หนังสือเรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสังคมศึกษา (สค31001) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 หา มจําหนา ย หนงั สือเรยี นเลมนี้ จัดพมิ พดว ยเงนิ งบประมาณแผน ดินเพ่ือการศึกษาตลอดชวี ิตสําหรบั ประชาชน ลขิ สิทธ์เิ ปนของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สํานกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ
หนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค31001) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย เอกสารทางวิชาการหมายเลข 33/2554
คํานํา สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดําเนินการ จัดทําหนังสือเรียนชุดใหมนี้ขึ้น เพื่อสําหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษา นอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนา ผเู รยี นใหม คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มสี ตปิ ญ ญาและศกั ยภาพในการประกอบอาชพี การศกึ ษาตอ และสามารถดํารงชีวิตอยูในครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุขโดยผูเรียนสามารถ นาํ หนงั สอื เรยี นไปใชด ว ยวธิ กี ารศกึ ษาคน ควา ดว ยตนเอง ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม รวมทงั้ แบบฝก หดั เพอ่ื ทดสอบความรคู วามเขา ใจในสาระเนอื้ หา โดยเมอื่ ศกึ ษาแลว ยงั ไมเ ขา ใจ สามารถกลบั ไป ศกึ ษาใหมไ ด ผเู รยี นอาจจะสามารถเพม่ิ พนู ความรหู ลงั จากศกึ ษาหนงั สอื เรยี นน้ี โดยนาํ ความรู ไปแลกเปลย่ี นกบั เพอื่ นในชน้ั เรยี น ศกึ ษาจากภมู ปิ ญ ญาทอ งถนิ่ จากแหลง เรยี นรแู ละจากสอื่ อื่นๆ ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการ ศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ไดร บั ความรว มมอื ทดี่ จี ากผทู รงคณุ วฒุ แิ ละผเู กยี่ วขอ ง หลายทานท่ีคนควาและเรียบเรียงเน้ือหาสาระจากส่ือตางๆ เพ่ือใหไดสื่อท่ีสอดคลองกับ หลกั สตู รและเปน ประโยชนต อ ผเู รยี นทอ่ี ยนู อกระบบอยา งแทจ รงิ สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ขอขอบคณุ คณะท่ปี รึกษาคณะผูเ รยี บเรียง ตลอดจน คณะผจู ดั ทาํ ทกุ ทานท่ีไดใหความรวมมอื ดวยดี ไว ณ โอกาสน้ี สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั หวงั วา หนงั สอื เรยี น ชดุ นีจ้ ะเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอ เสนอแนะประการใด สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรับไวดวยความ ขอบคณุ ยงิ่ สํานกั งาน กศน.
สารบัญ หนา คาํ นํา สารบัญ คําแนะนาํ ในการใชหนงั สือเรียน โครงสรางรายวชิ าสงั คมศึกษา (สค31001) บทท่ี 1 ภูมศิ าสตรก ายภาพ...........................................................................1 เร่อื งท่ี 1 สภาพภมู ิศาสตรกายภาพ ........................................................... 2 เร่ืองที่ 2 ลักษณะการเกิดปรากฏการณท างธรรมชาติท่สี ําคัญ และการปองกนั อนั ตราย...........................................................35 เร่อื งที่ 3 วธิ ีใชเ ครอื่ งมอื ทางภูมิศาสตร....................................................46 เรอ่ื งท่ี 4 ปญ หาการทาํ ลายทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ ม ผลการจัดลําดบั ความสําคัญของปญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ ม .......................................................................55 เร่อื งท่ี 5 แนวทางปอ งกันแกไขปญ หาการทาํ ลายทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม โดยประชาชน ชุมชน องคกร ภาครัฐ ภาคเอกชน .............................................................................77 บทที่ 2 ประวัติศาสตร ................................................................................81 เรอ่ื งที่ 1 การแบงชวงเวลาและยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร..........................82 เร่ืองท่ี 2 แหลง อารยธรรมของโลก..........................................................87 เร่อื งที่ 3 ประวัตศิ าสตรช าติไทย.............................................................94 เรอ่ื งที่ 4 บุคคลสําคญั ของไทยและของโลกในดา นประวตั ศิ าสตร............111 เร่ืองที่ 5 เหตุการณส าํ คญั ของโลกท่มี ีผลตอ ปจจบุ นั ..............................131 บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร...............................................................................136 เรอ่ื งที่ 1 ความรเู บอ้ื งตน เกยี่ วกับเศรษฐศาสตร .....................................137 เรอ่ื งท่ี 2 ระบบเศรษฐกิจ......................................................................143 เรื่องท่ี 3 กระบวนการทางเศรษฐกจิ ......................................................154 เร่ืองที่ 4 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ..................................173 เรือ่ งท่ี 5 สถาบนั การเงนิ และการเงินการคลงั .........................................185 เรอ่ื งท่ี 6 ความสมั พนั ธแ ละผลกระทบเศรษฐกจิ ระหวา งประเทศ กับภูมิภาคตางๆ ของโลก......................................................203 เรอื่ งที่ 7 การรวมกลุมทางเศรษฐกจิ .....................................................210
บทที่ 4 การเมอื งการปกครอง ...................................................................217 เร่อื งที่ 1 การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ..........................................218 เรอื่ งที่ 2 การปกครองระบบเผดจ็ การ ...................................................223 เร่ืองท่ี 3 พัฒนาการของระบอบประชาธปิ ไตย ของประเทศตางๆ ในโลก ......................................................228 เร่อื งท่ี 4 เหตุการณสาํ คญั ทางการเมืองการปกครองของประเทศไทย......235 เร่ืองที่ 5 เหตกุ ารณสําคัญทางการเมืองการปกครองของโลก ทส่ี ง ผลกระทบตอประเทศไทย................................................241 เรื่องท่ี 6 หลกั ธรรมมาภบิ าล.................................................................246 แนวเฉลยกิจกรรม ............................................................................................252 บรรณานุกรม ............................................................................................256 คณะผจู ดั ทาํ ............................................................................................257
คาํ แนะนาํ ในการใชห นังสือเรยี น หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสังคมศึกษา รหัส สค31001 ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เปน หนงั สอื เรยี นทจี่ ดั ทาํ ขน้ึ สาํ หรบั ผเู รยี นทเ่ี ปน นกั ศกึ ษาการศกึ ษา นอกระบบ ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสังคมศึกษา ผูเรียนควร ปฏบิ ตั ดิ ังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง และขอบขายเนอ้ื หา 2. ศกึ ษารายละเอยี ดเนอ้ื หาของแตล ะบทอยา งละเอยี ด และทาํ กจิ กรรมตามทก่ี าํ หนด แลวตรวจสอบกับแนวเฉลยกิจกรรมท่ีกําหนด ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและ ทําความเขา ใจในเน้อื หานั้นใหม ใหเขา ใจกอ นทีจ่ ะศกึ ษาเรื่องตอ ไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายบทของแตละบท เพ่ือเปนการสรุปความรู ความเขาใจของ เนื้อหาในเร่อื งน้ันๆ อกี ครง้ั 4. หนงั สือเรียนเลม นมี้ ี 4 บท คอื บทท่ี 1 ภมู ศิ าสตรกายภาพ บทที่ 2 ประวัตศิ าสตร บทที่ 3 เศรษฐศาสตร บทที่ 4 การเมืองการปกครอง
โครงสรา งรายวชิ าสงั คมศึกษา (สค31001) สาระสําคัญ ประชาชนทุกคนมีหนาที่สําคัญในฐานะพลเมืองดีของชาติ การเคารพและปฏิบัติ ตามกฎหมายภายใตการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย มีความรูในเร่ืองลักษณะ ทางกายภาพ การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับส่ิงแวดลอมและสามารถบริหารจัดการ ทรพั ยากรธรรมชาตใิ หเ ออื้ ประโยชนต อ คนในชาติ การศกึ ษาความเปน มาและประวตั ศิ าสตร ของชนชาตไิ ทยทาํ ใหเ กิดความรูความเขา ใจและภาคภูมิใจในความเปน ไทย ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวัง 1. อธิบายขอมูลเกี่ยวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครองทีเ่ กยี่ วขอ งกบั ประเทศตา งๆ ในโลก 2. วิเคราะห เปรียบเทียบสภาพภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมอื งการปกครองของประเทศตางๆ ในโลก 3. ตระหนกั และคาดคะเนสถานการณร ะหวา งประเทศทางดา นภมู ศิ าสตร ประวตั ศิ าสตร เศรษฐศาสตร การเมอื ง การปกครองที่มผี ลกระทบตอ ประเทศไทยและโลกในอนาคต 4. เสนอแนะแนวทางในการแกป ญ หา การปอ งกนั และการพฒั นาทางดา นการเมอื ง การปกครอง เศรษฐกิจและสังคมตามสภาพปญหาท่ีเกดิ ข้ึนเพ่อื ความมั่นคงของชาติ สาระการเรยี นรู บทที่ 1 ภมู ิศาสตรกายภาพ บทท่ี 2 ประวัตศิ าสตร บทที่ 3 เศรษฐศาสตร บทท่ี 4 การเมอื งการปกครอง
รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 1 1ภูมิศาสตรก ายภบาทพที่ สาระสาํ คัญ ลักษณะทางกายภาพและสรรพสิ่งในโลก มีความสัมพันธซึ่งกันและกัน และมี ผลกระทบตอ ระบบนเิ วศธรรมชาติ การนาํ แผนทแี่ ละเครอื่ งมอื ภมู ศิ าสตรม าใชใ นการคน หา ขอมูลจะชวยใหมีขอมูลที่ชัดเจนและนําไปสูการใชการจัดการไดอยางมีประสิทธิภาพ การ ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพ ทาํ ใหเกดิ สรางสรรคว ฒั นธรรม และจติ สาํ นกึ รว มกนั ในการอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ มเพอื่ การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ตัวชว้ี ดั 1. มีความรูความเขาใจเก่ียวกับสภาพทางภูมิศาสตรกายภาพของประเทศไทยกับ ทวปี ตา งๆ 2. เปรยี บเทยี บสภาพภมู ศิ าสตรกายภาพของประเทศไทยกบั ทวปี ตางๆ 3. มคี วามรูค วามเขาใจในปรากฏการณทางธรรมชาติทีเ่ กิดขึ้นในโลก 4. มที ักษะการใชเครอื่ งมือทางภูมิศาสตรทสี่ าํ คัญๆ 5. รวู ธิ ปี องกันตนเองใหปลอดภัยเม่อื เกิดภัยจากปรากฏการณธรรมชาติ 6. สามารถวเิ คราะหแ นวโนม และวกิ ฤตสง่ิ แวดลอ มทเี่ กดิ จากการกระทาํ ของมนษุ ย 7. มคี วามรคู วามเขา ใจในการใชน วตั กรรมและเทคโนโลยดี า นสงิ่ แวดลอ มเพอื่ พฒั นา ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ มทยี่ ่งั ยนื ขอบขายเน้ือหา เร่อื งที่ 1 สภาพภูมศิ าสตรกายภาพ เรือ่ งที่ 2 ลักษณะการเกดิ ปรากฏการณท างธรรมชาติ และการปอ งกนั อนั ตราย เรอื่ งที่ 3 วธิ ใี ชเครือ่ งมือทางภูมิศาสตร เร่ืองที่ 4 ปญหาการทาํ ลายทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม การจดั ลาํ ดบั ความสําคญั ของปญหาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอม เรอ่ื งท่ี 5 แนวทางปอ งกนั แกไ ขปญ หาการทาํ ลายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม โดยประชาชน ชมุ ชน องคก ร ภาครฐั ภาคเอกชน
2 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม เร่ืองท่ี 1 สภาพภูมศิ าสตรกายภาพ ภมู ศิ าสตรกายภาพประเทศไทย ทาํ เลท่ตี งั้ ประเทศไทยต้ังอยูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ซึ่งประกอบดวยสวนที่เปน แผนดินใหญหรือเรียกวาคาบสมุทรอินโดจีนหรือแหลมทอง และสวนท่ีเปนหมูเกาะใหญ นอ ยหลายพนั เกาะ ตงั้ อยใู นแหลมทองระหวา งละตจิ ดู 5 องศา 37 ลปิ ดาเหนอื กบั 20 องศา 22 ลปิ ดาเหนอื และลองจิจดู 97 องศา 22 ลิปดาตะวันออก กบั 105 องศา 37 ลิปดา ตะวันออก ขนาด 1บทที่ ประเทศไทยมเี นอ้ื ท่ี 513,115 ตารางกโิ ลเมตร ถา เปรยี บเทยี บขนาดของประเทศไทย กบั ประเทศในภมู ภิ าค เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใตด วั ยกันแลว จะมพี นื้ ทขี่ นาดใหญเ ปน อนั ดบั ภมู ศิ าสตรก ายภาพ ท่สี าม รองจากอนิ โดนเี ซยี และพมา ความยาวของประเทศวัดจาก เหนือสดุ ท่อี ําเภอแมส าย จงั หวดั เชยี งรายไปจดใตส ดุ ทอี่ าํ เภอเบตง จงั หวดั ยะลา ประมาณ 1,260 กโิ ลเมตร สว นความ กวา งมากทส่ี ดุ วดั จากดา นพระเจดยี ส ามองคอ าํ เภอสงั ขละบรุ ี จงั หวดั กาญจนบรุ ไี ปจดตะวนั ออกสุด ที่อาํ เภอสริ ินธร จงั หวดั อุบลราชธานี ยาวประมาณ 780 กิโลเมตร สาํ หรบั สวนที่ แคบทสี่ ดุ ของประเทศไทยอยใู นเขตจงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ วดั จากพรมแดนพมา ถงึ ฝง ทะเล อาวไทยเปน ระยะทางประมาณ 10.5 กโิ ลเมตร อาณาเขตตดิ ตอ ประเทศไทยมอี าณาเขตติดตอ กบั ประเทศเพอ่ื นบา นโดยรอบ 4 ประเทศคอื พมา ลาว กมั พูชา และมาเลเซียรวมความยาวของพรมแดนทางบก ประมาณ 5,300 กิโลเมตร และมอี าณาเขตติดตอ กับชายฝง ทะเลยาว 2,705 กิโลเมตร คือ แนวฝงทะเลดานอา วไทย ยาว 1,840 กโิ ลเมตร และแนวชายฝง ดานทะเลอนั ดามนั ยาว 865 กิโลเมตรดังนี้ แผนที่แสดงอาณาเขตประเทศไทย
รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 3 1. เขตแดนทต่ี ดิ ตอ กบั พมา เรมิ่ ตน ทอ่ี าํ เภอแมส ายจงั หวดั เชยี งรายไปทางตะวนั ตก 1บทที่ ผา นที่จังหวัดแมฮ องสอน ไปสิ้นสุดทจ่ี ังหวดั ระนอง จังหวดั ชายแดนดา นนี้มี 10 จังหวัดคือ เชยี งราย เชยี งใหม แมฮอ งสอน ตาก กาญจนบรุ ี ราชบรุ ี เพชรบุรี ประจวบครี ขี ันธ ชมุ พร ูภ ิมศาสต รกายภาพ และ ระนอง มที วิ เขา 3 แนว เปน เสนกน้ั พรมแดน ไดแก ทิวเขาแดนลาว ทวิ เขาถนนธงชัย และทวิ เขาตะนาวศรี นอกจากนนั้ ยังมแี มนํ้าสายส้ันๆ เปนแนวกน้ั พรมแดนอยอู ีกคือแมน ํ้า เมย จงั หวัดตากและแมน า้ํ กระบรุ ี จังหวดั ระนอง 2. เขตแดนทตี่ ดิ ตอ กบั ลาว เขตแดนดา นน้ี เรมิ่ ตน ทใ่ี นอาํ เภอเชยี งแสน ไปทางตะวนั ออกผา นทอี่ าํ เภอเชยี งของ จงั หวดั เชยี งรายเขา สจู งั หวดั พะเยา ไปสน้ิ สดุ ทจี่ งั หวดั อบุ ลราชธานี ดนิ แดนทต่ี ดิ ตอกบั ลาวมี 11 จังหวัดคือ เชียงราย พะเยา นาน อตุ รดติ ถ พษิ ณโุ ลก เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อํานาจเจริญ และอุบลราชธานี มีแมนํ้าโขงเปนเสนกั้น พรมแดนทางนาํ้ ทส่ี าํ คญั สว นพรมแดนทางบกมที วิ เขาหลวงพระบางกน้ั ทางตอนบนและทวิ เขาพนมดงรกั บางสว นกั้นเขตแดนตอนลาง เขตแดนท่ีติดตอกบั กัมพชู า เริ่มตน ทีพ่ ื้นทบี่ าง สว นของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนลา ง 3. จากอาํ เภอนา้ํ ยนื จงั หวดั อบุ ลราชธานี มาทางทศิ ตะวนั ตก แลว วกลงใตท จ่ี งั หวดั บุรีรัมย ไปสิ้นสุดท่ีจังหวัดตราด จังหวัดชายแดนที่ติดตอกับกัมพูชา มี 7 จังหวัด คือ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรนิ ทร บุรีรัมย สระแกว จนั ทบรุ ี และ ตราด มีทิวเขาพนม ดงรกั และทวิ เขาบรรทดั เปนเสนก้นั พรมแดน 4. เขตแดนทีต่ ิดตอกบั มาเลเซยี ไดแก เขตแดนทางใตส ดุ ของประเทศ ในพื้นท่ี 4 จังหวัด คือ สตลู สงขลา ยะลา และนราธิวาส มแี นวเทอื กเขาสนั กาลาครี ี และแมน ้าํ โก-ลก จงั หวัดนราธิวาสเปนเสนกน้ั พรมแดน ภาคเหนือ ภาคเหนอื ประกอบดว ยพ้นื ทีข่ อง 9 จังหวดั ไดแ ก 1. เชียงราย 2. แมฮ อ งสอน 3. พะเยา 4. เชยี งใหม 5. นา น 6. ลาํ พนู 7. ลาํ ปาง 8. แพร 9. อุตรดติ ถ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทว่ั ไป เปน เทอื กเขาสงู ทอดยาวขนานกนั ในแนวเหนอื -ใต และ ระหวางเทือกเขาเหลาน้ีมีท่ีราบและมี หบุ เขาสลบั อยทู ว่ั ไปเทอื กเขาทส่ี าํ คญั คอื เทือกเขาหลวงพระบาง เทือกเขา แดนลาว เทือกเขาถนนธงชัย เทือก เขาผีปนนํ้า เทือกเขาขุนตาลและ เทอื กเขาเพชรบรู ณ ยอดเขาทสี่ งู ทสี่ ดุ ในภาคน้ี ไดแก ยอดอนิ ทนนท อยูใน จังหวดั เชยี งใหม มีความสูงประมาณ 2,595 เมตร เทือกเขาในภาคเหนือ
ภมู ศิ าสตรก ายภาพ4 หนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสังคม เปน แหลง กาํ เนดิ ของแมน าํ้ สายยาว 4 สาย ไดแ ก แมนาํ้ ปง วงั ยม และนาน แมน ้ําดงั กลาว นไี้ หลผา นเขตทร่ี าบหบุ เขา พนื้ ทท่ี ง้ั สองฝง ลาํ นาํ้ จงึ มดี นิ อดุ มสมบรู ณเ หมาะแกก ารเพาะปลกู ทาํ ใหม ผี คู นอพยพไปตง้ั หลกั แหลง ในบรเิ วณดงั กลา วหนาแนน นอกจากนภ้ี าคเหนอื ยงั มแี มน าํ้ สายส้ันๆ อีกหลายสาย ไดแกแมน้ํากก และแมน้ําอิง ไหลลงสู แมน้ําโขง สวนแมนํ้าปาย แมน ้าํ เมย และแมน า้ํ ยม ไหลลงสแู มน ้ําสาละวิน ภาคกลาง ภาคกลางประกอบดวยพ้ืนท่ีของ 22 จังหวัด ไดแก 1.สุโขทัย 2.พิษณุโลก 3.กําแพงเพชร 4.พิจิตร 5.เพชรบูรณ(ภาคกลางตอนบน) 6.นครสวรรค 7.อุทัยธานี 8.ชัยนาท 9.ลพบุรี 10.สิงหบุรี 11.อางทอง 12.สระบุรี 13.สุพรรณบุรี 1บทท่ี 14.พระนครศรีอยุธยา 15.นครนายก 16.ปทุมธานี 17.นนทบุรี 18.นครปฐม 19. กรงุ เทพมหานคร 20. สมทุ รปราการ 21. สมทุ รสาคร 22. สมทุ รสงคราม ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไป เปนที่ราบดินตะกอนท่ีลําน้ําพัดมาทับถม ในบริเวณ ทร่ี าบนมี้ ภี เู ขาโดดๆ ซงึ่ สว นใหญเ ปน ภเู ขาหนิ ปนู กระจาย อยทู วั่ ไป ภมู ปิ ระเทศตอนบนของ ภาคกลางเปน ทรี่ าบลกู ฟกู คอื เปน ทสี่ งู ๆตาํ่ ๆ และมภี เู ขาทม่ี แี นวตอ เนอ่ื งจากภาคเหนอื เขา มาถึงพ้ืนท่ีบางสวนของจังหวัดพิษณุโลก และเพชรบูรณ สวนพื้นที่ตอนลางของภาคกลาง นนั้ เปน ดนิ ดอนสามเหลย่ี มปากแมน าํ้ เจา พระยา ซง่ึ เกดิ จากการรวมตวั ของแมน าํ้ ปง วงั ยม นา น นอกจากแมน าํ้ เจาพระยา แลวตอนลา งของภาคกลางยังมแี มนํา้ ไหลผา นอกี หลายสาย ไดแก แมนาํ้ แมกลอง แมน ้าํ ทา จีน แมน ้าํ ปา สกั และแมนาํ้ นครนายก เขตน้เี ปน ทรี่ าบกวาง ขวางซง่ึ เกดิ จากดนิ ตะกอน หรอื ดนิ เหนยี วทแ่ี มน าํ้ พดั พามาทบั ถมเปน เวลานาน จงึ เปน พนื้ ที่ ทอ่ี ดุ มสมบรู ณเ หมาะแกก ารเพาะปลกู มาก และเปน เขตทมี่ ปี ระชากรมากทส่ี ดุ ในประเทศไทย ฉะน้ันภาคกลางจงึ ไดช ื่อวาเปนอูขาว อูนาํ้ ของไทย แมน ้าํ เจาพระยา
รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 5 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1บทที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบดวยพื้นท่ีของ 19 จังหวัด ไดแก 1.เลย ูภ ิมศาสต รกายภาพ 2.หนองคาย 3.อุดรธานี 4.สกลนคร 5.นครพนม 6.ขอนแกน 7.กาฬสินธุ 8.มุกดาหาร 9.ชยั ภมู ิ 10.มหาสารคาม 11.รอ ยเอด็ 12.ยโสธร 13.นครราชสมี า 14.บรุ รี มั ย 15. สรุ นิ ทร 16.ศรีสะเกษ 17.อบุ ลราชธานี 18.อํานาจเจริญ 19.หนองบวั ลําภู ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทวั่ ไป มลี กั ษณะเปน แอง คลา ยจาน ลาดเอยี งไปทางตะวนั ออก เฉียงใตมีขอบเปนภูเขาสูงทางตะวันตกและทางใตขอบทางตะวันตก ไดแก เทือกเขา เพชรบรู ณ และเทอื กเขาดงพญาเยน็ สว นทางใต ไดแ ก เทอื กเขาสนั กาํ แพง และเทอื กเขาพนม ดงรัก พื้นที่ดานตะวันตกเปนท่ีราบสูง เรียกวา ที่ราบสูงโคราช ภูเขาบริเวณนี้เปนภูเขา หินทราย ท่รี จู ักกนั ดเี พราะเปนแหลงทองเทย่ี ว คือ ภูกระดึง ภูหลวง ในจงั หวดั เลย แมน ้าํ ที่ สาํ คัญของภาคนี้ไดแ ก แมนาํ้ ชี และแมนา้ํ มลู ซ่ึงมีแหลงกาํ เนิดจากเทอื กเขาทางทิศตะวัน ตก และทางใตแ ลว ไหลลงสแู มน าํ้ โขง ทาํ ใหส องฝง แมน าํ้ เกดิ เปน ทรี่ าบนา้ํ ทว มถงึ เปน ตอนๆ พนื้ ทร่ี าบในภาคะวนั ออกเฉยี งเหนอื มกั มที ะเลสาบรปู แอง เปน จาํ นวนมาก แตท ะเลสาบเหลา นจ้ี ะมนี า้ํ เฉพาะฤดฝู นเทา นนั้ เมอื่ ถงึ ฤดรู อ นนา้ํ กจ็ ะเหอื ดแหง ไปหมด เพราะดนิ สว นใหญเ ปน ดนิ ทรายไมอ มุ นา้ํ นา้ํ จงึ ซมึ ผา นได เร็ว ภาคนี้จึงมีปญหาเรื่องการ ขาดแคลนนํ้า และดินขาดความ อดุ มสมบรู ณ ทาํ ใหพ นื้ ทบ่ี างแหง ไม สามารถใชประโยชนในการเกษตร ไดอยางเต็มที่ เชน ทุงกุลารองไห ซ่ึงมีเนื้อท่ีถึงประมาณ 2 ลานไร ครอบคลุมพื้นท่ี 5 จังหวัด ไดแก รอยเอ็ด สุรินทร มหาสารคาม ยโสธร และศรีสะเกษ ซ่ึงปจจุบันรัฐบาลไดพยายามปรับปรุงพ้ืนที่ใหดีขึ้น โดยใชระบบ ชลประทานสมยั ใหม ทาํ ใหสามารถเพาะปลูกไดจ นกลายเปน แหลงเพาะปลกู ขาวหอมมะลทิ ี่ ดที ีส่ ดุ แหง หนง่ึ ของประเทศไทย แตก ็ปลกู ไดเ ฉพาะหนา ฝนเทาน้นั หนา แลงสามารถทาํ การ เพาะปลูกไดเ ฉพาะบางสว นเทาน้ัน ยงั ไมค รอบคลมุ บรเิ วณทัง้ หมด ภาคตะวนั ตก ภาคตะวันตก ประกอบดวยพ้ืนท่ีของ 5 จังหวัด ไดแก 1.ตาก 2.กาญจนบุรี 3.ราชบุรี 4.เพชรบรุ ี 5.ประจวบครี ีขันธ ลกั ษณะภูมิประเทศทัว่ ไป สว นใหญเปนเทอื กเขาสูง ไดแก เทอื กเขาถนนธงชัย และเทือกเขาตะนาวศรีเปนแนวภูเขาท่ีซับซอนมที ่รี าบแคบๆ ในเขตหุบเขาเปน แหง ๆ และ มที ร่ี าบเชงิ เขาตอ เนอ่ื งกบั ทร่ี าบภาคกลางเทอื กเขาเหลา นเ้ี ปน แหลง กาํ เนดิ ของ แมน าํ้ แควนอ ย (แมนํ้าไทรโยค) และแมน้ําแควใหญ (ศรีสวัสด์ิ) ซ่ึงไหลมาบรรจบกัน เปนแมน้ําแมกลอง
ภมู ศิ าสตรก ายภาพ6 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสงั คม อา วมะนาว จงั หวัดประจวบคีรีขันธ 1บทท่ี ระหวางแนวเขามีชองทางติดตอกับพมาได ที่สําคัญคือ ดานแมละเมาในจังหวัดตาก และ ดานพระเจดยี สามองค ในจงั หวดั กาญจนบรุ ี ภาคตะวันออก ภาคตะวนั ออก ประกอบดว ยพน้ื ทขี่ อง 7 จงั หวดั ไดแ ก 1.ปราจนี บรุ ี 2.ฉะเชงิ เทรา 3.ชลบรุ ี 4.ระยอง 5.จันทบรุ ี 6.ตราด 7.สระแกว ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทว่ั ไป คอื เปน ทร่ี าบใหญอ ยทู างตอนเหนอื ของภาค มเี ทอื กเขา จนั ทบรุ อี ยทู างตอนกลางของภาคมเี ทอื กเขาบรรทดั อยทู างตะวนั ออกเปน พรมแดนธรรมชาติ ระหวางประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา และมีที่ราบชายฝงทะเลซ่ึงอยูระหวางเทือกเขา จนั ทบรุ ีกบั อาวไทย ถงึ แมจะเปน ทร่ี าบแคบๆ แตก็เปน พ้ืนดินท่อี ุดมสมบรู ณเ หมาะสําหรบั การปลูกไมผล ในภาคนี้มจี ังหวดั ปราจนี บุรแี ละจังหวัดสระแกว เปนจงั หวัดที่ไมมีอาณาเขต จดทะเล นอกน้นั ทกุ จังหวัดลว นมีทางออกทะเลท้ังสิ้น ชายฝง ทะเลของภาคเรมิ่ จากแมนํา้ บางปะกง จงั หวดั ฉะเชงิ เทราไปถงึ แหลมสารพดั พษิ จงั หวดั ตราด ยาวประมาณ 505 กโิ ลเมตร เขตพนื้ ทช่ี ายฝง ของภาคมแี หลมและอา วอยเู ปน จาํ นวนมากและมเี กาะใหญน อ ยเรยี งรายอยู ไมห า งจากฝงนัก เชน เกาะชา ง เกาะกูด เกาะสีชัง เกาะลาน เปน ตน เกาะสีชัง
รายวชิ าสังคมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย>> 7 ภาคใต 1บทที่ ภาคใตประกอบดวยพ้ืนที่ของ 14 จังหวัดไดแก 1.ชุมพร 2.สุราษฎรธานี ูภ ิมศาสต รกายภาพ 3.นครศรีธรรมราช 4.พัทลงุ 5.สงขลา 6.ปตตานี 7.ยะลา 8.นราธิวาส 9.ระนอง 10.พังงา 11.กระบี่ 12.ภูเก็ต 13.ตรัง 14.สตูล ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไป เปนคาบสมุทรยื่นไปในทะเล ทางตะวันตกของ คาบสมทุ รมเี ทอื กเขาภเู กต็ ทอดตวั เลยี บชายฝง ไปจนถงึ เกาะภเู กต็ ตอนกลางของภาคมเี ทอื ก เขานครศรีธรรมราช สวนทางตอนใตสุดของภาคใตมีเทือกเขาสันกาลาคีรี วางตัวในแนว ตะวนั ออก-ตะวนั ตก และเปน พรมแดนธรรมชาตกิ ัน้ ระหวา งไทยกับมาเลเซียดวยพ้ืนทีท่ าง ชายฝง ตะวนั ออกมที ร่ี าบมากกวา ชายฝง ตะวนั ตก ไดแ ก ทร่ี าบในเขตจงั หวดั นครศรธี รรมราช พทั ลงุ สงขลา ปต ตานี และนราธวิ าส ชายฝง ทะเลดา นตะวนั ออกของภาคใตม ชี ายหาดเหมาะ สาํ หรบั เปน ทต่ี ากอากาศหลายแหง เชน หาดสมหิ ลา จงั หวดั สงขลาและหาดนราทศั น จงั หวดั นราธวิ าส เปนตน เกาะทีส่ าํ คัญทางดา นน้ี ไดแ ก เกาะสมุยและเกาะพงนั สว นชายฝงทะเล ดานมหาสมุทรอินเดีย มีเกาะที่สําคัญคือ เกาะภูเก็ต เกาะตรุเตา เกาะยาวและเกาะลันตา นอกจากน้ี ในเขตจงั หวดั สงขลาและพทั ลงุ ยงั มที ะเลสาบเปด (lagoon) ทใ่ี หญท สี่ ดุ แหง หนงึ่ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต คือ ทะเลสาบสงขลา มีความยาวจากเหนือจดใตประมาณ 80 กิโลเมตร สวนที่กวางท่ีสุด ประมาณ 20 กิโลเมตร คิดเปนเน้ือที่ประมาณ 974 ตาราง กโิ ลเมตร สว นเหนือสดุ ของทะเลสาบเปน แหลง นํ้าจืดเรียกวา ทะเลนอ ย แตทางสว นลางน้ํา ของทะเลสาบจะเค็ม เพราะมีนานนํ้าติดกับอาวไทย นํ้าทะเลจึงไหลเขามาได ในทะเลสาบ สงขลามีเกาะอยูห ลายเกาะ บางเกาะเปนท่ีทาํ รงั ของนกนางแอน บางเกาะเปนที่อยูข องเตา ทะเล นอกจากน้ีในทะเลสาบยงั มี ปลา และกุงชกุ ชุมอีกดว ย สวนชายฝง ทะเลดา นตะวนั ตกของภาคใตมีลักษณะเวาแหวงมากกวาดานตะวันออก ทําใหมีทิวทัศนท่ีสวยงามหลาย แหง เชน หาดนพรตั นธารา จงั หวัดกระบ่ี หมูเกาะซิมลิ ัน จงั หวัดพงั งา ชายฝง ตะวันตกของ ภาคใตจ งึ เปนสถานท่ีทองเทยี่ วทส่ี าํ คัญแหง หนงึ่ ของประเทศ แมน ํ้าในภาคใต สวนใหญเปน แมนํ้าสายสัน้ ๆ ไหลจากเทอื กเขาลงสูทะเล ทส่ี ําคญั ไดแก แมนาํ้ โก-ลกซ่ึงกน้ั พรมแดนไทย กบั มาเลเซยี ในจงั หวดั นราธวิ าส แมน าํ้ กระบรุ ซี งึ่ กน้ั พรมแดนไทยกบั พมา ในเขตจงั หวดั ระนอง แมนํ้าตาปใ นจังหวัดสรุ าษฏรธานี และแมน ้าํ ปตตานีในจงั หวดั ยะลาและปต ตานี ทวีปเอเชีย 1. ขนาดทีต่ ้ังและอาณาเขตติดตอ ทวปี เอเชยี เปน ทวปี ทมี่ ขี นาดใหญท สี่ ดุ มพี น้ื ทปี่ ระมาณ 44 ลา นตารางกโิ ลเมตร เปน ทวีปที่มีพ้ืนท่ีกวางท่ีสุดในโลกตั้งอยูทางทิศตะวันออกของโลก ทวีปเอเชียตั้งอยูระหวาง ละตจิ ดู 1 องศา 15 ลิปดาเหนือถงึ 77 องศา 41 ลิปดาเหนอื และลองตจิ ดู 24 องศา 4 ลปิ ดา ตะวนั ออกถงึ 169 องศา 40 ลปิ ดาตะวันตก
ภมู ศิ าสตรก ายภาพ8 หนังสอื เรยี นสาระการพัฒนาสังคม อาณาเขตติดตอ ทศิ เหนอื ติดกบั มหาสมทุ รอารก ตกิ ทิศใต ตดิ กบั มหาสมุทรอนิ เดยี ทศิ ตะวนั ออก ติดกบั มหาสมทุ รแปซิฟก ทิศตะวนั ตก ตดิ กบั เทอื กเขาอรู าล ทวปี ยุโรป 2. ลักษณะภมู ิประเทศของทวปี เอเชีย ทวีปเอเชียมีลักษณะเดนคือ มภี มู ิประเทศท่ีเปนภูเขาสงู อยูเกอื บใจกลางทวปี ภูเขา ดังกลาวทําหนาท่ีเหมือนหลังคาโลกเพราะเปนจุดรวมของเทือกเขาสําคัญๆ ในทวีปเอเชีย จดุ รวมสาํ คญั ไดแ ก ปามรี น อต ยนู นานนอต และอามเี นยี นนอต เทอื กเขาสงู ๆ ของทวปี เอเชยี วางแนวแยกยายไปทุกทิศทุกทางจากหลังคาโลกเชน เทือกเขาหิมาลัย เทือกเขาคุนลุน 1บทท่ี เทอื กเขาเทยี นชาน เทอื กเขาอลั ตนิ ตกั เทอื กเขาฮนิ ดกู ซู เทอื กเขาสไุ ลมาน ยอดเขาเอเวอรเ รสต มรี ะดับสูง 8,850 เมตร (29,028 ฟตุ ) เปนยอดเขาสงู ท่ีสุดในโลกต้ังอยูบ นเทอื กเขาหิมาลัย ระหวางเทอื กเขาเหลาน้ีมีพ้ืนทค่ี อนขา งราบแทรกสลบั อยู ทาํ ใหเ กิดเปนแอง แผน ดินท่ีอยูใ น ที่สูง เชน ท่รี าบสงู ทิเบต ทีร่ าบสงู ตากลามากัน ทรี่ าบสูงมองโกเลยี ทรี่ าบสงู ยูนาน ลกั ษณะ ภูมิประเทศดังกลาวขางตนทําใหบริเวณใจกลางทวีปเอเชียกลายเปนแหลงตนกําเนิดของ แมน าํ้ สายสาํ คญั ทมี่ รี ปู แบบการไหลออกไปทกุ ทศิ โดยรอบหลงั คาโลก เชน ไหลไปทางเหนอื มีแมนํ้า อ็อบ เยนิเซ ลีนา ทางตะวันออกเฉียงเหนือมีแมนํ้าอามูร ทางตะวันออกมีแมนํ้า ฮวงโห (หวงเหอ แยงซีเกียง (ฉางเจียง) ซเี กยี ง (ซเี จียง) ทางตะวนั ออกเฉยี งใตมแี มนาํ้ แดง โขง เจา พระยา สาละวนิ อิระวดี ทางใตม ีแมน้ําพรหมบุตร คงคา สินธุ ทางตะวันตกมแี มน าํ้ อามู ดารย า จากทส่ี งู อามเี นยี นนอต มแี มน าํ้ ไทกรสี ยเู ฟรตสี บทบาทของลมุ นาํ้ เหลา น้ี คือ พัดพาเอาตะกอนมาทับถมทร่ี าบอนั กวางใหญไ พศาล กลายเปนแหลง เกษตรกรรมและทอ่ี ยู อาศัยสําคัญๆ ของชาวเอเชยี โดยเฉพาะท่ีราบดินดอนสามเหลยี่ มปากแมน ํา้ จงึ กลายเปน แหลงท่มี ีประชากรอาศยั อยหู นาแนน ท่สี ดุ 3. ลกั ษณะภมู ิอากาศของทวีปเอเชีย ทวีปเอเชียโดยสวนรวมประมาณคร่ึงทวีปอยูภายใตอิทธิพลของลมมรสุมต้ังแต ปากสี ถานถงึ คาบสมทุ รเกาหลี เปน ผล ทาํ ใหม ฝี นตกชกุ ในฤดมู รสมุ ตะวนั ตก เฉยี งใต และมอี ากาศหนาวในฤดมู รสมุ ตะวันออกเฉียงเหนือในเขตละติจูด กลางหรอื เขตอบอนุ แถบจนี และญป่ี นุ จะไดร บั อทิ ธพิ ลจากแนวปะทะอากาศ บอยครั้ง ทางชายฝงตะวันออกของ ทวีปต้ังแตญ ่ปี ุน อินโดนีเซีย จะไดรับ
รายวิชาสงั คมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 9 อทิ ธพิ ลของลมไตฝ นุ และดเี ปรสชนั่ ทาํ ใหด นิ แดนชายฝง ตะวนั ออกของหมเู กาะไดร บั ความ 1บทท่ี เสียหายจากลมและฝนเสมอ ทางเอเชียตะวันออกเฉียงใตและเอเชียใต ซ่ึงอยูใกลศูนยสูตร จะมปี รากฏการณข องหยอ มความกดอากาศตา่ํ ทาํ ใหม อี ากาศลอยตวั กอ เปน พายฟุ า คะนอง ูภ ิมศาสต รกายภาพ เกดิ ขนึ้ เปน ประจาํ ในเวลาบายๆ หรอื ใกลคํ่า แถบท่ีอยลู ึกเขาไปในทวปี หางไกลจากทะเลจะ มภี มู ิอากาศแหง แลงเปนทะเลทราย 4. สภาพทางสังคม วฒั นธรรม ภาษา ศาสนา เชื้อชาติเผาพนั ธุ ประชากร 2 ใน 3 ของประชากรทัง้ หมด เปนพวกมองโกลอยด มพี วกคอเคซอยดอ ยบู า ง เชน ชาวรสั เซยี อพยพมาจากยโุ รปตะวนั ออก ประชากรของเอเชยี มีความหลากหลาย ดานประกอบอาชีพ เศรษฐกิจของประเทศในเอเชียข้ึนอยูกับภาค เกษตรกรรม ประชากรสวนใหญ ประกอบอาชีพดานการเกษตร คือ การเพาะปลูก ขาว ขา วโพด และมีการเล้ยี งสัตว ทัง้ เล้ยี งไวเปน อาหาร และทาํ งาน นอกจากนย้ี ังมีการคา ขาย การประมง การทาํ เหมอื งแร ลักษณะทางเศรษฐกิจ 1. การเพาะปลูกทําในที่ราบลุมของแมนํ้าตางๆ ไดแก ขาว ยางพารา ปาลม ปอ ฝาย ชา กาแฟ ขา วโพด 2. การเลี้ยงสัตว ในเขตอากาศแหงแลงจะเลี้ยงแบบเรรอนซึ่งเลี้ยงไวใชเนื้อและนม เปน อาหารไดแ ก อฐู แพะ แกะ โค มา และจามรี 3. การทาํ ปา ไม ปา ไมใ นเขตเมอื งรอ นจะเปน ไมเ นอื้ แขง็ ผลผลติ ทไี่ ดส ว นใหญน าํ ไป กอ สราง 4. การประมง ทาํ ในบริเวณแมน ้าํ ลาํ คลอง หนอง บงึ และชายฝง ทะเล 5. การทาํ เหมอื งแร ทวีปเอเชยี อุดมไปดว ยแรธาตนุ านาชนิด 6. อุตสาหกรรม การทําอุตสาหกรรมหลายประเทศในเอเชีย เร่ิมจากอุตสาหกรรม ในครวั เรอื นแลวพัฒนาขึ้นเปนโรงงานขนาดเลก็ ขนาดกลาง ขนาดใหญ ประชากร ทวปี เอเชยี มปี ระชากรมากทส่ี ุดในโลกประมาณ 3,155 ลา นคน ประชากรสวนใหญ มาจากพนั ธมุ องโกลอยดป ระชากรอาศยั อยหู นาแนน บรเิ วณชายฝง ทะเลและทรี่ าบลมุ แมน าํ้ ตางๆ เชน ลุมแมน้ําเจาพระยา ลุมแมนํ้าแยงซีเกียง ลุมแมนํ้าแดงและลุมแมนํ้าคงคาสวน บริเวณท่ีมีประชากรเบาบาง จะเปนบริเวณที่แหงแลงกันดารหนาวเย็นและในบริเวณท่ีเปน ภเู ขาซบั ซอน ซึ่งสวนใหญจะเปนบริเวณกลางทวีป ภาษา 1. ภาษาจนี ภาษาทใี่ ชก นั มากในทวปี เอเชยี โดยใชก นั ในประเทศจนี ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต
ภมู ศิ าสตรก ายภาพ10 หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คม เชน สงิ คโปร ประมาณวา ประชากรเอเชยี 1,000 ลานคน พดู ภาษาจีน แตเปนภาษาทีแ่ ตก ตางกันไป เชน ภาษาแตจ ๋ิว ไหหลํา จนี กลาง หรือที่เรียกวาภาษาแมนดาริน 2. ภาษาอินเดยี เปนภาษาที่ใชกันแพรหลายรองลงมาอันดับ 2 โดยสวนใหญใชกันในประเทศ อินเดยี และปากีสถาน 3. ภาษาอาหรับ เปน ภาษาทใ่ี ชก นั แพรห ลายมากอนั ดบั 3 โดยใชก นั ในแถบเอเซยี ตะวนั ตกเฉยี งใต 4. ภาษารสั เซีย เปน ภาษาทใ่ี ชกนั มากอันดับ 4 โดยใชกันในรัสเซยี และเครือจักรภพ ศาสนา 1บทท่ี ทวปี เอเชยี เปน แหลง กาํ เนดิ ศาสนาทส่ี าํ คญั ของโลก เชน ศาสนาครสิ ต ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดู และยูดาห ในเอเชียตะวันตกเฉียงใตประชากรสวนใหญนับถือ ศาสนาฮนิ ดกู วา 500 ลา นคนในอนิ เดยี รองลงมาคอื ศาสนาอสิ ลามมผี นู บั ถอื ประมาณ 450 ลา นคน นอกจากนี้ยงั มลี ัทธิเตา ลัทธิขงจ๋อื ท่ีแพรหลายในจนี ลทั ธชิ นิ โตในญ่ปี นุ ทวีปยุโรป 1. ขนาดท่ีต้งั และอาณาเขตตดิ ตอ ทวีปยุโรปเปนทวีปที่มีลักษณะทางกายภาพท่ีเหมาะสมในการตั้งถ่ินฐานทั้งในดาน ลักษณะภมู ิประเทศทมี่ ีทร่ี าบลุม เทือกเขาท่ไี มตั้งกนั้ ทางลม มีแมน้ําหลายสาย ลกั ษณะภมู ิ อากาศที่อบอุน ชุม ช่นื มีทรพั ยากรธรรมชาติ คือ เหลก็ และถานหนิ ซ่ึงเปน สวนสาํ คัญอยา ง ยง่ิ ตอการพฒั นาอุตสาหกรรมขนาดใหญ จงึ สงผลใหท วปี ยุโรปมีประชากรตง้ั ถน่ิ ฐานหนา แนนที่สดุ ในโลก อกี ท้งั เปน ทวปี ที่มีอารยธรรมที่เกา แก คอื อารยธรรมกรกี และโรมัน
รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 11 ทวีปยุโรป เปนทวปี ทีต่ ั้งอยรู ะหวา งละตจิ ดู 36 องศา 1 ลปิ ดาเหนอื ถึง 71 องศา 1บทที่ 10 ลปิ ดาเหนือและระหวางลองตจิ ูด 9 องศาตะวันตก ถงึ 66 องศาตะวนั ออก จากพกิ ัด ภูมิศาสตรจะสังเกตไดวา ทวีปยุโรปมีพื้นท่ีท้ังหมดอยูในซีกโลกเหนือและอยูเหนือเสนทรอ ูภ ิมศาสต รกายภาพ ปคออฟแคนเซอร มเี สนสาํ คญั ท่ีลากผา นคือ เสน อารกติกเซอรเ คลิ และเสน ลองตจิ ดู ท่ี 0 องศา มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 9.9 ลา นตารางกิโลเมตร จึงเปนทวีปทม่ี ขี นาดเล็ก โดยมขี นาดเลก็ รองจากทวปี ออสเตรเลีย อาณาเขตติดตอ ทศิ เหนอื ตดิ กบั มหาสมทุ รอารก ตกิ และขว้ั โลกเหนอื จดุ เหนอื สดุ อยทู แ่ี หลมนอรท (North Cape) ในประเทศนอรเวย ทศิ ใต ตดิ กับทะเลเมดิเตอรเ รเนียน จุดใตส ดุ อยูทีเ่ กาะครีต ประเทศกรีช ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ กับทวปี เอเชีย โดยมเี ทอื กเขาอูราล เทอื กเขาคอเคซสั และ ทะเลแคสเปย นเปนเสนกน้ั พรมแดน ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ กบั มหาสมทุ รแอตแลนตกิ จดุ ตะวนั ตกสดุ ของทวปี อยทู แ่ี หลม โรคาประเทศโปรตุเกส 2. ลกั ษณะภมู ิประเทศ ลกั ษณะภูมิประเทศแบง ออกเปน 4 เขต ไดแก 1. เขตเทอื กเขาตอนเหนอื ไดแ ก บรเิ วณคาบสมทุ รสแกนดเิ นเวยี ภมู ปิ ระเทศสว น มากประกอบดว ยเทอื กเขาสงู และทรี่ าบชายฝง ทะเล เทอื กเขาทสี่ าํ คญั ในบรเิ วณนไี้ ดแ ก เทอื ก เขาเซอรอนและเทือกเขาแกรมเปยน เน่ืองจากทวีปยุโรปเคยถูกปกคลุมดวยนํ้าแข็งมากอน บริเวณชายฝงทะเลถูกธารน้ําแข็งกัดเซาะและทับถม ทําใหเกิดชายฝงเวาแหวงและอาวนํ้า ลึกทเ่ี รียกวา ฟยอรด พบมากในประเทศนอรเ วยแ ละแควน สกอตแลนด 2. เขตที่ราบสูงตอนกลาง ประกอบดวยท่ีราบสูงสําคัญ ไดแก ท่ีราบสูง แบล็กฟอเรสตตอนใตของเยอรมันนี ท่ีราบสูงโบฮีเมีย เขตติดตอระหวางเยอรมันนีและ สาธารณรัฐเช็คท่ีราบเมเซตา ภาคกลางของคาบสมุทรไซบีเรีย ในเขตประเทศสเปนและ โปรตเุ กส ที่ราบสูงมสั ชพี ซองตรลั ตอนกลางของประเทศฝรั่งเศส 3. เขตท่ีราบตอนกลาง ครอบคลุมพ้ืนท่ีตั้งแตชายฝงมหาสมุทรแอตแลนติกไป จนถงึ เทอื กเขาอูราลในรัสเซยี ตะวันตกของฝร่งั เศส ตอนใตของสหราชอาณาจักรเบลเยีย่ ม เนเธอรแ ลนด เดนมารก ภาคเหนอื ของเยอรมนั นโี ปแลนดแ ละบางสว นของรสั เซยี เปน บรเิ วณ ทม่ี ปี ระชากรอาศยั อยหู นาแนน ทส่ี ดุ และมคี วามสาํ คญั ทางเศรษฐกจิ อยา งมาก เนอื่ งจากเปน พนื้ ทเ่ี กษตรกรรมทส่ี าํ คญั ของทวปี ในบรเิ วณนม้ี แี มน าํ้ ทส่ี าํ คญั ไดแ ก แมน าํ้ ไรน แมน า้ํ เชน แม นํา้ ลัวร และแมน ้ําเอลเบ 4. เขตเทือกเขาตอนใต ประกอบดวยเทือกเขาสูง เทือกเขาท่ีสําคัญในบริเวณน้ี ไดแก เทือกเขาแอลป ซึ่งเปนเทือกเขาท่ีมีขนาดใหญที่สุดในทวีปยุโรป ทอดตัวยาวต้ังแต ตะวนั ออกเฉยี งใตข องฝรงั่ เศส ผา นสวติ เซอรแ ลนด เยอรมนั นี ออสเตรยี เซอรเ บยี ไปจนถงึ
12 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสงั คม ทางเหนอื ของอติ าลี บรเิ วณยอดเขามธี ารนาํ้ แขง็ ปกคลมุ เกอื บตลอดทง้ั ป บางชว งเปน หบุ เขา ลึก ยอดเขาที่สูงที่สุดในเทือกเขาแอลป คือ มองตบลังก สูง 4,807 เมตร นอกจากนี้ยัง ประกอบดวยยอดเขาคอเคซสั ทางตอนใตของรัสเซียมียอดเขาเอลบรูส สูง 5,642 เมตร ซง่ึ เปน ยอดเขาทสี่ งู ทส่ี ุดในยุโรป แมน้ํา แมน ้ําท่สี ําคัญในทวีปยโุ รป มีดังนี้ แมนํ้าโวลกา เปนแมน้ําสายยาวท่ีสุดในทวีป มีตนน้ําอยูบริเวณตอนกลางของ สหพนั ธร สั เซยี ไหลลงสูท ะเลแคสเปยน แมน าํ้ ดานูบ มตี นกําเนิดจากเทือกเขาทางภาคใตข องเยอรมัน ไหลผา นประเทศ ออสเตรีย ฮังการี ยูโกสลาเวีย พรมแดนระหวางประเทศบัลแกเรยี กบั ประเทศโรมาเนีย แลว ไหลลงสูทะเลดํา แมน้ําดานูบเปนแมน้ําท่ีไหลผานหลายประเทศ ดังน้ันจึงถือวาเปนแมนํ้า 1บทท่ี นานาชาติแตในดานความสําคัญของการขนสงสินคาอุตสาหกรรมน้ันมีไมมากเทากับแมน้ํา ไรน เนอ่ื งจากแมน ํา้ ดานูบไหลออกสูทะเลดาํ ซึง่ เปน ทะเลภายใน ภมู ศิ าสตรก ายภาพ แมน าํ้ ไรน มตี น กาํ เนดิ จากเทอื กเขาแอลปท างตอนใตข องสวสิ เซอรแ ลนด ไหลขนึ้ ไปทางเหนอื ระหวา งพรมแดนฝรงั่ เศสและเยอรมนั ไปยงั เนเธอรแ ลนด แลว ไหลลงทะเลเหนอื แมน าํ้ ไรนเ ปน แมนาํ้ ท่มี คี วามสาํ คญั มาก มีปรมิ าณนํา้ ไหลสมา่ํ เสมอ ไหลผา นที่ราบและไหล ผา นหลายประเทศจงึ ถือวา เปนแมน ้ํานานาชาติ และยงั เปน เสน ทางขนสง วตั ถดุ บิ และสินคา ทีส่ ําคัญ คอื ถา นหนิ แรเ หลก็ และแปงสาลี โดยเฉพาะการขนสงถานหนิ ซ่งึ มีปรมิ าณมากใน ยานอุตสาหกรรมถานหนิ ของเยอรมัน แมน้าํ สายน้จี ึงไดรับสมญานามวา “แมน าํ้ ถา นหิน” การขนสง สนิ คา ผา นทางแมน าํ้ ไรนน ี้ จะออกสบู รเิ วณปากแมน า้ํ ซงึ่ เปน ทตี่ ง้ั ของเมอื งทา รอต เตอรดมั (เนเธอรแลนด) ซ่งึ เปน เมอื งทาทส่ี าํ คัญที่สดุ ของทวปี 3. ลักษณะภูมอิ ากาศ เขตอากาศ ปจ จัยท่มี อี ทิ ธิพลตอ ภูมภิ าคอากาศของทวปี ยโุ รป 1. ละติจดู ทวปี ยุโรปมที ่ตี งั้ อยรู ะหวางละติจูด 36 องศา 1 ลิปดาเหนอื ถงึ 71 องศา 10 ลปิ ดาเหนือ พื้นทีส่ ว นใหญอยูใ นเขตอบอนุ มีเพียงตอนบนของทวีปทีอ่ ยูใ นเขต อากาศหนาวเยน็ และ ไมม สี วนใดของทวีปท่อี ยูในเขตอากาศรอ น 2. ลมประจํา ลมประจําท่ีพัดผานทวีปยุโรป คือ ลมตะวันตก ซ่ึงพัดมาจาก มหาสมุทรแอตแลนติกเขาสูทวีปทางดานตะวันตก มีผลทําใหบริเวณฝงตะวันตกของทวีป มีปรมิ าณฝนคอนขา งมาก อุณหภูมิระหวา งฤดูรอ นกบั ฤดหู นาวไมคอ ยแตกตางกนั มากนกั แตถ า ลกึ เขา มาภายในทางดา นตะวนั ออกของทวปี ซงึ่ ตดิ กบั ทวปี เอเชยี นน้ั ปรมิ าณฝนจะลด ลงและจะมีความแตกตา งของอณุ หภมู ิระหวา งฤดรู อ นกบั ฤดฝู นมากข้นึ ดวย 3. ความใกลไกลทะเล ทวีปยุโรปมีชายฝงทะเลยาวและเวาแหวง ประกอบกับมี พื้นทต่ี ดิ ทะเลถึง 3 ดา น ทําใหไดร บั อิทธิพลจากทะเลและมหาสมทุ รอยางทัว่ ถงึ โดยเฉพาะ บริเวณทอ่ี ยูใกลชายฝง ดังนั้นจึงไมมพี น้ื ท่ใี ดในทวปี ยุโรปทมี่ ภี มู ิอากาศแหง แลง
รายวิชาสังคมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 13 4. ทิศทางของเทือกเขา เทอื กเขาสว นใหญใ นทวปี วางตัวในแนวทิศตะวันออก 1บทท่ี ตะวนั ตก ทาํ ใหไมกัน้ ขวางทางลมตะวันตกท่พี ัดเขา สูท วีป ูภ ิมศาสต รกายภาพ 5. กระแสน้ําในมหาสมุทร บริเวณชายฝงมีกระแสน้ําอุนแอตแลนติกเหนือ ไหลผา นทางตะวนั ตกและตะวนั ตกเฉยี ง เหนอื ของทวปี ทาํ ใหน า นนา้ํ บรเิ วณเกาะ บริเวนใหญและประเทศนอรเวยไมเปน นํ้าแข็งในฤดูหนาว จึงแตกตางจาก บริเวณทะเลบอลติกท่ีนํ้ากลายเปน นา้ํ แขง็ ทาํ ใหป ระเทศสวเี ดน ตอ งเปลย่ี น เสนทางการขนสงสินคาจากทางเรือไป เปนการขนสงโดยใชเสนทางรถไฟจาก สวีเดนไปยังนอรเวยแลวจึงนําสินคา ลงเรือที่เมืองทาประเทศนอรเวย เขตภมู อิ ากาศแบง ออกไดเปน 7 เขต ดงั นี้ 1. ภมู อิ ากาศแบบทะเลเมดเิ ตอรเ รเนย่ี น ไดแ ก บรเิ วณชายฝง ทะเลเมดเิ ตอรเ รเนยี น ในเขตประเทศอติ าลี ฝร่ังเศส ภาคใตของสเปน แอลเบเนีย กรซี บัลแกเรีย และเซอรเ บีย ฤดูรอนมีอากาศรอน อุณหภูมิเฉลี่ย 23 องศาเซสเซียส ในฤดูหนาวมีอากาศอบอุนและมี ฝนตกอณุ หภมู เิ ฉล่ยี 8 องศาเซลเซยี ส ปรมิ าณฝนตกเฉลี่ย 500-1,000 มิลลเิ มตรตอป 2. ภูมิอากาศแบบทุงหญา กงึ่ ทะเลทราย ไดแ ก บรเิ วณภาคกลาง ของคาบสมทุ รไซบเี รยี ตอนเหนอื ของ ทะเลดําและทะเลแคสเปยน ในเขต ประเทศฮังการี ยเู ครน โรมาเนยี และ ตอนใตข องรัสเซยี มฝี นตกนอยมาก เฉลีย่ ปละ 250-500 มลิ ลิเมตรตอ ป 3. ภมู อิ ากาศแบบพนื้ สมทุ ร ไดแ ก สหราชอาณาจกั ร เนเธอรแ ลนด ฝรง่ั เศส เดนมารก เบลเย่ยี ม และ ตอนเหนือของเยอรมนี มีฝนตกชุก ตลอดทั้งปเฉล่ีย 750-1,500 มิลลิเมตรตอป ฤดูหนาวอากาศไมหนาวจัด อุณหภูมิเฉลี่ย 1-7 องศาเซลเซียส เนอ่ื งจากไดร ับอทิ ธพิ ลจากกระแสน้ําอุน แอตแลนติกเหนือ 4. ภมู อิ ากาศแบบอบอนุ ชนื้ ไดแ ก บรเิ วณทรี่ าบลมุ แมน าํ้ ดานบู ในฮงั การตี อนเหนอื ของเซอรเ บยี และโรมาเนยี มอี ากาศอบอนุ ฝนตกตลอดทง้ั ปเ ฉลย่ี 500-1,000 มลิ ลเิ มตรตอ ป เนอื่ งจากไดร ับอิทธพิ ลความชืน้ จากทะเล
ภมู ศิ าสตรก ายภาพ14 หนังสือเรียนสาระการพฒั นาสังคม 5. ภมู อิ ากาศแบบอบอนุ ชนื้ ภาคพ้ืนทวีป ไดแ ก ยโุ รปตะวนั ออก และยโุ รปกลาง รสั เซีย สาธารณรฐั เซ็ก สาธารณรฐั สโลวกั และโปแลนด ฤดูหนาวมีอากาศหนาวและแหง แลง ฤดูรอนมีอากาศอบอุนและมีฝนตก อุณหภูมิเฉลี่ย 19-20 องศาเซลเซียส ปริมาณฝน 500-750 มลิ ลเิ มตรตอป 6. ภูมอิ ากาศแบบไทกา ไดแก ตอนเหนอื ของฟน แลนด สวเี ดน และนอรเวย ฤดู หนาวมอี ากาศหนาวเยน็ และยาวนาน อณุ หภมู เิ ฉลยี่ 6 องศาเซลเซยี ส ฤดรู อ นอากาศอบอนุ อุณหภูมิเฉล่ีย 17 องศาเซลเซียส มีปริมาณฝนตกนอยและสวนมากเปนหิมะเฉลี่ย 600 มลิ ลิเมตรตอป 7. ภูมิอากาศแบบข้วั โลกหรือภูมิอากาศแบบทุนดรา ไดแ ก ทางเหนอื ของทวีป ที่มีชายฝงติดกับมหาสมุทรอารกติก ฤดูหนาวมีอากาศหนาวจัดและยาวนานปละ 10-11 1บทที่ เดอื น ฤดูรอนมอี ากาศอบอนุ และสั้นเพยี ง 1-2 เดือน อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดทัง้ ปประมาณ 10 องศาเซลเซยี ส ปริมาณฝนตกนอ ยมากและสวนมากเปน หมิ ะ 4. ลักษณะเศรษฐกจิ และ สภาพแวดลอ มทางสังคมวฒั นธรรม ลักษณะเศรษฐกิจ ทวีปยุโรปมีความเจริญทั้งในดานเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม โดยมีเขต เกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ดังนี้ การทาํ เกษตรกรรม 1. เขตปลกู ขา วสาลี ไดแ ก บรเิ วณทร่ี าบภาคกลาง โดยเฉพาะบรเิ วณประเทศฮงั การี โรมาเนยี ยเู ครน ซ่ึงเปน แหลงผลิตขาวสาลีแหลงใหญ 2. เขตทําไรปศุสัตว สวนใหญจะพบในบริเวณเขตอากาศแหงแลง ไมคอยเหมาะ กับการเพาะปลูกแตมีหญาที่สามารถเลี้ยงสัตวได เชน บริเวณชายฝงทะเลแคสเปยน และ ทีร่ าบสูงของทวีป สตั วท เ่ี ลีย้ งไดแก โคเนอื้ แกะ แพะ สว นการเลี้ยงโคนม จะพบบริเวณเขต อากาศชื้นภาคพื้นสมทุ ร เนือ่ งจากมีทุงหญา อุดมสมบรู ณมากกวา 3. เขตเกษตรกรรมแบบผสม ไดแก เขตที่มีการเลี้ยงสัตวควบคูกับการปลูกพืช เชน การปลกู ขาวสาลี ขา วบาเลย การเล้ยี งสัตว เชน โคเน้ือ โคนม ซงึ่ พบมากบริเวณภาค ตะวนั ตก และภาคกลางของทวีป 4. เขตเกษตรแบบเมดิเตอรเ รเนยี น พบบริเวณเขตชายฝง ทะเลเมดเิ ตอรเรเนยี น เชน อติ าลี กรซี พชื สําคญั ไดแ ก สม องนุ มะกอก 5. เขตเลยี้ งสตั วแ บบเรร อ น มีการเล้ยี งสัตวแบบทม่ี กี ารยายถิ่นทอี่ ยเู พอ่ื หาแหลง อาหารแหลง ใหมท อ่ี ดุ มสมบรู ณก วา บรเิ วณทมี่ กี ารเลยี้ งสตั วแ บบเรร อ น คอื บรเิ วณทม่ี อี ากาศ หนาวเยน็ เชน ชายฝงมหาสมทุ รอารกตกิ หรือเขตอากาศแบบทุนดรา
รายวชิ าสังคมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 15 การปาไม 1บทท่ี แหลง ปา ไมท ส่ี าํ คญั ของทวปี คอื เขตภมู อิ ากาศแบบไทกา บรเิ วณคาบสมทุ ร สแกน ดเิ นเวยี ซง่ึ จะมปี าสนเปนบริเวณกวา ง ูภ ิมศาสต รกายภาพ การประมง จากลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรปที่มีชายฝงทะเลยาวและเวาแหวง ติดทะเล ท้ัง 3 ดาน ประกอบกับการมีกระแสนํ้าอุนแอตแลนติกเหนือไหลผานทําใหในฤดูหนาว นา้ํ ไมเ ปนนา้ํ แข็ง จงึ กลายเปนแหลงประมงท่สี าํ คัญของทวปี มชี ือ่ วา “ดอกเกอรแ บงก (Dogger Bank) การเหมอื งแร ทวีปยุโรปมที รพั ยากรที่มีความสาํ คญั มากตอการทาํ อุตสาหกรรม ไดแ ก เหลก็ และ ถา นหนิ แรถานหิน ใชเปนเช้ือเพลิงในการถลุงเหล็ก โดยมีแหลงถานหินท่ีสําคัญ เชน ภาคเหนอื ของฝรัง่ เศสและภาคกลางของเบลเยย่ี ม เยอรมัน เปนตน แรเ หล็ก เมื่อผา นการถลงุ แลวจะนาํ ไปใชในอตุ สาหกรรมเหลก็ และเหล็กกลา โดยมี แหลง แรเ หลก็ ท่ีสําคญั เชน ประเทศสวเี ดน ฝร่ังเศส นํา้ มันปโ ตรเลยี มมี 2 แหลง ทสี่ ําคัญ คือ ทะเลเหนือ และทะเลดํา การอตุ สาหกรรม ทวปี ยโุ รปเปน ศนู ยก ลางอตุ สาหกรรมทสี่ าํ คญั แหง หนง่ึ ของโลก ประเทศทม่ี ชี อื่ เสยี ง มาก คือ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เบลเยีย่ ม สวเี ดน โดยบรเิ วณนจี้ ะมแี รเหล็กและถา นหนิ ซง่ึ เปน สวนสําคญั ในการทําอุตสาหกรรม สภาพแวดลอ มทางสังคมและวฒั นธรรม ลกั ษณะประชากร 1. มปี ระชากรมากเปนอันดบั 4 ของโลก และหนาแนน มากเปนอนั ดบั 2 ของโลก 2. มีการกระจายประชากรทั่วท้ังทวีป เนื่องจากความเหมาะสมในดานสภาพ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศและทรพั ยากร 3. บริเวณทม่ี ีประชากรหนาแนน คือ บรเิ วณที่ราบภาคตะวนั ตกและภาคกลางของ ทวีป สวนบริเวณที่มีประชากรเบาบาง คือ บริเวณคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย และเขตยุโรป ตะวันออก ประวตั ศิ าสตร แบง ได 3 สมยั คือ 1. สมัยโบราณ หรือ อารยธรรมสมัยคลาสสิค มกี รีกและโรมนั เปนศูนยก ลางความ เจรญิ โดยตัง้ ม่นั อยูทางตอนใตข องทวปี ยุโรปในแถบทะเลเมดเิ ตอรเรเนียน
16 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสงั คม กรีก ชนชาติกรกี ไดถ า ยทอดมรดกทางศิลปวัฒนธรรมไวหลายประการ ไดแ ก 1. การปกครอง ชาวกรีกไดใหสิทธิราษฎรในการลงคะแนนเสียงเลือกเจาหนาที่ ฝายปกครอง 2. ศิลปวัฒนธรรม ชาวกรีกมีความสามารถในดานวรรณคดี การละคร และ สถาปต ยกรรม สถาปตยกรรมที่มชี ่อื เสียง คือ วหิ ารพาเธนอน นอกจากน้ยี งั มีการแขง ขนั กีฬาท่ีเปน ท่รี ูจ ักกันดี คอื กฬี าโอลมิ ปก 3. ปรชั ญาความคิด นักปรัชญากรีกท่ีมีชือ่ เสียง คือ อรสิ โตเติล และเพลโต โรมนั ชนชาตโิ รมนั ไดรบั ความเจรญิ ตา งๆ จากกรกี สิ่งที่ชาวโรมนั ไดถ ายทอดให กบั ชนรนุ หลงั คอื ประมวลกฎหมาย และภาษาละตนิ 1บทที่ 1. สมัยกลาง ในชว งนยี้ ุโรปมศี กึ สงครามเกอื บตลอดเวลา จนทาํ ใหการพัฒนาดาน ตา งๆ ตอ งหยดุ ชะงกั ยคุ นจ้ี งึ ไดช อ่ื วา เปน “ยคุ มดื ” หลงั จากผา นพน ชว งสงครามจงึ เปน ชว ง ของการฟน ฟศู ลิ ปะวทิ ยาการเรม่ิ ใหค วามสาํ คญั กบั มนษุ ยม ากขน้ึ เรยี กยคุ นว้ี า ยคุ เรอเนสซองซ ภมู ศิ าสตรก ายภาพ (Renaissance) 2. สมยั ใหม ยคุ นเี้ ปน ยคุ แหง การแสวงหาอาณานคิ ม ทาํ ใหศ ลิ ปวฒั นธรรมของชาติ ตะวันตกแผขยายไปยังดินแดนตางๆ นอกจากนี้ยังมีเหตุการณสําคัญ คือ การปฏิวัติ วิทยาศาสตรและการปฏวิ ตั ิอตุ สาหกรรม ทวปี อเมริกาใต 1. ขนาดทตี่ ง้ั และอาณาเขตติดตอ ทวีปอเมริกาใตเปนทวีปท่ีใหญเปนอันดับ 4 ของโลก รองจากทวีปเอเชีย ทวปี แอฟรกิ า และทวปี อเมรกิ าเหนอื มพี น้ื ทป่ี ระมาณ 17.8 ลา นตารางกโิ ลเมตร มปี ระชากร ประมาณ 299 ลานคน รูปรางของทวีปอเมริกาใตคลายคลึงกับทวีปอเมริกาเหนือ คือ มีลักษณะคลายรูปสามเหล่ียมหัวกลับ มฐี านกวางอยูทางทิศเหนือ สว นยอดสามเหลีย่ มอยู ทางทศิ ใต ต้ังอยใู นแถบซีกโลกใต ระหวางละตจิ ูด 12 องศา 25 ลปิ ดาเหนอื ถึง 56 องศาใต และลองติจูด 34 องศา 47 ลปิ ดาตะวนั ตก ถงึ 81 องศา 20 ลิปดาตะวันตก อาณาเขตของ ทวีปอเมริกาใตม ีดงั นี้ อาณาเขตติดตอ ทศิ เหนอื ตดิ กบั ทวีปอเมรกิ าเหนอื โดยมคี ลองปานามาเปน เสน ก้นั เขตแดนและ ติดตอกับทะเลแคริบเบียน ในมหาสมุทรแอตแลนติก จุดเหนือสุดอยูที่แหลมกายีนาส ในประเทศโคลอมเบีย ทศิ ใต ตดิ กบั ทวปี แอนตารก ตกิ า มชี อ งแคบเดรกเปน เสน กนั้ เขตแดน จดุ ใตส ดุ อยู ท่แี หลมโฟรว ารด ในคาบสมุทรบรนั สวกิ ประเทศชลิ ี
รายวิชาสังคมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 17 ทศิ ตะวนั ออก ตดิ กบั มหาสมทุ รแอตแลนตกิ จดุ ตะวนั ออกสดุ อยทู แี่ หลมโคเคอรสู 1บทท่ี ในประเทศบราซลิ ูภ ิมศาสต รกายภาพ ทิศตะวันตก ติดกับมหาสมุทรแปซิฟก จุดตะวันตกสุดอยูที่แหลมปารีนเยสใน ประเทศเปรู 2. ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ ลักษณะภูมปิ ระเทศของทวีปอเมริกาใตส ามารถแบง ออกได 3 ลักษณะไดแ ก 1. เขตเทอื กเขาตะวนั ตก ไดแ ก บรเิ วณเทอื กเขาแอนดสี ซง่ึ ทอดตวั ยาวขนานไป กบั ชายฝง มหาสมทุ รแอตแลนตกิ ตง้ั แตท างเหนอื บรเิ วณทะเลแครบิ เบยี นไปจนถงึ แหลมฮอรน ทางตอนใต มีความยาวประมาณ 7,200 กิโลเมตร เปนแนวเทือกเขาท่ียาวที่สุดในโลก ยอดเขาสงู ทสี่ ดุ ในบรเิ วณน้ี คอื ยอดเขาอะคองคากวั สงู ประมาณ 6,924 เมตร บรเิ วณตอน กลางของเทือกเขามที ่รี าบสงู ที่สําคัญคือ ที่ราบสงู โบลิเวีย มคี วามสูงถึง 4,500 เมตร และ มขี นาดกวา งใหญเ ปน อนั ดบั 2 ของโลก รองจากทร่ี าบสงู ทเิ บต บนทรี่ าบสงู แหง นมี้ ที ะเลสาบ ซึ่งเปน ทะเลสาบทสี่ งู ทสี่ ดุ ในโลก ไดแก ทะเลสาบติติกากา ในประเทศเอกวาดอร 2. เขตที่ราบสูงตะวนั ออก ประกอบดว ยท่รี าบสงู สําคญั 3 แหง ไดแ ก ที่ราบสูงกิอานา ตั้งอยูทางตอนเหนือของทวีป ในเขตประเทศเวเนซูเอลา กายอานาซรู ินาเม เฟรนซเกยี นา และภาคเหนอื ของบราซลิ มลี ักษณะทเี่ ปน ที่ราบสงู สลบั กบั เทอื กเขาสลับซบั ซอน ทรี่ าบสงู บราซลิ ต้งั อยตู อนกลางของทวปี บรเิ วณตะวนั ออกของประเทศบราซลิ ตง้ั อยรู ะหวา งทรี่ าบลมุ แมน า้ํ แอมะซอน ทรี่ าบลมุ แมน า้ํ ปารานา และทร่ี าบลมุ แมน า้ํ ปารากวยั ทางตะวันออกมคี วามสงู ชนั จากนน้ั คอ ยๆ ลาดตา่ํ ลงไปทางตะวันตก ท่ีราบสูงปาตาโกเนีย ต้งั อยูทางตอนใตข องทวปี ในเขตประเทศอารเจนตนิ าทาง ตะวนั ออกคอ นขางราบเรยี บและคอ ยๆ สงู ข้นึ ไปเรื่อยๆ ทางตะวันตก 3. เขตทรี่ าบลมุ แมน าํ้ อยบู รเิ วณตอนกลางของทวปี เปน ทร่ี าบดนิ ตะกอนทม่ี คี วาม อดุ มสมบรู ณแ ละกวา ง ตง้ั อยรู ะหวา งเทอื กเขาแอนดสี และทรี่ าบสงู ทางตะวนั ออก เขตทร่ี าบ ลุมแมน ํ้าท่ีสาํ คัญของทวีปอเมรกิ าใตมี 2 บรเิ วณไดแก ทร่ี าบลมุ แมน ํา้ แอมะซอนหรืออเมซอน เปน ทรี่ าบลุมแมนาํ้ ท่ีใหญท ส่ี ดุ ในโลก มี พนื้ ที่ประมาณ 7 ลานตารางกิโลเมตร มแี มนา้ํ หลายสายไหลผาน สวนมากมีตน กําเนิดจาก เทือกเขาแอนดสี และไหลสมู หาสมุทรแอตแลนตกิ แมนา้ํ ทีส่ าํ คัญท่สี ดุ ในบรเิ วณนี้คือ แมนา้ํ แอมะซอน ท่ีราบลุมแมน้ําโอริโนโค อยูทางตอนเหนือของทวีป ในเขตประเทศโคลอมเบีย และเวเนซุเอลา บริเวณนเี้ ปนเขตเลี้ยงสตั วท ่สี าํ คัญของทวปี อเมริกาใต แมนา้ํ ท่ีสาํ คัญในทวีปอเมริกาใต ไดแ ก แมนํ้าแอมะซอน มีความยาว 6,440 กิโลเมตร เปนแมนํ้าท่ีมีความยาวเปน อนั ดบั 2 ของโลก รองจากแมนา้ํ ไนล มีตน กาํ เนิดจากเทือกเขาแอนดีส ไหลผานประเทศ บราซลิ ไหลลงสมู หาสมุทรแอตแลนตกิ
ภมู ศิ าสตรก ายภาพ18 หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสงั คม แมน ้าํ ปารานา มคี วามยาว 2,800 กิโลเมตรมตี น กาํ เนดิ จากท่สี ูงทางตะวนั ออก ของทวปี ไหลผา นประเทศบราซลิ ปารากวยั อารเ จนตนิ า ลงสมู หาสมทุ รแอตแลนตกิ บรเิ วณ อาวรโิ อเดอลาพลาตา แมน าํ้ ปารากวยั มคี วามยาว 2,550 กิโลเมตร มตี น กําเนดิ จากทีส่ งู ในประเทศ บราซลิ ไหลผา นประเทศบราซลิ ปารากวยั ไปรวมกบั แมน าํ้ ปารานาในเขตประเทศอารเ จนตนิ า 3. ลกั ษณะภูมอิ ากาศ ปจจัยทีม่ ีอทิ ธพิ ลตอ ภมู อิ ากาศของทวีปอเมรกิ าใต 1. ละตจิ ดู พื้นทส่ี วนใหญของทวีปครอบคลมุ เขตอากาศรอ น และประมาณ 1 ใน 3 ของพนื้ ทที่ วปี เปน อากาศแบบอบอนุ ภมู ภิ าคทางเหนอื ของทวปี จะมฤี ดกู าลทตี่ รงขา มกบั ภูมิภาคทางใต 1บทท่ี 2. ลมประจาํ ไดแก 2.1 ลมสนิ คาตะวันออกเฉยี งเหนือ พดั ผา นมหาสมุทรแอตแลนตกิ จึงนาํ ความ ชมุ ชนื้ เขา สูทวีปบริเวณชายฝงตะวันออกเฉยี งเหนือ 2.2 ลมสนิ คา ตะวนั ออกเฉยี งใต พดั ผา นมหาสมทุ รแอตแลนตกิ จงึ นาํ ความชมุ ชน้ื เขา สทู วีปบริเวณชายฝง ตะวันออกเฉยี งใต 2.3 ลมตะวนั ตกเฉยี งเหนอื พัดผานมหาสมทุ รแปซฟิ กจึงนาํ ความชุม ชนื้ เขา สู ทวปี บรเิ วณชายฝงตะวันตกของทวีป ต้งั แตประมาณละติจูด 40 องศาใตลงไป 3. ทิศทางของเทือกเขา ทวีปอเมริกาใตมีเทือกเขาสูงอยูทางตะวันตกของทวีป ดังนั้นจึงเปนส่ิงที่กั้นขวางอิทธิพลจากทะเลและมหาสมุทร ทําใหบริเวณท่ีใกลเทือกเขา คอนขางแหงแลง แตในทางตรงกันขาม ชายฝงดานตะวันออกจะไดรับอิทธิพลจากทะเล อยางเตม็ ที่ 4. กระแสนาํ้ มี 3 สายทส่ี าํ คญั คอื 4.1 กระแสนํา้ อนุ บราซิล ไหลเลียบชายฝงของประเทศบราซลิ 4.2 กระแสนํ้าเยน็ ฟอลก แลนด ไหลเลียบชายฝง ประเทศอารเ จนตินา 4.3 กระแสนํ้าเย็นเปรู (ฮมั โบลด) ไหลเลียบชายฝง ประเทศเปรแู ละชิลี เขตภมู อิ ากาศแบงออกไดเปน 8 เขต ดังนี้ 1. ภมู อิ ากาศแบบปา ดิบชืน้ ไดแก บรเิ วณที่ราบลมุ แมน าํ้ แอมะซอน เปน บริเวณท่ี มอี ากาศเยน็ ปา ดบิ ชนื้ ทก่ี วา งใหญท ส่ี ดุ ในโลกสว นใหญม พี นื้ ทอ่ี ยปู ระเทศบราซลิ มอี ณุ หภมู ิ สงู เฉลีย่ 27 องศาเซลเซียส มีฝนตกชกุ เกอื บตลอดทง้ั ปประมาณ 2,000 มิลลเิ มตรตอ ป 2. ภมู อิ ากาศแบบทงุ หญา เขตรอ น ไดแก บรเิ วณตอนเหนอื และใตของลุมแมนาํ้ แอมะซอน มีอากาศรอนและแหงแลง ฤดูรอนมีฝนตกแตไมชุกเหมือนในเขตปาดิบชื้น อณุ หภูมสิ ูงเฉลีย่ 27 องศาเซลเซยี ส มีลกั ษณะอากาศคลายกับภาคกลางและภาคตะวนั ออก เฉยี งเหนอื ของประเทศไทย
รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 19 3. ภูมิอากาศแบบทะเลทราย ไดแก ภาคใตของเปรูและภาคเหนือของชิลี เปน 1บทท่ี บรเิ วณทร่ี อ นและแหง แลง มาก มปี รมิ าณฝนตกเฉลย่ี ตาํ่ กวา 250 มลิ ลเิ มตรตอ ป และบางครง้ั ฝนไมตกยาวนานติดตอกันหลายเดือน ทะเลทรายที่สําคัญในบริเวณนี้ไดแก ทะเลทราย ูภ ิมศาสต รกายภาพ อะตากามาในประเทศชลิ ี ในบรเิ วณนมี้ ฝี นตกนอ ยกวา 50 มลิ ลเิ มตรตอ ป บางครงั้ ฝนไมต ก ตดิ ตอกันเปน เวลานานหลายป จดั เปนทะเลทรายทแี่ หงแลงมากทีส่ ดุ แหงหนง่ึ ของโลก 4. ภูมิอากาศแบบทุงหญากึ่งทะเลทราย ไดแก ทางตะวันออกของประเทศ อารเ จนตนิ าจนถงึ ทร่ี าบสงู ปาตาโกเนีย อณุ หภูมไิ มส งู นักเฉล่ีย 18 องศาเซลเซยี ส ฤดหู นาว มอี ากาศหนาวเยน็ ฤดรู อนมอี ากาศรอน ปริมาณฝนนอ ยประมาณ 500 มลิ ลเิ มตรตอ ป 5. ภมู อิ ากาศแบบเมดเิ ตอรเ รเนยี น ไดแ ก บรเิ วณชายฝง มหาสมทุ รแปซฟิ ก ตอน กลางของประเทศชิลี ในฤดรู อนมอี ากาศรอ นและแหง แลง ฤดหู นาวมฝี นตก 6. ภูมอิ ากาศแบบอบอุนชนื้ ไดแก บรเิ วณตะวนั ตกเฉียงใตของทวปี ต้ังแตต อน ใตของบราซิล ปารากวัย อุรุกกวัย และตะวันออกเฉียงเหนือของอารเจนตินา อากาศใน บรเิ วณนไ้ี มแ ตกตา งกนั มากนกั ฤดหู นาวมอี ากาศอบอนุ ฤดรู อ นมฝี นตกเฉลยี่ 750 – 1,500 มิลลเิ มตรตอ ป 7. ภมู อิ ากาศแบบภาคฟน สมุทร ไดแก บรเิ วณชายฝงทะเลอากาศหนาวจดั มีฝน ตกเกือบตลอดท้งั ปโดยเฉพาะในฤดหู นาวและฤดูใบไมรวงเฉลีย่ 5,000 มิลลิเมตรตอ ป 8. ภูมิอากาศแบบท่ีสูง ไดแก บริเวณเทือกเขาแอนดีส เปนบริเวณที่มีความแตก ตางกันมาก ขน้ึ อยกู บั ระดบั ความสูงของพ้นื ที่ คอื บรเิ วณทรี่ าบมีอุณหภมู ิสงู และฝนตกชกุ เมื่อสูงขึ้นอุณหภูมิและปริมาณน้ําฝนจะลดลงไปเร่ือยๆ ย่ิงสูงกวาระดับน้ําทะเลประมาณ 3,000 เมตร มีอณุ หภูมเิ ฉล่ยี ตลอดทั้งปป ระมาณ 15 องศาเซลเซียส ปรมิ าณฝนตกเฉลี่ย 1,000 มลิ ลิเมตรตอ ป ในขณะทป่ี ระเทศอ่นื ท่อี ยูบ ริเวณเสนศนู ยส ูตร แตต้งั อยูบนท่ีราบ เชน มาเลเซีย มีอุณหภูมิเฉล่ีย 27 องศาเซียส และมีฝนตกชุกตลอดทั้งปสูงกวา 2,500 มลิ ลเิ มตรตอป 4. ลักษณะเศรษฐกิจและ สภาพแวดลอ มทางสงั คม วฒั นธรรม ลกั ษณะเศรษฐกิจ การทําเกษตรกรรม 1. จากลักษณะอากาศของทวปี เหมาะกบั การปลกู พชื เมืองรอ น เชน กาแฟ กลวย โกโก ออย ยาสูบ โดยเฉพาะกาแฟมผี ูผลิตรายใหญ คอื บราซลิ และโคลมั เบยี 2. บรเิ วณท่รี าบลุมแมนํ้าปารานา – ปารากวยั – อรุ กุ วยั มคี วามเหมาะสมในการ ปลูกขาวสาลี เนื่องจากอยูในเขตอบอุนและเปนท่ีราบลุมแมน้ําท่ีมีความอุดมสมบูรณ โดยเฉพาะในเขตประเทศอารเจนตนิ า 3. การเพาะปลกู ในทวปี มที ง้ั การเพาะปลกู เปน ไรก ารคา ขนาดใหญ ทเ่ี รยี กวา เอสตนั เซยี และมีการเพาะปลูกแบบยงั ชีพ
20 หนังสอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คม การเลย้ี งสัตว การเลย้ี งสตั วในทวปี อเมริกาใตก ระทาํ อยางกวา งขวาง ดงั นี้ 1. ทุงหญาปามปส เปน เขตปศุสัตวขนาดใหญ มีการเลย้ี งโคเนอ้ื โคนม แกะ 2. ทงุ หญา ยาโนส และทงุ หญา แกมโปส เปน เขตเล้ยี งโคเน้อื 3. ทุงหญา กงึ่ ทะเลทราย บริเวณทร่ี าบสงู ปาตาโกเนีย มกี ารเลี้ยงแกะพันธุขน ประเทศที่สงเนื้อสัตวเปนสนิ คา ออกจํานวนมาก คอื ประเทศอารเ จนตนิ า อรุ กุ วัย บราซิล การประมง แหลง ประมงทส่ี ําคญั ของทวปี คอื บริเวณชายฝงประเทศเปรูและชลิ ี ซึ่งมีกระแสนํ้า เย็นเปรู (ฮมั โบลด) ไหลผาน มีปลาแอนโชวีเปน จาํ นวนมาก นอกจากนยี้ ังมกี ารจับปลาตาม 1บทที่ ลมุ แมนํ้าตา ง ๆ โดยชาวพืน้ เมอื งอกี ดวย แตเปน การจบั ปลาเพือ่ ยังชีพ ภมู ศิ าสตรก ายภาพ การปาไม การทําปาไมในทวีปมีไมมากนักเน่ืองจากความไมสะดวกในการคมนาคมและ การขนสง เขตทม่ี ีความสําคัญในการทําปาไม คือ ภาคตะวนั ออกเฉยี งใตของบราซลิ การทําเหมืองแร ทวปี อเมรกิ าใตเ ปน แหลง ผลติ พชื เมอื งรอ นและสนิ แร การทาํ เหมอื งแรม คี วามสาํ คญั รองจากการทําเกษตรกรรม โดยมีแหลง แรท่สี าํ คญั ดงั น้ี อตุ สาหกรรม การอตุ สาหกรรมในทวีปยงั ไมค อ ยมคี วามเจรญิ มากนกั เนอ่ื งจากขาดเงนิ ทุน และ ยังตองอาศัยความรวมมือและการรวมลงทุนจากตางชาติ ประเทศท่ีมีความเจริญทางดาน อตุ สาหกรรม คือ อารเจนตนิ า บราซิล ชลิ ี เวเนซุเอลา ทวีปอเมรกิ าเหนอื 1. ขนาดทตี่ ้งั และอาณาเขตตดิ ตอ ทวปี อเมรกิ าเหนอื เปน ทวปี ทมี่ ขี นาดกวา งใหญโ ดยมขี นาดใหญเ ปน อนั ดบั ที่ 3 ของ โลกรองจากทวปี เอเชยี และทวปี แอฟรกิ ามพี นื้ ทป่ี ระมาณ 24 ลา นตารางกโิ ลเมตร รปู รา งของ ทวีปอเมริกาเหนือมีลักษณะคลายสามเหลี่ยมหัวกลับมีฐานกวางอยูทางทิศเหนือสวนยอด สามเหล่ียมอยูทางทิศใต ดวยความกวางใหญของทวีปจึงมีความหลากหลายทั้งในดาน ลักษณะทางกายภาพทรัพยากรธรรมชาติและเปนท่ีรวมของชนชาติหลายเช้ือชาติจนกลาย เปน เบา หลอมทางวฒั นธรรม อกี ทงั้ มคี วามเจรญิ กา วหนา ในดา นเทคโนโลยแี ละเปน ศนู ยร วม ของวัฒนธรรมตา ง ๆ ตัง้ อยใู นแถบซกี โลกเหนือระหวางละติจดู 7 องศา 15 ลปิ ดาเหนือ
รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย>> 21 ถงึ 83 องศา 38 ลิปดาเหนอื และลองจจิ ูด 55 องศา 42 ลปิ ดาตะวันตก 172 องศา 30 1บทท่ี ลปิ ดาตะวันออก อาณาเขตตดิ ตอ ทศิ เหนอื ตดิ กบั ทะเลโบฟอรต ในมหาสมทุ รอารก ตกิ และขว้ั โลกเหนอื จดุ เหนอื สดุ อยูทีแ่ หลมมอริสเจซุป เกาะกรนี แลนดแ ละประเทศแคนาดา ทิศใต ตดิ กับทวปี อเมริกาใต (มคี ลองปานามาเปน เสน แบง ทวีป) ทะลแคริบเบียน ในมหาสมทุ รแปซิฟกและอาวเมก็ ซิโกในมหาสมทุ รแอตแลนติก ทิศตะวันออก ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก จุดตะวันออกสุดของทวีปอยูท่ี คาบสมุทรลาบราดอร ประเทศแคนาดา ทิศตะวนั ตก ติดกับมหาสมทุ รแปซฟิ ก จุดตะวนั ตกสดุ ของทวปี อยูท่แี หลมปรินซ ออฟเวลรัฐอะลาสกา ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ูภ ิมศาสต รกายภาพ
ภมู ศิ าสตรก ายภาพ22 หนงั สือเรียนสาระการพัฒนาสังคม 2. ลกั ษณะภมู ิประเทศ ลกั ษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริกาเหนือ สามารถแบง ออกได 3 ลกั ษณะ ไดแ ก 1. เขตเทอื กเขาภาคตะวนั ออก เรม่ิ ตง้ั แตเ กาะนวิ ฟน ดแ ลนดท างตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของแคนาดา จนถงึ ตะวนั ออกเฉยี งใตข องสหรฐั อเมรกิ า ประกอบดว ยเทอื กเขาและทร่ี าบสงู แตไ มส ูงนกั ยอดเขาที่สงู ท่สี ดุ คือ ยอดเขามติ เชล มีความสูง 2,037 เมตร เทอื กเขาทีส่ าํ คญั คือ เทอื กเขาแอปปาเลเซยี น นอกจากนย้ี งั มที ร่ี าบแคบๆ ขนานไปกับชายฝง ทะเล บางสวน ลาดลงทะเลกลายเปนไหลทวปี 2.เขตเทือกเขาสูงภาคตะวันตก ไดแก พ้ืนที่ชายฝงตะวันตกดานมหาสมุทร แปซิฟก ต้ังแตเทือกเขาตอนเหนือสุดบริเวณชองแคบแบริง ทอดตัวยาวทางใตของทวีป 1บทท่ี ประกอบดว ยเทอื กเขาสงู สลบั ซบั ซอ นจาํ นวนมาก ยอดเขาทส่ี งู ทสี่ ดุ คอื ยอดเขาแมกคนิ เลย สงู 6,096 เมตร ในเทอื กเขาอะลาสกา นอกจากนย้ี งั มเี ทอื กเขารอ็ กกแี ละเทอื กเขาแมกเคนซี ระหวา งเทอื กเขาสูงมที ีร่ าบสงู จํานวนมาก ทสี่ าํ คญั ไดแก ทร่ี าบสงู อะลาสกา ท่รี าบโคโรราโด ทรี่ าบสงู เมก็ ซโิ ก และทร่ี าบสงู บรติ ชิ โคลมั เบยี เขตเทอื กเขาสงู บรเิ วณนม้ี ภี มู ปิ ระเทศทส่ี วยงาม ทมี่ ที งั้ เทอื กเขาสงู สลบั กบั ทรี่ าบสงู หบุ เขาลกึ ชนั เกดิ เปน โตรกเขาทเี่ กดิ จากการกดั เซาะของ แมน ้ํา โตรกเขาทม่ี ชี ือ่ เสยี งท่ีสุด คอื แกรนดแคนยอน (grand canyon) ที่เกดิ จากการ กัดเซาะของแมนาํ้ โคโรราโด รัฐแอรโิ ซนาประเทศสหรัฐอเมรกิ า 3. เขตทีร่ าบภาคกลาง เปนที่ราบขนาดกวา งใหญ อยูระหวางเทือกเขาตะวันออก และตะวันตก เริ่มต้ังแตชายฝงมหาสมุทรอารติกจนถึงชายฝงอาวเม็กซิโก มีลักษณะเปน ท่ีราบลูกคล่ืนอันเกิดจากการกระทําของธารนํ้าแข็งและการทับถมของตะกอนจากแมน้ํา ท่ีราบที่สําคัญ ไดแก ที่ราบลุมทะเลสาบทั้งหา ที่ราบลุมแมนํ้าแมกแคนซี ท่ีราบลุมแมนํ้า มสิ ซิสซปิ ป-มิสซรู ่ี ทรี่ าบแพรแี ละทร่ี าบชายฝง อาวเม็กซิโก แมน าํ้ แมน ้ําท่ีสาํ คัญในทวปี อเมรกิ าเหนือ มดี ังน้ี แมน ํ้ามิสซสิ ซิปป เกดิ จากเทือกเขาสูงทางตะวนั ตกของทวปี เปน แมน้ําสายทยี่ าว ทสี่ ดุ ในทวปี ไหลผา นทร่ี าบกวา งลงสอู า วเมก็ ซโิ ก เปน เขตทรี่ าบทมี่ ตี ะกอนทบั ถมเปน บรเิ วณ กวา ง จึงเหมาะแกการเพาะปลกู และเปน เขตประชากรหนาแนน แมนํ้าเซนตลอวเรนซ ไหลจากทะเลสาบเกรตเลคออกสูมหาสมุทรแอตแลนติก แมนํ้าสายน้ีใชในการขนสงสินคาหรือวัตถุดิบทางอุตสาหกรรม (เนื่องจากบริเวณรอบๆ เกรตเลคเปน เขตอุตสาหกรรม) แตป ญหาสําคญั ของแมนํ้าสายน้ี คอื จะมีระยะทเ่ี ดินเรอื ไม ไดในฤดหู นาว ลกั ษณะพิเศษของแมนาํ้ เซนตลอวเ รนซ คอื มีการขุดรองนา้ํ และสรางประตู กั้นน้ําเปนระยะๆ เนื่องมาจากบริเวณแมนํ้ามีแกงนํ้าตกขวางหลายแหง เสนทางการขนสง สินคา และเดินเรอื น้ี เรียกวา “เซนตล อวเรนซซ ีเวย” (St. Lawrence Seaway) แมน ้าํ ริโอแกรนด กั้นพรมแดนระหวา งประเทศสหรัฐอเมรกิ ากบั ประเทศเม็กซิโก
รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 23 3. ลกั ษณะภูมอิ ากาศ 1บทท่ี ปจ จัยที่มีอทิ ธิพลตอ ภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนอื ูภ ิมศาสต รกายภาพ 1. ละตจิ ดู ทวปี อเมรกิ าเหนือตั้งอยูระหวา งละติจดู 7 องศา 15 ลิปดาเหนอื ถึง 83 องศา 38 ลปิ ดาเหนอื ใกลข วั้ โลกเหนอื จงึ ทาํ ใหม เี ขตภมู อิ ากาศทกุ ประเภทตงั้ แตอ ากาศ รอ นไปจนถงึ อากาศหนาวเย็นแบบขว้ั โลก 2. ลมประจํา ลมประจําที่พัดผา นทวปี อเมรกิ าเหนือ มีความแตกตา งกันตามชว ง ละติจดู มีลมประจําท่ีสาํ คญั ดงั น้ี 1) ลมดา นตะวันออกเฉียงเหนือ พดั ตั้งแตละติจูด 40 องศาเหนือลงไปทางใต พดั ผา นมหาสมทุ รแอตแลนตกิ เขา สทู วปี จงึ นาํ ความชมุ ชน้ื มาใหช ายฝง ตะวนั ออกของทวปี ตลอดทง้ั ป ตงั้ แตต อนใตของสหรัฐอเมรกิ า อเมรกิ ากลางและหมเู กาะอินดิสตะวันตก 2) ลมตะวันตกเฉยี งใต พัดตั้งแตล ะติจดู 40 องศาเหนือถึง 60 องศาเหนอื พัด จากมหาสมุทรแปซิฟกเขาสูตอนกลางถึงตอนเหนือของสหรัฐอเมริกาและตอนใตของ แคนาดา 3) ลมขว้ั โลก พดั อยบู รเิ วณขว้ั โลกนาํ ความหนาวเยน็ มาใหพ น้ื ทท่ี างตอนบนของทวปี 3. ความใกลไ กลทะเล จากลกั ษณะรูปรา งของทวีปอเมรกิ าเหนือ ซึ่งตอนบนจะ กวา งใหญ และคอยๆ เรยี วแคบลงมาทางตอนใต ทําใหต อนบนของทวปี ไดรบั อทิ ธพิ ลจาก มหาสมุทรนอย จงึ ทําใหพื้นที่ตอนบนมีภมู ิอากาศคอนขางแหงแลง 4. ทศิ ทางของเทอื กเขา ทศิ ทางการวางตวั ของเทือกเขาในทวปี อเมรกิ าเหนือเปน สว นสาํ คญั ในการทาํ ใหพ นื้ ทที่ างตอนในของทวปี มอี ากาศคอ นขา งแหง แลง โดยเฉพาะเทอื ก เขาทางตะวนั ตกของทวปี ซง่ึ เปน เทอื กเขายุคใหมท ี่สูงมาก จึงขวางกนั้ ความชืน้ ที่มากบั ลม ประจํา 5. กระแสนาํ้ ทวีปอเมรกิ าเหนอื มีกระแสนาํ้ 4 สาย ซึง่ มีอิทธพิ ลตอ อากาศบรเิ วณ ชายฝงโดยกระแสน้ําอุน ทําใหอากาศบริเวณชายฝงอบอุนชุมชื้น สวนกระแสน้ําเย็นทําให อากาศบริเวณชายฝงเยน็ และแหงแลง 1) กระแสน้ําอุนกัลฟสตรีม ไหลเลียบชายฝงตะวันออกของเม็กซิโก และ สหรฐั อเมรกิ าทางใตข ึน้ ไปทางตะวนั ออกเฉียงเหนอื ของเกาะนวิ ฟนดแ ลนดข องแคนาดา 2) กระแสนาํ้ เยน็ แลบราดอร ไหลเลยี บชายฝง ตะวนั ตกของเกาะกรนี แลนดล งมา จนถึงชายฝงตะวันออกของแคนาดา พบกับกระแสนํ้าอุนกัลฟสตรีม บริเวณเกาะ นิวฟนดแ ลนดจ งึ ทาํ ใหบริเวณนีเ้ ปนแหลง ปลาชุม เนอ่ื งจากมีอาหารปลาจํานวนมาก กลาย เปนเขตทาํ ประมงทส่ี าํ คัญ เรยี กบริเวณนว้ี า “แกรนดแบงค” (Grand Bank) 3) กระแสนํ้าอุนอลาสกา ไหลเลียบชายฝงตะวันตกของรัฐอลาสกาข้ึนไปทาง เหนอื จนถึงชอ งแคบเบริง ทาํ ใหชายฝง อบอนุ นา้ํ ไมเ ปนนา้ํ แข็งสามารถจอดเรือไดต ลอดป 4) กระแสนาํ้ เยน็ แคลฟิ อรเ นยี ไหลเลยี บชายฝง ตะวนั ตกของสหรฐั อเมรกิ าลงมา ทางใตจนถงึ ชายฝง คาบสมทุ รแคลฟิ อรเ นยี ทาํ ใหช ายฝงมีอากาศเยน็ และแหง
ภมู ศิ าสตรก ายภาพ24 หนังสือเรยี นสาระการพฒั นาสงั คม พายุ พายทุ ีม่ อี ิทธพิ ลตอ ลมฟาอากาศของทวปี อเมริกาเหนอื เปน อยางมากคือ 1. พายุเฮอริเคน เปนพายุหมุนเขตรอน เชนเดียวกับใตฝุน พายุน้ีเกิดในทะเล แครเิ บยี น และอา วเมก็ ซโิ ก เปน พายทุ ท่ี าํ ใหฝ นตกหนกั คลน่ื ลมแรงเคลอ่ื นตวั จากทะเลเขา สู ชายฝงของสหรฐั อเมริกา เมก็ ซิโก และหมูเ กาะในทะเลแครเิ บยี น 2. พายทุ อรนาโด เนอ่ื งจากบริเวณภาคกลางของสหรัฐอเมริกาเปน พนื้ ทโ่ี ลง กวาง ทําใหม วลอากาศปะทะกนั ไดง ายเกดิ เปน พายหุ มนุ ทอรนาโด มีกาํ ลังแรงมาก กอใหเกิด ความเสียหายกับบานเรือนในรอบ 1 ปเกิดพายุนี้ไดบอยครั้ง จนไดรับสมญานามวา “พายปุ ระจําถนิ่ ” ของสหรัฐอเมริกา เขตภมู ิอากาศแบงออกไดเ ปน 12 เขต ไดแ ก 1. ภมู ิอากาศแบบรอนชน้ื ไดแ ก บริเวณชายฝง ตะวันออกของอเมรกิ ากลาง และ 1บทท่ี บางสว นของหมเู กาะอนิ ดสี ตะวนั ตก มอี ากาศรอ นเกอื บตลอดทงั้ ป อณุ หภมู เิ ฉลยี่ 18 องศา เซลเซียสและมฝี นตกชกุ เฉลย่ี 1,700 มลิ ลิเมตรตอ ป ในเขตนไ้ี มม ีฤดหู นาว 2. ภมู อิ ากาศแบบทะเลทราย ไดแ ก บรเิ วณภาคตะวนั ตกเฉยี งใตข องสหรฐั อเมรกิ า และภาคเหนอื ของเมก็ ซโิ ก มอี ากาศรอ นจดั และมฝี นตกนอ ยมาก เฉลย่ี 250 มลิ ลเิ มตรตอ ป 3. ภมู อิ ากาศแบบทงุ หญา เขตรอ น ไดแ ก ชายฝง ตะวนั ตกของอเมรกิ ากลาง พน้ื ที่ สว นใหญข องเมก็ ซโิ ก บางสว นของหมเู กาะอนิ ดสี ตะวนั ตก และทางตอนใตส ดุ ของคาบสมทุ ร ฟลอรดิ า มอี ณุ หภมู แิ ตกตา งกนั มากระหวา งฤดรู อ นและฤดหู นาว คอื ฤดหู นาวอากาศหนาวจดั ฤดรู อนมีอากาศรอนจัดและมฝี นตก 4. ภมู อิ ากาศแบบทงุ หญา กง่ึ ทะเลทราย ไดแ ก บรเิ วณชายขอบของเขตทะเลทราย เรม่ิ ต้ังแตบ างสวนของประเทศแคนาดาและเม็กซิโก ทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงใตข อง สหรัฐอเมริกา มลี กั ษณะภูมอิ ากาศก่ึงแหงแลง ฤดูหนาวมีอากาศหนาวจัด ฤดูรอนมีอากาศ รอนและแหง แลง ปริมาณฝนไมม ากนัก แตม ากกวา ในเขตทะเลทราย 5. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอรเรเนียน ไดแก บริเวณชายฝงมหาสมุทรแปซิฟก ในเขตรฐั แคลฟิ อรเ นยี ของสหรฐั อเมรกิ า ในฤดรู อ นมอี ากาศไมร อ นจดั ในฤดหู นาวมอี ากาศ อบอนุ แหงแลงและมฝี นตก 6. ภมู อิ ากาศแบบอบอนุ ชน้ื ไดแ ก บรเิ วณทรี่ าบชายฝง มหาสมทุ รแอตแลนตกิ และ ทรี่ าบตอนกลางของทวปี อณุ หภมู เิ ฉลย่ี ตลอดทง้ั ปม คี วามใกลเ คยี งกนั มฝี นตกเกอื บตลอด ท้งั ปเฉลยี่ 750 มิลลเิ มตรตอ ป 7. ภมู อิ ากาศแบบภาคพน้ื สมทุ รชายฝง ตะวนั ตก ไดแ ก ชายฝง มหาสมทุ รแปซฟิ ก ในเขตสหรฐั อเมริกาและแคนาดา มีฝนตกชกุ เกอื บตลอดท้งั ปเ ฉลย่ี 2,000 มิลลเิ มตรตอ ป ฤดูรอนมอี ากาศรอ นชื้นและ ฤดหู นาวมีอากาศเย็นสบาย 8. ภูมิอากาศแบบช้ืนภาคพ้ืนทวีป ไดแก ตอนใตของประเทศแคนาดารอบๆ ทะเลสาบท้ัง 5 และภาคเหนอื ของสหรัฐอเมรกิ า ในฤดูหนาวมอี ากาศหนาวเยน็ ในฤดรู อ น มอี ากาศอบอุนและมฝี นตก
รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 25 9. ภมู อิ ากาศแบบไทกา ไดแ ก ภาคเหนอื ของประเทศแคนาดา และตอนใตข องรฐั 1บทท่ี อะลาสกา สหรัฐอเมริกา เปนบริเวณที่มีอากาศหนาวจัด มีหิมะตกติดตอกันหลายเดือน ฤดรู อ นมีอากาศเยน็ มีปริมาณฝนตกนอยและระยะสั้นๆ ูภ ิมศาสต รกายภาพ 10. ภูมิอากาศแบบทุนดรา ไดแก ชายฝงมหาสมุทรอารกติก ภาคเหนือของ แคนาดา รฐั อะลาสกาของสหรฐั อเมรกิ า และชายฝง เกาะกรีนแลนด มอี ากาศหนาวจดั เกือบ ตลอดทั้งป ฤดูรอนมชี วงส้ันและอณุ หภมู ิตาํ่ เฉลี่ยตลอดทงั้ ป 10 องศาเซลเซียส 11. ภูมิอากาศแบบขั้วโลก ไดแก ตอนกลางของเกาะกรนี แลนด มอี ากาศหนาว จัดมีนํ้าแข็งปกคลุมเกือบตลอดท้ังป บริเวณตอนกลางของเกาะมีน้ําแข็งปกคลุมหนาถึง 3,000 เมตร 12. ภมู อิ ากาศแบบบรเิ วณภเู ขาสงู ไดแ ก เทอื กเขาสงู ในภาคตะวนั ตก เปน บรเิ วณ ท่ีมีอุณหภูมิแตกตางกันมาก ข้นึ อยกู บั ความสงู ของพนื้ ท่ี เชน ในฤดรู อ นดานทร่ี บั แสงแดด อากาศรอ นจดั ในดา นตรงกนั ขา มจะมอี ากาศหนาวเยน็ ในแถบหบุ เขาจะมอี ากาศหนาวเยน็ โดยเฉพาะในเวลากลางคืน อุณหภูมิจะตํ่าลงเม่ือความสูงเพิ่มขึ้น บริเวณยอดเขามีน้ําแข็ง ปกคลุมอยู ในบรเิ วณนี้มฝี นตกนอย 4. สภาพเศรษฐกิจ และสภาพแวดลอมทางสงั คมวัฒนธรรม ลกั ษณะเศรษฐกจิ ลกั ษณะเศรษฐกจิ ของทวปี อเมรกิ าเหนอื จะมคี วามแตกตา งกนั คอื ในสหรฐั อเมรกิ า แคนาดา จะเปน เขตเศรษฐกจิ ทม่ี คี วามเจรญิ สงู สว นในเขตของเมก็ ซโิ ก อเมริกากลางและหมเู กาะอนิ ดีสตะวนั ตกจะมที ง้ั เขตเศรษฐกจิ ที่เจรญิ แลว และเขตท่ียังตอง ไดรับการพฒั นา การทาํ เกษตรกรรม 1. เขตปลูกขาวสาลี บริเวณท่ีมกี ารปลกู ขา วสาลี ซง่ึ ถอื เปน แหลงสําคัญของโลก คือ บริเวณภาคกลางของแคนาดาและสหรัฐอเมรกิ า 2. เขตทําไรป ศสุ ัตว พบในบริเวณทีภ่ ูมอิ ากาศคอนขางแหงแลง เชน ภาคตะวนั ตกของแคนาดา สหรัฐอเมรกิ า และเม็กซิโก สัตวที่เล้ียง คือ โคเนอื้ 3. เขตเกษตรกรรมแบบผสม ไดแก เขตที่มีการเลี้ยงสัตวควบคูกับการปลูกพืช เชน ขา วสาลี ขา วโพด สวนสัตวเ ล้ยี งคือ โคเนอ้ื โคนม การเกษตรลกั ษณะนพ้ี บบริเวณทาง ตะวันออกของสหรัฐอเมรกิ าและแคนาดา 4. เขตปลูกฝาย ไดแก บริเวณทางตะวันตกของสหรัฐอเมริกา ซ่ึงเปนเขตท่ีมี อากาศคอ นขา งรอ นและแหงแลง 5. เขตปลูกผัก ผลไมและไรยาสูบ ไดแก บริเวณท่ีราบชายฝงมหาสมุทร แอตแลนติก 6. เขตปลูกพืชเมอื งรอ น พชื เมอื งรอนที่นยิ มปลกู คือ กลว ย โกโก ออ ย กาแฟ ซ่ึง มมี ากบรเิ วณอเมริกากลางและหมเู กาะอินดสี ตะวนั ตก
26 หนงั สือเรียนสาระการพฒั นาสงั คม การประมง บรเิ วณท่มี ีการทาํ ประมงกนั อยา งหนาแนน คือ แกรนดแ บงค และบรเิ วณชายฝง มหาสมทุ รแปซิฟกโดยเฉพาะบริเวณทมี่ กี ระแสนํ้าเยน็ แคลิฟอรเนียไหลผาน การทาํ เหมอื งแร ถานหนิ สหรัฐอเมรกิ าและแคนาดา สามารถผลติ ถานหินไดเ ปนจาํ นวนมาก โดย มแี หลง ผลติ ทสี่ าํ คญั คอื บรเิ วณเทอื กเขาแอปปาเลเซยี น ในสหรฐั อเมรกิ า และมณฑลควเิ บก ของแคนาดา เหล็ก แหลงสําคัญ คือ ทะเลสาบเกรตแลค นํา้ มนั และกาซธรรมชาติ พบบริเวณเทือกเขาแอปปาเลเซียนลมุ แมน ํา้ มิสซิสซิปป อา วเมก็ ซิโก แคลฟิ อรเ นีย อลาสกา 1บทท่ี การทําอุตสาหกรรม สหรัฐอเมริกาเปนประเทศผูนําในการทําอุตสาหกรรมระดับ โลก สวนใหญเปนอุตสาหกรรมขนาดใหญใชเงินทุนเปนจํานวนมาก สวนประเทศเม็กซิโก ภมู ศิ าสตรก ายภาพ และอเมริกากลาง รวมถึงประเทศในหมูเกาะอินดีสตะวันตก อุตสาหกรรมสวนใหญเปน อตุ สาหกรรมเกษตรการแปรรปู ผลผลิตตางๆ ซึง่ ตองอาศัยการพฒั นาตอไป สภาพแวดลอ มทางสังคมและวัฒนธรรม ประชากร 1. บรเิ วณทม่ี ปี ระชากรหนาแนน ไดแ ก ชายฝง ตะวนั ตกของสหรฐั อเมรกิ า ลมุ แมน าํ้ มิสซิสซปิ ป ลุมแมน าํ้ เซนตลอรวเ รนซ ทร่ี าบสงู ในเมก็ ซิโก หมเู กาะอนิ ดีสตะวันตก 2. มผี ูค นหลากหลายเชอื้ ชาติ เชน อินเดยี นแดง เอสกโิ ม ยุโรป แอฟริกัน เอเชยี และกลมุ เลือดผสม เขตวัฒนธรรม 1. แองโกอเมริกา หมายถึง สหรฐั อเมรกิ าและแคนาดา 2. ลาตินอเมริกา หมายถึง กลุมคนในเมกซิโก อเมริกากลาง และหมูเกาะอินดีส ตะวันตก (ซึง่ ไดร บั อทิ ธพิ ลจากสเปนและโปรตเุ กส) ทวีปแอฟริกา 1. ขนาดทีต่ ั้งและอาณาเขตติดตอ ทวีปแอฟริกามขี นาดใหญเ ปนอนั ดับ 2 รองจากทวีปเอเชีย มพี ื้นทป่ี ระมาณ 30.3 ลา นตารางกโิ ลเมตร มปี ระชากร 600 ลา นคน อยูระหวางละติจดู ที่ 37 องศา 21 ลปิ ดา เหนอื ถงึ 34 องศา 50 ลปิ ดาใต ลองตจิ ูดที่ 51 องศา 24 ลิปดาตะวันออกถงึ 17 องศา 32 ลิปดา
รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 27 อาณาเขตติดตอ 1บทท่ี ทศิ เหนอื ตดิ กบั ทะเลเมดเิ ตอรเ รเนยี น ในมหาสมทุ รแอตแลนตกิ ชอ งแคบยบิ รอลตาร จุดเหนือสดุ ของทวปี อยูท่แี หลมบอน ประเทศตนู ิเซยี ูภ ิมศาสต รกายภาพ ทศิ ใต ตดิ กบั มหาสมุทรแอตแลนตกิ และมหาสมทุ รอนิ เดีย จดุ ใตสุดของทวีป อยูที่แหลมอะกอลฮัส (Agulhas) ในประเทศแอฟรกิ าใต ทศิ ตะวันออก ตดิ กับทะเลแดง ในมหาสมุทรอินเดยี จดุ ตะวนั ออกสุดของทวีปอยู ทแี่ หลมฮาฟูน ประเทศโซมาเลยี ทิศตะวนั ตก ติดกบั มหาสมุทรแอตแลนตกิ จุดตะวนั ตกสุดของทวปี อยทู ่ีแหลม เวิรดประเทศเซเนกัล 2. ลักษณะภมู ิประเทศ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศทวปี แอฟรกิ าสามารถแบงออกไดเ ปน 3 ลักษณะดังนี้ 1. เขตทร่ี าบสูง พ้ืนท่เี กือบท้ังหมดของทวีปเปนที่ราบสูง จนไดร บั สมญาวา เปน ทวปี แหง ท่รี าบสูง โดยทางซกี ตะวนั ออกจะสงู กวา ซกี ตะวนั ตก ลกั ษณะเดน ของบรเิ วณทร่ี าบสงู ทางภาคตะวนั ออกของทวปี คอื เปน พน้ื ทท่ี ม่ี ภี เู ขาสงู และภเู ขาไฟ ภเู ขาไฟทม่ี ชี อ่ื เสยี ง คอื ภเู ขาคลิ มิ นั จาโร (แทนซาเนยี ) และมที ะเลสาบหลายแหง เชน ทะเลสาบวคิ ตอเรีย (ทะเลสาบนา้ํ จืดใหญเปน อันดบั 2 ของโลก) ทะเลสาบแทนแกนยกิ าและทะเลสาบไนอะซา แผนที่ทวปี แอฟรกิ า
28 หนงั สือเรยี นสาระการพัฒนาสงั คม 2. เขตท่รี าบ ทวีปแอฟริกามที ร่ี าบแคบๆ บริเวณชายฝง ทะเล 3. เขตเทอื กเขา เขตเทอื กเขาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนอื คือ เทือกเขาแอตลาส วางตัวขนานกับ ชายฝงทะเลเมดเิ ตอรเ รเนียน เปน เทือกเขายุคใหม เทอื กเขาทางทศิ ใต คอื เทอื กเขาดราเคนสเบริ ก วางตวั ขนานกบั ชายฝง มหาสมทุ ร อินเดีย เปน เทือกเขายุคเกา แมน าํ้ แมน าํ้ ในทวปี แอฟรกิ าสว นใหญเ กดิ จากทร่ี าบสงู ตอนกลาง และทางตะวนั ออก ของทวีป ซ่ึงมีฝนตกชุก เน่ืองจากพ้ืนที่ตางระดับ แมน้ําจึงกัดเซาะพ้ืนที่ใหเกิดเปน แกงนํ้าตกขวางลําน้ํา จึงเปนอุปสรรคตอการคมนาคม แตสามารถใชประโยชนในการผลิต กระแสไฟฟาไดแ มน้ําทส่ี ําคญั ไดแก แมน าํ้ ไนล เปน แมน าํ้ สายทยี่ าวทสี่ ดุ ในโลก ไหลลงสทู ะเลเมดเิ ตอรเ รเนยี น ประกอบ 1บทท่ี ดว ยแควสําคัญ คือ ไวทไ นว บลไู นลแ ละอัตบารา ปากแมน า้ํ เปน เดลตา แมน าํ้ ซาอรี (คองโก) เปน แมน าํ้ สายยาวอนั ดบั 2 ของทวปี และเปน ทรี่ าบลมุ แมน าํ้ ภมู ศิ าสตรก ายภาพ ทีก่ วา งขวาง น้าํ ในแมน้าํ ไหลลงสูมหาสมุทรแอตแลนตกิ แมน ้ําไนเจอร ไหลลงสูอา วกนิ ี แมน ้าํ แซมเบซี ไหลลงสูม หาสมุทรอนิ เดีย ไหลผา นท่ีราบสงู และไหลเช่ียวมาก 3. ลักษณะภมู ิอากาศ เขตอากาศ ปจจยั ทีม่ ีอทิ ธิพลตอ ภูมิอากาศของทวีปแอฟรกิ า 1. ละตจิ ดู ทวปี แอฟรกิ ามเี สน ศนู ยส ตู รผา นเกอื บกงึ่ กลางทวปี และตง้ั อยรู ะหวา ง เสน ทรอปค ออฟแคนเซอร กบั เสน ทรอปค ออฟแคปรคิ อรน ทาํ ใหม เี ขตอากาศรอ นเปน บรเิ วณ กวา ง มีเฉพาะสว นเหนอื สดุ และใตส ดุ ทีอ่ ยใู นเขตอบอุน 2. ลมประจํา มี 2 ชนิดคอื ลมสนิ คา ตะวนั ออกเฉยี งใต พดั จากมหาสมทุ รอนิ เดยี และมหาสมทุ รแอตแลนตกิ ทาํ ใหฝ นชกุ บริเวณชายฝงแอฟรกิ าตะวันออกและตะวนั ออกเฉยี งใตกับชายฝง อา วกนิ ี ลมสินคาตะวันออกเฉียงเหนือ พัดจากตอนในของทวีปมาสูชายฝง จึงนําความ แหงแลง มาสชู ายฝง ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของทวีป 3. กระแสนํา้ ไดแ ก กระแสนาํ้ อนุ กนิ ี ไหลผา นชายฝง ตะวนั ตกจากมหาสมทุ รแอตแลนตกิ ไปยงั อา วกนิ ี กระแสนาํ้ เยน็ คานารี ไหลเลียบชายฝงตะวันตกเฉียงเหนอื ของทวปี กระแสน้ําเย็นเบงเก-ลา ไหลเลยี บชายฝง ตะวนั ตกเฉียงใตข องทวปี กระแสน้ําอุนโมซัมบิก ไหลผานบริเวณชองแคบโมซมั บกิ 4. ระยะหางจากทะเล ดว ยความกวา งใหญของทวปี การมีท่ีสงู อยโู ดยรอบทวปี ทาํ ใหอ ทิ ธพิ ลของมหาสมทุ รเขา ไปไมถ งึ ประกอบกบั ไดร บั อทิ ธพิ ลจากทะเลทรายของทวปี เอเชียทางดานตะวันออกเฉียงเหนือของทวีป ทําใหทวีปแอฟริกามีเขตภูมิอากาศแหงแลง เปน บริเวณกวาง
รายวชิ าสังคมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 29 ทวปี แอฟริกาสามรถแบงเขตอากาศไดเ ปน 8 เขตดังนี้ 1บทที่ 1. ภมู อิ ากาศแบบทะเลทราย ไดแ ก บรเิ วณทะเลทรายสะฮาราและทะเลทรายลเิ บยี ทางตอนเหนือของทวีป ในเขตประเทศไนเจอร ชาด ลเิ บยี มาลี บุรก นิ าฟาโซ มอริเตเนีย ูภ ิมศาสต รกายภาพ คดิ เปน พ้นื ที่รอยละ 30 ของพื้นทใี่ นทวปี แอฟรกิ า และถือเปน เขตทะเลทรายทม่ี ีขนาดใหญ ทีส่ ดุ ในโลก ทะเลทรายท่ีสาํ คัญอีกแหงหน่งึ คือ ทะเลทรายกาลาฮารี ทางตอนใตของทวปี ในเขตประเทศบอตสวานาและนามิเบีย มีลักษณะอากาศรอนและแหงแลงเฉล่ียสูงกวา 35 องศาเซลเซียส อณุ หภมู ริ ะหวางกลางวันและกลางคืนแตกตา งกนั มาก มฝี นตกนอย เฉลี่ย ต่าํ กวา 250 มลิ ลเิ มตรตอ ป 2. ภูมิอากาศแบบทุงหญาก่งึ ทะเลทราย ไดแ ก บรเิ วณทีร่ าบสงู ตอนในของทวปี ชายฝง ตะวนั ตกและตอนใตข องเสน ศูนยสูตร ในฤดูรอนมอี ากาศรอ นจัดและมฝี นตกแตไม มากนกั ประมาณ 600 มลิ ลเิ มตรตอ ป ฤดหู นาวมอี ากาศหนาวจดั บางครงั้ อาจถงึ จดุ เยอื กแขง็ 3. ภูมิอากาศแบบปาดิบช้ืน ไดแ ก บรเิ วณลมุ แมนาํ้ คองโก ทร่ี าบสูงในแอฟริกา ตะวนั ออก ฝง ตะวนั ออกของเกาะมาดากสั การ และชายฝง รอบอา วกนิ ี มอี ากาศรอ นอณุ หภมู ิ เฉล่ีย 27 องศาเซลเซยี ส และฝนตกชกุ ตลอดท้ังปมากถึง 2,000 มลิ ลเิ มตรตอ ป 4. ภมู อิ ากาศแบบทุง หญา สะวันนา ไดแ ก บริเวณเหนือและใตแนวเสนศนู ยสูตร ในเขตประเทศเอธิโอเปย ซูดาน เคนยา คองโก สาธารณรฐั คองโก แทนซาเนีย และดา น ปลายลมของเกาะมาดากสั การ มอี ุณหภูมริ อ นเกือบตลอดทั้งป ในฤดูรอ นมอี ากาศรอ นและ มฝี นตกปริมาณ 1,500 – 2,000 มลิ ลเิ มตรตอ ป ฤดหู นาวมอี ากาศหนาวและแหงแลง 5. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอรเ รเนยี น ไดแ ก บริเวณชายฝงของประเทศตูนิเซยี แอลจีเรีย โมร็อกโก และตอนใตของประเทศแอฟริกาใต มีอุณหภูมิไมแตกตางกันมากนัก ในฤดูรอนมอี ากาศรอนและแหงแลง ในฤดหู นาวมอี ากาศอบอุนและมีฝนตก 6. ภูมิอากาศแบบมรสุม ไดแ ก ประเทศไลบเี รยี และโกตดิววั ร เนอ่ื งจากไดรับ อิทธิพลจากลมประจําตะวันตกและกระแสนํ้าอุนกินี สงผลใหมีฝนตกชุกประมาณ 2,500 มลิ ลิเมตรตอ ปและมอี ากาศรอ นชนื้ อุณหภมู เิ ฉล่ีย 20 องศาเซลเซียส 7. ภูมิอากาศแบบอบอุนชื้น ไดแก บริเวณตะวันออกเฉียงใตของทวีป ในเขต ประเทศแทนซาเนยี แซมเบยี โมซมั บกิ ซมิ บบั เว มาลาวี สวาซแิ ลนด เลโซโท และแอฟรกิ าใต ไดรับอิทธิพลจากกระแสนํ้าอุนโมซัมบิก และลมคาตะวันออกเฉียงเหนือ ทําใหฤดูหนาวมี อากาศอบอุน ในฤดูรอนมีฝนตก 8. ภมู ิอากาศแบบภเู ขา ไดแก ที่ราบสูงเอธิโอเปย และท่รี าบสงู เคนยา ทางตะวนั ออกของทวีป ลกั ษณะอากาศชื้นอยกู ับความสงู ของพน้ื ท่ี ยง่ิ สงู ขึ้นอากาศจะเยน็ ลง และมี ปรมิ าณฝนตกนอ ยลง
30 หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสังคม 4. ลักษณะเศรษฐกิจ และสภาพแวดลอ มทางสงั คมวฒั นธรรม ลกั ษณะเศรษฐกจิ การเกษตรกรรม 1. การเพาะปลูกแบบยังชีพ เปน การปลูกพชื เพือ่ บริโภคภายในครอบครวั 2. การทาํ ไรข นาดใหญ เปน การเพาะปลกู เพอ่ื การคา พชื ทปี่ ลกู เชน ยางพารา ปาลม นา้ํ มัน 3. การเกษตรแบบผสม คือ การเพาะปลูกแบบเลี้ยงสัตวควบคกู นั ไป พชื ทีป่ ลูกคอื ขา วโพดขาวสาลี สตั วท เี่ ลีย้ ง คอื โคเน้ือ โคนม แกะ 4. การเกษตรแบบเมดิเตอรเรเนียน คือปลูกองุน มะกอก บริเวณชายฝงทะเล เมดเิ ตอรเ รเนยี นและตอนใตของทวปี 1บทที่ 5. การทําไรปศุสัตว สวนใหญจะเปนการเลี้ยงแบบปลอยคือ การปลอยใหสัตว หากินในทุงหญาตามธรรมชาติ ภมู ศิ าสตรก ายภาพ 6. การเล้ยี งสัตวแ บบเรร อ น เปนการเล้ยี งสตั วใ นพืน้ ที่ที่เปน ทะเลทราย การปา ไม พ้ืนที่ท่ีมีความสําคัญในการทําปาไม คือ แอฟริกาตะวันตก แอฟริกากลาง ปาไม สวนใหญส ูญเสยี ไปเนอ่ื งจากการทําไรเ ลื่อนลอยและการขาดการบาํ รงุ การลาสตั วและการประมง ชนพื้นเมืองจะดํารงชีพดวยการลาสัตว สวนการประมงมีความสําคัญไมมาก การ ประมงนาํ้ จืดจะทําตามลมุ แมน ํ้าสายใหญ และทะเลสาบวิคตอเรีย สว นประมงนํา้ เคม็ มกั จะ ทําบรเิ วณทม่ี ีกระแสนํ้าเย็นเบงเก-ลา ไหลผาน การทาํ เหมอื งแร เปน ทวปี ทมี่ สี นิ แรอ ยเู ปน จาํ นวนมาก ทสี่ าํ คญั คอื เพชร ทองคาํ นา้ํ มนั กา ซธรรมชาติ การอุตสาหกรรม การทาํ อุตสาหกรรมสวนใหญในทวีปแอฟริกา เปนอตุ สาหกรรมทีเ่ กยี่ วของกบั การ แปรรปู ผลติ ผลการเกษตร การอตุ สาหกรรมสว นใหญย งั ไมค อ ยเจรญิ มากนกั เนอื่ งจากยงั ขาด เงนิ ทนุ และผูเ ชีย่ วชาญดานการพฒั นาอุตสาหกรรม ประชากร มีประชากรมากเปนอนั ดับ 2 รองจากทวปี เอเชยี ประชากรหนาแนนบรเิ วณลมุ แมน ้ํา และบริเวณชายฝง ทะเล ประกอบดวยเช้ือชาตนิ กิ รอยดและคอเคซอยด
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 31 ทวีปออสเตรเลยี และโอเซยี เนยี 1บทท่ี 1. ขนาดที่ตั้งและอาณาเขตติดตอ ูภ ิมศาสต รกายภาพ ทวปี ออสเตรเลยี และโอเซยี เนยี เปน ทตี่ ง้ั ของประเทศออสเตรเลยี ประเทศนวิ ซแี ลนด ทวปี ออสเตรเลยี ไดร บั สมญานามวา ทวปี เกาะ สว นหมเู กาะแปซฟิ ก ซงึ่ เปน ทต่ี ง้ั ของประเทศ อนื่ ๆ ตอเน่อื งไปถงึ ทวปี แอนตารก ติก เรยี กวา โอเชยี เนีย หมายถงึ เกาะ และหมเู กาะ ในภาคกลางและภาคใตของมหาสมุทรแปซิฟก รวมท้ังหมูเกาะไมโครนีเซีย เมลานีเซีย โปลีนเี ซยี ออสเตรเลยี นิวซีแลนด และหมเู กาะมลายู ทวีปออสเตรเลียเปนทวีปท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุดในโลก มีพื้นที่ 7.6 ลาน ตร.กม. มีประชากร 17.5 ลา นคน ทตี่ ้ังของทวปี ออสเตรเลียอยูในซีกโลกใตท ้งั หมด ตั้งแตล ะตจิ ดู ที่ 10 องศา 41 ลปิ ดาใต ถึง 43 องศา 39 ลปิ ดาใต และลองจิจูด 113 องศา 9 ลิปดา ตะวนั ออก ถงึ 153 องศา 39 ลปิ ดาตะวันออก อาณาเขตตดิ ตอ ทศิ เหนอื ติดตอกบั ทะเลเมดเิ ตอรเรเนียนในมหาสมุทรแปซิฟก จดุ เหนือสดุ ของ ทวีปอยทู ่แี หลมยอรกมชี อ งแคบทอรเรสก้ันจากเกาะนวิ กนิ ี ทิศตะวันออก ติดกับทะเลคอรัลและทะเลแทสมันในมหาสมุทรแปซิฟก จุดดาน ตะวันออกสดุ อยทู แ่ี หลมไบรอน ทศิ ใต ตดิ กบั มหาสมุทรอินเดยี จดุ ใตสดุ อยูท ่แี หลมวิลสนั มีชอ งแคบบาสสกั้นจาก เกาะแทสมาเนีย ทศิ ตะวนั ตก ตดิ กบั มหาสมทุ รอินเดยี จดุ ตะวันตกสุดอยทู ีแ่ หลมสตฟี ภมู ภิ าคและประเทศตา งๆ ของทวปี ออสเตรเลยี 1. ออสเตรเลยี ไดแ ก ออสเตรเลยี และนิวซีแลนด 2. หมเู กาะในมหาสมทุ รแปซฟิ ก ไดแ ก ปาปว นวิ กนิ ี หมเู กาะเซโลมอน ฟจ ิ วานอู าตู คริ บิ าส ซามวั ตะวนั ตก ตองกา ตูวาลู นาอรู ู ไมโครนีเซีย 2. ลักษณะภูมิประเทศของทวปี ออสเตรเลยี และโอเซยี เนีย มเี ขตทส่ี งู ทางดา นตะวนั ออก มีฝนตกชุกท่ีสดุ ของทวีป มเี ทอื กเขาเกรตดไิ วดิงอยู ทางดานตะวันออก มีลักษณะเปนสันปนนํ้าท่ีแบงฝนท่ีตกลงใหไหลสูลําธาร เขตท่ีราบต่ํา ตอนกลาง พ้ืนท่ีราบเรียบ มีลํานํ้าหลายสายไหลมาอยูบริเวณนี้ และเขตที่ราบสูงทางดาน ตะวนั ตกตอนกลางของเขตนเี้ ปน ทะเลบรเิ วณทางใตแ ละทางตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ใชเ ปน เขต ปศุสัตวแ ละเพาะปลูก 3. ลกั ษณะภมู ิอากาศของทวีปออสเตรเลยี และโอเซยี เนยี ปจจยั สาํ คัญท่ที าํ ใหทวีปออสเตรเลียมภี มู อิ ากาศตา งๆ กนั คอื ตัง้ อยูในโซนรอนใต และอบอนุ ใต มลี มประจําพดั ผา น ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศและมกี ระแสน้าํ อนุ และกระแสน้าํ เย็น ไหลผาน
32 หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสงั คม ลักษณะภูมิอากาศของทวีปออสเตรเลียและโอเซียเนียแบงเขตภูมิอากาศเปน 6 ประเภทคือ 1. ภมู ิอากาศทงุ หญา เขตรอน 2. ภมู อิ ากาศทุงหญา กึ่งทะเลทราย 3. ภมู ิอากาศทะเลทราย 4. ภมู ิอากาศเมดเิ ตอรเ รเนยี น 5. ภมู อิ ากาศอบอนุ ช้นื 6. ภมู ิอากาศภาคพ้ืนสมุทรชายฝง ตะวันตก 4. สภาพทางสงั คม เชอ้ื ชาติ เศรษฐกจิ ศาสนาและวัฒนธรรม 1บทที่ ประชากร เช้ือชาติเผาพันธุของออสเตรเลีย ชาวพื้นเมืองดั้งเดิมเปนพวกผิวดําเรียกวา อะบอรจิ นิ สเ ปน พวกทอี่ พยพมาจากหมเู กาะในมหาสมทุ รแปซฟิ ก สว นใหญอ ยทู างภาคเหนอื ภมู ศิ าสตรก ายภาพ และภาคตะวันตกปจจุบันมี ชาวผิวขาว ซ่ึงสวนใหญเปนชาวอังกฤษอาศัยอยูจํานวนมาก รฐั บาลไดจ ดั ทอี่ ยใู นเขตนอรท เทริ น เทรทิ อร่ี รฐั ควนี สแลนด และรฐั ออสเตรเลยี ตะวนั ตก พวก ผิวเหลอื งเปน พวกท่ีอพยพมาภายหลงั สงครามโลกคร้งั ท่ี 2 ไดแ ก ชาวจนี ญปี่ นุ พวกผวิ ขาว สวนใหญเปนพวกท่ีอพยพมาจากประเทศอังกฤษ มีการประกอบอาชีพทางดาน การเกษตรคือปลูกพืชและเล้ียงสตั ว การประมง และอุตสาหกรรม การกระจายประชากร รฐั บาลออสเตรเลยี มนี โยบายสงวนพนื้ ทไ่ี วส าํ หรบั ชาวผวิ ขาว คอื นโยบายออสเตรเลยี ขาวกีดกันผิวโดยจํากัดจํานวนคนสีผิวอ่ืนท่ีไมใชผิวขาวเขาไปต้ังถิ่นฐานในออสเตรเลีย บริเวณที่ประชากรอาศัยอยูหนาแนน ไดแก ภาคตะวันออกเฉียงใต บริเวณที่มีประชากร เบาบาง ไดแ ก ตอนกลางของทวีป ภาคเหนือ และภาคตะวันตก ศาสนา ชาวออสเตรเลยี นบั ถอื ศาสนาครสิ ตห ลายนกิ าย ไดแ ก แองกลกิ นั โรมนั คาทอลกิ โปรแตสแตนส ภาษาทใี่ ชมากคือภาษาอังกฤษ การปกครอง การแบง แยกทางการเมอื ง ออสเตรเลยี มรี ะบบการปกครองแบบสหพนั ธรฐั ประกอบ ดว ยรัฐตางๆ รวม 6 รัฐและดินแดนอสิ ระทีไ่ มข ึ้นกบั รัฐใดๆ อีก 2 แหง คอื 1. รฐั นวิ เซาทเ วล เมอื งหลวง ซิดนยี 2. รฐั วิกตอเรีย เมอื งหลวง เมลเบริ น 3. รฐั ควนี สแลนด เมอื งหลวง บรสิ เบรน 4. รฐั ออสเตรเลียใต เมืองหลวง แอเดเลด 5. รฐั ออสเตรเลียตะวนั ตก เมืองหลวงเพิรธ 6. รฐั แทนสเมเนยี เมืองหลวง โอบารต
รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 33 ดินแดนอสิ ระ 2 บรเิ วณ ไดแก นอรท เทริ น แทริทอรี เมืองหลวง ดารว นิ ออสเตรเลีย แคปตอลเทริทอรี เมืองหลวงแคนเบอรรา ออสเตรเลียเปนประเทศ เอกราชในเครือจักรภพอังกฤษ มีพระนางเจาอลิซาเบธที่ 2 เปนพระราชินีและเปนประมุข ของประเทศ มขี าหลวงใหญเ ปน ผูสาํ เรจ็ ราชการแทนพระองค จัดการปกครองระบอบประชาธิปไตยในรูปแบบ สหพันธรัฐการปกครองของ ออสเตรเลยี เปน แบบรัฐบาลรวม คอื มีรฐั บาล 2 ระดบั ไดแ ก รัฐบาลกลาง รฐั บาลของรฐั กิจกรรมที่ 1.1 สภาพภมู ิศาสตรก ายภาพ 1บทท่ี 1. ใหบ อกลกั ษณะภมู ปิ ระเทศและลกั ษณะเศรษฐกจิ ของประเทศไทยและทวปี ยโุ รป ูภ ิมศาสต รกายภาพ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ลกั ษณะเศรษฐกจิ ประเทศไทย ทวปี ยโุ รป
ภมู ศิ าสตรก ายภาพ34 หนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสงั คม กจิ กรรมท่ี 1.1 สภาพภมู ศิ าสตรก ายภาพ 2. ปจ จยั ทีม่ อี ทิ ธพิ ลตอภูมิอากาศของทวปี อเมรกิ าใต คือ ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 1บทที่ ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 3. ปจ จยั สําคญั ทที่ ําใหทวปี ออสเตรเลยี มีสภาพภูมิอากาศที่แตกตา งกนั ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .........................................................................................................................
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 35 เร่ืองท่ี 2 ลกั ษณะปรากฏการณทางธรรมชาติท่สี าํ คญั และ 1บทท่ี การปอ งกันอันตราย ูภ ิมศาสต รกายภาพ ปรากฏการณธรรมชาติ คือ การเปล่ียนแปลงของธรรมชาติ ท้ังในระยะยาวและ ระยะสนั้ สภาพแวดลอ มของโลกเปลย่ี นแปลงไปตามเวลา ทง้ั เปน ระบบและไมเ ปน ระบบ เปน สง่ิ ทอี่ ยูรอบตัวเรา มกั สงผลกระทบตอ เรา ในธรรมชาติ การเปลย่ี นแปลงบางอยา งมผี ลกระ ทบตอ เรารนุ แรงมาก สาเหตขุ องการเปลยี่ นแปลงมที ง้ั เกดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาตแิ ละเปน สงิ่ ที่ มนุษยทําใหเกิดขึ้น ในเรื่องน้ีจะกลาวถึงสาเหตุและลักษณะปรากฏการณทางธรรมชาติที่ สาํ คญั ดังนี้ 1) พายุ พายุ คือ สภาพบรรยากาศที่เคล่ือนตัวดวยความเร็วมีผลกระทบตอพื้นผิวโลก โดยบางครั้งอาจมีความเร็วที่ศูนยกลางถึง 400 กิโลเมตร/ชั่วโมง อาณาบริเวณท่ีจะไดรับ ความเสียหายจากพายุวาครอบคลุมเทาใดข้ึนอยูกับความเร็วของการเคล่ือนตัวของพายุ ขนาด ความกวา ง เสนผา ศูนยกลางของตัวพายุ หนวยวดั ความเรว็ ของพายคุ อื หนวยริก เตอรเ หมือนการวดั ความรนุ แรงแผนดนิ ไหว พายแุ บงเปนประเภทใหญๆ ได 3 ประเภท คือ 2.1 พายฝุ นฟา คะนอง มลี ักษณะเปนลมพดั ยอนไปมา หรือพัดเคล่อื นตวั ไปใน ทศิ ทางเดยี วกนั อาจเกดิ จากพายทุ อ่ี อ นตวั และลดความรนุ แรงของลมลง หรอื เกดิ จากหยอ ม ความกดอากาศต่ํา รองความกดอากาศต่ํา อาจไมมีทิศทางที่แนนอน หากสภาพการณ แวดลอ มตางๆ ของการเกดิ ฝนเหมาะสม ก็จะเกดิ ฝนตก มีลมพดั 2.2 พายหุ มนุ เขตรอ น (Tropical cyclone) ไดแ ก เฮอรร เิ คน ไตฝ นุ และไซโคลน ซ่ึงลว นเปนพายหุ มนุ ขนาดใหญเ ชน เดียวกนั และจะเกิดข้นึ หรือเรม่ิ ตนกอ ตวั ในทะเล หาก เกิดเหนือเสนศูนยสูตร จะมีทิศทางการหมุนเวียนทวนเข็มนาิกา และหากเกิดใต เสนศนู ยส ูตรจะหมนุ ตามเข็มนากิ า โดยมีชอ่ื ตา งกันตามสถานที่เกดิ คือ 2.1.1 พายเุ ฮอรรแิ คน (hurricane) เปนชือ่ เรยี กพายหุ มุนทเ่ี กดิ บรเิ วณทศิ ตะวนั ตกของมหาสมทุ รแอตแลนตกิ เชน บริเวณฟลอรดิ า สหรฐั อเมริกา อาวเม็กซิโก ทะเล แคริบเบยี น เปน ตน รวมทัง้ มหาสมทุ รแปซฟิ ก บรเิ วณชายฝง ประเทศเมก็ ซิโก 2.1.2 พายุไตฝุน (typhoon) เปนช่ือพายุหมุนที่เกิดทางทิศตะวันตกของ มหาสมุทรแปซิฟก เหนอื เชน บริเวณทะเลจีนใต อา วไทย อาวตังเกยี๋ ประเทศญป่ี นุ แตถา เกิดในหมเู กาะฟลปิ ปน ส เรียกวา บาเกียว (Baguio) 2.1.3 พายุไซโคลน (cyclone) เปนชื่อพายุหมุนที่เกิดในมหาสมุทรอินเดีย เหนือ เชน บรเิ วณอาวเบงกอล ทะเลอาหรบั เปน ตน แตถาพายนุ ้ีเกดิ บริเวณทะเลตมิ อรและ ทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ของประเทศออสเตรเลยี จะเรียกวา พายวุ ิลลี-วลิ ลี (willy-willy)
ภมู ศิ าสตรก ายภาพ36 หนงั สือเรยี นสาระการพัฒนาสงั คม 2.1.4 พายุโซนรอ น (tropical storm) เกดิ ข้นึ เมอื่ พายเุ ขตรอ นขนาดใหญ ออ นกาํ ลงั ลง ขณะเคลอ่ื นตวั ในทะเล และความเรว็ ทจี่ ดุ ศนู ยก ลางลดลงเมอ่ื เคลอ่ื นเขา หาฝง 2.1.5 พายดุ เี ปรสชนั (depression) เกดิ ขน้ึ เมอ่ื ความเรว็ ลดลงจากพายโุ ซน รอ น ซึ่งกอใหเกิดพายุฝนฟา คะนองธรรมดาหรอื ฝนตกหนกั 2.1.6 พายทุ อรน าโด (tornado) เปน ชอื่ เรยี กพายหุ มนุ ทเี่ กดิ ในทวปี อเมรกิ า มีขนาดเน้ือท่ีเล็กหรือเสนผาศูนยกลางนอย แตหมุนดวยความเร็วสูง หรือความเร็วท่ี จุดศูนยกลางสูงมากกวาพายุหมุนอื่นๆ กอความเสียหายไดรุนแรงในบริเวณที่พัดผาน เกิดไดท้ังบนบก และในทะเล หากเกิดในทะเล จะเรียกวา นาคเลนนํ้า (water spout) บางคร้ังอาจเกิดจากกลุมเมฆบนทอ งฟา แตห มุนตวั ยื่นลงมาจากทองฟาไมถึงพืน้ ดนิ มีรปู รางเหมือนงวงชา ง จึงเรยี กกนั วา ลมงวง 1บทที่ อนั ตรายของพายุ 1. ความรนุ แรงและอนั ตรายอนั เกดิ จากพายไุ ตฝุน เมอื่ พายทุ ม่ี กี าํ ลงั ขนาดไตฝ นุ พดั ผา นทใี่ ดยอ มทาํ ใหเ กดิ ความเสยี หายรา ยแรงทวั่ ไป เชน บนบกตนไมจะลม ถอนราก ถอนโคน บานเรือนพังทับผูคนในบานและที่ใกลเคียง บาดเจ็บหรอื ตาย สวน ไรนาเสยี หายหนักมาก เสาไฟฟา ลม สายไฟฟาขาด ไฟฟา ช็อต เกิด เพลิงไหมแ ละผูคนอาจเสียชวี ติ จากไฟฟา ดูดได ผูคนท่มี ีอาคารพกั อาศัยอยูริมทะเลอาจถูก นาํ้ พดั พาลงทะเลจมนา้ํ ตายได ดงั เชน ปรากฎการณท แ่ี หลมตะลมุ พกุ จงั หวดั นครศรธี รรมราช ในทะเลลมแรงจดั มากคลื่นใหญ เรือขนาดใหญ ขนาดหมน่ื ตนั อาจจะถกู พัดพาไป เกยฝง ลม จมได บรรดาเรอื เลก็ จะเกดิ อนั ตรายเรอื ลม ไมส ามารถจะตา นความรนุ แรงของพายุ ได คล่ืนใหญซัดขึ้นริมฝงจะทําใหระดับนํ้าขึ้นสูงมากจนทวมอาคารบานชองริมทะเลได บรรดาโปะ จบั ปลาในทะเลจะถกู ทาํ ลายลงโดยคลืน่ และลม 2. ความรุนแรงและอนั ตรายจากพายุโซนรอน พายโุ ซนรอ นมคี วามรนุ แรงนอ ยกวา พายไุ ตฝ นุ ฉะนนั้ อนั ตรายจะเกดิ จากการทพ่ี ายุ
รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 37 ูภ ิมศาสต รกายภาพ นพี้ ดั มาปะทะลดลงในระดบั รองลงมาจากพายไุ ตฝ นุ แตค วามรนุ แรงทจ่ี ะทาํ ใหค วามเสยี หาย ก็ยังมมี ากเหมือนกัน ในทะเลลมจะแรงมากจนสามารถทาํ ใหเ รือขนาดใหญๆ จมได ตนไม ถอนรากถอนโคน ดังพายโุ ซนรอนทีป่ ะทะฝง แหลมตะลุมพกุ จังหวัดนครศรธี รรมราช ถา การเตรยี มการรบั สถานการณไ มเ พยี งพอ ไมม กี ารประชาสมั พนั ธใ หป ระชาชนได ทราบเพ่ือหลีกเล่ียงภัยอันตรายอยางท่ัวถึง ไมมีวิธีการดําเนินการท่ีเขมแข็งในการอพยพ การชวยเหลอื ผปู ระสบภัยตา งๆ ในระหวา งเกดิ พายุ การสญู เสียก็ยอมมีการเสยี ท้งั ชีวติ และ ทรพั ยส มบัติของประชาชน 1บทท่ี 3. ความรุนแรงและอันตรายจากพายดุ ีเปรสชนั่ พายดุ เี ปรสชน่ั เปน พายทุ ม่ี กี าํ ลงั ออ น ไมม อี นั ตรายรนุ แรงแตท าํ ใหม ฝี นตกปานกลาง ทว่ั ไป ตลอดทางทพ่ี ายดุ เี ปรสชนั่ พดั ผา น และมฝี นตกหนกั เปน แหง ๆ พรอ มดว ยลมกรรโชก แรงเปนครั้งคราว ซ่ึงบางคราวจะรุนแรงจนทําใหเกิดความเสียหายได ในทะเลคอนขางแรง และคลืน่ จดั บรรดาเรอื ประมงเล็กขนาดตํ่ากวา 50 ตนั ควรงดเวน ออกทะเลเพราะอาจจะ ลมลงได และพายุดีเปรสชั่นนี้เม่ืออยูในทะเลไดรับไอนํ้าหลอเลี้ยงตลอดเวลา และไมมี ส่ิงกีดขวางทางลมอาจจะทวีกําลังขึ้นได โดยฉับพลัน ฉะน้ัน เม่ือไดรับทราบขาววามีพายุ ดีเปรสชั่นข้ึนในทะเลก็อยาวางใจวาจะมีกําลังออนเสมอไปอาจจะมีอันตรายไดเหมือนกัน สาํ หรบั พายุพดั จดั จะลดนอ ยลงเปน ลาํ ดับ มีแตฝ นตกทั่วไปเปนระยะนานๆ และตกไดมาก ถึง 100 มิลลเิ มตร ภายใน 12 ช่ัวโมง ซง่ึ ตอไปก็จะทาํ ใหเ กิดนาํ้ ปา ไหลบา จากภเู ขาและปา ใกลเ คยี งลงมาทว มบานเรือนไดในระยะเวลาสนั้ ๆ หลังจากพายไุ ดผานไปแลว 4. ความรนุ แรงและอนั ตรายจากพายฤุ ดรู อน พายฤุ ดรู อ นเปน พายทุ เี่ กดิ ขน้ึ โดยเหตแุ ละวธิ กี ารตา งกบั พายดุ เี ปรสชน่ั และเกดิ บน ผืนแผนดินท่ีรอนอบอาวในฤดูรอนแตเปนพายุท่ีมีบริเวณยอมๆ มีอาณาเขตเพียง 20-30 ตารางกิโลเมตร แตอาจมลี มแรงมากถงึ 47 น็อต หรอื 87 กโิ ลเมตรตอ ชัว่ โมง พายุนีม้ กี ําลัง แรงที่จะทําใหเกิดความเสียหายไดมาก แตเปนชวงระยะเวลาสั้นๆ ประมาณ 2-3 ช่ัวโมง
ภมู ศิ าสตรก ายภาพ38 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม อนั ตรายทเี่ กดิ ขน้ึ คอื ตน ไมห กั ลม ทบั บา นเรอื นผคู น ฝนตกหนกั และอาจมลี กู เหบ็ ตกได ใน กรณีทีพ่ ายมุ ีกําลังแรง การเตรยี มการปองกนั อนั ตรายจากพายุ 1. ติดตามสภาวะอากาศ ฟง คาํ เตอื นจากกรมอตุ ุนิยมวิทยาสมาํ่ เสมอ 2. สอบถาม แจง สภาวะอากาศรอนแกก รมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา 3. ปลกู สรา ง ซอ มแซม อาคารใหแ ข็งแรง เตรียมปอ งกันภัยใหส ัตวเ ลย้ี งและพืชผล การเกษตร 4. ฝก ซอ มการปองกนั ภัยพบิ ตั ิ เตรยี มพรอ มรับมือ และวางแผนอพยพหากจาํ เปน 5. เตรยี มเครอ่ื งอปุ โภค บรโิ ภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วทิ ยกุ ระเปา หว้ิ เพอื่ ตดิ ตามขา วสาร 6. เตรียมพรอมอพยพเมอ่ื ไดรับแจง ใหอพยพ 1บทที่ 2) นํา้ ทว ม สาเหตสุ าํ คญั ขนึ้ อยกู บั สภาพทอ งท่ี และความวปิ รติ ผนั แปรของธรรมชาตแิ ตใ นบาง ทอ งท่ี การกระทาํ ของมนุษยก ็มีสว นสําคญั และ เกดิ จากมนี ้ําเปนสาเหตุ อาจจะเปน นํา้ ทว ม นา้ํ ปา หรอื อนื่ ๆ โดยปกติ อทุ กภยั เกดิ จากฝนตกหนกั ตอ เนอื่ งกนั เปน เวลานาน บางครงั้ ทาํ ให เกดิ แผน ดนิ ถลม อาจมสี าเหตจุ ากพายหุ มนุ เขตรอ น ลมมรสมุ มกี าํ ลงั แรง รอ งความกดอากาศ ตา่ํ มกี ําลังแรงอากาศแปรปรวน น้ําทะเลหนนุ แผน ดินไหว เข่ือนพงั ซ่งึ ทําใหเกดิ อุทกภัยได สาเหตกุ ารเกดิ อุทกภยั แบงไดเปน 2 ชนดิ ดงั นี้ 2.1 จากนา้ํ ปา ไหลหลากและนาํ้ ทว มฉบั พลนั เกดิ จากฝนตกหนกั ตดิ ตอ กนั หลาย ชั่วโมง ดินดูดซับไมทัน น้ําฝนไหลลงพ้ืนราบอยางรวดเร็ว ความแรงของนํ้าทําลายตนไม อาคาร ถนน สะพาน ชีวติ ทรัพยสิน 2.2 จากนํา้ ทวมขังและนา้ํ เออ นอง เกิดจากนา้ํ ในแมน า้ํ ลําธารลนตล่งิ มีระดับสูง จากปกติ ทว มและแชข งั ทาํ ใหก ารคมนาคมชะงกั เกดิ โรคระบาด ทาํ ลายสาธารณปู โภค และ พชื ผลการเกษตร การปอ งกนั น้าํ ทว มปฏบิ ัตไิ ดด งั นี้ 1. ตดิ ตามสภาวะอากาศ ฟง คาํ เตือนจากกรมอตุ นุ ยิ มวิทยา 2. ฝก ซอมการปอ งกันภัยพบิ ัติ เตรยี มพรอมรับมือ และวางแผนอพยพหากจําเปน 3. เตรียมน้ําด่ืม เคร่ืองอุปโภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอร่ี วิทยุกระเปาหิ้วเพื่อ ตดิ ตามขาวสาร 4. ซอมแซมอาคารใหแขง็ แรง เตรยี มปองกันภัยใหส ัตวเล้ยี งและพืชผลการเกษตร 5. เตรียมพรอมเสมอเม่ือไดรับแจงใหอพยพไปที่สูง เม่ืออยูในพ้ืนที่เสี่ยงภัย และ ฝนตกหนักตอเนือ่ ง 6. ไมลงเลนน้าํ ไมข บั รถผานน้าํ หลากแมอ ยบู นถนน ถา อยูใกลนาํ้ เตรยี มเรือเพื่อ การคมนาคม
รายวิชาสังคมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 39 7. หากอยใู นพน้ื ทน่ี า้ํ ทว มขงั ปอ งกนั โรคระบาด ระวงั เรอื่ งนาํ้ และอาหารตอ งสกุ และ 1บทที่ สะอาดกอ นบริโภค ูภ ิมศาสต รกายภาพ 3) แผน ดนิ ไหว เปนปรากฏการณ การสั่นสะเทือนหรอื เขยา ของพ้นื ผวิ โลก สาเหตุของการเกดิ แผน ดนิ ไหวนนั้ สว นใหญเ กดิ จากธรรมชาติ โดยแผน ดนิ ไหวบางลกั ษณะสามารถเกดิ จากการกระ ทาํ ของมนษุ ยไ ดเ ชน การทดลองระเบดิ ปรมาณู การปรบั สมดลุ เนอื่ งจากนาํ้ หนกั ของนา้ํ ทกี่ กั เก็บในเขือ่ นและแรงระเบดิ การทําเหมอื งแรเ ปนตน การปฏบิ ัตปิ อ งกันตัวเองจากการเกดิ แผน ดินไหว กอ นเกดิ แผนดนิ ไหว 1. ควรมไี ฟฉายพรอ มถา นไฟฉาย และกระเปา ยาเตรยี มไวใ นบา น และใหท กุ คนทราบ วาอยทู ่ีไหน 2. ศกึ ษาการปฐมพยาบาลเบอื้ งตน 3. ควรมีเครื่องมือดับเพลิงไวในบา น เชน เครอ่ื งดับเพลงิ ถุงทราย เปนตน 4. ควรทราบตาํ แหนง ของวาลว ปด นาํ้ วาลว ปด กา ซ สะพานไฟฟา สาํ หรบั ตดั กระแส ไฟฟา 5. อยาวางสิ่งของหนักบนชั้น หรือห้ิงสูงๆ เมื่อแผนดินไหวอาจตกลงมากเปน อนั ตรายได 6. ผกู เครอ่ื งใชห นกั ๆ ใหแนน กับพ้นื ผนังบาน 7. ควรมกี ารวางแผนเรอื่ งจดุ นดั หมาย ในกรณที ต่ี อ งพลดั พรากจากกนั เพอ่ื มารวม กนั อีกคร้ใั นภายหลัง ระหวางเกิดแผนดินไหว 1. อยา ตื่นตกใจ พยายามควบคุมสติอยูอยา งสงบ 2. ถา อยใู นบา นใหย นื หรอื หมอบอยใู นสว นของบา นทม่ี โี ครงสรา งแขง็ แรงทสี่ ามารถ รบั น้ําหนกั ไดมาก และใหอ ยหู างจากประตู ระเบยี ง และหนาตาง 3. หากอยใู นอาคารสูง ควรตัง้ สติ และรีบออกจากอาคารโดยเรว็ หนีใหห า งจากสิง่ ที่ จะลม ทับได 4. ถาอยูในท่ีโลงแจง ใหอยูหางจากเสาไฟฟา และสิ่งหอยแขวนตางๆ ท่ีปลอดภัย ภายนอกคอื ท่ี โลง แจง 5. อยา ใช เทยี น ไมข ดี ไฟ หรอื ส่ิงทีท่ ําใหเกดิ เปลวหรือประกายไฟ เพราะอาจมีแกส ร่วั อยบู รเิ วณนนั้ 6. ถา กําลังขับรถใหหยดุ รถและอยูภายในรถ จนกระทง่ั การสน่ั สะเทือนจะหยดุ 7. หา มใชลิฟทโดยเด็ดขาดขณะเกดิ แผนดินไหว 8. หากอยชู ายหาดใหอ ยหู า งจากชายฝง เพราะอาจเกดิ คลน่ื ขนาดใหญซ ดั เขา หาฝง
ภมู ศิ าสตรก ายภาพ40 หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม หลงั เกิดแผน ดนิ ไหว 1. ควรตรวจตวั เองและคนขา งเคยี งวา ไดร บั บาดเจบ็ หรอื ไม ใหท าํ การปฐมพยาบาล ข้นั ตนกอ น 2. ควรรบี ออกจากอาคารทเี่ สยี หายทนั ที เพราะหากเกดิ แผน ดนิ ไหวตามมา อาคาร อาจพงั ทลายได 3. ใสรองเทา หุมสนเสมอ เพราะอาจมเี ศษแกว หรือวสั ดแุ หลมคมอืน่ ๆ และสิง่ หกั พังทมิ่ แทงได 4. ตรวจสายไฟ ทอนํา้ ทอแกส ถา แกส รว่ั ใหปด วาลว ถงั แกส ยกสะพานไฟ อยา จุดไมขดี ไฟ หรือกอ ไฟจนกวาจะแนใจวา ไมมีแกส รว่ั 5. ตรวจสอบวา แกส รว่ั ดว ยการดมกลิน่ เทานัน้ ถา ไดก ลิ่นใหเ ปดประตูหนาตา ง 1บทที่ ทกุ บาน 6. ใหออกจากบริเวณทส่ี ายไฟขาด และวสั ดสุ ายไฟพาดถึง 7. เปดวทิ ยุฟง คําแนะนําฉกุ เฉิน อยาใชโทรศัพท นอกจากจาํ เปนจรงิ ๆ 8. สํารวจดคู วามเสยี หายของทอ สวม และทอนํา้ ทิ้งกอนใช 9. อยาเขาไปในเขตท่มี คี วามเสยี หายสงู หรอื อาคารพงั 4) ปรากฏการณเ รอื นกระจก คําวา เรือนกระจก (greenhouse) หมายถึง อาณาบริเวณท่ีปดลอมดวยกระจก หรือวัสดุอื่นซึ่งมีผลในการเก็บกักความรอนไวภายใน ในประเทศเขตหนาวนิยมใชเรือน กระจกในการเพาะปลกู ตน ไมเ พราะพลงั งานแสงอาทติ ยส ามารถผา นเขา ไปภายในไดแ ตค วาม รอ นทอี่ ยภู ายในจะถกู กกั เกบ็ โดยกระจกไมใ หส ะทอ นหรอื แผอ อกสภู ายนอกไดท าํ ใหอ ณุ หภมู ิ ของอากาศภายในอบอุน และเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืชแตกตางจากภายนอกท่ี ยังหนาวเย็น นักวิทยาศาสตรจึงเปรียบเทียบปรากฏการณที่ความรอนภายในโลกถูกกับดัก ความรอ นหรอื กา ซเรือนกระจก (Greenhouse gases) เกบ็ กกั เอาไวไมใหส ะทอนหรอื แผ ออกสูภ ายนอกโลกวาปรากฏการณเ รอื นกระจก โลกของเราตามปกติมีกลไกควบคุมภูมิอากาศโดยธรรมชาติอยูแลว กระจกตาม ธรรมชาติของโลก คือ กาซคารบอนไดออกไซดและไอนํ้าซึ่งจะคอยควบคุมใหอุณหภูมิ ของโลกโดยเฉลี่ยมีคา ประมาณ 15 °C และถา หากในบรรยากาศไมมกี ระจกตามธรรมชาติ อณุ หภมู ขิ องโลกจะลดลงเหลอื เพยี ง -20°C มนษุ ยแ ละพชื กจ็ ะลม ตายและโลกกจ็ ะเขา สยู คุ นาํ้ แขง็ อกี คร้งั หนึง่ สาเหตสุ าํ คญั ของการเกดิ ปรากฎการณเ รอื นกระจกมาจากการเพมิ่ ขนึ้ ของกา ซเรอื น ก(CรHะจ4ก)ไปนรตะเรภัสทอตอากงๆไซไดด แ(กN ค2Oา)รบแอลนะคไดลอออโรกฟไซลูดออ (โCรOค2า)รไบออนนาํ้ (H(C2OF)Csโ)อโใซนนสว(นOข3)อมงกเี ทานซ
รายวชิ าสังคมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 41 คารบอนไดออกไซดจะเกิดการหมุนเวียนและรักษาสมดุลตามธรรมชาติ ปญหาในเร่ือง 1บทที่ ปรากฏการณเ รอื นกระจกจะไมส ง ผลกระทบทรี่ นุ แรงตอมนษุ ยชาติโดยเดด็ ขาด ูภ ิมศาสต รกายภาพ แตป ญ หาทโี่ ลกของสงิ่ มชี วี ติ กาํ ลงั ประสบอยใู นปจ จบุ นั กค็ อื ปรมิ าณกา ซเรอื นกระจก ที่อยูในบรรยากาศเกิดการสูญเสียสมดุลข้ึน ปริมาณความเขมของกาซเรือนกระจกบางตัว เชน คารบ อนไดออกไซด มเี ทน ไนตรสั ออกไซดแ ละคลอโรฟลอู อโรคารบ อนกลบั เพม่ิ ปรมิ าณ มากขึ้น นับต้ังแตเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรม (industrial revolution) หรือประมาณป พ.ศ. 2493 เปน ตนมา กจิ กรรมตา งๆ ทที่ าํ ใหเ กดิ การเพมิ่ ขน้ึ ของกา ซเรอื นกระจกมดี งั นค้ี อื 57% เกดิ จาก การเผาไหมของเช้ือเพลิงฟอสซิล (น้ํามันเชื้อเพลิง ถานหินและกาซธรรมชาติ) 17% เกดิ จากการใชส ารคลอโรฟลอู อโรคารบ อน 15% เกดิ จากการผลติ ในภาคเกษตรกรรม 8% เกิดจากการตดั ไมท ําลายปา สว นอกี 3% เกดิ จากการเปลีย่ นแปลงตามธรรมชาติ นกั วทิ ยาศาสตรท วั่ โลกไดต ดิ ตามการเพม่ิ ขน้ึ ของปรมิ าณกา ซเรอื นกระจก โดยการ ใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอันทันสมัย เชน การใชดาวเทียมสํารวจอากาศและสามารถ สรุปไดวาในแตละปสัดสวนของกาซเรือนกระจกท่ีถูกปลอยออกจากโลก โมเลกุลของ คารบ อนไดออกไซดจ ะมผี ลตอ การตอบสนองในการเกบ็ กกั ความรอ นนอ ยมาก แตเ นอ่ื งจาก ปรมิ าณของคารบ อนไดออกไซดท เี่ กดิ จากกจิ กรรมตา งๆ ของมนษุ ยม มี ากทส่ี ดุ ดงั นน้ั หวั ใจ สําคัญของการแกปญหาจึงตองมุงประเด็นตรงไปที่การลดปริมาณคารบอนไดออกไซด ซึ่งเกิดจากการเผาไหมข องเชื้อเพลิง ฟอสซลิ กอ นเปน อนั ดบั แรก ตอ จากนนั้ จึงคอยลดและ เลกิ การใชค ลอโรฟลอู อโรคารบ อนรวมถงึ การควบคมุ ปรมิ าณของมเี ทนและไนตรสั ออกไซด ท่ีจะปลอยขึน้ สูบรรยากาศ ผลกระทบตอมนุษยชาติจากการเกดิ ปรากฎการณเรอื นกระจก จากการคาดการณข องนกั วิทยาศาสตร อุณหภมู โิ ดยเฉล่ยี ของโลกสงู ขนึ้ ถึงแมก าร เพม่ิ สงู ขนึ้ จะแสดงออกมาเปน ตวั เลขเพยี งเลก็ นอ ย แตอ าจสง ผลกระทบทร่ี นุ แรงตอ โลกของ ส่ิงมีชีวิต เพราะการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกดังที่เกิดข้ึนในปจจุบันทําใหความ แตกตางระหวางอุณหภูมิบริเวณเสนศูนยสูตรกับบริเวณข้ัวโลกลดนอยลงทําใหเกิดความ ผนั ผวนขน้ึ ในอณุ หภมู อิ ากาศของโลก เชน แนวปะทะระหวา งอากาศรอ นกบั อากาศเยน็ ของ ลมเปลยี่ นไปอยา งมากเกดิ สภาวะความกดอากาศตา่ํ มากขน้ึ ทาํ ใหม ลี มมรสมุ พดั แรง เกดิ ลม พายุชนิดตางๆ เชน พายโุ ซนรอน ใตฝ นุ ดเี ปรสชัน่ และทอรนาโดขน้ึ บอยๆ หรืออาจเกดิ ฝนตกหนักผิดพื้นท่ี สมดุลทางธรรมชาติจะเปลี่ยนแปลงไปทําใหเกิดภัยธรรมชาติ เชน ดินถูกนํา้ เซาะพังทลายหรือเกดิ อุทกภัยเฉียบพลนั เปนตน นอกจากน้ีนักวิทยาศาสตรยังมีความเชื่อวาหากอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกสูงมาก จะทําใหนํ้าแข็งบริเวณข้ัวโลกละลาย น้ําในทะเลและมหาสมุทรจะเพ่ิมปริมาณและทวมทน ทําใหเกาะบางแหงจมหายไป เมืองที่อยูใกลชายทะเลหรือมีระดับพื้นที่ต่ําเชน กรุงเทพฯ จะเกดิ ปญ หานา้ํ ทว มขน้ึ และถา นา้ํ แขง็ บรเิ วณขว้ั โลกละลายอยา งตอ เนอื่ ง กจ็ ะสง ผลใหร ะดบั
ภมู ศิ าสตรก ายภาพ42 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสงั คม นํ้าทะเลทั่วโลกเพ่ิมสูงข้ึนอีกสามเมตรหรือมากกวาน้ัน ซ่ึงหมายถึงอุทกภัยครั้งใหญจะเกิด ขนึ้ ในโลกอยางแนน อน จากเอกสารของโครงการสิ่งแวดลอ มขององคการสหประชาชาตไิ ด ประมาณการณวาอุณหภมู เิ ฉลีย่ ของโลกอาจสูงขน้ึ 2 ถงึ 4°C และระดับนํา้ ทะเลอาจสงู ขน้ึ 20-50 เซนตเิ มตร ในระยะเวลาอกี 10 – 50 ปนับจากปจ จบุ นั มาตรการปอ งกนั ผลกระทบจากการเกดิ ปรากฎการณเรอื นกระจก หลกั จากทเี่ ราไดท ราบมลู เหตแุ หง การเกดิ ปรากฎการณเ รอื นกระจกแลว ขอ สรปุ ทด่ี ี ท่สี ดุ ในการแกไ ขปญหา คือ การลดปรมิ าณกา ซเรอื นกระจกทจ่ี ะถูกปลอ ยออกสูบรรยากาศ ใหอยูในสัดสวน และปริมาณท่ีนอยที่สุดเทาท่ีจะกระทําได การรักษาระดับความหนาแนน ของกาซเรือนกระจกในบรรยากาศท่ีทั่วโลกกํากลังปฏิบัติมีหลายวิธี ยกตัวอยางเชน มาตรการของ IPCC (Intergovermental Panel on Climate Change) ซ่งึ ประมาณ 1บทท่ี การณเ อาไวว า การรกั ษาระดบั ความหนาแนน ของกา ซเรอื นกระจกในบรรยากาศใหอ ยใู นระดบั เดยี วกบั ปจ จบุ นั จะตอ งลดการปลดปลอ ยกา ซเรอื นกระจกจากการกระทาํ ของมนษุ ยใ หต า่ํ ลง จากเดมิ 6% และไดเสนอมาตรการตางๆ ดงั น้ี 1. สงเสริมการสงวนและการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดดังจะยกตัวอยาง ในบานเมืองของเราก็เชน การใชเ ครื่องไฟฟาท่มี ีสลากประหยัดไฟ หรือการเลอื กใชห ลอด ฟลูออเรสเซนต ชนดิ หลอดผอมเปน ตน 2. หามาตรการในการลดปรมิ าณคารบอนไดออกไซด เชน กาํ หนดนโยบายผทู ําให เกดิ มลพษิ ตอ งเปน ผรู บั ผดิ ชอบคา ใชจ า ยในการบาํ บดั ในบางประเทศมกี ารกาํ หนดใหม กี าร เก็บภาษีผูท่ีทําใหเกิดกาซคารบอนไดออกไซดใหมากข้ึน ท้ังน้ีจะสงผลตอการประหยัด พลังงานของประเทศทางออ มดว ย 3. เลิกการผลติ และการใชคลอโรฟลอู อโรคารบอน (CFCs) รวมท้งั คน หาสารอนื่ มา ทดแทนคลอโรฟลอู อโรคารบ อน ในบางประเทศกาํ หนดใหใ ชไ ฮโดรฟลอู อโรคารบ อน(HFCs) แทน สาํ หรับประเทศไทยของเรามกี ารสงเสรมิ การสรางคานิยมในการใชส เปรย และอุปกรณ ท่อี ยใู นประเภทท่ปี ราศจากคลอโรฟลอู อโรคารบ อน (Non-CFCs) เปนตน 4. หนั มาใชเ ชอื้ เพลงิ ทก่ี อ ใหเ กดิ คารบ อนไดออกไซดใ นปรมิ าณทนี่ อ ยกวา เมอ่ื เทยี บ กบั คา พลังงานที่ได เชน การกอสรางโครงการรถไฟฟาของกรงุ เทพมหานครจะชวยลดการ ใชน ้าํ มันเช้ือเพลิงจากการขนสง มวลชนในแตล ะวนั ไดอ ยางดแี ละประสิทธภิ าพท่ีสุด 5. สนบั สนุนการวจิ ัยเก่ยี วกบั แหลง พลงั งานทดแทนอน่ื ๆ เชน พลงั งานแสงอาทิตย และพลงั งานนวิ เคลยี รใ หเ กดิ เปน รปู ธรรมและไดร บั ความเชอ่ื มน่ั จากประชาชนวา จะไมก อ ให เกิดมหนั ตภยั มวลมนุษยชาติดังท่เี กดิ ขึ้นในเชอรโ นบิวล 6. หยดุ ยงั้ การทาํ ลายปา ไมแ ละสนบั สนนุ การปลกู ปา ทดแทน สาํ หรบั ในประเทศไทย การรณรงคในเรอ่ื งการปลกู ปาเฉลิมพระเกียรตินบั เปน โครงการทนี่ าสนับสนนุ อยางมาก
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266