Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยม.3เทอม1-64(ของจริง2)-บทเรียนออนไลน์2

วิจัยม.3เทอม1-64(ของจริง2)-บทเรียนออนไลน์2

Published by hmeai.hmeai, 2022-02-24 05:46:39

Description: วิจัยม.3เทอม1-64(ของจริง2)-บทเรียนออนไลน์2

Search

Read the Text Version

งานวิจัยในชน้ั เรียน เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน รายวิชา วทิ ยาการคานวณ3 รหัสวิชา ว23103 ด้วยบทเรียนออนไลน์ เร่ือง การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน ของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ผู้วิจัย นางสาวสุมาลี อุปชยั กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรยี นโคกสงู ประชาสรรพ์ ตาบลนา้ พอง อาเภอน้าพอง จงั หวดั ขอนแก่น สานกั การศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ขอนแกน่

2 บทคัดยอ่ ชอ่ื งานวจิ ยั การพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น รายวิชา วทิ ยาการคาํ นวณ3 รหัสวชิ า ว23103 ด้วย บทเรยี นออนไลน์ เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งรู้เท่าทนั ของนักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ชื่อผวู้ จิ ัย นางสาวสุมาลี อปุ ชัย กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทคดั ย่อ การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพ่ือแก้ปัญหานักเรียนขาดความสนใจและใส่ใจต่อการเรียน เข้าห้องเรียนช้าและไม่ต้ังใจเรียน ทําให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาตํ่า และไม่ผ่านเกณฑ์ คือ นักเรียนควรจะได้เกรดเฉล่ียต้ังแต่ 3.00 ขึ้นไป ทําให้ต้องมีการสอนและสอบซ่อม ทําให้เสียเวลา และไม่สามารถแก้ไขพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนได้ ซึ่งผู้วิจัยเห็นว่าพฤติกรรมการเรียนดังกล่าวจะ ส่งผลกระทบต่อการศึกษาต่อและการปฏิบัติงานของนักเรียนต่อไป ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ศึกษาวิธีการ แกป้ ญั หานแ้ี ละพบวา่ การประเมนิ ผลยอ่ ยจะชว่ ยกระตุ้นให้นักเรยี นเกดิ การต่นื ตวั ในการเรยี นรู้ไดม้ ากขึน้ ผล การเปรียบเทียบผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้ว ย บทเรียนด้ว ยบทเรียน ออนไลน์ เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน มีคะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลัง เรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 และนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เร่ือง การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน มีคะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 จาํ นวน 15 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 88.24 ไมผ่ ่านเกณฑ์ 2 คน คิดเป็นร้อยละ 11.76 เนื่องจากการสอนด้วย บทเรียนออนไลน์ เร่ือง การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน ทําให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตัวเองมาก ขนึ้ ทําใหน้ กั เรยี นสามารถเรียนรไู้ ดท้ กุ ที่ ตลอดเวลา ทําให้เกิดความมั่นใจในการเรียนรู้ กล้าเผชิญปัญหา สําหรับครผู สู้ อน ทําใหค้ รูค้นพบวธิ ีการท่เี หมาะสมในการจดั การเรยี นการสอน

3 คานา งานวิจัยการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน รายวิชา วิทยาการคํานวณ3 รหัสวิชา ว23103 ด้วย บทเรียนออนไลน์ เร่ือง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้ จัดทําข้ึน เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชา วิทยาการคํานวณ3 หลังการเรียนด้วย บทเรียนออนไลน์ เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน กับเกณฑ์ท่ีกําหนด ผู้วิจัยได้เลือก นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 จํานวน 17 คนซ่ึงมีนักเรียนจํานวน 1 กลุ่มท่ีขาดความสนใจและเข้าห้องเรียนช้า การสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่างรเู้ ทา่ ทัน ทาํ ใหน้ ักเรียนมีความสนใจและมีความกระตอื รือร้นในการเข้าห้องเรียนให้ทันครู สอนและเพ่ิมความสนใจให้กับนักเรียนเพ่ิมมากข้ึน และส่งผลให้นักเรียนมีทัศนคติที่ดีต่อกลุ่มรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ อีกทั้งส่งผลให้นักเรียนเกิดความเคยชินกับการเข้าห้องเรียนให้ทันเวลาในทุกกลุ่ม รายวิชาต่อไป นางสาวสมุ าลี อุปชัย ผ้วู ิจยั

สารบญั 4 เรอื่ ง หนา้ บทคัดย่อ 2 คํานํา 3 บทท่ี 1 บทนํา 5 5 ที่มาและความสาํ คัญของปญั หา 5 วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 5 สมมติฐานการวิจยั 6 ขอบเขตของการวิจัย 6 นิยามศพั ท์เฉพาะ 6 ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ 7 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ยี วข้อง 18 บทท่ี 3 วิธดี ําเนินการวิจยั 18 กลุม่ เปา้ หมาย 18 การสร้างและการหาคุณภาของเคร่อื งมอื ทใ่ี ชก้ ารวิจัย 18 การสรา้ งและการหาคุณภาพของเครอื่ งมือทีใ่ ชเ้ ก็บขอ้ มูล 19 การออกแบบการทดลอง 19 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 19 สถิติทใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 20 บทท่ี 4 ผลการวจิ ัย 22 บทท่ี 5 สรปุ ผลการวิจัย อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ 24 บรรณานกุ รม 26 ภาคผนวก - แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน - ค่มู อื การใชง้ านบทเรยี นออนไลน์ เร่อื ง วิทยาการคาํ นวณ3

5 บทที่ 1 บทนา ท่มี าและความสาคญั ของปัญหา จากการท่ีผู้วิจัยเป็นครูสอนในวิชา วิทยาการคํานวณ3 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 พบว่า นักเรียนขาดความสนใจและใส่ใจต่อการเรียน เข้าห้องเรียนช้าและไม่ต้ังใจเรียน ทําให้ นักเรียนมี ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนในวิชาตํา่ และไม่ผา่ นเกณฑ์ คือ นกั เรยี นควรจะได้เกรดเฉล่ียต้ังแต่ 3.00 ข้ึนไป ทาํ ให้ตอ้ งมกี ารสอนและสอบซ่อม ทาํ ให้เสียเวลาและไม่สามารถแก้ไขพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนได้ ซ่ึงผู้วิจัยเห็นว่าพฤติกรรมการเรียนดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่อการศึกษาต่อและการปฏิบัติงานของ นักเรียนตอ่ ไป ดงั นัน้ ผู้วิจัยจงึ ไดศ้ ึกษาวธิ ีการแก้ปญั หานแ้ี ละพบว่า การประเมนิ ผลยอ่ ยจะช่วยกระตุ้นให้ นักเรียนเกิดการตื่นตัวในการเรียนรู้ได้มากขึ้น ดังที่บลูม (Bloom and others. 1971 : 66) ได้กล่าวถึง ประโยชน์ของการทดสอบย่อยวา่ ก่อให้เกดิ ประโยชนห์ ลายอย่างดังน้ี ทําให้นักเรียนต้องเตรียมตัวอยู่เสมอ ทําให้เรียนรู้ได้ง่ายข้ึน และสอดคล้องกับท่ี สุรชัย ขวัญเมือง (2522 : 217) กล่าวถึงประโยชน์ของการ ทดสอบย่อย เป็นเคร่ืองมือในการสังเกตดูว่า นักเรียนมีการพัฒนาการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด ใช้ ตรวจสอบลําดับขั้น ปรบั ปรุงการเรียนการสอนไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาวิจัยเก่ียวกับการพัฒนา ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น รายวิชา วิทยาการคํานวณ3 รหัสวิชา ว23103 ด้วยบทเรียนออนไลน์ เร่ือง การ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนโคกสูงประชาสรรพ์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 เนื่องจากผู้วิจัยเห็นว่า การสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ เร่ือง การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรเู้ ทา่ ทนั จะทําให้นักเรียนเกิดความสนใจ มีความต้ังใจและความรับผิดชอบใน การเรียนมากข้ึน ซ่ึงการเปล่ียนแปลงดังกล่าวจะส่งผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนและเป็น การปรับพฤตกิ รรมการเรียนท่ีเหมาะสมของนกั เรยี นต่อไป วตั ถุประสงค์ของงานวจิ ยั เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา วิทยาการคํานวณ3 รหัส ว23103 หลังการ เรียนดว้ ยบทเรียนออนไลน์ เร่อื ง การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรเู้ ทา่ ทนั กับเกณฑ์ทกี่ าํ หนด สมมตฐิ านการวิจยั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นรายวิชา วิทยาการคาํ นวณ3 รหสั ว23103 หลังการเรียนดว้ ยบทเรยี น ออนไลน์ เรอ่ื ง การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งรูเ้ ท่าทัน สูงกวา่ เกณฑ์ที่กําหนด

6 ขอบเขตของการวิจยั กลุม่ เปา้ หมาย ในการวิจยั ครงั้ นี้ กลมุ่ เปา้ หมาย ท่ใี ชใ้ นการวจิ ัยครัง้ นี้ คอื นกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จํานวน 17 คน ตวั แปร ตัวจัดกระทํา คอื วธิ กี ารสอนด้วยบทเรยี นออนไลน์ เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างร้เู ทา่ ทัน ตวั แปรตาม คอื ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา วทิ ยาการคํานวณ3 รหัส ว23103 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ บทเรยี นออนไลน์ หมายถงึ บทเรียนที่จัดทําข้ึนเป็นสื่อการสอน ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ประกอบไปด้วยโครงสร้างหลักสูตร คําอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ การวางแผนการจัดการ เรียนรู้ เนื้อหา แบบทดสอบ แบบฝึกทักษะเพ่ือให้นักเรียนและผู้ที่สนใจศึกษา สามารถศึกษาค้นคว้า ความรู้ ได้ด้วยตนเอง โดยออกแบบไว้ ใหโ้ ต้ตอบกับผเู้ รยี นได้ การประเมินผลย่อย หมายถึง การประเมินผลระหว่างการเรียนการสอนตามจุดประสงค์ที่ กําหนดไว้ระหว่างการเรียนการสอนในแต่ละบท เพื่อวินิจฉัยข้อบกพร่องของผู้เรียน และนํามาปรับปรุง การเรยี นการสอนใหอ้ ยู่ในเกณฑท์ ่ีกาํ หนด ซึ่งในการวจิ ัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยประเมินผลย่อยโดยใช้แบบทดสอบ อตั นัย และปรนัยแบบเลอื กตอบ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง คะแนนทไ่ี ดจ้ ากการตอบคาํ ถามในแบบทดสอบปรนัยแบบ เลอื กตอบ จํานวน 20 ขอ้ 20 คะแนน ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รับ ผลการวจิ ัยจะเป็นประโยชนต์ ่อครผู ูส้ อนในรายวชิ าอ่ืนๆ หรือระดับชั้นอื่นนําการเรียนด้วย บทเรียนออนไลน์ ไปใช้ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรยี นต่อไป

7 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยทเี่ กย่ี วข้อง การวิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน รายวิชา วิทยาการคํานวณ3 รหัสวิชา ว23103 ด้วย บทเรียนออนไลน์ เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในครั้งนี้ผู้วิจัยได้นําแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เก่ียวข้องมาศึกษา เพื่อให้สามารถทํางานได้ตรงตาม วัตถุประสงค์และขอบเขตของงานที่กําหนดไว้ โดยมีรายละเอียดของเอกสารและผลงานวิจัยที่เก่ียวข้อง ดังน้ี 2.1 การเรยี นการสอนแบบออนไลน์ 2.2 ระบบการจัดการดา้ นการเรยี นรู้ (Learning Management System: LMS) 2.3 ความหมายของบทเรยี นออนไลน์ 2.4 แนวคิด ทฤษฏีท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การวิจยั 2.5 งานวิจัยทีเ่ ก่ียวขอ้ ง 2.6 ทฤษฎีและหลักการเก่ยี วกบั การวดั และประเมนิ ผลการศึกษา 2.1 การเรียนการสอนแบบออนไลน์ การเรียนการสอนแบบออนไลน์ คือ นวัตกรรมทางการศึกษาท่ี เปล่ียนแปลงวิธีเรียนที่เป็นอยู่ เดิมเป็นการเรียนที่ใช้เทคโนโลยีท่ีก้าวหน้า เช่น อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ต ดาวเทียม ดังน้ันจึงหมายรวมถึงการเรียนทางไกล การเรียนผ่านเว็บ ห้องเรียนเสมือนจริง ซึ่ ง มี จุ ด เ ชื่ อ ม โ ย ง คื อ เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร สื่ อ ส า ร เ ป็ น ส่ื อ ก ล า ง ข อ ง ก า ร เ รี ย น รู้ \" ( เ ว็ บ ไ ซ ต์ http://www.capella.edu/eLearning) การเรียนการสอนแบบออนไลนเ์ ป็นรปู แบบของเน้ือหาสาระที่สร้างเป็นบทเรียนสําเร็จรูป ท่ี อาจ ใชซ้ ีดรี อมเป็นส่อื กลางในการส่งผ่าน หรือใช้การส่งผ่านเครือข่ายภายในหรืออินเทอร์เน็ต ท้ังนี้ อาจจะอยู่ ในรูปแบบคอมพิวเตอร์ช่วยการฝึกอบรม (Computer Based Training : CBT) และการใช้ เว็บเพ่ือการ ฝึกอบรม (Web Based Training : WBT) หรือการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมก็ ได้ Krutus (2000) การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ e-learning เป็นการศึกษาเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet) ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตามความสามารถและความ สนใจ ของตน โดยเนื้อหาของบทเรียน ประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ เสียง วิดีโอ และมัลติมีเดียอ่ืนๆ จะถูก ส่งไปยังผู้เรียนผ่าน Web Browser โดยผู้เรียน ผู้สอน และเพ่ือนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถ ติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระหว่างกันได้เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติ โดย อาศัย เคร่ืองมือการติดต่อสื่อสารท่ีทันสมัย เช่น (e-mail, web-board, chat, Social Network) การเรียนรู้

8 แบบออนไลน์จึงเป็นการเรียนสําหรับทุกคน, เรียนได้ทุกเวลา และทุกสถานท่ี (Learn for all : anyone, anywhere and anytime) วิธจี ัดการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ e – learning เป็นในปัจจุบันใช้กันอยู่ 3 ลักษณะ คอื ใช้เปน็ สือ่ เสริม โดยการสร้างเว็บเพจโครงการสอน เนือ้ หาวชิ าบางสว่ น หรือท้ังหมด แจ้ง แหล่งอ้างอิง แหล่งค้นคว้า ให้นักศึกษาทราบ ตอบคําถามที่นักศึกษาถามเข้ามาบ่อย ๆ (Frequently Ask Question – FAQ) แจ้ง e-mail ให้ผูเ้ รยี นส่งงาน ใชเ้ ป็นทางเลือก โดยผเู้ รยี นสามารถเลอื กเรียน แบบวิธีเข้าชั้นเรียน ปกติ หรือเรียนผ่านระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ดังน้ันเว็บเพจรายวิชาต้องมี ความสมบูรณ์ใกล้เคียงกับ การเรียนการสอนในช้ันเรียน นั่นคือจะต้องมีความละเอียดมากกว่า ใน ระดับท่ีใช้เป็นสื่อเสริมใช้สอน ทดแทนการเรียนการสอนปกติ เป็นระดับสูงสุดที่คาดหวังในการทํา e – learning โดยผู้เรียนสามารถ เรยี น ทาํ แบบฝกึ หัด และทดสอบตนเองไดใ้ นระบบออนไลน์โดยไม่ ต้องเข้าชั้นเรียน อย่างไรก็ตาม ในการ ประเมินผลออนไลน์ ยังต้องอาศัยความซื่อสัตย์ของผู้เรียน จึง ยังคงนํามาใช้ได้ยาก ข้อสอบอาจอยู่ใน กระดาษ หรืออย่ใู นคอมพิวเตอรก์ ไ็ ด้ 2.2 ระบบการจัดการด้านการเรียนรู้ (Learning Management System: LMS) LMS คือ ระบบ จัดการการเรียนการสอนผ่านเครือข่าย มีเครื่องมือและส่วนประกอบท่ีสําคัญ สําหรับผู้สอน ผู้เรียนและ ผู้ดูแลระบบ ได้แก่ ระบบการจัดการรายวิชา ระบบการจัดการสร้างเนื้อหา ระบบบริหารจัดการผู้เรียน ระบบส่วนการจัดการข้อมูลบทเรียน และระบบเครื่องมือช่วยจัดการ สื่อสารและปฏิสัมพันธ์และจัด กระบวนการเรียนรู้ ได้แก่ การสื่อสาร Chat, E-mail, Web-board, การเข้าใช้ การเก็บข้อมูล, และการ รายงานผล เป็นต้น LMS เป็นคําท่ีย่อมาจาก Learning Management System หรือระบบการจัดการ เรียนรู้ เป็นซอฟต์แวร์ที่ทําหน้าท่ีบริหารจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ จะประกอบด้วยเครื่องมืออํานวย ความ สะดวกให้แก่ผู้สอน ผู้เรียน ผู้ดูแลระบบ โดยท่ีผู้สอนนําเน้ือหาและสื่อการสอนข้ึนเว็บไซต์รายวิชา ตามท่ีได้ขอให้ระบบ จัดไว้ให้ได้โดยสะดวก ผู้เรียนเข้าถึงเน้ือหา กิจกรรมต่าง ๆ ได้โดยผ่านเว็บ ผู้สอน และผู้เรียนติดต่อ ส่ือสารได้ผ่านทางเครื่องมือการสื่อสารท่ีระบบจัดไว้ให้ เช่น ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หอ้ งสนทนา กระดานถาม - ตอบ เป็นต้น นอกจากนั้นแล้วยังมีองค์ประกอบท่ีสําคัญ คือ การเก็บ บันทึก ขอ้ มลู กิจกรรมการเรยี นของผู้เรียนไว้บนระบบเพ่อื ผูส้ อนสามารถนาํ ไปวเิ คราะห์ ติดตามและ ประเมินผล การเรียนการสอนในรายวิชาน้ันอย่างมีประสิทธิภาพ Learning Management System: LMS คือ ระบบการจัดการด้านการเรียนรู้ ผ่านระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยมีการจัดการทางด้านคอร์สแวร์ (Courseware) และองค์ประกอบต่างๆ คล้ายคลึงกับการเรียนการสอนจริง ผู้เรียนสามารถเรียนและทํา กจิ กรรมต่างๆ ทไ่ี ด้มกี ารออกแบบไว้ ได้ด้วยตนเอง ผู้สอนสามารถติดตามและตรวจปรับผลการเรียนของ ผ้เู รยี นได้ อกี ท้งั ยังมรี ะบบบรหิ าร จดั การท่คี รอบคลุมการจดั การสือ่ การเรียนการสอนทั้งหมด ระบบ LMS คอื อะไร เป็นซอฟตแ์ วร์ที่ทําหน้าท่ีบริหารจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บจะ ประกอบด้วยเครื่องมืออํานวย

9 ความสะดวกให้แก่ผู้สอน ผู้เรียนผู้ดูแลระบบโดยท่ีผู้สอนนําเน้ือหาและ สื่อการสอนขึ้น เว็บไซต์รายวิชา ตามท่ีได้ขอให้ระบบจัดไว้ให้ได้โดยสะดวก ผู้เรียนเข้าถึงเน้ือหา กิจกรรมต่างๆ ระบบจัดการหลักสูตร (Course Management) ระบบ LMS มปี ระเภท กลุ่ม ซอฟท์แวร์ฟรี (Open Source LMS) ท่ีมีลิขสิทธ์ิ ในการใช้งานแบบ GPL ได้แก่ Moodle (www.moodle.org) (แพร่หลายมากที่สุด) ATutor (www.atutor.ca) ระบบการสร้างบทเรียนระบบการทดสอบและประเมินผล (Test and Evaluation System) ระบบสง่ เสริมการเรยี น และ ระบบจัดการข้อมลู 2.3 ความหมายของบทเรียนออนไลน์ บทเรียนท่ีจัดทําขึ้นเปน็ ส่ือการสอน ผา่ นระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ประกอบไปด้วย โครงสร้าง หลกั สตู ร คาํ อธบิ ายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ การวางแผนการจดั การเรียนรู้ เน้อื หา แบบทดสอบ แบบ ฝึกทักษะเพื่อให้นกั เรยี นและผูท้ ีส่ นใจศึกษา สามารถศึกษาค้นคว้าความรู้ ได้ด้วย ตนเอง โดยออกแบบไว้ ให้โตต้ อบกบั ผ้เู รยี นได้ การเรียนการสอนผา่ นระบบเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ ในรูปแบบดังกล่าวข้างต้นนี้ ได้มี ผู้จัดทํามาแล้วเป็นจํานวนมาก โดยอาจใช้ชื่อเรียกแตกต่างกันไป เช่น เว็บไซต์ช่วยสอน บทเรียนผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรืออื่นๆ ซึ่งล้วนแล้วแต่ตั้งอยู่บนพื้นฐานเดียวกันคือ เป็นสื่อการสอน ประเภท เว็บไซต์ช่วยสอน แสดงผลผ่านระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ ขึ้นอยกู่ บั ผจู้ ัดทําจะพัฒนาไปใน รปู แบบใด จากการศกึ ษาและสบื ค้นเก่ียวกับบทเรียนออนไลน์ ข้าพเจ้าพบว่าการใช้บทเรียนออนไลน์ใน การ จัดการเรียนการสอนมปี ระโยชน์หลายประการเช่น 1. เหมาะกับการเรียนรู้ตามความสนใจของ แต่ละคน 2. มีเอกสารสําหรบั การเรยี นรู้หลากหลาย 3. เป็นการเรยี นร้สู องทาง 4. งา่ ยต่อการสํารวจ ความก้าวหน้า 5. เปน็ การเรยี นรู้ไดท้ ุกสถานที่และทุกเวลา 6. ค่าใช้จ่ายในการเรียนของผู้เรียนตํ่าลง 7. สร้างโอกาสใน การแลกเปล่ียนในการเรียนรู้กับบุคคลอ่ืน 8. ประสิทธิภาพของการเรียนเพ่ิมขึ้น 9. การส่ง (แลกเปล่ียน) เอกสารในการสอนรวดเรว็ แตอ่ ย่างไรก็ตามการจดั การเรยี นการสอนผ่านบทเรียนออนไลน์ก็ยังมีขีดจํากัด เช่น ผู้สอน และผู้เรียนขาดปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน ครูผู้สอนไม่สามารถสอดแทรกเรื่องคุณธรรมและ จริยธรรม ให้กับผู้เรียนได้โดยตรง อีกทั้งการใช้บทเรียนออนไลน์เหมาะสมกับผู้เรียนและสถานศึกษาท่ีมี ความ พรอ้ มด้านเทคโนโลยี 2.4 แนวคิด ทฤษฏที ีเ่ ก่ียวขอ้ งกับการวจิ ยั ในการวิจัยคร้ังนี้ผู้วิจัยได้นําแนวคิด ทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับการวิจัย เพ่ือใช้ประกอบในการวิจัย ดังน้ี 2.4.1 ทฤษฎีพุทธิปัญญา (Cognitive Theory) นักจิตวิยาและนักการศึกษากลุ่มพุทธิปัญญา เช่ือว่าการเรียนบางเรื่องไม่สามารถสังเกตเห็น ได้จากพฤติกรรมท่ีแสดงออก และการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นมี มากกว่าการวัดด้วยพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลง ดังนั้น นักจิตวิทยาและนักการศึกษากลุ่มนี้จึงศึกษาการ

10 เรียนเรียนรู้ท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้ความจํา แรงจูงใจและการคิดตลอดจนการสะท้อนท่ีแสดงให้เห็นถึง กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนซึ่ง นักจิตวิทยากลุ่มนี้พิจารณาว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการท่ีเกิดข้ึน ภายในของผเู้ รียน ตาม ความสามารถในการเรยี นรขู้ องแตล่ ะบคุ คล ปริมาณความสามารถ ความพยายาม ทุ่มเทระหว่าง กระบวนการเรียนรู้ และความซับซ้อนของการประมวลผล ตลอดจนโครงสร้างความรู้เดิม ของผ้เู รยี น ดงั นั้น แนวทางปฏบิ ตั ขิ องการนําแนวคิดของนักจิตวิทยาและนักการศึกษากลุ่มพุทธิปัญญาไป ใช้ได้คือ การใช้กลวิธีทีให้ผู้เข้ารับการเรียนการสอนได้เข้าถึงสื่อการเรียนได้มากท่ีสุด เพื่อให้ผู้เข้ารับการ เรียน การสอนสามรรถถ่ายโอนสิ่งท่ีได้รับผ่านประสาทสัมผัสไปยังหน่วยความจําระยะส้ัน เช่น การอ่าน การ มอง และการสัมผัส เป็นต้น นอกจากน้ีการจัดลําดับเน้ือหาอย่างเป็นระบบ เรียงลําดับจากง่ายไป ยาก และแสดงถึงความเชื่อมโยง เช่น การใช้ผังความคิดล่วงหน้า (Advanced Organizer) จะช่วยให้ผู้ เขา้ รับการเรียนการสอนเกดิ การจดจําและระลึกถึงข้อมูลนัน้ ๆ ไดด้ ียิ่งขนึ้ 2.4.2 ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสม์ (Constructivism Theory) ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เป็นทฤษฎี ท่เี กีย่ วกบั ความร้แู ละการเรยี นรู้ โดยมีรากฐานมาจาก ปรัชญาจิตวิทยาและมนุษยวิทยา ซ่ึงเช่ือว่า ความรู้ เป็นสิ่งท่ีบุคคลสร้างข้ึนและบุคคลจะเรียนรู้ได้โดย การมีปฎิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น และส่ิงแวดล้อมต่าง ๆ ซ่ึงต้องอาศัยความรู้ ประสบการณ์เดิมและ โครงสร้างทางปัญญา เป็นพ้ืนฐานในการเรียนรู้ นอกจากน้ี วฒั นาพร ระงบั ทกุ ข์ (2541) กลา่ วว่า องค์ประกอบการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ประกอบด้วย 1) ผเู้ รียนสรา้ งความหมายของส่ิง ที่ไดพ้ บเหน็ รบั รู้ โดยใช้กระบวนการทางปัญญาของตนเองท่ีเรียนรู้และ สร้างความสัมพันธ์ระหว่าง ประสาทสัมผัสของผู้เรียนกับส่ิงแวดล้อมโดยจะใช้ความรู้ 2) โครงสร้างทาง ปญั ญา เกดิ จากความ พยายามทางความคิดหากการใช้ความรู้เดิมคาดคะเนเหตุการณ์ได้ถูกต้อง จะทําให้ โครงสร้างทาง ปัญญามั่นคงย่ิงขึ้นแต่ถ้าหากคาดคะเนไม่ถูกต้องจะเกิดภาวะที่ เรียกว่า ภาวะไม่สมดุล 3) โครงสร้าง ทางปัญญาเป็นสิ่งท่ีเปลี่ยนแปลงได้ยาก แม้ว่าจะมีหลักฐานจากการสังเกตที่ขัดแย้งกับ โครงสรา้ งนนั้ 2.5 งานวจิ ัยทีเ่ กยี่ วข้อง ในการวิจยั คร้งั น้ผี ู้วจิ ยั ได้นาํ วิจยั ท่ีเกย่ี วข้อง เพ่อื ใช้ประกอบในการวิจยั ดังน้ี กาญจนา รัตนธีรวิเชียร (2555) ได้ศึกษางานวิจัยการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ วิชา อัลกอริทึม เบ้ืองตน้ เรื่อง การเขียนผังงาน สําหรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง วัตถุประสงค์ใน การวจิ ัยคร้ังนเี้ พอ่ื สร้างและประเมนิ ประสทิ ธภิ าพบทเรียนออนไลน์วิชาอัลกอริทมึ เบื้องต้น เรื่องการเขียน ผังงาน และเพือ่ ประเมนิ ความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาต่อการเรียนโดยใช้ บทเรยี นออนไลน์เรื่องการเขียนผัง งาน กลุ่มตวั อยา่ งในการวจิ ัยไดแ้ ก่นักศกึ ษาปรญิ ญาตรีสาขาวิชา คอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ คณะวิทยาการจัดการ จํานวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบทดสอบ เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน และแบบประเมนิ ความพึงพอใจ ซ่ึงมลี กั ษณะเป็น แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพ้ืนฐาน ได้แก่

11 ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า บทเรียนออนไลน์ท่ีสร้างข้ึนมี ประสิทธิภาพ 82.21 / 80.07 ซ่ึงสูงกว่า เกณฑ์ท่ีกําหนดไว้ 80 / 80 และนักศึกษามีความพึงพอใจใน ระดับดีมากด้านเน้ือหาโดยมีค่าเฉล่ีย รวมเท่ากับ 4.91 ระดับดีมากด้านการออกแบบส่ือมีค่าเฉลี่ยรวม เท่ากบั 4.91 และระดับดีมากด้าน ประสิทธิภาพการสอน มีค่าเฉลี่ยรวม 4.78 ไกรรัตน์ นิลฉิม , แวฮาซัน แวหะมะ (2556) ได้ทําการศึกษา เรื่อง ผลการใช้ส่ือการ สอนด้วยการบันทึกการสอนในห้องเรียนเป็น แบบมัลติมีเดียฝังบนห้องเรียนเสมือนในรายวิชาด้าน คอมพิวเตอร์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพ่ือพัฒนา ส่อื การสอนด้วยการบนั ทกึ การสอนในห้องเรยี นเปน็ แบบมัลติมีเดียฝังบนห้องเรียนเสมือนในรายวิชาด้าน คอมพิวเตอร์ 2) เปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการส่ือการสอนด้วยการ บันทกึ การสอนในหอ้ งเรยี นเป็นแบบมัลตมิ ีเดยี ฝงั บนห้องเรียนเสมือนในรายวิชาด้านคอมพิวเตอร์กับการ เรียนด้วยวิธีการเรียนบนห้องเรียนเสมือนปกติ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียนด้วย วิธีการส่ือการสอนด้วยการบันทึกการ สอนในห้องเรียนเป็นแบบมัลติมีเดียฝังบนห้องเรียนเสมือนใน รายวิชาด้านคอมพิวเตอร์ กลุ่มตัวอย่างที่ ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ท่ีลงทะเบียนเรียนในรายวิชา ง 31121 การออกแบบและ เทคโนโลยี ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2555 จํานวน 2 กลุ่ม ได้กลุ่มที่ 1 จํานวน 71 คน เป็นกลุ่ม ควบคุม และกลุ่มที่ 2 จํานวน 75 คน เป็นกลุ่มทดลอง จากผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการใช้สื่อการ สอนด้วยการบันทึกการสอนใน ห้องเรียนเป็นแบบมัลติมีเดียฝังบนห้องเรียนเสมือนในรายวิชาด้าน คอมพวิ เตอร์ เป็นการใช้การเรียน การสอนในช้ันเรียนเป็นหลัก แล้วเสริมการเรียนการสอนออนไลน์ผ่าน ห้องเรียนเสมือน โดยอาศัยส่ือ การสอนแบบมัลติมีเดียบนห้องเรียนเสมือน ขณะดําเนินการสอนผู้สอน สามารถบันทึกการสอนเป็น แบบมัลติมีเดียด้วยตนเองและนําข้ึนไปใช้บนห้องเรียนเสมือน นอกจาก กิจกรรมที่สามารถกระทําผ่าน ห้องเรียนเสมือน ได้แก่ การบ้าน การสนทนาผ่านกระดานสนทนา และ การใชส้ ังคมออนไลน์ เป็นต้น 2) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการเรียนรู้แบบการใช้ ส่ือการสอนดว้ ยการบันทกึ การสอนในหอ้ งเรยี นเปน็ แบบมัลติมีเดียฝังบนห้องเรียนเสมือนในรายวิชาด้าน คอมพิวเตอร์สูงกว่าการ เรียนด้วยวิธีการเรียนแบบการเรียนด้วยวิธีการเรียนบนห้องเรียนเสมือนปกติ อย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ .01 3) ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยวิธีการเรียนรู้แบบการใช้สื่อการ สอนด้วยการบนั ทึก การสอนในหอ้ งเรยี นเป็นแบบมลั ติมเี ดยี ฝงั บนห้องเรยี นเสมอื นอยูใ่ นระดับมากท่ีสดุ จุลศักด์ิ สุขสบาย (2558) ได้ศึกษาการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายประถม) มีจุดมุ่งหมายสําคัญเพื่อ 1) พัฒนารูปแบบ การเรยี นรทู้ างอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 2) ศกึ ษาประสิทธภิ าพของรูปแบบการเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ 3) ศึกษา ประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์หลังการ เรียนของ นกั เรยี นทเ่ี รียนโดยใชร้ ปู แบบการเรยี นรูท้ างอเิ ล็กทรอนิกส์กับเกณฑ์ร้อยละ 80 และศึกษา ความพึงพอใจ

12 ของนักเรียนทมี่ ีต่อการใช้รปู แบบการเรยี นรู้ทางอิเลก็ ทรอนิกส์เรื่องเทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสาร กลมุ่ สาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี สําหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่างท่ี ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียน สาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝา่ ยประถม) ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2556 โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) จํานวน 52 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย คือ 1) แผนการเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร 2) แบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนรู้ทาง อิเล็กทรอนิกส์ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของ นักเรียนท่ีมีต่อรูปแบบการเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลุ่ม สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ยส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และค่าที (t-test) ฉันท์ทิพย์ ลีลิตธรรม (2556) ได้ศกึ ษาการสงั เคราะห์กรอบแนวคดิ การเรยี นรใู้ น ห้องเรียนกลับทางร่วมกับเทคโนโลยีการเรียนรู้ แบบภควันตภาพโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต The Development of Flipped Classroom Techniques Model with Ubiquitous Learning Using Collaborative Learning Techniques on Internet การวิจัย คร้ังนี้ เป็นการสังเคราะห์กรอบแนวคิดการเรียนรู้ใน ห้องเรียนกลับทางร่วมกับเทคโนโลยีการเรียนรู้ แบบภควันตภาพโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ ผ่านเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต และประเมินความ เหมาะสมของกรอบแนวคิดการเรียนรู้ท่ีสังเคราะห์ขึ้น เพื่อ นาํ ไปใชเ้ ป็นต้นแบบสาํ หรับการสอนใน รายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี ตามหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพช้ันสูง(ปวส.) พุทธศักราช 2546 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สํานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศกึ ษา ขนั้ ตอนการวจิ ยั ประกอบดว้ ย ศกึ ษาหลักการแนวคดิ ขน้ั ตอน ทฤษฎีและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง , ปรึกษาอาจารย์ท่ี ปรึกษา, ร่างกรอบแนวคิดข้ันต้น, กําหนดกลุ่มตัวอย่าง, สร้างแบบสอบถาม, เก็บ รวบรวมข้อมูล และ ปรับปรุงแก้ไขกรอบแนวคิด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้สอนสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จํานวน 10 คน ผลการวิจัยได้กรอบแนวคดิ ทม่ี ีช่ือว่า “DeFlipp With UL Model” ผลการประเมินความ เหมาะสม ของกรอบแนวคิดการเรยี นรทู้ ี่สงั เคราะหข์ ึน้ พบวา่ นาํ ไปเปน็ ต้นแบบได้ นิลบุล ทองชัย (2556) ได้ทําการวิจัย เร่ือง การประยุกต์ใช้ส่ือการเรียนออนไลน์ เพื่อ เพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษสําหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์ ของนักศึกษา มหาวิทยาลัย ราชภัฏกาญจนบุรี งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย สําหรับการเรียน แบบออนไลน์ เพ่ือ เพ่มิ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นในรายวชิ าภาษาอังกฤษสาํ หรบั วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ โดยใช้การสอนรูปแบบ ปกติร่วมกับการเรียนรู้แบบออนไลน์ผ่านเว็บไซต์อีเลิร์นน่ิงของรายวิชา กลุ่ม ตัวอย่าง คือ นักศึกษาท่ี ลงทะเบียนและเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษสําหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นรายวิชาในหลักสูตร ของสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี จนครบ กระบวนการตลอดภาค การศึกษาท่ี 1/2556 จํานวน 21 คน พบว่า คะแนนสอบหลังเรียน ( ̅ = 66.51 , S.D. =18.26) สูงกว่า

13 คะแนนสอบก่อนเรยี น ( ̅ = 33.21,S.D. = 14.14) เฉลี่ยที่ 33.30 อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 และมีความสอดคล้องกับผลการเรียนตลอดภาค การศึกษาที่นักศึกษาแต่ละคนได้ (r = 0.911, sig. = .000) รวมท้ังผลความพึงพอใจของผู้เรียนต่อ กิจกรรมการเรียนโดยใช้สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้แบบ ออนไลน์ ในระดับมากในทุกประเด็นคําถาม สามารถสรุปได้ว่ามัลติมีเดียสําหรับการเรียนแบบออนไลน์ ชว่ ยเพมิ่ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน และเพ่ิม โอกาสในการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ โดย ลดข้อจาํ กัดด้านเวลาและสถานที่ พัชรา คงเหมาะ (2560) ได้ทําวิจัยเรื่องแนวทางการพัฒนาห้องเรียนออนไลน์สําหรับ อาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พบว่า ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นสําหรับผู้สอนใน การใช้ ห้องเรียนออนไลน์คือการไม่มีเวลาในการจัดทําและการปรับปรุงเน้ือหาของบทเรียน มีจํานวน ภาระงาน สอนที่มาก มีงานอื่นที่สําคัญกว่าจะต้องกระทํา ขาดแรงจูงใจในการใช้งาน รวมถึงความ พร้อมของส่ิง อาํ นวยความสะดวกในการใช้งาน แนวทางในการพัฒนาห้องเรียนออนไลน์คือ ควร ส่งเสริมการใช้งานให้ มากข้ึนควรกําหนดนโยบายการใช้งานห้องเรียนออนไลน์ในการเรียนการสอน กําหนดตัวชี้วัดด้านการ จัดการเรียนการสอน มีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างให้เกิดความเข้าใจ และมีการติดตาม ประเมินผลการเข้าใช้งานห้องเรยี นออนไลน์ ภาณุวัฒน์ วรพิทย์เบญจา , จํารัส กล่ินหนู และณรงค์ศักด์ิศรีสม (2558) ได้ ทําการศึกษาวิจัย เร่ือง การพัฒนาแอพพลเิ คชัน่ การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนเสมือนจริงบน อุปกรณ์เคลื่อนที่ โดยมี วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือแก้ปัญหาข้อจํากัดของระบบบริหารจัดการเรียนการสอนของสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน (OBECLMS) ให้สามารถใช้งานผ่านอุปกรณ์ เคลื่อนที่ เช่น สมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต ได้ แอพพลิเคช่ันถูกพัฒนาในลักษณะ Responsive Web Design โดยนําวงจรการพัฒนาระบบ (SDLC) มาเป็นแนวทางในการพัฒนา คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดย วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มได้กลุ่มตัวอย่างเป็น นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ในกลุ่มเครือข่าย โรงเรียนทุ่งผ้ึง สังกัดเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ลําปางเขต 3 จํานวน 30 คน จากจํานวนท้ังสิ้น 17 กลุ่มเครือข่ายและครูผู้สอนจํานวน 15 คน ผลการ ทดลองพบว่าแอพพลิเคช่ันสามารถใช้งานผ่าน อุปกรณ์เคล่ือนที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อนักเรียนใช้ แอพพลิเคชั่นในการทบทวนเนื้อหาวิชาเรียน นอกเหนือจากการเรียนการสอนในชั้นเรียนปกติ ช่วยให้ นักเรียนเข้าใจและสามารถจดจําเนื้อหาวิชา เรียนได้ดีย่ิงขึ้น โดยผลการประเมินความพึงพอใจของ นักเรียนที่ทดลองใช้แอพพลิเคชั่น ในภาพรวมมี ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ียอยู่ท่ี 4.10 จาก 5.00 และความพึงพอใจของครูผู้สอนท่ี ทดลองใช้แอพพลิเคช่ันในภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก ค่าเฉล่ียอยทู่ ่ี 4.09 จาก 5.00 วรวรรณ เพชรอุไร (2555) ศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Active learning ใน รายวิชา อย 341 การแปรรูป พบว่าไม่สามารถทําให้นักศึกษาทุกคนมีผลการเรียนไม่ต่ํากว่าเกรดซี (C) ตาม เป้าหมายที่ต้ังไว้ได้ แต่อย่างไรก็ตาม พบว่ามีนักศึกษาท่ีสอบไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินใน คร้ัง นี้ลดลง

14 และนักศึกษาท่ีเคยสอบไม่ผ่านในรายวิชาน้ีในภาคการศึกษาท่ีแล้ว (ภาคการศึกษาท่ี 1/2554) มีผลการ เรียนดขี ้ึน และจากการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาพบว่าการเรียนแบบ Active learning โดยใช้ กิจกรรมท่ีหลากหลายในการเรียนการสอนท้ังกิจกรรมในห้องเรียนและ กิจกรรมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ นักศึกษามีความพึงพอใจต่อกิจกรรมต่างๆ เป็นอย่างมาก มีความ กระตือรือร้น และมีความสนใจท่ี อยากจะรว่ มกิจกรรมมากกวา่ การสอนแบบบรรยายเพียงอยา่ งเดียว วุฒภิ ทั ร หนยู อด (2556) ไดท้ าํ วจิ ัยเร่ืองประสิทธผิ ลของรูปแบบการสอนโดยใช้ส่ือ การสอนแบบ ออนไลน์ วิชาการเขียนโปรแกรมเว็บแบบพลวัติ (The Effectiveness about ELearning :Dynamic Web Programming.) ผลการวิจัยพบวา่ 1) นกั ศึกษาทเี่ รียนแบบ e-learning โดยผา่ นระบบสร้างสื่อการ เรียนการสอนออนไลน์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านักศึกษาท่ีเรียนใน ห้องเรียนปกติ ซ่ึงมีค่า t เท่ากบั 2.22 ที่ระดับนัยสําคัญท่ี 0.01 และ 2) ความพึงพอใจของนักศึกษา ท่ีเรียนแบบ e-learning โดย ผ่านระบบสร้างส่ือการเรียนการสอนออนไลน์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.64 ซึ่ง อยู่ในเกณฑ์พึงพอใจมากที่สุด ดังน้ันจงึ สรุปไดว้ า่ การเรยี นแบบ e-learning โดยผา่ นระบบสร้างส่อื การเรียนการสอนออนไลน์ สามารถ ใช้ในการจัดการเรียนการสอนไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ สุพิชชา ตันติธีระศักด์ิ, ศิวนิต อรรถวุฒิกุล (2559) ได้ทําการวิจัยศึกษาผลของการจัด กิจกรรม การเรียนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ตามแนวคิดเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อส่งเสริม ทักษะการ แก้ปัญหาการเขียนโปรแกรมของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 พบว่า 1) คะแนน ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานผ่าน เครือข่าย สังคมออนไลน์ตามแนวคิดเพ่ือนช่วยเพ่ือน แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) ทักษะ การแก้ปัญหาการเขียนโปรแกรมของนักเรียน โดยภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ดี ( ̅ = 18.23, S.D. = 2.30) 3) พฤติกรรมการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนแบบ ผสมผสานผ่านเครือข่าย สังคมออนไลน์ตามแนวคิดเพื่อนช่วยเพื่อนที่พบมากที่สุดคือ การตอบคําถาม (ร้อยละ 97.70) ส่วน พฤติกรรมที่พบน้อยท่ีสุดคือการโพสต์ แชร์เน้ือหา (ร้อยละ 3.69) และ 4) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อ การเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคม ออนไลน์ตามแนวคิดเพื่อนช่วยเพ่ือน อยูใ่ นระดบั มาก ( ̅ = 4.15, S.D.= 0.74) 2.6 ทฤษฎแี ละหลักการเกี่ยวกบั การวัดและประเมินผลการศกึ ษา การประเมนิ ผลการศึกษา ไพศาล หวังพานิช (2526: 3-4) การประเมินผลการเรียนการสอนในระหว่างการเรียนการสอน เพื่อปรับปรุงช่วยเหลือแก้ไขในส่วนที่บกพร่อง การประเมินผลลักษณะน้ีเรียกว่า การประเมินเพื่อ ปรับปรุงการเรียนการสอน (Formative Evaluation) ได้จากการวัดผลการสอบย่อย การทําแบบฝึกหัด หรือให้งานอย่างอื่น ส่วนการประเมินหลังจากการเรียนการสอนได้เสร็จส้ินเรียบร้อยแล้ว เพื่อลงสรุป ตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนว่ามีความรู้มากน้อยเพียงใด การประเมินผลลักษณะนี้เรียกว่า การ

15 ประเมินผลรวม (Summative Evaluation) ประเมินผลเม่ือส้ินสุดการเรียนการสอนท้ังหมดได้จากการ วัดผลการสอบปลายภาพเรียน สมบูรณ์ ตันยะ (2538: 13-14) กล่าวว่า การประเมินผลการเรียนการสอนเป็นกระบวนการ ตรวจสอบผ้เู รยี นว่าสามารถเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่วางไว้หรือไม่ อีกทั้งยัง เปน็ ตัวบง่ ช้ถี งึ ประสิทธิภาการสอนของครอู กี ดว้ ยโดยทว่ั ไปมีจดุ มุง่ หมาย 3 ประการดังนี้ 1.ประเมินเพอ่ื วินิจฉยั ค้นหาสว่ นที่บกพร่องเป็นการตรวจสอบความพร้อม ปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ในการดาํ เนนิ งาน 2. ประเมนิ เพ่อื ปรบั ปรงุ การกระทาํ ระหวา่ งการเรยี นการสอน 3. ประเมินเพอื่ ตัดสินลงสรปุ วา่ การเรียนการสอนน้ันมปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลหรือไม่ สมนกึ ภัททิยธนี (2544 : 4) กล่าวว่า การประเมนิ ผลการศกึ ษา หมายถึง การตดั สินหรือวินิจฉัย สิ่งตา่ ง ๆ ที่ไดจ้ ากการวดั ผลการศึกษา โดยอาศยั เกณฑพ์ ิจารณาอย่างใด อยา่ งหนึง่ กลา่ วโดยสรุปแล้ว การประเมินผลการเรียน หมายถึง การตัดสิน หรือวินิจฉัยส่ิงต่าง ๆ ที่ได้จาก การวดั ผลการศกึ ษา เพ่ือตรวจสอบเพื่อผเู้ รยี นว่ามคี วามรู้มากน้อยเพยี งใด ความหมายของการประเมินผลย่อย การประเมินผลเป็นกระบวนการตัดสินคุณค่าของส่ิงของหรือกระทําใด ๆ โดยเปรียบเทียบกับ เกณฑ์มาตรฐานที่ได้ต้ังไว้ สําหรับการประเมินผลย่อย (Formative Evaluation) มีผู้ให้ความหมายไว้ หลายทา่ น ดงั น้ี ไพศาล หวังพานิช (2526: 24-26) ได้กล่าวว่า การประเมินผลย่อยเป็นการปริมนผลหลังจบ เน้ือหาหน่ึง ๆ เพื่อตรวจสอบดูว่าหลังจากนักเรียนได้เรียนในแต่ละเร่ืองแล้วได้ผลในระดับท่ีน่าปรารถนา หรือไม่ หรอื ยงั มขี อ้ บกพร่องในสว่ นไหน ตอนใด และควรมกี ารแก้ไขปรบั ปรุงเก่ียวกับสิ่งใดในเน้ือหานั้น ๆ ท้ังยังช่วยให้ได้ข้อมูลเพ่ือปรับปรุงการสอนของครู เป็นผลให้นักเรียนเกิดความรอบรู้ในการเรียนอย่าง สมบรู ณ์เต็มท่ี นิภา เมธธาวชี ัย (2533 : 10) ไดก้ ล่าวว่า การประเมินผลระหว่างสอนมีจุดประสงค์เพ่ือทราบว่า ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์หรือยัง เคร่ืองมือที่ใช้วัด เช่น การซักถาม การสังเกต การให้ลงมือ ปฏิบัติ การทดสอบย่อยตามจุดประสงค์การเรียนรู้ และเป็นแนวทางในการปรับปรุงการสอนให้มี ประสทิ ธิภาพยิ่งขนึ้ สทุ ธิวรรณ พีรศักดิ์โสภ (2537: 5) ได้กล่าวไว้ว่าการประเมนิ ผลระหวา่ งเรียนเป็นการประเมินผล ตามจุดประสงค์ทีก่ าํ หนดไว้ระหวา่ งการเรยี นการสอนในแต่ละบท เพื่อให้ครูทราบว่านักเรียนได้บรรลุตาม จุดประสงค์ท่ีต้ังไว้หรือไม่เพียงใด นักเรียนบกพร่องในเร่ืองใด ครูจะได้ทําการปรับปรุงการสอนให้ เหมาะสม จากความหมายการประเมนิ ผลย่อยข้างต้น พอสรุปได้วา่ การประเมินผลย่อยเป็นการประเมินผล ระหว่างการเรียนการสอนตามจุดประสงค์ท่ีกําหนดไว้ระหว่างการเรียนการสอนในแต่ละบท เพ่ือวินิจฉัย ข้อบกพร่องของผเู้ รยี น และนาํ มาปรบั ปรุงการเรยี นการสอนใหอ้ ยู่ในเกณฑท์ ี่กําหนด

16 หลักการสร้างแบบทดสอบย่อย บลูม (Bloom and others. 1971 : 65)ได้กําหนดข้ันตอนในการสร้างแบบทดสอบย่อยไว้ 3 ประการดังนี้ 1.วิเคราะห์หน่วยความรู้ (Analysis of Learning Units) เนื้อหา จุดมุ่งหมายและธรรมชาติของ บทเรียนนัน้ ๆ 2. สร้างตารางเฉพาะของหน่วยการเรยี นรู้ (Specification for Units) 3. ดําเนินการสรา้ งขอ้ สอบยอ่ ยซ่งึ ควรมีลกั ษณะดงั นี้ 3.1 สร้างข้อสอบให้ครอบคลุมแต่ละพฤติกรรมที่กําหนดไว้ในตารางเฉพาะอย่างน้อยพฤติกรรม ละ 1 ขอ้ 3.2 ขอ้ สอบตอ้ งรวบรวมเน้ือหาท้ังหมดไมใ่ ชส่ มุ่ เฉพาะส่วนสําคญั เพือ่ เป็นตัวแทนเทา่ น้นั 3.3 ข้อสอบควรมีความยากง่ายตอ่ เน่อื งกนั ผู้ที่ทาํ ข้อสอบส่วนท่ีง่าย ๆ จะได้เกิดการเรียนรู้ที่ยาก กว่าไดถ้ ูกต้อง ไมใ่ ชท่ าํ ถกู โดยบังเอญิ หรือการเดา 3.4 ข้อสอบจะมีประสทิ ธิภาพมากขึ้น ถา้ ไมเ่ พยี งแตบ่ อกว่าเขาทาํ ส่วนใดไม่ได้ แต่ควรบอกสาเหตุ ท่เี ขาทาํ ไม่ไดด้ ้วย 3.5 คะแนนต่อการสอบย่อยไม่มีผลตอ่ การตัดสนิ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น แต่จะเป็นเครื่องชี้นําให้ นักเรียนรู้วา่ เขาบกพร่องท่ีไหน ควรแกไ้ ขอย่างไร เพื่อให้เกิดความรู้ในเนอื้ หานั้นเปน็ อยา่ งดี สรุ ชยั ขวญั เมอื ง (2522: 215-217) กล่าวถึงกระบวนการสรา้ งแบบทดสอบยอ่ ย มีดังนี้ 1.นําหน่วยการเรียนที่ต้องการสอบมาจัดวิเคราะห์เน้ือหาอย่างย่อย ๆ โดยศึกษาจากคู่มือและ แบบเรียน 2. วิเคราะห์พฤตกิ รรมของเน้ือหาย่อยที่วิเคราะหไ์ ว้แล้ว 3. กําหนดนํ้าหนกั ทต่ี อ้ งการวดั ในแตล่ ะเนอื้ หาพฤติกรรม 4. ปรับปรุงตารางวเิ คราะห์ใหส้ อดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์ของวิชา 5. สร้างแบบทดสอบย่อยตามตารางท่ีวิเคราะห์ไว้แล้ว ข้อสอบบางข้ออาจนําไปใช้ในการ ประเมนิ ผลรวมอีกกไ็ ด้ 5.1 เป็นข้อสอบที่ถามตรงจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมของการเรียนการสอนในแต่ละ หนว่ ยโดยหน่ึงจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมอาจสร้างข้อสอบไดห้ ลายข้อ 5.2 การให้คะแนนจากการสอบ ตัดสินว่าบุคคลผ่านหรือไม่ หน่วยย่อยใด ๆ นั้น อาศัย การกาํ หนดเกณฑไ์ วล้ ว่ งหนา้ 5.3 การสอบตอ้ งสอบหลงั จากการเรียนการสอนในหน่วยนน้ั สิน้ สดุ ลง ไพศาล หวังพานิช (2526: 86) ได้เสนอหลักการพอสรุปได้ว่า การออกข้อสอบย่อยนั้นไม่ จําเป็นต้องมีจํานวนข้อมากมาย และใช้เวลาสอบนานเป็นช่ัวโมง อาจใช้ข้อสอบ 10-20 ข้อ และใช้เวลา เพียง 10-15 นาทีก็ได้ ข้อสําคัญอยู่ที่ว่าข้อสอบนั้นต้องครอบคลุมและสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการ สอนทก่ี ําหนด กรอนลันด์ (Gronlund. 1981:137) ได้เสนอหลกั การสร้างและการใชแ้ บบทดสอบยอ่ ยดงั นี้ 1.เป็นแบบทดสอบอิงเกณฑ์ (Criterion-referenced Mastery Tests) บางคร้ังใช้แบบอิงกลุ่ม (Norm-referenced Tests)

17 2. เน้ือหาทจ่ี ะนํามาทดสอบ กาํ หนดขน้ึ อยา่ งแนน่ อนอาจเปน็ 1 หนว่ ย 1 บท หรือ 1 หมวด ก็ได้ 3. ความยากง่ายขึ้นอย่กู บั เน้ือหาและควรเปน็ ข้อสอบทค่ี ่อนข้างง่าย 4. ใชท้ ดสอบระหว่างการเรยี นการสอนเพอ่ื ชว่ ยชข้ี อ้ บกพรอ่ งในการเรยี นของนกั เรียน กล่าวโดยสรปุ แล้ว การสรา้ งแบบทดสอบย่อยจะต้องสร้างตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมในแต่ละ หน่วยการเรยี นและตอ้ งสร้างจากเนื้อหาท้ังหมด ความยากง่ายของข้อสอบข้ึนอยู่กับเนื้อหาแต่ละตอน ซ่ึง คะแนนของการสอบจะไม่นําไปตัดสินผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น หรือการตัดสนิ ได้-ตก ประโยชนข์ องการทดสอบยอ่ ย บลูม (Bloom and others. 1971 : 66) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของการทดสอบย่อยว่าก่อให้เกิด ประโยชน์หลายอย่างดังนี้ สําหรับการประเมินย่อยทําให้นักเรียนได้เรียนรู้มากข้ึน เพราะทําให้นักเรียน ต้องเตรียมตัวอยู่เสมอ ทําให้เรียนรู้ได้ง่ายข้ึน เพราะต้องแบ่งเนื้อหาเป็นส่วนย่อย ๆ ทําให้นักเรียนทราบ ข้อบกพร่องที่ควรแก้ไขของตนเอง และทําให้เกิดความมั่นใจในการเรียนรู้ กล้าเผชิญปัญหา สําหรับ ครูผสู้ อน ทาํ ใหค้ รคู น้ พบวธิ ีการท่ีเหมาะสมในการจดั การเรียนการสอน และสําหรับผู้ร่างหลักสูตร ช่วยให้ ผรู้ ่างหลกั สตู รเรียงลาํ ดบั เน้ือหาไดง้ า่ ยขน้ึ สุรชัย ขวัญเมือง (2522 : 217) กล่าวถึงประโยชน์ของการทดสอบย่อย เป็นเคร่ืองมือในการ สังเกตดูว่า นกั เรียนมกี ารพฒั นาการเรยี นรู้มากน้อยเพียงใด ใช้ตรวจสอบลําดับขั้น ปรับปรุงการเรียนการ สอนไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ไพศาล หวังวานิช (2526: 4) กล่าวถึงประโยชน์ของการทดสอบย่อย ทําให้ข้อบกพร่องของ ผู้เรยี น เพ่อื จะไดใ้ ห้การชว่ ยเหลอื ซ่อมเสรมิ หรอื แก้ไขข้อบกพร่องเหลา่ น้ัน เชนสิ า ชืน่ สุวรรณ (2539: 23) กลา่ ววา่ แบบทดสอบยอ่ ยมีข้อดหี ลายประการดังตอ่ ไปน้ี 1.ครูจะทราบว่านกั เรยี นมีความรูม้ ากน้อยเพยี งใดในแต่ละคน 2. ครสู ามารถจดั การเรยี นการสอนให้นักเรียนที่ยังบกพร่อง และสามารถจัดเน้ือหาการเรียนการ สอนซ่อมเสริมได้ถกู ตอ้ ง 3. ครูจะใช้ผลการทดสอบเพื่อเปน็ แนวทางในการวางแผนการจัดการเรยี นการสอนในตอนต่อไป 4. นักเรียนจะทราบความสามารถของตนเองและสามารถแก้ไขข้อบกพร่องในการเรียนของ ตนเองได้จากการเฉลยข้อสอบและการแนะนําจากครูผสู้ อน 5. การทดสอบย่อยจะทําให้ทราบข้อมูลความรู้ของนักเรียนทันที สามารถแก้ไขปัญหาการเรียน การสอนไดท้ ันทว่ งที ดีกว่าการทดสอบเพยี งครัง้ เดยี วท้ายบทเรยี น กล่าวโดยสรุปแล้ว การทดสอบย่อยเป็นประโยชน์สําหรับนักเรียนในด้านความก้าวหน้าในการ เรียนแต่ละหน่วย หรือข้อบกพร่องท่ีต้องปรับปรุง และสําหรับครูเป็นการช่วยให้ครูค้นพบวิธีการจัดการ เรยี นการสอนทเี่ หมาะสม

18 บทท่ี 3 วิธีดาเนนิ การวจิ ัย กลมุ่ เปา้ หมาย กลุ่มเป้าหมาย ท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 จํานวน 17 คน ซ่ึงได้มาโดยการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายวิชา วิทยาการ คํานวณ3 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 จํานวน 17 คน ท่มี ีพฤติกรรมการเรยี นท่ขี าดความสนใจและเอาใจใส่ต่อการเรยี น ผู้วจิ ยั จึงเลอื กนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 จํานวน 17 คน เป็นกลุ่มเป้าหมาย ในการทดลองใช้วิธีการสอน แล้วสอบ การสร้างและการหาคณุ ภาพของเครือ่ งมือท่ีใช้การวจิ ัย เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการวิจยั ในคร้ังนี้ คือ วิธกี ารสอนดว้ ยบทเรยี นออนไลน์ เรอื่ ง การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่างรเู้ ท่าทัน ซ่ึงมีขัน้ ตอนในการสร้างและการหาคณุ ภาพดังตอ่ ไปน้ี 1. ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ียวข้องกับการประเมินผลระหว่างเรียน 2. กาํ หนดขนั้ ตอนการสอนดว้ ยบทเรยี นออนไลน์ เรอ่ื ง การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างรเู้ ทา่ ทัน 3. ในการตรวจสอบคุณภาพของขั้นตอนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ เร่ือง การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน น้ัน ผู้วิจัยได้นําข้ันตอนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ เร่ือง การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน ไปให้ผู้เชี่ยวชาญ จํานวน 3 คน ประเมินความสอดคล้องของขั้นตอนการสอน ด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน กับจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ ต้องการให้เกิดกับนักเรียน จากน้ันผู้วิจัยจึงนําขั้นตอนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างร้เู ท่าทัน มาปรับปรุงแก้ไขแลว้ นาํ ไปทาํ การทดลองใชก้ บั นักเรยี นกลุ่มเปา้ หมาย

19 การสรา้ งและการหาคณุ ภาพของเครือ่ งมือท่ีใชเ้ ก็บขอ้ มูล การสร้างและการหาคุณภาพของเครอื่ งมือท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเครื่องมือท่ีใช้ในการวจิ ัย ในครง้ั นี้ คอื แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ซงึ่ มขี น้ั ตอนในการสรา้ งและการหาคณุ ภาพ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ที่เกี่ยวข้องกบั การวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น 2. สร้างข้อสอบย่อยระหว่างเรียนแต่ละหัวข้อ ซ่ึงเป็นข้อสอบแบบอัตนัย หัวข้อละ 3 – 5 ข้อ ข้ึนอยกู่ บั เนอ้ื หา และสรา้ งข้อสอบปรนัยแบบเลอื กตอบ 4 ตัวเลือก จาํ นวน 20 ข้อ 20 คะแนนสําหรับวัด ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนหลังเรยี น 3. ในการตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบแบบอัตนัยและปรนัยนั้น ผู้วิจัยได้นําข้อสอบไปให้ ผู้เชยี่ วชาญ จาํ นวน 3 คน ประเมินความสอดคล้องของข้อสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ต้องการให้เกิด กับนักเรียน จากนั้นผู้วิจัยจึงนําข้อสอบ มาปรับปรุงแก้ไขแล้วนําไปทําการทดลองใช้กับนักเรียน กลมุ่ เปา้ หมาย การออกแบบการทดลอง แบบแผนการทดลอง ในการวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยใช้รูปแบบการวิจัย แบบกลุ่มเดียว วัดผลเฉพาะหลังการทดลอง (One group posttest only design ) กลุ่ม สอบก่อนทดลอง ทดลอง สอบหลงั ทดลอง กลุ่มทดลอง X T2 ความหมายของสญั ลกั ษณ์ X หมายถึง วธิ กี ารสอนบทเรียนออนไลน์ เรื่อง เรือ่ ง วทิ ยาการคํานวณ3 T2 หมายถึง การทดสอบหลงั การทดลอง (post-test) นําคะแนนหลังการทดลองเทียบกับเกณฑ์ การผ่าน 14 คะแนน

20 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 1. ช้ีแจงให้นักเรียนไดร้ ับทราบเกีย่ วกบั กระบวนการจดั การเรียนการสอนทั้งหมด เนอ้ื หาที่ต้อง เรยี น และวนั เวลาทเี่ รียนและทต่ี ้องสอบ 2. ดําเนนิ การสอบตามเนื้อหาวชิ าและกจิ กรรมการเรียนการสอนท่กี ําหนดไว้ พรอ้ มทั้งแจ้งให้ นักเรยี นได้รบั ทราบลว่ งหน้าเกีย่ วกบั การสอบ เนื้อหาท่ีจะทําการสอบ เวลาท่จี ะสอบ 3. สอนดว้ ยบทเรยี นออนไลน์ เรอ่ื ง การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างรเู้ ทา่ ทนั แล้วสอบนักเรียน ที่กําหนดไว้ 4. เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลแล้ววิเคราะห์พฒั นาการด้านคะแนนของนักเรยี น 5. ดําเนนิ การสอบปลายภาคนักเรียน 6. นําคะแนนที่ได้ไปเทียบกบั เกณฑ์ทก่ี ําหนด ไว้คือ ร้อยละ 70 สถติ ิท่ใี ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล ในการวจิ ยั คร้ังน้ี สถติ ิที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลีย่ สว่ นเบี่ยงเบน มาตรฐาน

21 บทท่ี 4 ผลการวิจยั ผลการพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวชิ า วทิ ยาการคํานวณ3 รหัสวิชา ว23103 ด้วย บทเรยี นออนไลน์ เรือ่ ง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เทา่ ทัน ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ปรากฏผลดงั ตาราง ตารางที่ 1 ผลการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน รายวิชา วิทยาการคํานวณ3 รหัสวิชา ว23103 ด้วยบทเรียน ออนไลน์ เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งรเู้ ท่าทนั ของนกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 (โดยรวม) การทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ n X S.D. คะแนนหลงั เรียน 17 15.65 2.15 จากตารางที่ 1 แสดงวา่ นกั เรยี นท่เี รยี นดว้ ยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างรู้เทา่ ทนั มคี ะแนนเฉลี่ยผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นหลงั เรียน ( X = 15.65) สงู กว่าเกณฑ์รอ้ ยละ 70 ตารางท่ี 2 ผลการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน รายวิชา วิทยาการคํานวณ3 รหัสวิชา ว23103 ด้วยบทเรียน ออนไลน์ เรื่อง การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งรู้เทา่ ทัน ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 (รายบคุ คล) คนที่ ชื่อ – สกุ ล คะแนนหลงั เรียน เทยี บกับเกณฑ์ (20 คะแนน) (ร้อยละ 70 หรือ 14/20คะแนน) ผ่าน ไมผ่ า่ น 1 เด็กชายคุณากร พลชาลี 17  2 เดก็ ชายพัชรดนัย ระเริง 16  3 เดก็ ชายพชิ าภพ จนั ทะโยธี 18  4 เด็กชายภานพุ งศ์ สว่างพฤกษ์ 15  5 เดก็ ชายระพีพฒั น์ สีดานยุ 12  6 เด็กชายศุวัฒชัย เพง็ วงษ์ษา 10  7 เดก็ ชายสรวิชญ์ ค้าข้าว 16  8 เดก็ ชายสิริภพ แพงพรมมา 16  9 เดก็ ชายสุนทร เหลา่ ภทู อง 14 

22 คนที่ ชอ่ื – สกุ ล คะแนนหลงั เรยี น เทยี บกับเกณฑ์ (20 คะแนน) 10 เดก็ หญงิ กลุ ธดิ า ดวงมาลา (ร้อยละ 70 หรอื 14/20คะแนน) 11 เดก็ หญงิ รตั ติญา ก๊กวลิ ยั 17 12 เด็กหญงิ จฑุ ามณี โพธสิ์ าลี 15 ผ่าน ไม่ผา่ น 13 เดก็ หญิงชฎาพร อทุ ยั วรรณ์ 18  14 เด็กหญงิ ชไมพร ย้ิมยวน 16  15 เดก็ หญงิ นภสั สร มหาหงษ์ 18  16 เด็กหญิงนนั ทิชา หนุนภา 16  17 เดก็ หญงิ ภัทรพร วงค์ชมพู 14  รวม 17 คน 18    15 2 จากตารางท่ี 2 แสดงว่า นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 จาํ นวน 15 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 88.24 ไมผ่ ่านเกณฑ์ 2 คน คิดเป็นร้อยละ 11.76

23 บทที่ 5 สรปุ ผลการวิจัย อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ การวิจยั คร้ังนเ้ี ป็นการวิจยั ในชัน้ เรยี น (classroom action research) มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนา ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น รายวิชา วิทยาการคํานวณ3 รหัสวิชา ว23103 ด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งร้เู ท่าทัน กลุ่มเปา้ หมายทีใ่ ชใ้ นการวิจัยคร้ังน้ี คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 จํานวน 17 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิชา วิทยาการคํานวณ3 รูปแบบการทดลองท่ีใช้ คือ แบบกลุ่ม เดียววัดผลเฉพาะหลังการทดลอง (One group posttest only design ) โดยการนําคะแนนหลังการ ทดลองไปเทยี บกบั เกณฑ์การผ่านร้อยละ 70 สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐาน สรปุ ผลการวจิ ยั การดําเนินการทดลองเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน รายวิชา วิทยาการคํานวณ3 รหัสวิชา ว23103 ด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน จากผลการ ทดลองสรุปไดด้ งั นี้ ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน พบว่า นักเรียนท่ีเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 และนักเรยี นท่เี รียนดว้ ยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน มีคะแนน เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 จํานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 88.24 ไมผ่ ่านเกณฑ์ 2 คน คิดเป็นร้อยละ 11.76 อภปิ รายผลการวิจัย จากผลการวิจัย สามารถอภปิ รายผลได้ดังน้ี ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน พบว่า นักเรียนท่ีเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ เร่ือง การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งรู้เท่าทัน มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 และนักเรียนทีเ่ รยี นดว้ ยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน มีคะแนน เฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 จํานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 88.24 ไม่ผ่านเกณฑ์ 2 คน คิดเป็น ร้อยละ 11.76 เน่ืองจากการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การใช้

24 เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน ทําให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองมากข้ึน ทําให้นักเรียนสนใจ ต่ืนเต้น สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาและทําให้เกิดความม่ันใจในการเรียนรู้ กล้าเผชิญปัญหา สําหรับ ครผู ู้สอน ทาํ ให้ครูค้นพบวิธีการท่เี หมาะสมในการจัดการเรยี นการสอน ซึ่งสอดคล้องกับที่ สุทธิวรรณ พีร ศักดิ์โสภณ (2537: 5) ได้กล่าวไว้ว่า การประเมินผลระหว่างเรียนเป็นการประเมินผลตามจุดประสงค์ท่ี กําหนดไว้ระหว่างการเรียนการสอน เพ่ือให้ผู้สอนทราบว่าผู้เรียนได้บรรลุตามจุดประสงค์ท่ีตั้งไว้หรือไม่ เพียงใด นักเรียนบกพร่องในเร่ืองใด ครูจะได้ทําการปรับปรุงการสอนให้เหมาะสม ดังนั้นการประเมินผล ระหว่างเรียน หรือการด้วยบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน จึงทําให้ ผู้เรียนเกิดความสนใจในการเรียนรู้ ในขณะเดียวกันผู้สอนก็สามารถนําผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนมาใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอนของตนเองให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้การสอน ด้วยบทเรยี นออนไลน์ยังกอ่ ให้เกดิ ความคงทนในการเรยี นรู้ ขอ้ เสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปใช้ จากผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้น เมื่อเรียนด้วยบทเรียน ออนไลน์ เร่ือง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน ดังนั้นในรายวิชาอ่ืนๆ อาจจะมีการนําวิธีการ สอนด้วยบทเรียนออนไลน์ เร่ือง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน ไปใช้ในการจัดการเรียนการ สอนเพ่อื เปน็ การกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามสนใจ สรา้ งความตนื้ เต้นในการเรียนรู้อยูเ่ สมอ ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ยั ครั้งตอ่ ไป 1. ควรศึกษาวิจัยเชิงเปรียบเทียบวิธีการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ เร่ือง การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน กับวิธีการสอนแบบอ่ืนๆ เพ่ือหาวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพและมีความ เหมาะสมกับนกั เรียนตอ่ ไป 2. ควรมีการศกึ ษาวิจัยเกย่ี วกับการนาํ วธิ ีการสอนดว้ ยบทเรียนออนไลน์ ไปใชใ้ นระดบั ชน้ั อนื่ ๆ

25 บรรณานุกรม กาญจนา รัตนธรี วิเชียร. ( 2555 ). การพัฒนาบทเรยี นออนไลน์ วิชาอัลกอริทึมเบ้ืองต้น เร่ือง การ เขียนผงั งาน สาหรบั นกั ศกึ ษาปรญิ ญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง. (ออนไลน์). 7 มิถุนายน 2560. เข้าถงึ จาก : https://www.tci-thaijo.org/index.php/JLPRU/article /view/24611. ไกรรัตน์ นิลฉมิ และแวฮาซัน แวหะมะ. (2557). ผลการใช้สือ่ การสอนด้วยการบนั ทกึ การสอนใน หอ้ งเรยี นเป็นแบบมัลติมีเดียฝงั บนห้องเรยี นเสมือนในรายวิชาดา้ นคอมพวิ เตอร์. (ออนไลน)์ . 7 มถิ ุนายน 2560. เขา้ ถงึ จาก http://edujournal.psu.ac.th/edujn/index.php /edu_jn2015/article/view/74. จุลศกั ด์ิ สุขสบาย. (2559). การพฒั นารปู แบบการเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนกิ ส์ เรือ่ งเทคโนโลยี สารสนเทศ และการส่ือสาร สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร (ฝ่ายประถม). (ออนไลน์). 8 มิถุนายน 2560. เข้าถึงจาก : http://ejournals.swu.ac.th/index.php/jre/issue/view/851. ฉันทท์ ิพย์ ลลี ิตธรรม. (2556). การสังเคราะหก์ รอบแนวคิดการเรยี นรใู้ นห้องเรยี นกลบั ทางร่วมกบั เทคโนโลยีการเรียนรู้ แบบภควันตภาพโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต. (ออนไลน์) 9 มิถุนายน 2560 . สืบค้นจาก https://gsbooks.gs.kku.ac.th /57/grc15/files/sdp7.pdf. เชนสิ า ชื่นสุวรรณ. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ความรบั ผดิ ชอบในการเรียนและ ความสนใจในวิชาสงั คมศึกษาของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ท่ีไดร้ ับการสอน โดยวิธีแบบเรยี นคู่ (Learning Cell) กบั การสอนตามค่มู อื ครู. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2539. นภิ า เมธธาวชี ัย.การประเมนิ ผลและการสร้างแบบสอบถาม. กรงุ เทพฯ : วิทยาลยั ครธู นบุรี,2533. นิลบลุ ทองชยั . (2556). การประยกุ ต์ใชส้ ือ่ การเรียนออนไลน์ เพือ่ เพิม่ ผลสมั ฤทธใิ์ นการเรยี น รายวิชาภาษาอังกฤษสาหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ กาญจนบุรี. (ออนไลน์). 10 มิถุนายน 2560. เข้าถึงจาก : eoffice.kru.ac.th/e-research /res_person_detail.php?pid=727. พชั รา คงเหมาะ. (2560). แนวทางการพัฒนาห้องเรียนออนไลน์สาหรับอาจารยม์ หาวทิ ยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. (ออนไลน์). 12 มิถุนายน 2560. สืบค้นจาก : www.research. rmutt.ac.th/?p=16207. 40 ไพศาล หวงั พานชิ .การวัดผลทางการศกึ ษา.กรงุ เทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2526. ภาณวุ ัฒน์ วรพิทย์เบญจา และคณะ. (2558). การพัฒนาแอพพลิเคชั่นการจัดการเรยี นการสอนใน ห้องเรียนเสมือนจริงบนอุปกรณ์เคล่ือนที่. (ออนไลน์). 12 มิถุนายน 2560. สืบค้นจาก : www.tci-thaijo.org/index.php/Itech/article/view/49051.

26 วรวรรณ เพชรอไุ ร. (2555). ศกึ ษารูปแบบการจดั การเรียนรู้แบบ Active learning ในรายวิชา อย 341 การแปรรูป . (ออนไลน์) . 13 มิถุนายน 2560. สืบค้นจาก : www.engineer.mju.ac.th/goverment/..engineer/File20130530100922_19864.pdf วุฒภิ ทั ร หนยู อด. (2556). ประสิทธิผลของรปู แบบการสอนโดยใช้สือ่ การสอนแบบออนไลน์ วิชาการเขียนโปรแกรมเว็บแบบพลวัติ. (ออนไลน์). 13 มิถุนายน 2560. สืบค้นจาก : repository. rmutto.ac.th/xmlui/handle/123456789/133. สุพิชชา ตนั ตธิ ีระศักดิ์และศวิ นติ อรรถวุฒิกลุ . (2559). ผลของการจดั กิจกรรมการเรยี นแบบ ผสมผสานผ่านเครือขา่ ยสังคมออนไลนต์ ามแนวคิดเพอ่ื นช่วยเพ่ือน เพ่ือสง่ เสรมิ ทักษะ การ แกป้ ัญหาการเขียนโปรแกรมของนกั เรยี น ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5. (ออนไลน)์ . 15 มถิ ุนายน 2560. สืบคน้ จาก:https://www.tci-thaijo.org/index.php/Veridian- EJournal/article/view/75644. สุรางค์ โคว้ ตระกูล. (2541). ทฤษฏีการเรียนร้พู ทุ ธิปญั ญานิยม (Constructivism). สืบค้นเมือ่ วันที่ 20 มถิ ุนายน 2560. จาก https://www.gotoknow.org/posts/106985. อนชุ า โสมาบุตร. (ม.ป.ป.). ทฤษฎคี อนสตรัคตวิ สิ ต์ (Constructivist Theory). สบื คน้ เมื่อวนั ท่ี 20 มถิ นุ ายน 2560. จาก https://teacherweekly.wordpress.com/2013/09/25 /constructivist-theory/. สมบูรณ์ ตันยะ. รายงานการวิจัยค่านิยมทางการศึกษาไทย อดีต ปัจจุบัน อนาคต. นครราชสีมา : คณะครศุ าสตร์ สถาบนั ราชภัฎนครราชสีมา, 2538. สุทธวิ รรณ พรี ศกั ดโิ์ สภณ. เอกสารประกอบการสอนวิชาการวดั ผลการศกึ ษา. มหาสารคาม : มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, 2537. สรุ ชัย ขวญั เมือง.วธิ ีสอนและการวดั ผลในวชิ าคณติ ศาสตร์. กรงุ เทพฯ : กรมการฝกึ หดั คร,ู 2522. Bloom, B.S.,and others. Handbook on Foprmative and Summative Evaluation of Student Gronlund, N.E.Measurement and Evaluation in Teaching. 4th ed. New York : Macmillan,1981.

27 ภาคผนวก - แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - คู่มอื การใชง้ านบทเรยี นออนไลน์ เรื่อง วิทยาการคานวณ3

28 โรงเรยี นโคกสงู ประชาสรรพ์ อาํ เภอนาํ้ พอง จังหวดั ขอนแก่น แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 รายวิชา วทิ ยาการคํานวณ3 รหสั วชิ า ว 23103 คะแนนเต็ม 20 คะแนน แบบปรนัย 20 ข้อ เวลา 60 นาที คาชีแ้ จง เลอื กคาํ ตอบที่ถกู ต้องทส่ี ดุ เพียงข้อเดยี ว สถานการณ์ A : อานันท์โพสชื่นชมยนิ ดีกบั เยาวชนทีไ่ ปแข่งขัน “การออกแบบเคร่ืองบิน” ระดับ โลกบนสังคมออนไลน์โดยทไ่ี มป่ ิดบงั ใบหน้าของเด็กท่ีไปแข่งเพราะเขาเห็นว่าเป็นการกระทําที่เป็นการชื่น ชมและให้เกียรติกับเดก็ เหลา่ นี้ สถานการณ์ B : เล็กแอบถา่ ยภาพของนกั เรยี นกลุ่มหนึง่ เสพยาเสพตดิ อยู่บรเิ วณหลงั ห้องนํ้าของ โรงเรียนโดยทีไ่ ม่ปดิ บังใบหน้าแลว้ โพสภาพนั้นลงในสื่อสังคมออนไลนเ์ พราะเขาคดิ วา่ ควรประจานใหเ้ ปน็ ตัวอยา่ งกับเยาวชนคนอืน่ ทําให้นักเรียนเหล่าน้นั ถูกรุมดา่ ในเฟสบุค๊ 1. ข้อใดถูกต้องในการวิเคราะห์สถานการณ์ทัง้ 2 ในประเด็นเร่ืองกฎหมายคอมพวิ เตอร์ ก. บุคคลในสถานการณ์ A และ B ไมม่ ีความผิดตามกฎหมายคอมพวิ เตอร์ ข. บุคคลในสถานการณ์ A ไม่มีความผิดแต่ B มีความผดิ ตามกฎหมายคอมพวิ เตอร์ ค. บคุ คลในสถานการณ์ B ไม่มีความผิดแต่ A มคี วามผดิ ตามกฎหมายคอมพวิ เตอร์ ง. บุคคลในสถานการณ์ A และ B มีความผิดตามกฎหมายคอมพวิ เตอร์ คาส่ัง : จากสถานการณ์ที่กาํ หนดให้ จงใช้สถานการณ์ต่อไปน้ีเพ่ือตอบคาํ ถาม ในข้อ 2 - 3 “ สมรเป็นเจา้ ของเพจ “ชวี ติ วยั รุ่นหนา้ ตาดี” ซึ่งมผี ้กู ดตดิ ตามเป็นจาํ นวน 500,000 คน วันหนง่ึ สมรเห็นผ้ตู ดิ ตามกลุ่มหนึ่งมาคอมเมน้ ท์พาดพงิ – นนิ ทาดารานกั รอ้ งอย่างสนุกสนาน สมรเหน็ ว่าเป็นเรื่อง สนกุ จึงไม่ยอมลบข้อความเหลา่ นัน้ ออก ส่งผลใหว้ ันถัดมาสมรถกู ฟอ้ งรอ้ งจากกลุม่ ดาราเพราะขอ้ มลู ทค่ี น เหล่านนั้ คุยกนั ในเพจไม่เป็นความจริง ” 2. นักเรียนคดิ วา่ ข้อใดเป็นเหตุผลสําคัญที่สดุ ที่สมรจึงถูกฟ้องร้องจากกลมุ่ ดารา ? ก. เพราะสมรเปน็ เจ้าของเพจ ข. เพราะสมรไม่ลบคอมเมน้ ท์ของคนเหล่าน้ันออก ค. เพราะเรื่องราวของดาราไม่เป็นความจรงิ ง. เพราะกล่มุ ดาราไม่ชอบเพจของสมร 3. ในทางกฎหมายแลว้ หากสมรไม่อยากถกู ฟอ้ ง สมรตอ้ งทําอย่างไร ?

29 ก. อัดคลิปขอโทษดาราผา่ นชอ่ งทาง Youtube ข. แจงกบั ตํารวจวา่ ตนเองไม่เก่ียวขอ้ งและทาํ การลบคอมเม้นทเ์ หลา่ น้นั ทิง้ ค. ซ้ือกระเช้าของขวัญไปมอบให้ดารา ง. ชี้แจงกับตํารวจว่าเพจของตนเองโดนแฮ๊กและไม่สามารถควบคุมได้ คาสง่ั : จากสถานการณ์ทก่ี าํ หนดให้ จงใชส้ ถานการณ์ตอ่ ไปน้ีเพื่อตอบคําถาม ในข้อ 4 “ สมชายและชจู ิตเป็นคู่กัดทเี่ กลียดชังกนั มาอย่างช้านาน วันหน่งึ คุณพอ่ ของชูจติ เสียชวี ติ สมชายจึงทําการแชร์โพสของขอ้ ความบนเพจเฟสบุ๊คท่มี ีคําหยาบคายแล้วแท๊กไปทีช่ จู ติ เพ่อื ดหู ม่นิ คุณพ่อ ของชจู ิตทเี่ สียชวี ติ ไปแล้ว ” 4. จากสถานการณ์ท่กี ําหนดให้นกั เรยี นคดิ ว่าการกระทําของสมชายผิดกฎหมาย พรบ. ว่าดว้ ยการกระทาํ ความผิดเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์หรือไม่ เพราะเหตุใด? ก. มคี วามผิดเพราะสมชายแชร์ข้อความที่หยาบคายบนเฟสบ๊คุ ข. มีความผดิ เพราะสมชายทําการกดแชรข์ ้อมลู ทม่ี ผี ลกระทบต่อผอู้ ืน่ แมบ้ ุคคลจะเสยี ชวี ติ ไปแล้ว ค. ไมม่ ีความผดิ เพราะสมชายแชร์รูปภาพของผู้อนื่ มาอีกที ง. ไม่มีความผิดเพราะเปน็ สทิ ธิของบัญชีสว่ นตัวสมชาย คาสัง่ : จากสถานการณ์ที่กําหนดให้ จงใช้สถานการณ์ตอ่ ไปนเ้ี พ่อื ตอบคําถาม ในข้อ 5 “ มงกฎุ เปน็ ครูคอมพวิ เตอรท์ ี่โรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่ง เขาพบวา่ ในคอมพวิ เตอร์หลายเครอ่ื ง ของโรงเรยี นมีรูปภาพลามกอนาจารและโปรแกรมละเมิดลิขสิทธิถ์ กู ดาวน์โหลดไว้เป็นจํานวนมากแต่ มงกฎุ ข้เี กียจลบสิ่งเหลา่ นนั้ ออกเพราะจาํ ยวนคอมพวิ เตอร์มีมากเกินไป ” 5. จากสถานการณท์ กี่ ําหนดให้นักเรยี นคดิ ว่าการกระทาํ ของสมชายผิดกฎหมาย พรบ. ว่าดว้ ยการกระทาํ ความผิดเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด? ก. ไม่มีความผดิ เพราะมงกุฎไมไ่ ด้เป็นคนทาํ การดาวน์โหลดสงิ่ เหลา่ นัน้ ดว้ ยตัวเอง ข. ไม่มีความผิดเพราะคอมพิวเตอรไ์ ม่ไดเ้ ปน็ ของมงกุฎ ค. มคี วามผดิ เพราะมงกฎุ ละเลยหนา้ ที่ของคณูคอมพวิ เตอร์ ง. มคี วามผิดเพราะส่งิ เหลา่ นัน้ อยใู่ นคอมพิวเตอรท์ มี่ งกฎุ เปน็ คนดูแลแล้วเขาไมล่ บออก

30 คาสง่ั : จากสถานการณท์ ่ีกําหนดให้ จงตอบคําถามวา่ สถานการณ์เหลา่ นี้มีความเหมือนหรือแตกต่างกนั อย่างไรบ้างภายใตป้ ระเด็นการใชง้ านลิขสทิ ธิท์ เี่ ปน็ ธรรม ในข้อ 1 - 3 สถานการณ์ A : สมรักษเ์ ป็นพอ่ ค้าทข่ี ายของตามตลาดนัด เขาเหน็ วา่ พ่อคา้ -แม่คา้ ในตลาด มักจะมีการเปิดเพลงเพื่อเรยี กลกู คา้ เข้ารา้ นดังนัน้ แลว้ เขาจงึ ทําการดาวน์โหลดเพลงจากอินเทอรเ์ นต็ หลาย ๆ เพลงแลว้ ทําเปน็ เพลย์ลสิ จากนน้ั จึงก๊อปป้ลี งแผน่ ซีดเี พอื่ ขายให้กับพ่อคา้ แม่ค้าในตลาด สถานการณ์ B : จลุ ทาํ งานเป็นครสู อนวิชาคอมพวิ เตอรท์ ่โี รงเรียนแห่งหนึง่ เขามักจะติดต่อไป ทางข้อความสว่ นตัวเพื่อขอนําตวั การ์ตนู ทศี่ ิลปนิ ไดว้ าดไวใ้ นโลกอินเทอรเ์ น็ตมาใชเ้ พื่อประกอบการเรยี น การสอนอย่เู สมอ 6. ขอ้ ใดถูกต้องในการวิเคราะห์สถานการณ์ท้งั 2 ในประเด็นเรือ่ งการใช้งานลขิ สทิ ธิ์ทีเ่ ป็นธรรม ก. บคุ คลในสถานการณ์ A และ B มีการใชง้ านลิขสทิ ธทิ์ เ่ี ปน็ ธรรม ข. บุคคลในสถานการณ์ A ไม่มีแต่ B มกี ารใชง้ านลิขสทิ ธ์ิท่ีเปน็ ธรรม ค. บุคคลในสถานการณ์ B ไม่มีแต่ A มกี ารใชง้ านลิขสิทธิ์ทเี่ ป็นธรรม ง. บคุ คลในสถานการณ์ A และ B ไม่มีความผดิ ตามกฎหมายคอมพิวเตอร์ 7. จากสถานการณ์ A นักเรยี นคดิ วา่ การกระทําของสมรักษเ์ ป็นการใช้งานลิขสิทธิ์ท่เี ป็นธรรมหรือไม่ เพราะเหตุใด ก. ไม่เปน็ ธรรมเพราะสมรักษ์ทาํ การดาวน์โหลดเพลงของผู้อ่นื มาและนาํ มาหารายได้ ข. ไม่เป็นธรรมเพราะสมรักษ์ไม่ไดข้ ออนุญาตพ่อค้า แม่คา้ ในตลาดก่อนขาย ค. เป็นธรรมเพราะสมรกั ษเ์ ป็นผู้สรา้ งเพลย์ลิสเพอ่ื รวบรวมเพลงด้วยตวั เอง ง. เป็นธรรมเพราะสมรกั ษ์อยากให้ตลาดเปดิ เพลงใหม่ ๆ บา้ ง 8. จากสถานการณ์ B นักเรยี นคิดวา่ การกระทาํ ของจลุ เป็นการใช้งานลขิ สิทธ์ิที่เป็นธรรมหรือไม่ เพราะ เหตใุ ด ก. ไม่เป็นธรรมเพราะจลุ นาํ ตัวการ์ตนู ของศิลปินมาใช้ในงานของตัวเอง ข. เปน็ ธรรมเพราะจลุ ทําการติดต่อเพ่ือขออนญุ าตก่อนนําตัวการ์ตูนมาใช้ ค. เป็นธรรมเพราะจุลใชเ้ พอ่ื การเรียนการสอน ง. ข้อ ข และ ค ถูก

31 คาสงั่ : จากสถานการณ์ที่กาํ หนดให้ จงใชส้ ถานการณ์ตอ่ ไปนเ้ี พอ่ื ตอบคําถาม ในข้อ 4 “ นอรท์ ทํางานเปน็ ครูสอนภาษาไทยทโ่ี รงเรยี นแห่งหนงึ่ เขาเห็นวา่ นักเรยี นไม่คอ่ ยอ่านหนงั สอื เพ่อื เขียนบันทึกการอ่านเท่าไหรน่ ัก เม่ือคดิ ไดด้ ังนัน้ แล้วนอรท์ จึงทาํ การถ่ายเอกสารนวนิยาย “เพชรพระ อมุ า” จํานวน 48 เล่มมาแลว้ มอบใหแ้ กห่ ้องสมดุ ของโรงเรียน เมือ่ เจา้ หน้าทห่ี ้องสมุดเห็นดังนน้ั จึง ตักเตอื นนอร์ทแลว้ บอกกับเขาว่า มันเป็นการใช้งานลิขสทิ ธ์ิท่ีไมเ่ ปน็ ธรรม ” 9. เพราะเหตุใดเจ้าหนา้ ทห่ี ้องสมดุ จงึ ตักเตือนนอร์ทวา่ การกระทาํ ดงั กล่าวเปน็ การใชง้ านลิขสิทธ์ทิ ่ไี ม่เปน็ ธรรม ก. เพราะนอรท์ ทําการคดั ลอกผลงานมาใช้เพ่ือการศกึ ษาจํานวนมากเกินไป ข. เพราะนอร์ทไปคัดลอกงานทตี่ ้องใช้ความรู้ ความสามารถ ความพยายามในการทาํ เปน็ อย่างสูง ค. เพราะการกระทาํ ของเขาทาํ ใหผ้ ้จู ดั พมิ พ์นิยายเสยี รายไดจ้ ํานวนมาก ง. ถกู ทุกข้อ คาส่งั : จากสถานการณ์ท่ีกําหนดให้ จงใชส้ ถานการณ์ต่อไปนเ้ี พอ่ื ตอบคาํ ถาม ในข้อ 5 “ อาเทอรเ์ ปน้ นักแคสเกมชือ่ ดงั ของเมืองไทยเขามักจะทําการดาวนโื หลดเกมแบบทดลองเลน่ ( Free tier ) เพอ่ื วจิ ารณ์คนให้บนโลกออนไลนไ์ ดด้ ู แตว่ ันหนึ่งเขากลบั รู้สกึ ชอบเกมน้ีมากจึงไดท้ ําการ ปรบั เปลี่ยนคาํ สัง่ ของเกมให้สามารถเลน่ ต่อจนจบได้แม้วา่ จะหมดเวลาทดลองไปแลว้ วนั ถัดมาอาเทอร์จึง ถูกเจ้าของเกมฟอ้ งข้อหาละเมิดลิขสทิ ธ์ิ ” 10. เพราะเหตุใดอาเทอร์จึงถูกเจ้าของเกมฟ้องข้อหาละเมิดลขิ สิทธ์ิ ก. เพราะอาเทอร์ทาํ การดาวนโ์ หลดเกมแบบทดลองเลน่ มาเลน่ ข. เพราะอาเทอรแ์ กไ้ ขคําส่งั ของเกมให้สามารถเลน่ ตอ่ จนจบได้ ค. เพราะอาเทอร์เป็นนักแคสเกมชอ่ื ดงั ท่ีมีรายได้มาก ง. เพราะอาเทอร์วจิ ารณ์เกมในแง่ลบให้แกค่ นดูฟัง

32 คาสง่ั : จากสถานการณ์ทกี่ ําหนดให้ จงตอบคําถามวา่ สถานการณเ์ หล่านีม้ ีความเหมือนหรอื แตกต่างกนั อยา่ งไรบ้างภายใต้ประเด็น เหตผุ ลวิบตั ิ ในขอ้ 1 – 3 สถานการณ์ A : ครูเดชาและครเู อกราชนั่งปรึกษาเรอื่ งแนวคดิ การให้นักเรียนสามารถนํา โทรศัพทเ์ ข้ามาใชใ้ นชัน้ เรยี นเพ่อื ท่จี ะได้ใช้สืบคน้ ข้อมูล ครเู อกราชจึงแย้งครเู ดชาว่า “น่คี ุณขเี้ กียจสอน เด็กใช่ไหมล่ะ ถงึ ไดใ้ ห้เด็กเอาโทรศพั ท์ไปเล่นในคาบ ” สถานการณ์ B : ไพบลู ย์ทาํ งานเป็นหวั หน้า อสม. ของหมูบ่ ้านและมสี วนมะนาวเป็นของตัวเอง เขาต้องการให้คนในหมู่บ้านมาซอ้ื มะนาวของเขาจึงไดป้ ระกาศท่ีศาลากลางของหมู่บา้ นวา่ “ มะนาวมี วติ ามินซแี ละมีประโยชน์มาก หากกนิ คู่กบั โซดาจะช่วยรกั ษาโรคมะเรง็ ได้ ” 11. ข้อใดถกู ต้องในการวเิ คราะห์สถานการณ์ทงั้ 2 ในประเด็นเรือ่ งเหตุผลวิบัติ ก. บคุ คลในสถานการณ์ A และ B เปน็ ผทู้ ี่ใช้เหตผุ ลวบิ ตั ิ ข. บุคคลในสถานการณ์ A เป็นแต่ B ไม่เป็นผู้ท่ีใชเ้ หตผุ ลวบิ ัติ ค. บุคคลในสถานการณ์ B เปน็ แต่ A ไมเ่ ปน็ ผ้ทู ใี่ ช้เหตผุ ลวิบตั ิ ง. บคุ คลในสถานการณ์ A และ B ไม่เปน็ ผู้ที่ใชเ้ หตผุ ลวบิ ัติ 12. จากสถานการณ์ A นกั เรยี นคดิ ว่าครูเอกราชเป็นผทู้ ใี่ ชเ้ หตุผลวิบัติหรอื ไม่ ถา้ ใชเ้ ป็นเหตุผลวิบัติแบบ ใด ? ก. ไม่เปน็ ผู้ท่ใี ช้เหตุผลวบิ ัติ ข. เป็นผ้ใู ชเ้ หตุผลวิบัตแิ บบไม่เป็นทางการ ค. เปน็ ผใู้ ช้เหตผุ ลวบิ ตั ิแบบเปน็ ทางการ ง. ถูกทุกข้อ 13. จากสถานการณ์ B นกั เรียนคดิ วา่ ไพบลู ย์เป็นผ้ทู ่ใี ชเ้ หตุผลวบิ ัตหิ รือไม่ ถ้าใชเ้ ป็นเหตุผลวบิ ตั แิ บบใด ? ก. ไม่เป็นผทู้ ใ่ี ชเ้ หตผุ ลวิบตั ิ ข. เปน็ ผใู้ ช้เหตุผลวิบตั ิแบบไม่เป็นทางการ ค. เป็นผู้ใช้เหตผุ ลวิบัตแิ บบเป็นทางการ ง. ถกู ทุกข้อ

33 คาสั่ง : จากสถานการณท์ ี่กําหนดให้จงตอบคําถามในประเดน็ เหตุผลวิบตั ิในขอ้ 4 – 5 “ นกิ เป็นนักเรยี นที่โรงเรียนชอ่ื ดังแหง่ หน่งึ ในวันนน้ั ทางโรงเรยี นประกาศใหน้ ักเรยี นสวม หน้ากากอนามยั มาโรงเรยี นเพราะฝ่นุ ควนั ในอากาศมมี ากขน้ึ นิกท่ีไม่อยากใส่จงึ โพสสเตตัสลงเฟสบคุ๊ วา่ [ แคฝ่ ่นุ ยังต้องใสห่ น้ากาก เด๋ียวอกี หน่อยคงต้องเอาชุดนักบินอวกาศมาใสแ่ ล้วล่ะ ] จากนั้นเวลาไมน่ าน เพือ่ นของนิกก็มาคอมเมน้ ทว์ ่า [ นายนมี่ ันเหตุผลวิบัติจริงๆ ] 14. เพราะเหตุใดเพอื่ นของนิกจึงบอกวา่ เขาเปน็ พวกใช้เหตุผลวบิ ัติ ก. เพราะนิกไม่ให้ความรว่ มมือในการใส่หน้ากากอนามยั ข. เพราะนิกโพสสเตตัสลงเฟสบุ๊ค ค. เพราะนิกอ้างเหตผุ ลในการไม่สวมหน้ากากอนามยั เกนิ ความจริง ง. ถกู ทุกข้อ 15. จากสถานการณด์ งั กล่าวการใหเ้ หตผุ ลของนิกเปน็ เหตุผลวิบตั ิแบบใด ? ก. เหตผุ ลวิบตั ิแบบเปน็ ทางการ ข. เหตผุ ลวิบตั ิแบบไมเ่ ปน็ ทางการ ค. เหตุผลวิบตั ิแบบกึ่งทางการ ง. ไม่เปน็ เหตุผลวบิ ตั ิ คาสง่ั : จากสถานการณ์ทกี่ าํ หนดให้ จงตอบคําถามวา่ สถานการณเ์ หล่าน้ีมีความเหมือนหรือแตกต่างกนั อย่างไรบ้างภายใตป้ ระเดน็ PROMPT ในข้อ 1 - 3 สถานการณ์ A : ธนดลเป็นผู้ประกาศข่าวในรายการเรื่องเล่าเย็นนี้โดยในแต่ละวันจะมีข้อมูล ข่าวท่ีสาํ รวจจากเหตุการณท์ ่ีเกดิ ข้ึนจริงในประเทศไทยส่งมาทธ่ี นดล ในทุก ๆ คร้ังที่ออกรายการเขามักจะ เลือกสไตล์การรายงานข่าวท่ียืดเย้ือ วกไปวนมา จับใจความสําคัญไม่ได้ แถมยังลําดับเนื้อหาของข่าว ผดิ เพี้ยนไปหมดอีกท้ังเขามกั จะใส่อารมณ์สว่ นตัวเข้าไปในระหว่างการรายงานข่าว บางคร้ังมีการเอนเอียง ไปทางฝา่ ยใดฝ่ายหนึ่งเพือ่ เรียกเรตตง้ิ ให้รายการ ทําให้ประชาชนสว่ นใหญไ่ มพ่ อใจธนดล สถานการณ์ B : ธิตมิ าทาํ หนา้ ที่เป็นนกั เขยี นบทความลงหนังสอื พิมพซ์ ึ่งข่าวในแต่ละคอลัมม์ท่ี เขียนมที ีม่ าจากเหตุการณ์ที่เกิดขนึ้ จริงในสังคมไทย โดยธติ ิมามกั จะทาํ การสรุปข้อความให้ตรงประเด็น อา่ นเขา้ ใจง่าย เพยี งแค่อา่ นไมก่ บ่ี รรทัดกส็ ามารถเข้าใจเน้ือหาของขา่ วท้ังหมด แต่ในบางคอลัมม์ท่ี เกยี่ วกับการรักษาสุขภาพ ธิตมิ าจะสอดแทรกเน้ือหาเพิ่มเติมเขา้ ไปและแนะนาํ ผลิตภณั ฑ์ที่ช่วยให้ลด นํา้ หนักไดง้ ่ายขึ้นเข้าไปดว้ ยเพราะผลติ ภัณฑด์ งั กลา่ วเปน็ ผู้สนับสนนุ ให้กับหนงั สอื พิมพ์ 16. ขอ้ ใดถูกต้องในการวเิ คราะหส์ ถานการณท์ ง้ั 2 ในประเดน็ Presentation ( การนาํ เสนอ ) ก. วธิ ีการนําเสนอข้อมูลจากสถานการณ์ A และ B น่าเชื่อถือ ข. วิธีการนําเสนอข้อมลู จากสถานการณ์ A น่าเชือ่ ถอื แต่ B ไมน่ า่ เชอ่ื ถือ

34 ค. วิธีการนาํ เสนอข้อมลู จากสถานการณ์ B นา่ เชอ่ื ถอื แต่ A ไมน่ า่ เชือ่ ถือ ง. วิธีการนาํ เสนอข้อมูลจากสถานการณ์ A และ B ไม่นา่ เชื่อถือ 17. จากสถานการณ์ A เพราะเหตุใดประชาชนส่วนใหญจ่ งึ ไม่พอใจธนดล ? ก. เพราะธนดลเปน็ ผปู้ ระกาศขา่ วทไี่ มน่ า่ เชือ่ ถือ ข. เพราะสํานักงานขา่ วของธนดลไม่น่าเชื่อถือ ค. เพราะวธิ กี ารรายงานขา่ วที่ธนดลใช้ไมน่ า่ เชอ่ื ถือ ง. เพราะผู้คนอยากฟังข่าวอ่นื 18. จากสถานการณ์ B ถ้านักเรียนควรจะเช่ือบทความในคอลมั มเ์ ก่ยี วกับการรักษาสุขภาพท่ีธิติมาเขยี น ขึน้ หรอื ไม่ ? เพราะอะไร? ก. เชือ่ เพราะธติ มิ าเป็นนักเขยี นทีม่ คี วามน่าเช่ือถือ ข. เช่อื เพราะแหล่งที่มาของข้อมูลนา่ เช่อื ถอื ค. ไม่เช่อื เพราะวธิ ีการนําเสนอข้อมูลไมน่ า่ สนใจ ง. เชื่อเพียงบางสว่ นเพราะธนดลมีการแนะนําผลิตภัณฑ์ท่ีชว่ ยให้ลดนํา้ หนัก คาสัง่ : จากสถานการณ์ทีก่ ําหนดให้ จงตอบคําถามวา่ สถานการณเ์ หลา่ น้มี ีความเหมือนหรอื แตกต่างกนั อย่างไรบ้างภายใต้ประเดน็ PROMPT ในข้อ 4 - 5 “ ในปี พ.ศ. 2563 มานิชตอ้ งการไปเท่ยี วทีเ่ กาะภเู กต็ ซึ่งอยู่ทะเลฝง่ั อนั ดามันดังนัน้ เขาจงึ เขา้ ไปที่ เวบ็ ไซต์ www.tmd.go.th ของกรมอุตนุ ิยมวิทยาเพ่ือตรวจสอบสภาพอากาศของทะเลบรเิ วณดังกลา่ ว ก่อนท่จี ะไปเทย่ี วเนื่องจากข้อมลู ของเว็บไซต์จะมีการอัพเดทในทกุ วัน ทาํ ใหข้ ้อมลู มีความน่าเช่อื ถือเปน็ อย่างมาก ” 19. ข้อใดต่อไปนี้เปน็ การวิเคราะหค์ วามน่าเชื่อถือของข้อมูลจากสถานการณ์นี้ตามประเด็นต่างๆของ PROMPT ไดอ้ ย่างถกู ต้อง ก. Relevance : ขอ้ มูลท่ีไดส้ มั พันธก์ ับส่งิ ทตี่ ้องการ ข. Provenance : แหล่งทมี่ าของข้อมูลไม่น่าเช่ือถือ ค. Timeliness : ข้อมลู ไม่เป็นปัจจบุ ัน ง. Presentation : วธิ กี ารนาํ เสนอ ไม่นา่ สนใจ

35 20. จากสถานการณท์ ี่กําหนดให้นักเรียนสามารถพจิ ารณาตามประเด็นต่างๆของ PROMPT ไดอ้ ย่างไร? ก. Provenance : แหลง่ ทีม่ าน่าเช่ือถือ , Relevance : ข้อมลู ไมส่ อดคล้องกับส่งิ ทต่ี ้องการ ข. Provenance : แหลง่ ที่มาน่าเช่ือถือ , Relevance : ขอ้ มูลสอดคลอ้ งกับสง่ิ ที่ตอ้ งการ ค. Provenance : แหล่งท่ีมาไม่น่าเช่อื ถอื , Relevance : ข้อมลู สอดคล้องกับสง่ิ ท่ตี ้องการ ง. Provenance : แหล่งที่มาไม่น่าเชอ่ื ถือ , Relevance : ข้อมลู ไม่สอดคลอ้ งกับสิง่ ท่ีต้องการ

36 คู่มอื การใชง้ านบทเรยี นออนไลน์ เรื่อง วิทยาการคานวณ3 1. นกั เรียนพมิ พ์ URL : https://sites.google.com/view/krusumatik จะปรากฏหนา้ ตามภาพ ภาพท่ี 1 : หนา้ แรกของเวบ็ ไซตห์ ้องเรียนออนไลน์ของคุณครูสมุ าลี อปุ ชัย 2. คลกิ เลือกเมนู “หอ้ งเรยี นออนไลน์” ดงั ภาพ ภาพที่ 2 : เมนู “หอ้ งเรียนออนไลน์

37 3. จะปรากฏหน้าเวบ็ ไซต์ ดังภาพ ภาพท่ี 3 : หน้าห้องเรยี นออนไลน์ 4. คลิกเลอื กวิชา “วทิ ยาการคํานวณ3 ม.3” ดงั ภาพ ภาพท่ี 4 : เลือกวชิ า “วิทยาการคํานวณ3 ม.3”

38 5. จะปรากฏหน้าบทเรยี นออนไลน์ “วทิ ยาการคาํ นวณ3 ม.3” ดงั ภาพ ภาพท่ี 5 : บทเรียนออนไลน์วชิ า “วทิ ยาการคาํ นวณ3 ม.3” 6. บทเรียนออนไลน์ รายวชิ า วิทยาการคํานวณ3 รหัส ว23103 ประกอบดว้ ยสว่ นตา่ งๆ ดังน้ี - บทท่ี 1 การพฒั นาแอฟพลเิ คช่ัน - บทท่ี 2 การประมวลผลขอ้ มลู - บทท่ี 3 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน - บทท่ี 4 อินเทอรเ์ น็ตของสรรพสิ่ง - บทที่ 5 การสร้างสรรคผ์ ลงานดว้ ย Scratch หรือสแกนควิ อารโ์ ค๊ดเพ่ือเข้าสู่ บทเรยี นออนไลน์ บทที่ 3 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งรู้เท่าทัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook