนุษย์ ไมใ่ ช่อยู่ทีก่ ารอย่ปู ่าอยเู่ ขาเป็นฤาษชี ีไพรแตค่ วามเปน็ พระอยู่ท่ีความเป็นผู้สงบ ไมม่ เี วรภัย ใน โอวาทปาตโิ มกข์กไ็ ด้บอกไวแ้ ล้ววา่ ผ้ทู ที่ ําร้ายคนอ่นื ไม่เป็นบรรพชติ ผูท้ เ่ี บยี ดเบียนคนอนื่ ไม่เปน็ สมณะ ลักษณะ ของพระสงฆใ์ นพระพทุ ธศาสนา คอื ความเปน็ ผสู้ งบ ปราศจากภยั อันตรายไม่มีเวรภยั แก่ผูใ้ ด ถ้าเฉไถล ออกไป กร็ ีบหนั กลับมาตัง้ ตน้ ใหม่ น่าเสียดายว่า ปัจจุบันนี้ ความหมายเหล่าน้ีของพิธีกรรมได้เลอะเลือนไป เวลาทําพิธีกรรมก็ลืมไป ไม่ไดม้ องท่ีความหมายเหล่านี้ แต่พากันไปมุ่งท่ีความใหญ่โตหรูหรา ความโอ่อ่าอวดกัน ประกวดประชันในการ ใช้จ่ายมาก ว่าใครจะใช้เงินมากกว่ากัน พิธีกรรมของเรานี้ การบวชนาคของฉันครั้งนี้ใช้เงินต้ังเท่านั้นแสน พิธีกรรมแทนทจ่ี ะไดผ้ ลกก็ ลายเปน็ เสียผล ท่เี สยี กเ็ พราะว่า ความหมายท่แี ทจ้ รงิ มนั หายสูญไป เพราะฉะน้ัน จึงต้องพิจารณาว่า ในเม่ือพิธีกรรมเป็นจุดนัดพบนัดหมายและเป็นโอกาสให้พระสงฆ์ ปรากฏตัวแก่ประชาชนแล้ว พระสงฆ์จะใช้โอกาสนี้อย่างไร นี้เป็นตอนสําคัญ เป็นจุดนําท่ีจะชักจูงเขาให้เข้าสู่ ธรรมต่อไป โดยมองว่าเป็นโอกาสที่จะไดแ้ สดงธรรม ปัจจุบันคนจํานวนมากอยู่ในสังคมมีกิจการงานวุ่นวายหาเงินทองกันไป จะไปวัดทีหนึ่งก็คือไปงานศพ นาน ๆ จะได้พบกันสักที พระก็ใช้โอกาสน้ีเลย โดยพูดธรรมแสดงธรรมในตอนน้ัน หรือไปในงานที่เขานิมนต์ เช่นไปงานแต่งงาน บางทีคนที่มาในพิธีนั้นไม่เคยยุ่งเกี่ยวกับเรื่องพระเลย แต่เพราะเป็นประเพณีต้องมี พิธีกรรมนี้ก็เลยต้องนิมนต์พระไป ตอนน้ีพระก็มีโอกาสแล้ว พอไปในงานพิธีก็ใช้พิธีกรรมนั้นเป็นโอกาสท่ีจะ สอนธรรมไปเลยพอพิธีจวนเสร็จก็ให้โอวาทบ่าวสาว ถ้าพูดสอนไม่ได้ ก็พยายามให้ธรรมโดยไม่พูด ให้ดีที่สุด เป็นอันว่า พิธีกรรมน้ี ถ้ามองในแง่เป็นที่ม่ันสุดท้ายก็เป็นปราการสุดท้ายท่ีเราควรจะใช้ประโยชน์ เพ่ือตรึงไว้ ไม่ให้เสื่อมลงไปกว่าน้ี เมื่อพระพุทธศาสนายังมีรูปแบบอยู่ก็แสดงว่ายังไม่หมดเสียทีเดียว เราก็เดินหน้ากลับ โดยใช้ปอ้ มค่ายแห่งพิธีกรรมนี้เป็นจุดตรึงและเสรมิ กําลงั เพ่อื เขยิบตวั เดนิ หนา้ ต่อไป พธิ ีกรรม เปน็ รูปแบบทีจ่ ะสอ่ื ธรรมสาํ หรับคนหมูใ่ หญ่ เรื่องพิธีกรรมน้ีก็รู้กันว่า เป็นเรื่องรูปแบบ ข้อสําคัญจึงอยู่ท่ีว่าทําอย่างไรจะให้มีสาระอยู่ในรูปแบบนั้น ด้วยรูปแบบก็สําคัญ แต่รูปแบบจะมีความหมายก็ต่อเม่ือมีเนื้อหาสาระ ถ้ารูปแบบไม่มีเน้ือหาสาระไม่มี ประโยชน์ แต่ในทางกลับกันถ้าเนื้อหาไม่มีรูปแบบช่วย เนื้อหาน้ันก็จะเป็นประโยชน์ได้ยาก แม้เป็นส่ิงท่ี ตอ้ งการแตค่ นก็ไม่สามารถจะเอามาใชป้ ระโยชน์อะไร เหมือนอย่างนาํ้ เป็นตัวสาระทเ่ี ราต้องการ แต่นํ้าอยู่ในสระ จะกินทีไรต้องเดินไปท่ีสระแล้วก็เอามือวัก จะดื่มก็ยาก แล้วก็ต้องลําบากเดนิ ทุกที แตถ่ ้าเรามแี กว้ น้ําหรือมีภาชนะ เราก็สามารถตักเอานํ้าน้ันมาใช้เท่าท่ี เราต้องการ และสามารถนํามาเก็บไว้ในท่ีท่ีสะดวกท่ีจะใช้อีกด้วยอย่างไรก็ตาม ถ้าคนลืมไปว่าประโยชน์ของ แก้วคือการบรรจุน้ําและใช้น้ําให้เป็นประโยชน์ เลยไปสาระวนอยู่กับการแต่งแก้วให้สวยให้งาม ประดิษฐ์ประดอย เสร็จแล้วก็ไมไ่ ด้ใช้แกว้ นัน้ ใสน่ ้าํ แตเ่ อาไปตัง้ โชวเ์ ฉย ๆ แก้วก็ไม่มีประโยชน์อะไร แต่ถ้าเรา รู้จักใช้แกว้ นํ้าก็เป็นประโยชนม์ าก เพราะมนั ทาํ ให้น้ําเกดิ ผลประโยชนอ์ ยา่ งแท้จรงิ เตม็ ท่ี ในทาํ นองเดียวกัน พธิ ีกรรมกเ็ ป็นเพยี งรูปแบบ ซึ่งจะมีค่าความหมายกต็ อ่ เม่ือมเี น้ือหาสาระอยูด่ ว้ ย เรา จงึ ตอ้ งเอาเนอื้ หาสาระมาใส่ แต่สาํ หรบั คนทว่ั ไป ถา้ ไม่มรี ปู แบบช่วยเขาจะเข้าถึงเน้อื หาสาระไดย้ าก รูปแบบ จงึ เปน็ จุดทีจ่ ะเรมิ่ ต้นชดั นาํ ใหเ้ ขาไดเ้ ข้าถงึ เนื้อหาสาระตอ่ ไป รปู แบบทง้ั หลายมคี วามสาํ คัญฉันใด พธิ กี รรมก็ ฉันน้ัน มคี วามสําคญั โดยจะต้องมเี นื้อหาสาระอยดู่ ว้ ย ถ้าเหลอื แตร่ ปู แบบ เนือ้ หาไม่มแี ล้ว ไม่ช้ากจ็ ะเขวออกไป แลว้ กจ็ ะใชไ้ ม่ตรงตามความมงุ่ หมาย เชน่ กลายเปน็ เร่ืองของความโก้ หรูหรา ประกวดประชันกนั วา่ ใครจะใหญ่จะโตกวา่ กนั กลายเปน็ เร่อื งสิน้ เปลืองเสีย เปลา่ เช่นบวชพระไมเ่ อาเนือ้ หาสาร ไม่ร้วู า่ บวชเพอ่ื อะไร เอาแตร่ ปู แบบ ไดแ้ ตจ่ ดั งานใหญ่โต มีการเชญิ แขก

๓๘ มากมายตั้งโต๊ะเลยี้ งกันสิ้นเปลืองเงนิ ทองเป็นหม่ืนเป็นแสน แต่บวชได้ ๗ วันกส็ ึกแล้ว และระหว่างทบี่ วชก็ ไมไ่ ด้ฝกึ ฝนอบรมศกึ ษาเลา่ เรยี นอะไร ตอนนีเ้ รามองประโยชน์ของคนส่วนใหญ่ เรามองคนท้งั สังคม ไมใ่ ชม่ องท่ตี ัวบคุ คลนัน้ บุคคลนี้ คนสว่ น ใหญน่ ีเ่ ราตอ้ งยอมรบั ความจรงิ ว่าเขาจะเขา้ ถงึ เนอื้ หาสาระทันทไี มไ่ ด้ จะต้องมีรูปธรรมท่จี ะส่ือกบั เขากอ่ น พิธีกรรมเป็นรูปธรรมทม่ี าสอื่ ถา้ เราใชเ้ ป็นก็จะนําให้เขาเขา้ สูต่ วั เน้อื หาตอ่ ไป เมือ่ เวลาผา่ นไปนาน ๆ กค็ วรมกี ารสาํ รวจตรวจตราว่า พธิ กี รรมยงั บรรจเุ นอื้ หาสาระทตี่ ้องการอยู่ หรอื ไม่และรูปแบบของมันยงั สอ่ื สาระนนั้ กบั มหาชนในยคุ สมัยทีเ่ ป็นปัจจบุ นั ได้ดีหรือไม่ นอกจากคอยรกั ษาคอยใสค่ วามและเนอ้ื หาสาระเข้าไปในรปู แบบ พร้อมทั้งปรบั ปรุงรปู แบบของ พิธกี รรมให้สอ่ื สาระทต่ี ้องการแกป่ ระชาชนในยุคสมัยนั้น ๆ แลว้ รูปแบบที่รงุ รังซงึ่ ถว่ งขัดกดี ขวางการส่อื สาระ กค็ วรไดร้ บั การขัดเกลาหรอื ชาํ ระสะสาง อย่างไรก็ตาม พธิ ีกรรมยงั เปน็ รูปแบบยอ่ ย ซง่ึ เป็นองค์ประกอบอยูใ่ นรูปแบบใหญค่ อื วฒั นธรรมประเพณี ทเ่ี รียกกนั วา่ เปน็ เอกลักษณ์ของสังคมน้นั การชาํ ระสะสางพิธีกรรมจงึ ต้องปฏบิ ัตดิ ้วย ความมีสติ โดยคํานงึ ถึงวฒั นธรรมทีเ่ ปน็ เอกลกั ษณข์ องสังคมดว้ ย แต่ทง้ั นี้กต็ ้องไมใ่ หเ้ สียหลกั ทีว่ า่ พธิ ีกรรมไม่ พงึ เป็นรปู แบบทนี่ ่ิงตายไร้เน้อื หา ส่ือสาระไม่ได้ แลว้ กลายเปน็ เปลอื ก ซ่ึง ไมท่ าํ หนา้ ที่ในการชว่ ยปกปอ้ ง รกั ษาเนือ้ หา แตก่ ลับไพล่ไปเป็นเคร่อื งปิดกน้ั ประโยชน์ และบดบงั คุณคา่ ของตนเอง ถ้าพระพทุ ธศาสนาเหลือแตพ่ ธิ กี รรมจริง แตพ่ ิธีกรรมนนั้ ยังมีความหมายและเนอื้ หาสาระถกู ต้องปญั หา ก็ยังไมร่ า้ ยแรงนัก แตส่ ภาพในทางเสื่อมทหี่ นกั ในปัจจบุ นั ก็คอื นอกจากพิธีกรรมจะมคี วามหมายเลือนลาง หรือคลาดเคลอ่ื นออกไป จนกลายเปน็ รูปแบบทีไ่ มม่ ีเนอ้ื หาสาระ หรือเปน็ เปลอื กท่ีมเี นอ้ื อย่างอ่ืนเข้ามาแทน เน้อื แท้แล้ว แม้แตส่ งั ฆกรรมหลายอย่างที่เป็นสว่ นแก่นสาระสาํ คญั ของพระวนิ ยั กย็ ังไดเ้ ลอื นลางลงไป กลายเปน็ พธิ กี รรมในความหมายทคี่ ลาดเคลื่อนไปแลว้ ดว้ ย เพราะฉะน้นั งานแกไ้ ขปรบั ปรงุ ทีจ่ ะตอ้ งทําเก่ยี วกบั พิธกี รรม เพ่ือฟ้นื ความหมายและใสเ่ นอ้ื หาสาระกลบั เขา้ ไปในรูปแบบของมัน จึงไมใ่ ชเ่ ป็นเพยี งงานในการเชื่อมโยงพธิ ีกรรมเขา้ ส่พู ระวนิ ัยเทา่ นน้ั แต่เปน็ งานในข้ัน ของพระวนิ ยั โดยตรงทเี ดียว ด้วยเหตุน้ี เรื่องของพธิ กี รรมใน บัดน้จี งึ มีความสําคญั ถงึ ขน้ั เปน็ เนื้อเป็นตวั ของ พระพุทธศาสนาด้วย พธิ กี รรมเปน็ ส่วนเบ้ืองต้นของวนิ ัย โดยเปน็ สว่ นที่ส่ือกับหมชู่ นส่วนใหญเ่ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มและเปน็ เครือ่ งนํา เขาเข้าสู่วินัยทจ่ี ะนาํ ตอ่ ให้เข้าถึงเนือ้ หาสาระท่ีเป็นธรรมะสงู ขึ้นต่อไป และอกี ด้านหนงึ่ ในทางกลบั กนั วินัยก็เป็น ทป่ี รากฏตวั ของธรรมะในโลกแห่งสมมติของมนษุ ยด์ ว้ ย ดงั นน้ั ถา้ จะให้พระพทุ ธศาสนาดาํ รงอยดู่ ้วยดีจะต้องทาํ ให้พธิ ีกรรมเปน็ เคร่อื งนาํ เขา้ สวู่ นิ ยั ทส่ี งู ขึน้ ไป เพ่ือเขา้ ถึงธรรมในทส่ี ดุ และถ้าเมื่อใดพิธีกรรมเป็นท่ีปรากฏ แสดงตวั ของบุคคลผ้เู ข้าถึงธรรมแลว้ ท่จี ะมาสือ่ สารกับมหาชนได้สะดวก เมอื่ นัน้ กเ็ ป็นความสมบูรณแ์ หง่ ความหมาย และเป็นความสําเรจ็ แหง่ ความมงุ่ หมายของพธิ ีกรรม

๓๙ การกล่าวคาํ อาราธนาในพุทธศาสนาพธิ ี ก่อนแตจ่ ะรบั ศีลจากพระสงฆก์ ็ดี ก่อนแต่จะฟังพระธรรมเทศนากด็ ี ก่อนแตจ่ ะให้ พระสงฆเ์ จรญิ พระพุทธมนตก์ ด็ ี คฤหสั ถต์ อ้ งอาราธนาก่อน คําอาราธนานน้ั เปน็ ภาษามคธ ดังน้ี คําอาราธนาศลี ๕ คําบาลี คาํ แปล มะยงั ภนั เต วิสุง วสิ ุง รกั ขะณัตถายะ/ ข้าแตท่ ่านผเู้ จริญ ขา้ พเจ้าท้ังหลายขอศลี ๕ ตสิ ะระเณนะ สะหะ/ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ พรอ้ มดว้ ยไตรสรณะ เพ่ือรักษาแยกกันเป็นข้อ ๆ ทตุ ยิ มั ปิ มะยัง ภนั เต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ/ ขา้ แตท่ า่ นผเู้ จริญ ขา้ พเจา้ ทง้ั หลายขอศลี ๕ ตสิ ะระเณนะ สะหะ/ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ พร้อมดว้ ยไตรสรณะ เพื่อรักษาแยกกันเป็นขอ้ ๆ เป็นครง้ั ท่ี ๒ ตะตยิ มั ปมิ ะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รกั ขะณตั ถายะ/ ขา้ แตท่ ่านผเู้ จรญิ ข้าพเจ้าทง้ั หลายขอศลี ๕ ตสิ ะระเณนะ สะหะ/ ปญั จะ สลี านิ ยาจามะ พร้อมดว้ ยไตรสรณะ เพื่อรกั ษาแยกกนั เปน็ ขอ้ ๆ เป็นครง้ั ที่ ๓ คาํ อาราธนาพระปรติ ร (สวดมนต)์ คาํ บาลี คาํ แปล วปิ ตั ติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตตสิ ิทธิยา ขออาราธนาพระคณุ เจา้ ทั้งหลาย สวดพระปรติ ร สัพพะทุกขะวนิ าสายะ ปะริตตงั พรูถะ มงั คะลัง อนั เป็นมงคล เพอื่ ป้องกนั ความพิบตั ิ เพอ่ื ให้สําเร็จ สมบัติทุกอย่าง และเพ่อื ใหท้ กุ ข์พนิ าศไป วิปัตตปิ ะฏิพาหายะ สพั พะสมั ปัตติสิทธิยา ขออาราธนาพระคณุ เจา้ ทงั้ หลาย สวดพระปริตร สัพพะภะยะวินาสายะ ปะริตตงั พรูถะ มงั คะลงั อนั เป็นมงคล เพือ่ ป้องกนั ความพิบัติ เพื่อให้สําเรจ็ สมบัตทิ ุกอยา่ ง และเพ่อื ให้ภยั พนิ าศไป วปิ ตั ติปะฏพิ าหายะ สพั พะสมั ปัตตสิ ทิ ธิยา สัพพะโรคะวินาสายะ ปะริตตงั พรูถะ มงั คะลัง ขออาราธนาพระคณุ เจา้ ท้งั หลาย สวดพระปรติ ร อันเปน็ มงคล เพอ่ื ป้องกนั ความพิบัติ เพอ่ื ใหส้ ําเร็จ สมบตั ิทกุ อยา่ ง และเพ่อื ให้ภัยพนิ าศไป อาราธนาธรรม (อาราธนาใหพ้ ระเทศน)์ คาํ บาลี คาํ แปล พรัหมา จะ โลกาธิปะตี สะหัมปะติ ท้าวสหมั บดีพรหม ผูเ้ ป็นอธบิ ดขี องโลก ไดป้ ระนมหตั ถ์ กัตอญั ชะลี อนั ธิวะรงั อะยาจะถะ นมัสการกราบทูล สมเด็จพระผู้มพี ระภาคเจ้า ผ้ปู ระเสรฐิ สนั ตธี ะ สตั ตาปปะระชักขะชาตกิ า กวา่ สัตวผ์ ้ยู ังมืดมนวา่ สัตวท์ ง้ั หลายผูม้ ี คือกิเลส เทเสตุ ธัมมงั อะนกุ ัมปมิ งั ปะชงั ในดวงตาเพียงเลก็ นอ้ ย ยงั มีอยใู่ นโลกนี้ ขอพระองค์ จงทรงแสดงธรรม อนเุ คราะหห์ ม่สู ตั วน์ ้ีเถิด ก่อนวา่ คาํ อาราธนา ถ้าเป็นพิธีทางราชการ พระสงฆน์ ั่งบนอาสนะสูง เจา้ ภาพน่ังเก้าอ้ี ผอู้ าราธนา ควรยืนขนึ้ ทาํ ความเคารพประธานกอ่ น แล้วจงึ เดนิ เข้าไปหาพระสงฆย์ ืนห่างพอควร แล้วประนมมอื ไหวก้ ล่าว คําอาราธนา เสรจ็ แล้วไหวอ้ กี ครัง้ หนึง่ หันมาทําความเคารพประธาน แลว้ จึงไปน่งั ฟังเทศน์หรอื ฟงั พระสวด มนต์ ถา้ เปน็ พธิ ีของเอกชน ผู้ฟงั นั่งกับพื้น ผอู้ าราธนาควรน่ังคุกเข่าขนึ้ แลว้ กราบพระประนมมอื กล่าวคาํ อาราธนา เสร็จแลว้ กราบ ๑ ครั้ง นั่งราบลงกบั พ้ืนฟงั สวดหรือเทศนต์ ่อไป

๔๐ เอกสารอา้ งอิง (Bibliography) ............................................................................................................................. กองอนศุ าสนาจารย์ กรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก, วิชาการศาสนาและศีลธรรม สาํ หรบั หลักสตู ร นายรอ้ ย พมิ พค์ ร้งั ที่ ๒. กรงุ เทพมหานคร : อมรนิ ทรพ์ รน๊ิ ต้งิ , ๒๕๔๘. กองทัพบก, คําสัง่ ที่ ๒/๒๕๕๗ เร่อื ง กาํ หนดมาตรฐานโต๊ะหมูบ่ ูชาเคร่ืองพร้อมประจําหน่วย ทหาร ลง ๖ ม.ค. ๒๕๕๗. กองทัพบก, คมู่ อื การปฏบิ ตั ศิ าสนพธิ ี , กรุงเทพมหานคร : อมรนิ ทรพ์ รนิ ตง้ิ , ๒๕๕๓ พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ. ปยตุ โฺ ต). พจนานกุ รมพุทธศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม Dictionary of Buddhism. พิมพค์ ร้ังที่ ๑๖ พ.ศ. ๒๕๕๑. กรงุ เทพมหานคร : บริษัท เอส. อาร์. พรนิ้ ตงิ้ แมส โปรดกั ส์ จํากัด, ๒๕๕๑. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพม์ หาจุฬา ลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๙.

๔๑ ภาคผนวก

๔๒ แบบประเมินความร้หู ลังเรยี น

๔๓ ข้อสอบวชิ าการศาสนาและศลี ธรรม หลักสตู รชน้ั นายรอ้ ย ช่ือ.....................................................นามสกุล..............................................หมายเลขประจาํ ตวั .................... คําส่งั ให้ กา เครือ่ งหมาย (X) ทบั ก ข ค หรือ ง ท่ีเห็นวา่ ถกู ทีส่ ุด ๑. หลักธรรมทเี่ ก่ยี วกับความมน่ั คงทางสงั คมทีท่ าํ ใหม้ นุษย์มคี วามปกตสิ ุข หมายถงึ ขอ้ ใด ? ก. เบญจศลี เบญจธรรม ข. อทิ ธบิ าท ๔ ค. ฆราวาสธรรม ๔ ง. สังคหวัตถุ ๒. คําว่า “ ศีล ”มีความหมายตรงกับข้อใดมากที่สุด ? ก. ปลอดภยั ข. ความดี ค. ความอ่อนโยน ง.ปกติ ๓. การละเมิดเบญจศลี ขอ้ ใดที่จะเปน็ เหตใุ ห้ละเมดิ ขอ้ อ่นื ได้งา่ ย ? ก. ศีลข้อท่ี ๑ ข. ศลี ข้อ ๒ ค. ศลี ข้อ ๕ ง. ศลี ขอ้ ๔ ๔. ผลของการรักษาศลี มีกี่ประการ ? ก. ๓ ประการ ข. ๒ ประการ ค.๔ ประการ ง. ๕ ประการ ๕..เบญจศีล – เบญจธรรม ขอ้ ใด มคี วามหมายที่ไมถ่ ูกตอ้ ง ? ก. เวน้ จากการฆ่าสตั ว์ + เมตตา ข. เวน้ จากการลักทรพั ย์ + สัมมาอาชีพ ค. เวน้ จากการด่ืมน้ําเมา + สัจวาจา ง. เว้นจากการประพฤตผิ ดิ ในกาม + กามสงั วร ๖. บุคคลจะสร้างความม่นั คงด้านเศรษฐกิจ กลา่ วคือการสร้างฐานะให้มคี วามมั่นคง จาํ เปน็ ต้องมีคุณธรรม ข้อใด ทจ่ี ะนาํ มาเปน็ หลกั ในการแสวงหาทรพั ย์ ? ก. ขยันหา รกั ษาดี มีกลั ยาณมิตร ดํารงชวี ิตเหมาะสม ข. โอบอ้อมอารี วจีไพเราะ สงเคราะห์ประชาชน วางตนเหมาะสม ค. มเี มตตา กรณุ า มทุ ิตา อเุ บกขา ง. เวน้ จากอบายมุข ๖ ๗. หลกั การใช้จ่ายทรพั ย์ ในข้อ ๑ ทา่ นกลา่ ววา่ ควรปฏิบัตติ อ่ ทรพั ยส์ มบตั ทิ ี่ไดม้ าอย่างไร ? ก.ใชล้ งทุน ข. ใช้ป้องกนั อนั ตรายที่เกดิ ขึ้น ค. เลยี้ งสมณพราหมณผ์ ปู้ ระพฤติปฏบิ ัตชิ อบ ง.ใชเ้ ลี้ยงตัว เลย้ี งมารดาบดิ าบตุ รภรรยา ๘. ธรรมข้อใด จําเป็นและสาํ คัญทส่ี ดุ สาํ หรบั ความเป็นผู้ใหญ่ ตอ้ งนําไปปฏบิ ตั ิ ? ก. พรหมวหิ าร ๔ ข. สงั คหวัตถุ ๔ ค. ฆราวาสธรรม ๔ ง. อิทธบิ าท ๔ ๙.คนท่มี ีจิตใจคิดอิจฉารษิ ยา เมื่อเหน็ คนอื่นได้ดีมสี ุข ควรจะแกไ้ ขด้วยการปฏิบตั ิธรรมในขอ้ ใด ? ก. เมตตา ข. กรณุ า ค. มุทิตา ง. อุเบกขา ๑๐. อคติ เปน็ ธรรมะปะเภทใด ? ก. ธรรมที่ควรประพฤติ ข. ธรรมท่คี วรรู้ ค.ธรรมทคี่ วรเว้น ง. ธรรมที่ควรจาํ ๑๑. พ.อ. ก. ใหบ้ ําเหน็จ ๒ ชนั้ แก่ จ.ส.อ. ข. เพราะความรักแสดงวา่ พ.อ. ก. มีอคตขิ อ้ ใด ? ก. ฉนั ทาคติ ข. โทสาคติ ค. โมหาคติ ง. ภยาคติ ๑๒. สาธารณโภคี หมายถงึ ขอ้ ใด ? ก. ความเหน็ ชอบรว่ มกนั ข.ความปรารถนาดีตอ่ กัน ค. การใช้สอยดูแลรกั ษาร่วมกนั ง. ความประพฤตสิ ุจรติ ดีงามไม่ลว่ งกฎเกณฑ์หมคู่ ณะ

๔๔ ๑๓. ขอ้ ใดมิใช่ความมุ่งหมายของทานในพทุ ธศาสนา ? ก.ใหเ้ พ่อื ฟอกกิเลสของตน ข. ให้เพอ่ื สงเคราะห์ผู้รับ ค. ให้เพื่อรักษาสถานภาพของสังคม ง. ใหเ้ พื่อคนอ่นื ยกย่องสรรเสรญิ ๑๔. อบายมขุ มีความหมายตรงกบั ขอ้ ใด ? ก. เหตแุ หง่ การนําไปสคู่ วามเป็นนักเลง ข.เหตุแหง่ การนาํ ไปสคู่ วามนกั ด่ืม ค. เหตุแหง่ การนาํ ไปสู่ความเสอ่ื ม ง. เหตุแห่งการนาํ ไปสคู่ วามนกั เลงหญิง ๑๕. ขอ้ ใดมิใช่ความหมายของคาํ วา่ ภาวนา ? ก. การศกึ ษา ข. การทําจิตใหส้ งบ ค. การพิจารณาไตรลักษณ์ ง. การพยายามทํางาน ๑๖. ธรรมขอ้ ใด เป็นหลกั ธรรมเครือ่ ง ยดึ เหน่ยี วนาํ้ ใจของผูใ้ ตบ้ ังคับบัญชา ? ก. ทาน ปิยวาจา อตั ถจริยา สมานตั ตตา ข. เมตตา กรณุ า มทุ ติ า อเุ บกขา ค. ฉนั ทะ วริ ยิ ะ จติ ตะ วมิ ังสา ง. สจั จะ ทมะ ขนั ติ จาคะ ๑๗. ผทู้ ําคณุ ประโยชนต์ อ่ ชาตบิ ้านเมืองจดั วา่ มสี งั คหวัตถธุ รรมขอ้ ใด ? ก. ทาน ข. ปิยวาจา ค. อัตถจรยิ า ง. สมานัตตตา ๑๘. “จองหองพองขน” มคี วามหมายตรงกันข้ามกับขอ้ ใด ? ก. อัตถจรยิ า ข. สมานัตตตา ค. สมชวี ิตา ง. กลั ยาณมติ ตตา ๑๙. หลักธรรมของคนดี ในทางพระพทุ ธศาสนา ในวชิ าการศาสนาและศีลธรรม ข้อใดมคี วามหมายชดั เจนที่สดุ ? ก. สัปปรุ สิ ธรรม ๗ ข. สาราณยี ธรรม ๖ ค. อปรหิ นิยธรรม ๖ ง. จกั รวรรคธิ รรม ๕ ๒๐. เวลาเรียนก็เรยี น เวลาพกั กพ็ ัก มคี วามหมายตรงกับขอ้ ใด ? ก. มตั ตัญญตุ า ข. ปริสญั ญุตา ค. อตั ถัญญตุ า ง. กาลญั ญตุ า ๒๑. ธรรมอันไมเ่ ปน็ ทต่ี งั้ แหง่ เสือ่ มหมายถงึ ธรรม ข้อใด ? ก. สาราณยี ธรรม ข. จักวรรดิธรรม ค. อคติธรม ง. อปหานิยธรรม ๒๒. หลักกรรมทางพระพทุ ธศาสนา จาํ แนกทางทวาร คือทางท่แี สดงออกของการกระทํา มีกี่อยา่ ง ? ก. ๖ ประการ ข. ๓ ประการ ค. ๕ ประการ ง. ๔ ประการ ๒๓. กรรม เมื่อทาํ แลว้ ส่งผลในปัจจบุ นั มคี วามหมายตรงกับกรรมข้อใด? ก. อุปัตถมั ภกกรรม ข.ทิฎฐธรรมเวทนียกรรม ค. อปราเวทนียกรรม ง. อโหสกิ รรม ๒๔. กรรมฝา่ ยชว่ั ทีบ่ ุคคลบางคนได้กระทาํ ลงดว้ ยการฆา่ บิดามารดา จัดเปน็ กรรมประเภทใด ? ก.ครกุ รรม ข. กตตั ตากรรม ค.อาสนั นกรรม ง. พหลุ กรรม ๒๕. หลักการทาํ บญุ ในทางพระพทุ ธศาสนาวา่ โดยย่อมีก่ีประการ ? ก. ๔ ประการ ข. ๓ ประการ ค. ๕ ประการ ง. ๒ ประการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook