มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปรทิ ัศน์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏลำปาง (ISSN 2350 - 9392) ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 (มกราคม - เมษายน 2564) หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ลำปาง คณะทปี่ รกึ ษา รองศาสตราจารย์วไิ ลลักษณ์ พรมเสน คณบดีคณะมนุษยศาสตรส์ งั คมศาสตร์ รองคณบดีฝ่ายแผน อาจารยอ์ ัคจร แม๊ะบา้ น รองคณบดฝี า่ ยกจิ การนกั ศกึ ษาและส่ือสารองค์กร รองคณบดีฝา่ ยวิชาการและประกันคณุ ภาพการศึกษา อาจารย์เทวฤทธิ์ วิญญา ผูช้ ว่ ยคณบดฝี า่ ยยทุ ธศาสตรแ์ ละบริการวชิ าการ ผู้ช่วยคณบดฝี า่ ยวิชาการตา่ งประเทศและสารสนเทศ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.บณั ศิกาญจ ตงั้ ภากรณ์ ผชู้ ่วยคณบดฝี ่ายประกนั คุณภาพการศกึ ษาและกิจการพิเศษ ผชู้ ว่ ยคณบดฝี า่ ยวทิ ยบรกิ ารและสารสนเทศ อาจารย์ปิยรตั น์ วงศจ์ มุ มะลิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์นิตยา มูลปนิ ใจ ผู้ชว่ ยศาสตราจารยอ์ ญั ธิชา รุ่งแสง ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุภาวดี ยาดี บรรณาธกิ าร ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.บัณศกิ าญจ ตง้ั ภากรณ์ ผชู้ ว่ ยบรรณาธิการ พสิ ูจน์อักษร อาจารย์ศจีรตั น์ วฒุ สิ งิ หช์ ยั ออกแบบวารสาร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณฐั นรินทร์ เมธวี ฒุ ินนั ทน์ ภาณุภัทรธนวัฒน์ เจา้ หนา้ ท่ีประสานงาน ผชู้ ่วยศาสตราจารย์นติ ยา มูลปนิ ใจ ผูช้ ่วยศาสตราจารยเ์ อือ้ มพร ฟเู ต็มวงศ์ อาจารยต์ ลุ าภรณ์ แสนปรน อาจารย์ทัตพิชา สกุลสบื Mr. Oliver Leonard Dilley Mr. Richard Lawrence Mann อาจารยเ์ จษฎา ทองสขุ รองศาสตราจารย์ ดร.ศริ กิ ร อิน่ คำ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ธงชัย ปันสขุ อาจารย์ชลาพันธ์ อุปกจิ นายรตกิ รณ์ เปยี้ อุตร กองบรรณาธิการภายใน รองศาสตราจารย์ ดร.ชตุ ิกานต์ รักธรรม รองศาสตราจารย์ วา่ ที่ร้อยตรี ดร.นริ ันดร์ ภักดี รองศาสตราจารย์ ดร.บญุ เหลอื ใจมโน รองศาสตราจารย์ ดร.ภิญญพนั ธุ์ พจนะลาวัณย์ รองศาสตราจารย์ ดร.วิพฒั น์ หม่นั การ มนุษยศาสตรส์ ังคมศาสตร์ปรทิ ัศน์ ปีท่ี 9 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > ส่วนนำ
กองบรรณาธกิ ารภายใน (ต่อ) รองศาสตราจารย์ ดร.ศริ กิ ร อิ่นคำ รองศาสตราจารย์ ดร.Truong Thi Hang รองศาสตราจารย์พรสวรรค์ มณีทอง รองศาสตราจารย์พฤกษา เครือแสง รองศาสตราจารยว์ ไิ ลลักษณ์ พรมเสน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ขนษิ ฐา ใจมโน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐด์ นัย ประเทืองบรบิ รู ณ์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนพร หมูคำ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.บณั ศิกาญจ ตงั้ ภากรณ์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พงศธร คำใจหนัก ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รชั ฎาภรณ์ ทองแป้น ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รชั นีวรรณ มาวงศ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฤทัย พานชิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วิศท์ เศรษฐกร ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุประวณี ์ แสงอรณุ เฉลมิ สขุ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สภุ าวดี ยาดี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อนนั ต์ อปุ สอด ผชู้ ่วยศาสตราจารยก์ ง่ิ แกว้ ทศิ ตงึ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ขัตติยา ขัติยวรา ผชู้ ่วยศาสตราจารยช์ นม์ธนัช สุวรรณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชยั เนตร ชนกคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐนรินทร์ เมธีวฒุ นิ นั ทน์ ภาณภุ ทั รธนวัฒน์ ผู้ช่วยศาสตราจารยณ์ ฐั พงษ์ คันธรส ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนพุ งษ์ ลมอ่อน ผู้ช่วยศาสตราจารยน์ ิตยา มูลปนิ ใจ ผู้ช่วยศาสตราจารย์นนั ทิยา สมสรวย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ประหยัด ชว่ ยงาน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ปวีณา งามประภาสม ผู้ชว่ ยศาสตราจารยร์ ชั ดาพร หวลอารมณ์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารยว์ เิ ชิด ทวกี ลุ ผู้ชว่ ยศาสตราจารยว์ ราภรณ์ ภมู ลี ผชู้ ่วยศาสตราจารยศ์ รชยั เตง็ รัตน์ล้อม ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์อญั ธชิ า รงุ่ แสง ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์อมั ฤตา สารธิวงค์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารยอ์ าระดา พ่มุ ไพศาลชยั ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์เอ้ือมพร ฟเู ตม็ วงศ์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารยธ์ นกร สิริสคุ ันธา ผู้ชว่ ยศาสตราจารยน์ ภาวรรณ เนตรประดษิ ฐ์ อาจารย์ ดร.เกวลนิ จันทะเดช มนษุ ยศาสตร์สงั คมศาสตรป์ รทิ ัศน์ ปที ี่ 9 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > สว่ นนำ
กองบรรณาธกิ ารภายใน (ต่อ) อาจารย์ ดร.เหนือขวัญ บัวเผ่อื น อาจารย์ ดร.สกุ ญั ญา แซโ่ ก ผทู้ รงคุณวุฒิภายนอก ศาสตราจารย์เกยี รติคณุ ดร.ธเนศวร์ เจริญเมอื ง มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งใหม่ ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ุณ ดร.มนสั สุวรรณ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ศาสตราจารย์ ดร.สมพงศ์ วทิ ยศกั ดิ์พันธุ์ มหาวิทยาลัยราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ศาสตราจารย์ ดร.อรรถจักร์ สตั ยานรุ ักษ์ มหาวิทยาลัยรงั สิต มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ศาสตราจารย์ชวน เพชรแกว้ มหาวทิ ยาลยั มหิดล มหาวทิ ยาลัยนเรศวร รองศาสตราจารย์ ดร.เก่งกจิ กิติเรียงลาภ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธานี มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร.จมุ พล หนมิ พานชิ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มหาวิทยาลัยนเรศวร รองศาสตราจารย์ ดร.ชาตรี ประกติ นนทการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี มหาวิทยาลัยพะเยา รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงคช์ ยั ปิฎกรัชต์ มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้ มหาวิทยาลัยพะเยา รองศาสตราจารย์ ดร.ธัญญา สงั ขพนั ธานนท์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค์ รองศาสตราจารย์ ดร.ธนวิทย์ บตุ รอุดม มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศูนยล์ ำปาง รองศาสตราจารย์ ดร.นติ ยา วรรณกติ ร์ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย รองศาสตราจารย์ ดร.บุรนิ ทร์ ศรสี มถวิล มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงราย รองศาสตราจารย์ ดร.ประจักษ์ สายแสง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย รองศาสตราจารย์ ดร.ปัญญา รุ่งเรือง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร รองศาสตราจารย์ ดร.เปรมวิทย์ วิวัฒนเศรษฐ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลยั หัวเฉยี วเฉลมิ พระเกียรติ รองศาสตราจารย์ ดร.ภทั รธนิษฐ์ ศรีจอมทอง มหาวิทยาลยั นเรศวร มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชยี งราย รองศาสตราจารย์ ดร.วรี ะ เลศิ สมพร มหาวทิ ยาลัยกรงุ เทพธนนบรุ ี รองศาสตราจารย์ ดร.ศิรภสั สรศ์ วงศ์ทองดี รองศาสตราจารย์ ดร.สชุ าติ แสงทอง รองศาสตราจารย์ ดร.สุภาพร คงศิริรัตน์ รองศาสตราจารย์ ดร.สายฝน สเุ อียนทรเมธี รองศาสตราจารย์ ดร.อภิศกั ด์ิ โพธปิ์ น้ั รองศาสตราจารย์ ดร.อภิสทิ ธ์ิ เอีย่ มหนอ่ รองศาสตราจารย์ ดร.เอกฉัท จารุเมธีชน รองศาสตราจารยป์ ระกายศรี ศรีรงุ่ เรอื ง รองศาสตราจารย์พดงุ ศักด์ิ คชสำโรง ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.กติ ติ ชยางคกลุ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวญั ใจ กจิ ชาลารตั น์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชมนาด อินทจามรรกั ษ์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ทวีศกั ด์ิ เผือกสม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ อิม่ สำราญ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรรศ อัมโร ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นวลนภา จุลสิทธิ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปราโมทย์ ดา่ นประดิษฐ์ มนษุ ยศาสตรส์ ังคมศาสตรป์ ริทัศน์ ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > ส่วนนำ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก (ต่อ) ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พศุตม์ ลาศขุ ะ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ มหาวิทยาลยั นเรศวร ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ยอดพล เทพสิทธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สถาบนั บณั ฑิตพฒั นบริหารศาสตร์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เยาวเรศ ธาราวฒุ ิ มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยนเรศวร ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.รตพิ ร ถงึ ฝั่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่งภัสสรณ์ ศรัทธาธนพัฒน์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชียงราย มหาวิทยาลัยนเรศวร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลาวัณย์ สังขพันธานนท์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีรวิชญ์ ปิยนนทศิลป์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลยั พะเยา ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุชาดา เจยี พงษ์ มหาวทิ ยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สหัทยา สิทธวิ เิ ศษ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสาวภาคย์ กัลยาณมิตร มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ย์ลำปาง มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อภิลักษณ์ เกษมผลกูล มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อตุ รดิตถ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จินดารัตน์ เดอ เวชาวเวอร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ สมิทธิธรรม ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยด์ ารารัตน์ คำเปง็ ผู้ชว่ ยศาสตราจารยน์ พวรรณ ธรรมสทิ ธิ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประชุม บุญน้อม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุภชยั ตะ๊ วชิ ยั ผู้ช่วยศาสตราจารย์สยุมพร กาษรสุวรรณ ผชู้ ่วยศาสตราจารยโ์ อฬาร รตั นภกั ดี อาจารย์ ดร.เกรียงไกร เกิดศริ ิ อาจารย์ ดร.กรวรรณ สงั ขกร อาจารย์ ดร.ธัญญา จันทรต์ รง อาจารย์ ดร.นริศา ไพเจรญิ ผ้ทู รงคณุ วฒุ ปิ ระจำฉบบั ศาสตราจารย์ ดร.สมพงศ์ วิทยศักด์ิพันธ์ุ รองศาสตราจารย์ ดร.บุรินทร์ ศรีสมถวลิ รองศาสตราจารย์ ดร.วรี ะ เลิศสมพร รองศาสตราจารย์ ดร.สชุ าติ แสงทอง รองศาสตราจารยป์ ระกายศรี ศรรี ุ่งเรอื ง ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ขนิษฐา ใจมโน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธรรศ อมั โร ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ อมิ่ สำราญ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.บณั ศกิ าญจ ตัง้ ภากรณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปราโมทย์ ดา่ นประดิษฐ์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุชาดา เจยี พงษ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จินดารัตน์ เดอ เวชาวเวอร์ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ดารารัตน์ คำเป็ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์นพวรรณ ธรรมสิทธ์ิ มนษุ ยศาสตร์สังคมศาสตรป์ ริทัศน์ ปีท่ี 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > ส่วนนำ
ผู้ทรงคุณวฒุ ิประจำฉบบั (ตอ่ ) ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์รัชดาพร หวลอารมณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารยโ์ อฬาร รัตนภักดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์เออ้ื มพร ฟูเต็มวงศ์ สำนกั งานกองบรรณาธกิ าร คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ลำปาง 119 หมู่ 9 ตำบลชมพู อำเภอเมือง จงั หวัดลำปาง 52100 เบอรโ์ ทรติดตอ่ 054-316154 E-mail: [email protected] มนุษยศาสตร์สงั คมศาสตร์ปรทิ ัศน์ ปีท่ี 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > ส่วนนำ
วารสารมนุษยศาสตรส์ ังคมศาสตร์ปรทิ ัศน์ Faculty of Humanities and Social Sciences Review กำหนดออกปลี ะ 3 ฉบบั เดอื นมกราคม - เมษายน เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม เดือนกันยายน - ธันวาคม วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือเผยแพร่และแลกเปล่ียนความรู้ ความคิดและงานวิจัยทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ทั้งยัง สง่ เสริมและสนับสนุนการค้นคว้า และวจิ ยั เพ่ือความเป็นเลศิ ทางด้านมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ทำหน้าที่เป็น สื่อกลางให้แก่นักวิชาการนักศึกษา และบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจในสาขาวิชาดังกล่าว โดยวารสารมีขอบเขต เนื้อหาทางวิชาการในสาขาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ปรัชญา สัมคมศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ การพัฒนาชุมชน ดนตรี ศิลปะ ออกแบบประยุกต์ศิลป์ นิติศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ และ รัฐศาสตร์ ข้อเสนอแนะสำหรบั ผู้สนใจเสนอบทความลงวารสาร กองบรรณาธกิ ารพจิ ารณารบั บทความ 3 ประเภท ดังน้ี 1. บทความ (Article) แบง่ เปน็ 1.1. บทความทางวิชาการ หมายถึง งานเขียนซ่ึงเป็นเรื่องท่ีน่าสนใจและอยู่ในกรอบเนื้อหา ทีก่ ำหนด ตอ้ งมีการอ้างองิ ตามหลักวิชาการ 1.2. บทความวิจัย หมายถึง การนำเสนอผลการวิจัยท่ีได้มีการศึกษาค้นคว้าตามหลักทางวิชาการวิจัย แต่ต้องนำมาปรับเพอื่ นำเสนอในรปู แบบบทความทงี่ า่ ยต่อการอ่านและทำความเข้าใจ 2. บทวจิ ารณ์หนังสือ (book Review) หมายถึงบทความท่ีวพิ ากษ์ วจิ ารณ์เนื้อหาสาระ คุณคา่ ของหนังสือ หรือบทความโดยบทวิจารณ์หนังสือ จะต้องกล่าวถึงรายละเอียดของหนังสือ ได้แก่ ช่ือผู้แต่ง ปีท่ีพิมพ์ สำนักพมิ พ์ ครัง้ ทพ่ี ิมพ์ จำนวนหนา้ ใหช้ ดั เจนดว้ ย 3. บทความปริทัศน์ (Review Article) หมายถึง งานวิชาการที่ประเมินสถานะล่าสุดทางวิชาการ (state of the art) เฉพาะทางท่ีมีการศึกษาค้นคว้ามีการวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ ทั้งทางกว้างและ ทางลึกอย่างทันสมัย หลกั เกณฑก์ ารนำเสนอบทความวิชาการหรอื บทความงานวจิ ัยเพอื่ พิจารณาตพี มิ พ์ 1. กองบรรณาธิการจะเปน็ ผรู้ บั ผิดชอบในการพจิ ารณาบทความ โดยจะทำการคดั เลือกตามเกณฑ์ ต่อไปน้ี 1) ใช้ภาษาอย่างเหมาะสม มีโครงสรา้ งของบทความท่ีถกู ต้องตามหลักการเขียน 2) ใชร้ ะเบยี บวธิ ีวิจยั ที่เหมาะสม มีการอ้างอิงและสังเคราะห์องคค์ วามรู้ใหม่ 3) บทความท่ไี ดร้ บั การตีพิมพ์จะต้องผา่ นการพจิ ารณาจากผูท้ รงคุณวฒุ ิอย่างนอ้ ย 2 ท่าน 2. บทความทีส่ ่งมาให้พจิ ารณา จะตอ้ งไมเ่ คยตีพมิ พเ์ ผยแพรห่ รอื อยู่ในระหวา่ งการพิจารณาในวารสารใด 3. บทความวิจัยและบทความวชิ าการ ตอ้ งมสี ่วนประกอบดังน้ี 1) ชื่อเร่ืองท้ังภาษาไทยและภาษาองั กฤษ และช่อื ผูเ้ ขียนทุกคน มนุษยศาสตร์สงั คมศาสตร์ปรทิ ัศน์ ปที ี่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > ส่วนนำ
2) บทคัดย่อภาษาไทยมีความยาวไม่เกิน 300 คำ และบทคัดย่อภาษาอังกฤษมีความยาวไม่เกิน 300 คำ ต้องเป็นบทคัดย่อภาษาอังกฤษท่ีมีความถูกต้องตามหลักโครงสร้างและไวยากรณ์ของ ภาษาองั กฤษ 3) คุณวุฒิสูงสุด ตำแหน่งการทำงาน และหน่วยงานท่ีสังกัดของผู้เขียนทุกคนท้ังภาษาไทยและ ภาษาองั กฤษ 4) คำสำคญั (Keywords) ท้งั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 5) เนื้อหาของบทความวิจัย ประกอบด้วยหัวข้อดังนี้ บทนำ วัตถุประสงค์ สมมติฐานในการวิจัย (ถ้ามี) แนวคิดทฤษฎีท่ีใช้ การทบทวนวรรณกรรมหรืองานวิจัยในอดีตที่เก่ียวข้อง (ถ้ามี) ระเบียบวิธีการวิจัย กรอบแนวความคิดการวิจัย ผลการวิจัย สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล กิตติกรรมประกาศ (ถ้ามี) และ เอกสารอา้ งองิ ทง้ั ในเน้ือเรอื่ งและเอกสารอา้ งองิ ท้ายบทความ 6) เน้ือหาของบทความวิชาการ ประกอบด้วยหัวข้อดังน้ี บทนำ วัตถุประสงค์ ส่วนอภิปรายตัว บท บทสรุป และเอกสารอ้างองิ ท้งั ในเน้อื เรือ่ งและเอกสารอ้างอิงท้ายบทความ 4. ต้นฉบับต้องมีความยาวไม่เกิน 15 หน้ากระดาษ ขนาด A4 พร้อมบันทึกไฟล์บทความที่อยู่ในรูปแบบ word processor (นามสกุล *.doc หรอื *.docx) 5. บทความวิจารณ์หนังสือ (book review) ต้องประกอบด้วยช่ือผู้แต่ง ชื่อหนังสือ สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ ปีท่ีพิมพ์ และจำนวนหน้าของหนังสือ โดยผู้ปริทัศน์สามารถเขียนด้วยความยาวไม่เกิน 10 หน้ากระดาษ A4 พร้อมบันทกึ ไฟล์บทความท่ีอย่ใู นรูปแบบ word processor (นามสกุล *.doc หรือ *.docx) 6. การอ้างอิง ให้ใช้รปู แบบ APA (6th edition) เป็นมาตรฐาน สามารถคน้ หาวิธีการเขียนเอกสารอ้างอิง ทถ่ี ูกต้องเพม่ิ เติมไดจ้ ากเว็บไซต์ APA http://www.apastyle.org 7. บรรณานุกรม เร่ิมด้วยบรรณานุกรมภาษาไทย แล้วตามด้วยบรรณานุกรมภาษาอังกฤษและเรียง ตามลำดบั ตัวอกั ษร 8. จัดส่งบทความผ่านระบบออนไลน์ได้ที่ http://www.human.lpru.ac.th/husocojs/index.php/ HUSOCReview หรอื อเี มล [email protected] การเขยี นเอกสารอ้างองิ 1. การอา้ งอิงในเนือ้ หา ใหใ้ ชก้ ารอ้างองิ ระบบนามปี มีข้อกำหนดดังน้ี 1.1 หากชอ่ื ผแู้ ต่งอย่หู นา้ ขอ้ ความที่อา้ งถึง ให้ใช้ ชื่อผูแ้ ต่ง (ปพี มิ พ์) 1.2 หากชือ่ ผแู้ ตง่ อย่ทู า้ ยข้อความทอ่ี า้ งถึง ให้ใช้ (ชอ่ื ผู้แต่ง, ปีพมิ พ)์ 1) กรณีผู้แต่ง 1 คน ให้เขยี นเป็น (ช่ือผู้เขยี น, ปีพมิ พ)์ 2) กรณผี แู้ ตง่ 2 คน ให้เขยี นเปน็ (ชอื่ ท่ี 1 และชอ่ื ที่ 2, ปพี ิมพ์) 3) กรณีผแู้ ต่ง 3-5 คน ให้เขียนเปน็ (ชือ่ ท่ี 1, ชื่อท่ี 2, ช่อื ท่ี 3, ปีพมิ พ)์ 4) กรณีผู้แต่งมากกว่า 5 คน ครั้งแรกให้เขียนช่ือผู้เขียนท้ังหมด และคร้ังต่อไปให้เขียน เปน็ (ชื่อผูเ้ ขยี นคนที่ 1 และคณะ, ปพี ิมพ)์ หรือ (last name of 1st author et al, publish year) 2. การอา้ งอิงท้ายบทความ ใหใ้ ช้รูปแบบ APA เวอร์ช่นั 6 (ดูเพ่ิมเตมิ ที่ http://www.apastyle.org/) มนษุ ยศาสตร์สงั คมศาสตรป์ ริทัศน์ ปที ี่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > ส่วนนำ
มนุษยศาสตร์สงั คมศาสตร์ปรทิ ัศน์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏลำปาง (ISSN 2350 - 9392) ปที ี่ 9 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2564) บทบรรณาธิการ วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตรป์ ริทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2564) ฉบับนี้ เป็นฉบับแรกของการปรับรอบการตีพิมพ์วารสาร ให้ตรงตามรอบปีปฏิทิน 4 เดือนต่อฉบับ โดยบทความที่นำมาเผยแพร่ครั้งนี้ได้จาก การเรียบเรียง องค์ความรู้เชิงวิชาการและ ข้อค้นพบที่ได้จากการวิจัย รวม 10 เรื่อง ซึ่งแบ่งเป็นงานเขียนที่รวบรวมองค์ความรู้ที่ผสมผสานกั บสถานะการณ์ปัจจุบัน จำนวน 2 เรื่อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องผลกระทบโควิด 19 ต่ออาชีพนักดนตรีกลางคืน ในจังหวัดเชียงใหม่และลำปาง และมิติใหม่ของการพัฒนาทักษะพื้นฐานเปียโนสำหรับผู้เรียนในยุคปัจจุบัน สำหรับงานเขียนที่เป็นข้อค้นพบที่ได้จากกระบวนการวิจัย จำนวน 8 เรื่อง ประกอบด้วย 1) ปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อการเป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูงของเทศบาลนครอุดรธานี 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นระบบราชการ 4.0 ของเทศบาลนครอุดรธานี 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการวางแผนการดำเนินชีวิตของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยชินวัตร จังหวัดปทุมธานี 4) ผลของการใช้รูปแบบการสอนอ่าน-เขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร โดยใช้เนื้อหาวัฒนธรรมไทยภาคเหนือร่วมกับการสอนด้วยกิจกรรมภาระงานต่อความสามารถในการอ่าน -เขียน เพื่อการสื่อสารสำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง 5) การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาภาษาจีนโดยใช้แนวคิดห้องเรียนกลับด้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา อำเภอสามพราน จังหวดั นครปฐม 6) การวเิ คราะหข์ ้อผดิ พลาดและสาเหตุข้อผิดพลาดในการแปลภาษาจีนบนป้าย สาธารณะในจังหวัดเชียงราย 7) การตั้งชื่อหมู่บ้านจัดสรรในจังหวัดกรุงเทพมหานคร และ 8) อนุภาคไสยศาสตร์ และบทบาทของไสยศาสตร์ที่มีต่อการสร้างตัวละครเอก เรื่อง การินปริศนาคดีอาถรรพ์ โดยคุณค่าทางวิชาการ ที่ได้รับจากวารสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับผู้อ่านและผู้ท่ีสนใจศึกษาค้นคว้าเพื่อนำไปใช้อ้างอิงในผลงาน ทางวิชาการต่อไป ในนามของกองบรรณาธกิ ารวารสารมนษุ ยศาสตร์สงั คมศาสตร์ปริทศั น์ ขอขอบคณุ เจา้ ของบทความทุกท่าน ผู้ทรงคุณวุฒิภายในและภายนอกที่ให้ข้อเสนอแนะเพื่อความสมบูรณ์ของบทความ ขอขอบคุณทุกฝ่าย ที่ได้สนับสนุนให้วารสารฉบับนี้สำเร็จตามเป้าหมาย รวมถึงสมาชิกวารสารและผู้อ่านทุกท่าน ที่ได้ติดตามวารสาร มาอย่างต่อเนอ่ื ง ฉบบั ตอ่ ไปจะเปน็ เลม่ ปีที่ 9 ฉบบั ที่ 2 เดอื นพฤษภาคม – สงิ หาคม 2564 ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.บัณศกิ าญจ ต้ังภากรณ์ รองคณบดฝี า่ ยวิชาการและการประกันคณุ ภาพการศึกษา : บรรณาธิการ มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทศั น์ ปที ี่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > บทบรรณาธกิ าร
มนุษยศาสตร์สงั คมศาสตร์ปรทิ ัศน์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลำปาง (ISSN 2350 - 9392) ปที ่ี 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2564) สารบัญ บทความวิชาการ 1 ผลกระทบโควิด 19 ตอ่ อาชีพนักดนตรีกลางคืนในจงั หวดั เชียงใหม่และลำปาง ทยากร สวุ รรณภูมิ, ปราการ ใจดี เปยี โนในมิติองค์ความร้แู ละทกั ษะพ้ืนฐานสำคญั สำหรบั ผเู้ รม่ิ ตน้ 13 ในสงั คมไทยปจั จบุ นั พงษ์วิกรานต์ มหทิ ธพิ งศ์, ศรชัย เตง็ รตั น์ล้อม บทความวิจัย 25 37 ปัจจัยที่มีอทิ ธพิ ลตอ่ การเปน็ องค์กรที่มีสมรรถนะสงู ของเทศบาลนครอดุ รธานี 49 63 วารุณี ภมู ศิ รีแกว้ , ธนวิทย์ บุตรอดุ ม 78 ปจั จัยท่ีมอี ิทธพิ ลตอ่ การเป็นระบบราชการ 4.0 ของเทศบาลนครอดุ รธานี อิสระพงศ์ กลุ นรัตน์, ธนวิทย์ บตุ รอุดม ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลต่อการวางแผนการดำเนินชวี ติ ของนกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี มหาวิทยาลัยชนิ วตั ร จงั หวัดปทุมธานี อตพิ ร เกดิ เรือง การใช้เนื้อหาวฒั นธรรมไทยภาคเหนอื และกิจกรรมภาระงานในการสอน อ่านเขยี นภาษาองั กฤษเพอื่ การสื่อสาร บษุ ราคมั อินทสุก, ภัทธ์ทีรา เทยี นเพ่มิ พลู , เสงี่ยม โตรตั น์, บำรงุ โตรตั น์, สุพฒั น์ สุขกมลสนั ต์ การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาภาษาจนี โดยใชแ้ นวคดิ ห้องเรยี น กลับด้านของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรยี นวัดไรข่ ิงวทิ ยา อำเภอสามพราน จังหวดั นครปฐม ฐติ ามร ไชยศักดา, สหทั ยา สทิ ธวิ เิ ศษ, เสาวลักษณ์ ประไพวงศ์ มนษุ ยศาสตรส์ ังคมศาสตรป์ รทิ ัศน์ ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > สารบญั
สารบัญ 88 บทความวจิ ยั 99 110 การวิเคราะหข์ อ้ ผดิ พลาดและสาเหตขุ ้อผิดพลาดในการแปลภาษาจนี บนป้ายสาธารณะในจงั หวัดเชียงราย สหทั ยา สทิ ธิวเิ ศษ การตงั้ ชือ่ หมู่บา้ นจัดสรรในจังหวดั กรงุ เทพมหานคร เสาวลักษณ์ แซล่ ้ี อนุภาคไสยศาสตรแ์ ละบทบาทของไสยศาสตรท์ ี่มตี อ่ การสร้างตวั ละครเอก เรอื่ ง การนิ ปรศิ นาคดอี าถรรพ์ ภาณุวฒั น์ สกลุ สืบ มนษุ ยศาสตรส์ ังคมศาสตร์ปริทศั น์ ปีท่ี 9 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > สารบญั
อนภุ าคไสยศาสตร์และบทบาทของอนุภาคไสยศาสตรท์ ีม่ ีต่อการสร้างตวั ละครเอก เรื่อง การิน ปรศิ นาคดีอาถรรพ์ Superstition Motifs and Their Roles Affecting Creation of Main Characters in ‘Karin’s Uncanny Files’1 ภาณุวัฒน์ สกลุ สบื 2 Panuwat Sakulsueb บทคัดยอ่ การิน ปริศนาคดีอาถรรพ์ เป็นวรรณกรรมแนวแฟนตาซีที่ได้รับความนิยมจากเยาวชนไทยเป็นอย่างมาก ทั้งฉบับนวนิยายและการ์ตูน งานวิจัยน้ีจึงสนใจที่จะศึกษาวรรณกรรมชุดนี้โดยมีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1. เพื่อวิเคราะห์อนุภาคไสยศาสตร์ที่ปรากฏในวรรณกรรมชุด การิน ปริศนาคดีอาถรรพ์ และ 2. เพื่อวิเคราะห์ บทบาทของอนุภาคไสยศาสตร์ที่มีต่อการสร้างตัวละครเอก ผลการศึกษาด้านอนุภาคไสยศาสตร์พบว่า มีอยู่ 3 ลกั ษณะ คอื อนุภาคทีเ่ ปน็ ตัวละคร รวมจำนวนท้งั ส้นิ 25 ตวั อนภุ าคทีเ่ ป็นวัตถุสิง่ ของ/เครื่องมอื มี 10 ชนดิ และอนุภาคที่เป็นเหตุการณ์มี 10 เหตุการณ์ รวมอนุภาคทั้งสิ้น 53 แบบ โดยอนุภาคไสยศาสตร์ทั้งหมด ปรากฏบทบาทในเรื่อง 3 ลักษณะ คือ เพื่อการทำร้ายศัตรู เพื่อการป้องกันตนเอง และเพื่อการรักษา ส่วนการศึกษาบทบาทของอนุภาคไสยศาสตร์ที่มีต่อการสร้างตัวละครเอกพบ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความ เป็นเหตุเป็นผลเชิงพฤติกรรมและบุคลิกภาพของตัวละครเอก ด้านการเป็นเครื่องมือเพื่อทำร้ายหรือป้องกันตัว และด้านการผลักดันตัวละครเอกให้เผชิญกับเหตุการณ์อาถรรพ์ต่าง ๆ ผลการศึกษาครั้งนี้สะท้อนให้เห็นว่า ความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์ยังคงอยู่ในความสนใจของคนไทยเสมอมา ทั้งยังสามารถปรากฏร่วมกับบริบทสังคมไทย ร่วมสมัยไดอ้ ย่างเหมาะสม เช่น อนภุ าคไสยศาสตรต์ ัวละครท่เี ป็นผีอยู่ในเกมผถี ว้ ยแก้วออนไลน์ เป็นต้น คำสำคญั : อนุภาค, บทบาท, ไสยศาสตร์, การนิ ปรศิ นาคดีอาถรรพ์ 1 บทความนเ้ี ปน็ ส่วนหนึง่ ของงานวิจยั เร่ือง คตชิ นในเร่อื งเลา่ สมยั ใหม่ : การศกึ ษาอนุภาคไสยศาสตร์และบทบาทของอนุภาคไสยศาสตร์ที่มีต่อการสร้าง ตวั ละครเอกในนยิ ายแฟนตาซเี รือ่ ง การนิ ปรศิ นาคดอี าถรรพ์ ได้รบั ทุนสนับสนนุ การวิจยั จากคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏ ลำปาง 2 อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาไทย (ศศ.บ.) คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลำปาง มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปรทิ ัศน์ ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > 110
Abstract Karin’s Uncanny Files was a dark fantasy literature which was popular among Thai young readers. It was reproduced in form of novel and cartoon. This research aimed at 1) studying the superstition motifs in a series of Karin’s Uncanny Files 2) analyzing the roles of superstition motifs on a creation of main characters with the motif concept of folk-literature. The result found that the superstition motifs were 3 types; 25 characters, 10 objects-tools, and 25 events. The total motifs were 53. These motifs had 3 roles in the series; to attack antagonist, to protect himself, and to treatment. The role of superstition motifs on main characters had 3 dimensions were behavioral reasons and personality, tools for attacking or protecting, and the push of main characters to encounter mysterious event. This result reflected that the beliefs of superstition existed in Thai people and appeared in Thai contemporary society appropriately for example the motif of ghost appeared in online Ouija board. Keywords: Motif, Role, Superstition. ‘Karin’s Uncanny Files’ บทนำ นวนิยายแนวแฟนตาซีเปน็ วรรณกรรมประเภทหน่ึงที่ไดร้ ับความนยิ มจากนักอ่านชาวไทยมาอย่างยาวนาน โดยเฉพาะในหมู่เยาวชนที่ได้รับอิทธิพลจากการอ่านหรือได้ชมภาพยนตร์ที่สร้างจากวรรณกรรม แนวแฟนตาซีระดับโลก เช่น แฮรี่ พอร์ตเตอร์, ลอร์ดออฟเดอะริง, นาร์เนีย ฯลฯ จนเกิดกระแสการสร้างสรรค์ วรรณกรรมแนวแฟนตาซีที่เผยแพร่ในโลกอินเทอร์เน็ตโดยนักเขียนมือสมัครเล่นจำนวนมหาศาล ดังเห็นได้จาก เว็บไซต์ Dek-D.com ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่กลุ่มนักเขียนและนักอ่านวัยรุ่นให้ความสนใจเข้าไปใช้เป็นพื้นที่ในการอ่าน และเผยแพร่ผลงานของตนโดยในหมวดนิยายแนวแฟนตาซนี ั้น ปรากฏว่ามเี รือ่ งราวให้เลือกอ่านกว่าสามหม่ืนเรื่อง และในจำนวนน้ไี ดร้ บั การตีพมิ พ์เป็นเล่มจากสำนักพิมพ์ตา่ ง ๆ อกี ไมน่ ้อยกว่า 300 เล่ม (บริษัท เด็กดี อินเตอรแ์ อคทีฟ จำกดั , 2556) อย่างไรก็ดี ปรากฏการณ์การสร้างและเสพวรรณกรรมแนวแฟนซีผ่านโลกออนไลน์นี้อาจพิจารณาได้จาก ผลการศึกษาปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการเปิดรับหนังสือวรรณกรรมแฟนตาซีของ ณันทชิ า รุง่ แสง (2554, น. 210-211) ที่ใช้แนวคิดด้านพฤติกรรมศาสตร์มาวิเคราะห์แล้วพบว่า ผู้อ่านวรรณกรรมแนวแฟนตาซีส่วนใหญ่เปิดรับข่าวสาร จากสอื่ อินเทอร์เนต็ มากทส่ี ดุ โดยวรรณกรรมแนวแฟนตาซีท่ีได้รบั ความนิยมอา่ นเรยี งจากมากไปน้อย 3 อนั ดบั แรก คือ แฟนตาซีผจญภัย (adventure fantasy) ดาบและเวทมนตร์ (sword and sorcery) และโรแมนติกแฟนตาซี (romantic fantasy) นอกจากน้ี กระแสความนิยมอ่านวรรณกรรมแนวแฟนตาซีที่มีอย่างต่อเนื่องก็เป็นอีกสิ่งที่ยืนยันถึง การตอบรับของกลุ่มผู้อ่านหรือตลาดได้เป็นอย่างดี ดังที่ศักดิ์ชัย วิจัยธรรมฤทธ์ิ (กองบรรณาธิการฐานเศรษฐกิจ, 2013) กรรมการสมาคมผู้จัดพมิ พ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย ได้กล่าวถึงภาพรวมของการผลิตหนังสือ ในปี พ.ศ. 2556 วา่ \"เทรนด์หนังสือ...ที่มาแรงและคาดว่าจะผลักดันตลาดให้เติบโต คือหนังสือแนวแฟนตาซีการ์ตูน และหนังสือจากโซเชียลเน็ตเวิร์ก สาเหตุเพราะปัจจุบันพฤติกรรมผู้บริโภคอ่านหนังสือน้อยแต่จะเลือกดู ภาพมากขึ้น ดังนั้นหนังสือที่ขายดีจะเป็นหนังสือที่เน้นภาพมากกว่าตัวอักษร ขณะเดียวกันเด็กผู้หญิง ยคุ ใหมก่ จ็ ะหันมาอา่ นหนังสือแนวแฟนตาซีมากขึ้นและส่งผลใหห้ ันไปแตง่ ตัวสไตล์ลุคเท่ ๆ มากกวา่ ลุคหวาน\" มนษุ ยศาสตร์สงั คมศาสตรป์ รทิ ศั น์ ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > 111
ยิ่งไปกว่านี้คือ แนวเรื่องแฟนตาซีได้ขยายอิทธิพลไปสู่ละครโทรทัศน์ในช่วงกลางคืนหรือที่เรียกว่า ละครหลังขา่ วอีกด้วย ดงั ที่ ฐนรัช กองทอง (2556, น. 41) นักวจิ ารณส์ อื่ ได้กลา่ วถึงแนวโนม้ นีว้ ่า “จากแผงหนังสือ เรื่องแฟนตาซีก็เข้ามามีอิทธิพลในจอโทรทัศน์ ความสำเร็จของละครโทรทัศน์ ชุด ‘สื่อรักสัมผัสหัวใจ’ ซึ่งปัจจุบันมีชุดที่สองกำลังเสนอฉายอยู่ในขณะนี้ รวมถึง ‘ธิดาพญายม’ คอื ตัวอย่างอนั ดขี องเรื่องแฟนตาซยี ุคปัจจุบนั ทผี่ สมผสานระหว่างความเช่อื แบบไทย ๆ กับความเปน็ สากล ตัวละครมุดมิติมาจากดาวดวงอื่นและตามหาของวิเศษ มิต่างจากเรื่องจักร ๆ วงศ์ ๆ ทว่าก็ยังใช้ เทพปกรณัมแบบไทย ๆ อยู่ นอกจากอิทธิพลในแง่เรื่องราวแล้ว ยังได้รับอิทธิพลในแง่การนำเสนอ เรื่องแฟนตาซีไทย ๆ จึงปล่อยแสงกันสนั่นจอ แข่งขันด้านเอฟเฟ็คต์กันชนิดสุดฝีมือ จนชักไม่แน่ใจว่า นค่ี ือละครไทยหรอื การต์ นู ยุคใหมใ่ นจอทวี ี” จึงอาจกล่าวได้ว่าวรรณกรรมแฟนตาซีเป็นหนึ่งในวรรณกรรมกระแสหลักของการผลิตหนังสือของ ประเทศไทยก็ว่าได้ สำหรับเรื่องราวในวรรณกรรมแนวแฟนตาซีส่วนใหญ่มักจะเล่าเรื่องไปในลักษณะเดียวกันคือ การได้เรียนในโรงเรียนของผู้วิเศษหรือการมารวมตัวกันของผู้มีเวทมนตร์ หลังจากนั้นได้ออกผจญภัยในดินแดน เหนือจินตนาการ มีการต่อสู้ระหว่างเทพและปศี าจ หรือการรบของสองเผ่าพันธุ์คูต่ รงข้าม เป็นต้น นอกจากนี้ยังมี การนำสตั วร์ า้ ยหรืออาวุธในตำนาน เชน่ มังกร ยกั ษ์ ดาบเอสคาริเบอร์ ฯลฯ มาสร้างสสี ันในเร่ืองอีกด้วย อย่างไรก็ดี เมื่อการเล่าเร่ืองโดยใช้โรงเรียนเวทย์มนต์เป็นฉากสำคัญมีจำนวนมากเข้า นักเขยี นไทยก็ได้มีการเปิดพื้นท่ีของเร่ืองเล่า ให้ขยายไปสู่จินตนาการหรือเวทมนตร์ที่อยู่ใกล้ตัวอีกอย่างหนึ่งคือ การใช้วิธีการเดินเรื่องฉาก และตัวละครต่าง ๆ ท่อี ยใู่ นเกมออนไลน์หรือเกมการ์ดมาใชใ้ นการเลา่ เร่ือง กลา่ วคือ นักเขียนจะดำเนินเรื่องโดยให้ตัวละครในโลกปกติ หลุดเข้าไปในโลกของเกมหรือให้ตัวละครในเกมออกมาสู่โลกของความเป็นจริง หลังจากนั้นจะมีการทดสอบหรือ พฒั นาตนเองให้มีระดับทีส่ งู ขึ้น มกี ารรวมกลุ่มผจญภยั เพื่อตะลุยฝา่ ดา่ นต่าง ๆ บ้างกร็ ่วมมือกนั สร้างกลุ่มของตนเอง ใหเ้ ข้มแข็งหรอื เพอื่ เปน็ การปอ้ งการโจมตีของฝ่ายตรงข้าม เปน็ ตน้ อย่างไรก็ตาม ยังมีวรรณกรรมแฟนตาซีไทยอีกแนวหนึ่งที่กำลังได้รับความนยิ มเพิ่มมากขึ้นเร่ือย ๆ นั่นคอื แฟนตาซีแนวสืบสวน-สอบสวน ที่มีเรื่องราวความลึกลับสยองขวัญต่าง ๆ เกิดขึ้น โดยเรื่องที่ได้รับการกล่าวถึง จากผู้อ่านมากที่สุดเรื่องหนึ่ง คือ “การิน ปริศนาคดีอาถรรพ์” ดังจะเห็นได้จากความต่อเนื่องของการจัดพิมพ์ และการขยายประเภทของเรื่องเล่าให้มีทั้งแบบหนังสือนวนิยายและหนังสือการ์ตูนโดยไม่ซ้ำตอนกั น สำหรับวรรณกรรมเรื่องนี้มีความน่าสนใจอยู่ที่การนำความเชื่อทางไสยศาสตร์ที่ปรากฏในสังคมไทยมาใช้ ในการดำเนินเรื่อง แตก่ ระนั้นก็มิได้ม่งุ ประเด็นไปท่ีการทำให้ผู้อ่านมัวเมาไปกับคุณไสยหรือเคร่ืองรางของขลังต่าง ๆ ในเรื่อง หากแต่เป็นการแสดงให้เห็นถึงวิธีการเลือกทางเดนิ ในการดำเนินชีวิตของตัวละครแต่ละตวั ดังที่ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ (2556, น. 149-150) แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิทยาได้กล่าวถึงวรรณกรรมเรื่องนี้ไว้ อย่างนา่ สนใจวา่ ลัลทริมาไม่แค้นใคร ทั้งที่ในอดีตลัลทริมาประสบเหตุการณ์น่าสะพรึงกลัว เธอกลับไม่แค้นเคือง ใครพอ ๆ กับทไ่ี มห่ วาดระแวงใคร ในหนังสือคดีที่ 1 บทแรก เปดิ ตวั ลลั ทรมิ าไดน้ ่าสนใจมาก “ไปตายซะ” “น่ากลัวจังเนอะ” “ได้ยินว่าตายทั้งโรงเรียนเลยละ” “นังตัวซวย” ลัลทริมา ไดย้ ินเสยี งความคิดของเพ่อื น ๆ ขณะเดินผ่าน ... “เอาแผลเป็นใส่กรอบไว้” ลลั ทรมิ าเก็บความทรงจำท่เี จบ็ ปวดเอาไว้เพื่อเตือนตนเองมิให้ทำอะไร ผิดพลาดซ้ำอีก ดูเผิน ๆ ลัลทริมาดูคล้ายจะต้องเป็นผู้ป่วยโรคจิตสักวัน แต่เธอกลับเป็นคนรู้จักใช้ชีวิต เพราะเธอรู้ว่าตนเองมแี ผล คนที่มีสุขภาพจิตดีคือคนที่ยอมรบั ว่าแผลอยู่ที่ไหน จะใช้ชีวิตก็รู้จักระมัดระวังไม่เดินผ่านน้ำกรด ราดแผลนน้ั คนที่สุขภาพจิตไมด่ ีคือคนที่ไม่ยอมรบั วา่ ตนเองมีแผล จงึ ใชช้ ีวิตหาเรือ่ งใสต่ ัวอย่ทู ุกเมือ่ เชือ่ วัน มนุษยศาสตรส์ งั คมศาสตรป์ ริทศั น์ ปที ่ี 9 ฉบับท่ี 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > 112
อย่างไรก็ดี ความนิยมของวรรณกรรมเรื่องนี้นอกจากจะสะท้อนได้จากจำนวนเล่มที่ตีพิมพ์ออกมา ทั้งในรูปแบบนวนิยายและวรรณกรรมการ์ตูนแล้ว ยังอาจพิจารณาได้จากการนำไปทำเป็นภาพยนตร์อีกด้วย จึงเป็นที่น่าสนใจลักษณะพิเศษของวรรณกรรมเรื่องน้ีที่ทำให้เกิดกระแสตอบรับจนสามารถนำไปขยายช่องทาง การนำเสนอได้อย่างหลากหลาย เช่นอนุภาคไสยศาสตร์ที่นักเขียนนำมาใช้ในการดำเนินเรื่อง ตลอดจนสนใจที่จะ วเิ คราะหถ์ ึงบทบาทของอนภุ าคไสยศาสตร์ท่ีมตี ่อการสร้างตวั ละครเอกได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ สำหรับการศึกษาอนุภาค (motif) ในเรื่องเล่านั้นมีที่มาจากนักคติชนชาวอเมริกันที่ชื่อว่า สติธ ธอมป์สัน (Sith Thompson, 1977, pp. 415-416 อ้างถึงใน เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, 2558, น. 47) ท่ีได้ศึกษาและจัดทำ ดัชนีอนุภาคนิทานพื้นบ้านจากการนำข้อมูลนิทานพื้นบ้านของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก มาจัดหมวดหมู่เป็นอนุภาค และแบบเรื่องขึ้น โดยอนุภาคที่ปรากฏในนิทานนั้นมีหลักในการพิจารณาคือ จะต้องเป็นส่วนประกอบที่เล็กที่สุด (Smallest element) ซึ่งมีลักษณะพิเศษในตัวเอง หรือมีความแตกต่างไปจากความธรรมดาโดยทั่วไปจนทำให้ เป็นที่จดจำ ทั้งน้ี ศิราพร ณ ถลาง (2552, น.40) ได้กล่าวถึงอนุภาคของนิทานตามแนวคิดของสติธ ทอมป์สัน ว่ามีอยู่ใน 3 ลักษณะ คือ อนภุ าคที่เป็นตวั ละคร อนุภาคท่ีเปน็ วัตถุหรือสิ่งของต่าง ๆ และอนภุ าคท่เี ปน็ เหตกุ ารณ์ จากการสำรวจงานวิจัยที่ศึกษาอนุภาคในวรรณกรรมไทยพบว่า งานวิจัยส่วนใหญ่ให้ความสนใจศึกษา อนุภาคที่ปรากฏในนิทานพื้นบ้านเพื่อเปรียบเทียบให้เห็นลักษณะอันเป็นสากลและลักษณะเฉพาะของ นิทานพื้นบ้านของไทย งานศึกษาในลักษณะนี้เช่น วิทยานิพนธ์เร่ือง การศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบเรื่องและอนุภาค ในปัญญาสชาดก ของเอื้อนทิพย์ พีระเสถียร (2529) วิทยานิพนธเ์ รื่อง อนุภาคสมพาสท่ีผิดธรรมชาติในนทิ านไทย ของปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์ (2547) การศึกษาเรื่องอนุภาคในนิทานคำกลอนเรื่องพระคาวุต: การศึกษา เปรียบเทียบกับอนุภาคในนิทานไทยของ วชิรวิชญ์ มั่งมูล (2553) การศึกษาอนุภาคเหนือธรรมชาติในนิทานเรื่อง สังข์ทองของ เสาวลักษณ์ อนันตศานต์ (2558) เป็นต้น สำหรับการศึกษาอนุภาคจากตัวบทที่เป็นวรรณกรรม ปัจจุบัน เช่น นวนิยาย จะมุ่งอธิบายลักษณะของอนุภาคที่ปรากฏในเรื่อง เช่น วิทยานิพนธ์เรื่อง ลักษณะเด่น ของนวนิยายไทยที่มีตัวละครเป็นครุฑและนาค ของดวงพร แสงคำ (2557) และการศึกษาเรื่อง การสร้างสรรค์ อนุภาคความวิเศษในนวนิยายมหัศจรรย์เร่ืองเดอะไวทโ์ รดของ สริตา ปัจจุสานนท์ และทัศนีย์ ทานตวณิช (2560) เป็นต้น ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้จะนำแนวคิดเกี่ยวกับประเภทของอนุภาคทั้ง 3 ลักษณะมาใช้เป็น เกณฑ์ ในการวิเคราะห์อนภุ าคไสยศาสตร์ทีป่ รากฎในวรรณกรรมเรอ่ื ง การนิ ปรศิ นาคดีอาถรรพ์ วัตถุประสงค์ การศึกษา อนุภาคไสยศาสตร์และบทบาทของอนุภาคไสยศาสตร์ที่มีต่อการสร้างตัวละครเอกเรื่อง การิน ปรศิ นาคดอี าถรรพ์ มีวตั ถุประสงค์ ดงั น้ี 1. เพ่อื ศกึ ษาอนภุ าคไสยศาสตร์ท่ปี รากฏในวรรณกรรมเยาวชนเรอื่ ง การนิ ปริศนาคดีอาถรรพ์ 2. เพื่อวิเคราะห์บทบาทของอนุภาคไสยศาสตร์ที่มีต่อการสร้างตัวละครเอกในวรรณกรรม เรื่อง การิน ปรศิ นาคดีอาถรรพ์ นยิ ามศัพท์เฉพาะ อนุภาค หมายถึง ส่วนประกอบที่เล็กที่สุดในเรื่องเล่าซึ่งมีความโดดเด่นหรือมีความแปลกจนทำให้รู้สึก สะดุดใจผูอ้ ่านหรือทำให้จดจำลักษณะของอนุภาคน้นั ๆ ได้ เช่น พรมลอยได้ มา้ มีปีก กระจกพูดได้ ไสยศาสตร์ หมายถึง ศาสตร์ลึกลับเกี่ยวกับอิทธิปาฏิหาริย์ เวทมนตร์ คาถา อำนาจจิต อำนาจ/พลัง เหนอื ธรรมชาติ หรือความเชื่อในสงิ่ เร้นลบั ทไ่ี ม่สามารถพสิ จู นไ์ ด้ เชน่ กมุ ารทอง ข้าวสารเสก เปน็ ต้น มนุษยศาสตรส์ ังคมศาสตรป์ รทิ ัศน์ ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > 113
ข้อตกลงเบอ้ื งต้น การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยจะศึกษาอนุภาคไสยศาสตร์ที่ปรากฏในวรรณกรรมเรื่อง การิน ปริศนาคดีอาถรรพ์ ที่ตีพิมพ์ในรูปแบบนวนิยายและการ์ตูน ระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551 ถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2556 แตง่ โดย อยั ย์ (นามแฝง) จำนวนรวมทง้ั สนิ้ 35 เลม่ โดยฉบับนวนยิ ายประกอบดว้ ยภาคท่ี 1 ภาคท่ี 2 และภาคพิเศษ (1 เล่ม) รวม 12 เล่ม จัดพิมพ์โดยพูนิก้า สำนักพิมพ์ และฉบับการ์ตูน ประกอบด้วยคดีที่ 1-9 และตอนพิเศษ (บทสูญ) รวม 23 เลม่ จดั พมิ พโ์ ดยพนู กิ ้า คอมมกิ เทา่ นัน้ วิธีการวิจยั การศึกษาอนุภาคไสยศาสตร์และบทบาทของอนุภาคไสยศาสตร์ที่มีต่อการสร้างตัวละครเอกเรื่อง การิน ปริศนาคดีอาถรรพ์ มวี ธิ ีดำเนินการวจิ ัยดังตอ่ ไปนี้ 1. รวบรวมขอ้ มลู เอกสารและงานวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง 2. วิเคราะห์อนภุ าคและบทบาทของอนภุ าคที่มตี ่อตัวละครเอกในวรรณกรรมเรื่อง การิน ปรศิ นาคดีอาถรรพ์ โดยใช้แนวคิดเกี่ยวกับการแบ่งอนุภาคออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ อนุภาคที่เป็นตัวละครในเรื่อง อนุภาควัตถุหรือ สิ่งตา่ ง ๆ และอนภุ าคทเ่ี ป็นเหตุการณ์ (ศิราพร ณ ถลาง, 2552) 3. นำเสนอและสรุปผลการวจิ ยั ดว้ ยวิธีพรรณนาวเิ คราะห์ ผลการวิจัย อนุภาคไสยศาสตร์ที่ปรากฏในวรรณกรรมเรื่อง การินปริศนาคดีอาถรรพ์ มี 3 ลักษณะคือ อนุภาคที่เป็น ตัวละคร อนภุ าคที่เป็นวตั ถสุ ิ่งของ และอนภุ าคทเ่ี ป็นเหตุการณ์ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. อนภุ าคตัวละคร อนุภาคตัวละครในวรรณกรรมเรื่อง การิน ปริศนาคดีอาถรรพ์ ทั้งฉบับนวนิยายและฉบับการ์ตูนที่ศึกษา ในครงั้ น้ี มอี นุภาคไสยศาสตร์ทเ่ี ป็นตัวละครทง้ั สิน้ 25 ตวั แบ่งตามลักษณะอนภุ าคทป่ี รากฏได้ดงั น้ี 1.1. ตัวละครที่มีพลังเหนือธรรมชาติ/มีความสามารถพิเศษ ประกอบด้วยตัวละครทั้งส้ิน 5 ตวั ละครได้แก่ 1. ลัลทริมา 2. เชียร 3. นยั เนตร 4. นารา และ 5. รุทร โดยทงั้ 5 ตัวละครนจี้ ะมีพลังเหนือธรรมชาติ หรอื เปน็ ผูม้ คี วามสามารถพเิ ศษเหนือมนษุ ย์ท่วั ไป ดงั สรุปไวใ้ นตารางตอ่ ไปนี้ ตารางท่ี 1 แสดงอนภุ าคตวั ละครทีม่ ีพลงั พิเศษ ตัวละคร ลกั ษณะของพลงั พเิ ศษเหนือธรรมชาต/ิ ความสามารถเหนอื คนทวั่ ไปทป่ี รากฏ ลัลทรมิ า - เปน็ ผ้ทู สี่ ามารถไดย้ ินความคดิ หรือความรสู้ กึ ทั้งของมนุษยแ์ ละอมนษุ ยไ์ ด้ สามารถพูดคยุ หรือติดต่อกับ วญิ ญาณได้ - เป็นผู้มีพลังที่เรียกว่า “ญาณอาถรรพ์” สามารถกระตุน้ ความอาวรณ์ที่อยู่ในส่ิงของหรอื สถานที่ต่าง ๆ ใหเ้ กดิ พลงั อาถรรพข์ น้ึ มาได้ เชียร เปน็ ผู้มพี ลังอมตะท่เี รียกว่า “อัตตานริ นั ดร”์ ทำใหเ้ ขาสามารถฟนื้ คนื ชพี ไดไ้ ม่วา่ จะพบอันตรายใด ๆ นัยเนตร เปน็ ผมู้ ีความสามารถพเิ ศษในการมองเห็นอนาคตท่ีจะเกดิ ขึ้นได้ นารา ธดิ าบชู ายัญ เป็นผนู้ ำทางจิตวญิ ญาณของลทั ธโิ ลกาวินาศ มคี วามสามารถพเิ ศษในควบคมุ นำ้ และไฟ รุทร เป็นผู้ได้รับถ่ายทอดญาณอาถรรพ์มาจากลัลทริมา ทำให้เขาสามารถมองเห็นวิญญาณหรือรู้สึกถึง อาถรรพต์ ่าง ๆ ได้เชน่ เดียวกับลัลทรมิ า ตวั อยา่ ง อนุภาคตัวละครท่ีมีพลัง/ความสามารถพเิ ศษ : ลลั ทรมิ า (ผู้มีญาณอาถรรพ์) ลัลทริมามีญาณอาถรรพ์ท่ีทำให้เธอมีความสามารถพิเศษคอื สามารถได้ยินความคิดหรือสัมผัสความรู้สึก ของมนุษย์และอมนุษย์ได้ นอกจากนี้ยังสามารถปลุกพลังงานด้านลบหรือกระตุ้นให้ความ“อาวรณ์”เพิ่มขึ้น มนษุ ยศาสตรส์ ังคมศาสตรป์ ริทศั น์ ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > 114
จนทำให้วญิ ญาณท่ียังยดึ ติดกบั เรือ่ งบางอยา่ งสามารถปรากฏกายหรือกลบั มามชี วี ิตได้อีกครง้ั ตัวอย่างเช่น ครัง้ หน่งึ พลังญาณอาถรรพ์ของลัลทริมาทำให้ตุ๊กตาตัวแทนที่วศินบอกเพื่อน ๆ ในห้องว่าจะช่วยให้พ้นจากเคราะห์ร้าย ให้มชี วี ติ ขึน้ มาได้ ดังข้อความว่า “ห.ึ ..หึ ห.ึ ..หึ เธอนไ่ี ม่เคยทำใหฉ้ นั ผดิ หวังเลยนะยยั แม่มด” การินเหล่มองหุ่นเชดิ ด้านหลังท่หี ยุดขยบั ไปชว่ั ขณะ แสยะย้ิมจนลัลทริมาขนลกุ ไปทงั้ ตวั เพราะเดาไดว้ ่าการินกำลงั จะพดู อะไร “เธอนีป่ ลกุ อะไรสนุก ๆ ขนึ้ มาอยู่เรือ่ ยเลยนะ แถมดคู รง้ั นีม้ นั จะสนกุ กว่าท่ฉี ันคิด เอาไวเ้ สยี อีก” แม้จะคาดเดาเอาไว้แลว้ แต่คำพูดของการินกท็ ำเอาเดก็ สาวตวั เบาหวิวจนแทบลืม ความเจ็บปวดจากบาดแผลทถี่ ูกตี นายรู้มาตลอด...แต่นายก็รอจนฉันเข้ามาติดกับ...รอจนมีคนตายอยา่ งนัน้ หรือ “แก! การิน!!!”วศนิ ท่ียงั หน้าซีดเพราะความกลวั กัดฟันแนน่ จ้องการินดว้ ยความ เคยี ดแค้น “แก...กบั ยัยแม่มดร้มู าตลอด ถา้ แกไมเ่ อาไอ้ตุ๊กตาตัวนีม้ า เรื่องร้าย ๆ แบบนี้กค็ ง ไม่เกิดขึน้ แน่ ๆ แกจงใจเอามาทำใหฉ้ ันกลวั และฆ่าฉนั ทีหลงั ”… ...“ถา้ แกยังโง่คดิ ไม่ออก ฉนั จะบอกใหเ้ อาบุญ ห.ึ ..ห”ึ การนิ หัวเราะอยา่ งสะใจ เดนิ ตรงเขา้ มาหาลัลทริมาท่ียังนั่งตัวสัน่ อยู่บนพ้นื แขนขาหมดแรง “ตุ๊กตาตัวน้ีมนั มชี ีวติ ข้ึนมาไดเ้ พราะความเชือ่ ทแี่ กเป็นคนก่อขึ้นมา กจ็ ากไอ้คำทำนายกำมะลอของแกน่ันล่ะ ออ้ ! ไม่สิ ไม่ใชแ่ กคนเดียว ต้องมยี ัยบา้ น่ันชว่ ยขยายมนั ให้รุนแรงข้นึ ด้วย” (ตุ๊กตาร้อยศรัทธา, น. 216-217) พลังญาณอาถรรพ์ของลัลทริมา เป็นพลังที่เธอไม่ต้องการเพราะมักทำให้เธอตกอยู่ในสถานการณ์ อันเลวรา้ ย ในขณะทก่ี ารนิ ได้แต่อจิ ฉาลลั ทริมาท่สี ามารถปลุกอาถรรพ์และความเลวร้ายในจิตใจของมนุษย์ข้ึนมาได้ จึงทำให้เขาคอยเฝ้าติดตามลัลทริมาอยู่เสมอ เพราะหวังว่าจะได้พบกับเหตุการณ์เร้นลับหรือได้ต่อสู้กับอาถรรพ์ ต่าง ๆ ทีต่ นยังไมเ่ คยไดส้ ัมผสั ดว้ ยตนเอง 1.2 อนุภาคตัวละครท่ีเป็นอมนุษย์ ด้วยประกอบด้วยตัวละครที่เป็นวิญญาณและภูตผีทั้งสิ้น 10 ตัว ไดแ้ ก่ 1. มธุรนิ 2. หม่อนไหม 3. ระริล 4. ฉัตรยศ 5. รกั 6. ยม 7. พ่อผี 8. แมผ่ ี 9. เอมลิ ่ี แฮมมลิ ตัน และ10. ชญา โดยตวั ละครเป็นวิญญาณมีลกั ษณะดังตอ่ ไปนี้ ตารางท่ี 2 แสดงอนุภาคตัวละครท่ีเป็นอมนุษย์ ตัวละคร ลกั ษณะของอมนุษย์/วญิ ญาณที่ปรากฏ มธุรนิ วิญญาณจากเกมผถี ว้ ยแก้วในอนิ เทอร์เน็ต หมอ่ นไหม วญิ ญาณในกระจกอาถรรพ์ (ฉายอดตี ) ระรลิ วญิ ญาณเจา้ ของคฤหาสนแ์ วววิเชยี ร ฉัตรยศ วญิ ญาณนักสะกดจิตของคฤหาสนแ์ วววิเชยี ร รัก-ยม วิญญาณรับใช้ของบา้ นวรรณาเวทย์ พอ่ ผี ผปี า่ ทค่ี รอบครองพนื้ ทีป่ า่ หลังโรงเรียนนิศาพาณิชย์ แม่ผี พระภูมเิ จ้าทขี่ องโรงเรียนโรงเรียนนิศาพาณิชย์ เอมลิ ่ี แฮมมลิ ตนั วญิ ญาณผเี ม็งทีค่ รง้ั หน่งึ เคยเปน็ แพทยอ์ าสาทีค่ า่ ยเชลยศึกที่สะพานข้ามแมน่ ้ำแคว เม่อื 70 ปกี ่อน ชญา วิญญาณท่ีอยใู่ นเชือกปะกำศพ มนษุ ยศาสตรส์ งั คมศาสตร์ปริทศั น์ ปที ่ี 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > 115
ตวั อยา่ ง อนภุ าคตวั ละครที่เป็นอมนุษย์ : มธรุ นิ (วิญญาณในเกมออนไลน)์ มธรุ นิ หรือวญิ ญาณในเกมออนไลน์ทีช่ ่ือว่า Ballentine กอ่ นที่เธอจะตายไดร้ ูจ้ ักกับลลั ทริมาจากการเล่น MSN มาก่อน ทั้งสองคุยกันถูกคอเพราะมีชีวิตคล้าย ๆ กัน ในช่วงที่ลัลทริมาเลิกเล่นอินเทอร์เน็ต มธุรินรู้สึกเหงา และส้ินหวัง เธอจงึ ฆา่ ตวั ตายและกลายเปน็ วิญญาณในเกมออนไลน์เพ่ือตามหาลลั ทริมาเพือ่ นเพยี งคนเดียวของเธอ ดังข้อความว่า “...แตจ่ ู่ ๆ เธอกห็ ายไป ฉนั ก็ตดิ ต่อเธอไมไ่ ด้อกี เลย สุดท้ายแลว้ ฉนั ก็กลับกลายมาเป็น คนไร้ค่า คนทีไ่ มเ่ หลอื อะไรอีกเลยเหมือนเดิม มันเหงานะ ...มันเหงามากขนึ้ กว่าแต่กอ่ นอีก เพราะฉัน...ฉันไมร่ ู้ด้วยซ้ำว่าฉันทำอะไรผดิ ไป ฉนั ทำอะไรใหเ้ ธอไม่พอใจ เธอถงึ หนฉี นั ไปอย่าง น้นั ...ฉันไมร่ จู้ ะทำยังไงตอ่ ไปอีกดี และความเหงามันกย็ งั เพ่ิมข้ึนทกุ วนั ทกุ วนั มากขึน้ จนฉนั ทนมันไมไ่ ด้อีกแล้ว ฉันทนไมไ่ หว ในเมื่อไมม่ ีใครในโลกใบน้ที ตี่ ้องการฉนั ก็ไม่รจู้ ะอยูท่ ำไม สุดทา้ ยฉันกเ็ ลยตัดสนิ ใจฆา่ ตวั ตาย” ความรู้สึกผิดถาโถมเข้าใสล่ ลั ทรมิ าจนแทบจะทำใหเ้ ธอรอ้ งไหอ้ อกมาดงั ๆ นฉี่ นั ทำร้ายเพ่ือนคนนึงใหต้ ้องเจ็บปวดมากขนาดน้ีเชียวหรือ “และคงเป็นเพราะความอาวรณ์ของฉันล่ะมั้ง ในวนั ที่ฉันตายถงึ ไม่ได้ไปไหน กลายมาเปน็ วญิ ญาณสิงสถิตอยู่ในอินเทอร์เน็ตอย่างน้ี แต่ก็เพราะอย่างน้ีแหละทีม่ นั ทำใหฉ้ นั คดิ ถงึ เธออกี ครั้ง อยากจะเปน็ เพ่อื นกับเธออกี ครง้ั เปน็ เพอ่ื นโดยท่ีเธอจะไม่หนฉี นั ไปอีก” (เกมเชอ่ื มความตายออนไลนม์ รณะ, น. 173) เมื่อวิญญาณของมธุรินสื่อสารกับลัลทริมาทางอินเทอร์เน็ตได้ เธอพยายามขอร้องและทำให้ลัลทริมา เข้ามาอยู่กับเธอในโลกออนไลน์ แต่ความพยายามนี้ต้องจบลงเพราะการินเข้าไปช่วยได้ทันและกักวิญญาณของ มธรุ ินไว้ในแฟลชไดรฟต์ อนทา้ ยเรอื่ ง 1.3 อนุภาคตัวละครที่เป็นจอมขมังเวทย์/ผู้ใช้ไสยศาสตร์ ด้วยประกอบด้วยตัวละครทั้งสิ้น 10 ตัว ได้แก่ 1. การิน 2. วรวรรณ 3. ริสา 4. ไกรสร 5. สหัสวัส 6. นฤนาถ 7. ปกรณ์ 8. ดาริน 9. วิรัช และ 10. นรพิน สำหรับตัวละครในกลุ่มนี้จะมีลักษณะเฉพาะที่ต่างไปจากข้อ 1.1 คือ ตัวละครจะอยู่ในกลุ่มของผู้ที่ใช้เวทมนตร์ คาถาซึ่งต้องเรียนและฝกึ ฝนจนทำให้อาคมเกิดความเขม้ ขลงั โดยตวั ละครมลี ักษณะดงั ต่อไปนี้ ตารางท่ี 3 แสดงอนภุ าคตวั ละครท่ีเป็นจอมขมงั เวทย์/ผู้ใชไ้ สยศาสตร์ ตวั ละคร ลักษณะตัวละครท่ีปรากฏ การนิ เป็นผู้ลมุ่ หลงในอาถรรพ์และฝกึ ใช้ไสยศาสตร์ต่าง ๆ ด้วยตนเอง วรวรรณ เป็นผทู้ ำพธิ ีเปล่ยี นชพี ให้ตวั เองกลบั มางดงามอีกครงั้ โดยสังเวยชีวติ ของเพื่อน ๆ 4 คน รสิ า เปน็ ผู้ใช้บันทกึ เขียนกรรมเพื่อเปลยี่ นชะตาชีวติ ของการิน แมต้ ้องสงั เวยด้วยชีวิตของตนเอง ไกรสร จอมขมงั เวทย์ หัวหน้าแห่งตระกลู วรรณาเวทย์ท่คี อยเกบ็ รกั ษาซ่อนบันทึกเขียนกรรมไว้ สหสั วสั จอมขมงั เวทย์ผู้ใช้บนั ทกึ เขยี นกรรมใหส้ ลักบดิ เบอื นกรรมชน้ิ อ่นื ๆ กลบั มามีอาถรรพ์อีกครง้ั แมต้ ้อง สละชวี ิตตนเองเปน็ เครือ่ งสังเวย นฤนาถ ผู้ใช้เชอื กปะกำศพเพื่อให้ตนเองรำ่ รวยและบงการใหค้ นอ่ืน ๆ ทำตามท่ตี นต้องการ ปกรณ์ ผู้ใช้ควนั เผาผีในการแก้แคน้ ใหก้ บั คนรกั ท่เี สียชวี ิตไปจากเหตเุ พลงิ ไหม้ ดาริน ผู้ใช้กระดิ่งอาถรรพเ์ พอ่ื สาปแชง่ คนทีท่ ำใหน้ ้องสาวของตนเอง วิรัช ผู้ทำพธิ ีกระทงสเี ลอื ดเพอ่ื คืนชีพใหก้ ับภรรยาของตนเองโดยใชว้ ญิ ญาณของนักเรยี นเป็นเครอื่ งสังเวย นรพิน ผทู้ ำพธิ สี าปตระกลู จินตเมธรด้วยศพแมวอปั มงคล มนษุ ยศาสตร์สงั คมศาสตร์ปริทัศน์ ปีท่ี 9 ฉบับท่ี 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > 116
ตวั อย่าง อนุภาคตวั ละครที่เปน็ จอมขมังเวทย์/คนเลน่ ของ : การนิ การิน เด็กหนุ่มที่ชอบเก็บตัวและไม่มีเพื่อน ในตอนที่เขาเป็นเด็ก แม่ของเขาใช้มีดแทงที่มือของเขา เพื่อทำพิธีกรรมบางอย่างจนทำให้เขามีแผลเป็นท่ีมือขวา การินเข้าใจผิดว่าแม่เกลียดและอยากให้เขาตาย ส่วนคนอื่น ๆ ต่างเชื่อว่าแม่ของเขาใช้การินเป็นเครื่องสังเวยในการสาปแช่งตระกูล“จินตเมธร”ของพ่อเขา แต่แม้จะเคยผ่านเหตุการณ์ร้ายแรงเช่นนั้น การินก็ยังชื่นชอบเรื่องราวความอาถรรพ์ของสถานที่หรือสิ่งของ ต้องคำสาปต่าง ๆ และไม่เพียงเท่านั้นเขายังให้ความสนใจวิชาไสยศาสตร์และหมั่นทดลองจนสามารถทำพิธี ด้วยตนเองจนสำเร็จ ฉะนั้นไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ความรุนแรงอันเนื่องมาจากไสยศาสตร์หรือสิ่งเร้นลับ การิน มักจะเอาตัวรอดได้ด้วยความรู้ทางไสยศาสตร์ที่เขามีอยู่เสมอ ตัวอย่างตอนที่เขาต้องสู้กับตัวเอง (การินที่เกิดจาก พลังญาณอาถรรพข์ องลลั ทริมา) ดังข้อความวา่ แต่ทกุ อย่างกลบั พลิกผัน… จู่ ๆ ความอาวรณ์ของการินท่ีกำลงั ย่างสามขุมเข้ามาอยนู่ ้ันก็สะดุ้งสดุ ตวั ดวงตา เหลอื กค้าง ล้มกลิง้ ลงไปดว้ ยความเจ็บปวดก่อนจะทันมาถึงตัวเขา “ไม่ง่ายขนาดนน้ั มงั้ …” เดก็ หนุ่มแสยะยม้ิ สะใจขณะค่อย ๆ ลกุ ขึน้ ยนื จากพ้นื ในมือของเขาถือตุ๊กตาอาถรรพ์ที่พันรอบดว้ ยเศษผา้ บางอย่างเอาไว้ “…ไอ้น่แี กกค็ งร้จู กั ล่ะมัง้ ถา้ จำไม่ผดิ ฉนั รู้จกั คุณไสยอันนีม้ าตงั้ แต่ตอนนัน้ แลว้ นี่… เพียงแต่กวา่ จะไดล้ องใช้จรงิ กป็ าเข้าไปตอนอายสุ ิบสปี่ ีแล้ว ห…ึ หึ ห…ึ ห”ึ ความอาวรณ์ของการินเงยหน้าขน้ึ จากพื้นข้างวงพธิ มี องมาอย่างเคียดแคน้ มือกมุ ทอ้ ง ซ่ึงเปน็ ผลมาจากคุณไสยกรดี เลอื ดจนไม่อาจขยับตวั ได้ ลม้ ลุกคลกุ คลานทา่ อย่ตู รงหน้าเด็กหนมุ่ ทีห่ น้าตาเหมือนกบั มนั ไมผ่ ิดเพีย้ น การินฉวยโอกาสจงั หวะน้นั เดินเข้าไปในวงพธิ ีแล้วทรดุ ตัวลงข้าง ๆ ลลั ทรมิ า ก่อนจะ ย่ืนมือออกไปจับขอ้ มอื ตรวจชีพจรของเด็กสาว ถงึ แม้จะอ่อนล้าและแผว่ เบามาก แต่ก็ยังพอจะร้สู ึกได้ถงึ ชพี จรซึ่งเตน้ อยูท่ ี่ข้อมอื เธอยังไม่ตาย… (ความลบั ของกระจกเงา, น. 141-142) ในตอนนี้อาวรณ์ของการินได้จับลัลทริมาทำพิธีเรียกปิศาจจากอีกโลกให้ออกมาทางกระจกอาถรรพ์ อีกครั้งหลงั จากที่เคยทำล้มเหลวมากอ่ น แต่พิธีก็ไม่สำเร็จอีกครั้งเพราะการนิ ในปัจจุบันเข้ามาขดั ขวางด้วยคณุ ไสย กรีดเลือดที่เขาฝกึ มาดว้ ยตนเอง และยุตอิ าวรณน์ ีไ้ ดส้ ำเรจ็ 2. อนุภาควตั ถุสง่ิ ของ/เคร่ืองมอื ทางไสยศาสตร์ อนุภาคสิ่งของหรือเครื่องมือที่ใช้การสร้างอาถรรพ์ต่าง ๆ ในวรรณกรรมเรื่อง การิน ปริศนาคดีอาถรรพ์ ท้ังฉบบั นวนยิ ายและฉบับการ์ตนู ท่ศี กึ ษาในคร้งั น้ี มที ง้ั ส้ิน 13 ชนิด ดังสรุปไวใ้ นตารางที่ 4 ดงั ตอ่ ไปนี้ ตารางที่ 4 แสดงอนุภาคสิง่ ของ/เครอ่ื งมอื ทางไสยศาสตร์ วัตถุสง่ิ ของ/เครอ่ื งมอื ลักษณะของวตั ถ/ุ เครื่องมอื ที่ปรากฏ ยนั ตเ์ ลือด - ยนั ต์ท่เี ขียนดว้ ยเลอื ดสำหรบั ทำร้ายผ้อู ่ืน - ยันตท์ ี่เขียนดว้ ยเลือดของผู้มอี าถรรพจ์ ะดงึ ดูดวิญญาณมาหา เชือกปะกำศพ เชือกทีถ่ ักขึน้ จากเน้ือ ผวิ หนัง เสน้ ผม และเลือดของคนตาย ใช้สำหรบั ควบคุมผอู้ น่ื ตกุ๊ ตาอาถรรพ์ - ตุ๊กตาคณุ ไสยของการนิ สำหรบั ใชท้ ำร้ายผู้อื่น - ตกุ๊ ตารบั เคราะหข์ องวศิน ใช้เป็นตวั แทนในการรับเคราะหก์ รรมตา่ ง ๆ - ตุ๊กตาแทนตวั ของครูวริ ชั ใช้สำหรบั บงการใหน้ ักเรียนทำตามทตี่ นตอ้ งการ มนษุ ยศาสตร์สงั คมศาสตร์ปริทศั น์ ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > 117
ตารางที่ 4 แสดงอนภุ าคสง่ิ ของ/เครื่องมอื ทางไสยศาสตร์ (ต่อ) วตั ถุสิ่งของ/เครือ่ งมือ ลักษณะของวัตถุ/เครือ่ งมอื ทีป่ รากฏ ควนั เผาผี ทำจากถ่านท่ีมาจากเถ้ากระดูกคนคนตายดว้ ยอบุ ตั เิ หตุไฟไหม้ ใชจ้ ดุ รว่ มกบั กระดูกคนตายด้วย ไฟไหม้ใช้ในการทำรา้ ยเปา้ หมาย จงกว๋อเจ๋ยี เครอ่ื งรางทำจากเชอื กถกั สแี ดงสามารถป้องกันอาถรรพ์จากควนั เผาผไี ด้ ตกุ๊ ตาตัวแทน ตุ๊กตาไมข้ นาดเลก็ พนั ดว้ ยผมของเจ้าของ ใชส้ ำหรบั รบั เคราะห์แทนเจ้าของ เกมผีถ้วยแก้วออนไลน์ เกมผีถว้ ยแก้วที่เลน่ ในระบบออนไลน์ สามารถถามคำถามอะไรกไ็ ด้ กระดงิ่ อาถรรพ์ กระดง่ิ ที่สามารถส่งเสยี งสะท้อนบาปในใจของคน ๆ นน้ั ใหไ้ ด้ยนิ ตลอดเวลาจนต้องฆ่าตวั ตาย ในท่ีสุด มีดหมอ มดี อาคมของหมอผใี ชต้ ่อสู้กบั ผมู้ ีอาคมและตกุ๊ ตารกั -ยม ลูกแก้วทำนาย ลกู แก้วของจอมขมังเวทย์สำหรบั ใช้ทำนายอนาคตทจ่ี ะเกดิ ข้ึน บันทกึ เขียนกรรม บันทกึ อาถรรพท์ ี่สามารถบนั ดาลให้ความปรารถนาของผู้ทำพิธเี ปน็ ไปตามที่เขยี นไวใ้ นบนั ทึก แมวอปั มงคล แมวอปั มงคลท่ผี า่ นพธิ สี าปแชง่ เมอื่ สง่ ไปให้ใครกจ็ ะส่งผลให้คนผ้นู ้ันตอ้ งประสบกับเหตกุ ารณ์ ตามลักษณะของแมวอปั มงคลชนดิ น้นั ๆ เช่น แมวอปั มงคลทีช่ ่อื วา่ ทุพลเพศ จะทำให้ญาตพิ ี่น้อง ของผทู้ ร่ี ับแมวน้ไี ว้เสยี ชวี ติ ตวั อยา่ ง อนุภาคส่ิงของ : บนั ทกึ เขยี นกรรม บันทึกเขียนกรรม เป็นบันทึกที่สามารถเปลี่ยนโชคชะตาของคนให้เป็นไปตามที่ผู้เขียนได้กำหนดไว้ ในบันทึก โดยการเขียนบันทึกแต่ละครั้งผู้ประกอบพิธีจะต้องเขียนวงเวทย์ลงบนพื้นก่อนจากนั้นทำพิธีสังเวย ด้วยชวี ิตของใครบางคนจึงจะทำใหพ้ ิธกี รรมสำเร็จ ดงั ขอ้ ความว่า “ไอ้บันทกึ เล่มน้นั ...มนั ก็แค่ของหลอกตา แค่ก...แค่ก...” ไกสรพดู ขึน้ มาก่อนจะนิ่งเงียบไป “...เพราะสงิ่ ท่ีสำคัญทซี่ ่อนอยู่มันคือบันทกึ เขียนกรรมทีม่ ีอำนาจเปล่ยี นแปลงกรรม บนโลกนีต้ า่ งหาก” การนิ เหน็ ชายชรายังไม่พูดเสียที จงึ พูดแทรกข้นึ มา “จรงิ ม้ัยละ่ ...ตาแก่ ห.ึ ..ห.ึ ..ห”ึ “บนั ทกึ เขียนกรรม...เปล่ียนแปลงกรรมบนโลก” โชตกิ าลทวนคำพูดของการนิ เบา ๆ คล้ายกับพยายามจะทำความเขา้ ใจ “เธอสองคนคงไมเ่ ชื่อ แต่จริง ๆ แล้วบันทึกเลม่ นี้มีพลังอนั เลวร้ายทที่ ำให้ผู้ ครอบครองสามารถใช้มนั เปลี่ยนกรรมของใครก็ได้ เปล่ียนกรรมก็คือ การเปลยี่ นอนาคตไม่ว่า จะใหเ้ ป็นหรือตาย...โดยมเี ครอื่ งสังเวยเป็นของแลกเปล่ียน” (บันทกึ เขียนกรรม, น. 82) บันทึกเขียนกรรมเป็นวัตถุอาถรรพ์ที่ตระกูลวรรณเวทย์เฝ้าเก็บรักษาไม่ให้ออกมาสู่โลกภายนอกตั้งแต่ สมัยอยุธยา จนเมื่อมาถึงรุ่นของริสาซึ่งเป็นแม่ของการิน เธอได้นำมันออกมาเปลี่ยนชะตาชีวิตของการินเสียใหม่ คือ เปลี่ยนจากเด็กขี้โรคที่จะอยู่ได้อีกไม่นานให้กลายเป็นเด็กแข็งแรงและเติบโตอย่างคนปกติโดยแลกกับชีวิต ที่เหลือของริสา และนั่นก็ทำให้จอมขมังเวทย์เช่น สหัสวัส ได้พบเบาะแสของบันทึกเขียนกรรมและตามมาจนพบ แล้วไดใ้ ชม้ นั กระตุน้ สลกั บดิ เบอื นกรรมหรอื วตั ถอุ าถรรพช์ ิน้ อนื่ ๆ ใหก้ ลับมาสรา้ งความวนุ่ วายอกี ครงั้ 3. อนภุ าคเหตุการณ์ อนภุ าคเหตกุ ารณ์ที่เกี่ยวกับไสยศาสตรท์ ่ีซึ่งในวรรณกรรมเร่ือง การิน ปริศนาคดีอาถรรพ์ทั้งฉบับนวนิยาย และฉบับการต์ นู ทศ่ี กึ ษาในคร้ังนี้ มีอนภุ าคทัง้ สนิ้ 15 เหตกุ ารณ์ ดงั สรุปไว้ในตารางที่ 5 มนุษยศาสตรส์ ังคมศาสตร์ปริทัศน์ ปที ่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > 118
ตารางที่ 5 แสดงอนุภาคเหตกุ ารณ์ ลักษณะของเหตุการณ์ทปี่ รากฏ เหตุการณ์ การนำช้ินส่วนรา่ งกายของหญงิ สาว 5 คน (เบญจกัลยาณี) คนมาประกอบพิธกี รรมเพ่อื พิธีเปล่ียนชพี คนื ความงามใหแ้ กผ่ ูท้ ำพิธี การบูชายัญเพ่ือเรยี กวิญญาณจากอกี โลกมายังโลกมนุษยผ์ า่ นกระจกเงาอาถรรพ์ พธิ ีบูชายญั พธิ กี รรมโบราณทต่ี ้องรา่ ยคาถาในขณะทคี่ นอ่นื ๆ ได้เห็นความเจ็บปวดของใครคนหน่ึง พระพรแห่งความเจบ็ ปวด โดยผทู้ ำพิธไี ด้นี้จะได้รับพรทต่ี ้องการเปน็ การตอบแทน บา้ นของตะกูลนถ้ี ูกอาคมบดบงั ทำใหไ้ มม่ ีใครพบเห็นหรือตดิ ต่อได้ การใช้อาคมบังตา การเขียนวงเวทย์ไวบ้ นพนื้ ดว้ ยอกั ขระโบราณ เม่อื ศตั รูเข้ามาอย่ใู นวงเวทยน์ ีบ้ นพ้นื ท่ี พธิ กี รรมตรึงวญิ ญาณ สว่างวาบ จะมลี มพายุและฟ้าผา่ ไปท่ัวบรเิ วณ รา่ งกายจะปวดแสบปวดร้อนราวกบั ถกู ไฟเผา หลบั ตาแลว้ เดินเวียนซ้าย เดนิ เวียนซ้ายเวลากลางคนื จะทำใหเ้ ห็นโลกของคนตาย จดุ เทยี นหน้ากระจกตอนเท่ยี งคนื จุดเทียนแลว้ ส่องกระท่หี นา้ กระจกตอนเทีย่ งคืนจะทำใหเ้ หน็ หน้าคนตายในกระจก สาปแช่งศัตรูด้วยวงไสยเลือด เขียนวงไสยด้วยเลือดของตนเองแลว้ สาปแชง่ ศัตรู พธิ ีล้างบาปแบบไหสตั ว์พษิ (โคโดกุ) นำคนบาปทคี่ ัดเลือกมาอยดู่ ้วยกันในเขตอาคมแลว้ ใหต้ ่อสกู้ ันเอง ผูท้ ร่ี อดเปน็ คนสดุ ทา้ ย จะไดร้ บั การไถ่บาป/ไดร้ ับพลงั อัตตานริ นั ดร์ การข้ามมติ ิไปในอดตี การกลับไปปลดปล่อยดวงวญิ ญาณโดยข้ามมติ ิไปยงั อดตี เมือ่ 70 ปกี ่อน พธิ ีสะพานขา้ มปรภพ นำคนเปน็ ไปสปู่ รภพแลว้ กลบั มาดว้ ยพลงั อตั ตานิรนั ดร์ พธิ กี รรมแมวอาถรรพ์ สง่ ศพแมวอปั มงคลไปยงั ศตั รเู พ่ือสาปแช่งใหม้ อี นั เปน็ ไป เปลีย่ นพิธีผกู ขอ้ มือในงานบายศรสี ขู่ วญั เป็นการสังหารจากสายสญิ จน์ พิธีบายศรีสังหาร ผู้มอี าคมจะปลอ่ ยอาคมของตนใหล้ อยไปตามลม หากมใี ครทักกจ็ ะถกู อาถรรพน์ ้นั ทำรา้ ย ลมเพลมพดั ผ้ตู ายจะไมร่ ตู้ วั วา่ ไดเ้ สยี ชีวติ แล้วใน 3 วนั แรก วญิ ญาณจะล่องลอยออกไปตามทต่ี ่าง ๆ มรณาสันนวถิ ี ที่ยังฝังใจอยู่ ตวั อย่าง อนภุ าคเหตกุ ารณ์ : พิธีเปลยี่ นชพี พิธีเปลี่ยนชีพ คือ พิธีกรรมที่ช่วยเปลี่ยนร่างกายของผู้ประกอบพิธีให้งดงามตามลักษณะ 5 ประการของ เบญจกัลยาณี กล่าวคือ เป็นผู้มีฟันงาม ผมงาม เนื้องาม ผิวงาม และวัยงาม แต่การจะทำพิธีนี้ให้สำเร็จผู้ประกอบ พิธีจะต้องหาคน 5 คนมาเป็นเครื่องสังเวย พิธีกรรมในวันค่ี และมีคุณลักษณะตามข้อใดข้อหนึ่งในห้าประการ พิธีนี้ปรากฏในตอนที่วรวรรณถูกเพื่อน ๆ แกล้งจนได้รับบาดเจ็บจากไฟคลอก เธอแค้นเพื่อน ๆ ที่ทำให้เธอ ได้รับบาดเจ็บและเสียโฉมจึงออกตามฆ่าทุกคนที่มีส่วนทำให้เธอบาดเจ็บแล้วนำอวัยวะของแต่ละคนมาทำพิธีเพื่อ เปลี่ยนรา่ งกายตวั เองให้กลับมางดงามอกี ครัง้ ดงั ขอ้ ความวา่ แสงสลวั จากเปลวไฟ ผ้ายนั ต์ซ่ึงแข็งกรังจากคราบเลือดทง้ั ส่แี ผ่น ถูกวางทบั ไวด้ ว้ ย แตล่ ะชิน้ สว่ นอยทู่ ้ังส่ีทิศรอบตำแหนง่ ของวงยนั ต์ ทศิ ใต้...ฟันทกุ ซี่ท่ไี ดม้ าจากปากของสดุ าพร ทิศตะวนั ออก...เสน้ ผมท่ีถกู ถลกมาพร้อมกับหนังหวั ของป่นิ มาลา ทศิ เหนอื ...รมิ ฝปี ากซง่ึ เฉือนจากใบหน้าของนารฏฤดที ้งั ๆ ทยี่ งั เปน็ ๆ ทิศตะวนั ตก...ผืนหนงั ตง้ั แต่คอมาจรดเอวซงึ่ เพิ่งได้มาจากร่างของวาสนิ ี โดยที่ยงั คง ชมุ่ โชกไปดว้ ยเลือดสด ๆ อยู่ และชิ้นสว่ นสุดทา้ ยท่กี ลางวงยันต์ (พิธีเปล่ียนชีพ, น. 164) มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > 119
สำหรับพิธีกรรมน้ีมีท่ีมาจากการท่ีวรวรรณบังเอิญได้พบข้อมูลเกี่ยวกับพิธีเปลี่ยนชีพจากบันทึกที่การิน ได้ทำหายไป ด้วยความเจ็บแคน้ และกลัวสูญเสียชายอนั เป็นทร่ี ัก วรวรรณจงึ อาศยั ความเข้าใจผิดของทุกคนที่คิดว่า เธอยังรักษาตัวอยู่ที่โรงพยาบาล โดยออกตามล่าและลอบทำร้ายเพื่อน ๆ แต่พิธีกรรมดังกล่าวก็ไม่สำเร็จเพราะ ถูกการนิ ขัดขวางไว้ในตอนท้าย อย่างไรก็ดีเมื่อพิจารณาถึงบทบาทของอนุภาคไสยศาสตร์ทั้ง 3 แบบ คือ อนุภาคที่เป็นตัวละคร อนุภาค ที่เป็นสิ่งของ/เครื่องมือ และอนุภาคที่เป็นเหตุการณ์ จะพบว่าอนุภาคต่าง ๆ นี้ถูกนำมาใช้ใน 3 ลักษณะคือ การทำร้ายศัตรู การป้องกันตนเอง และการรักษาตัว ซึ่งบทบาทที่ปรากฏนี้สอดคล้องกับลักษณะทั่วไปของ ไสยศาสตร์ที่อยู่ในวัฒนธรรมไทยอย่างมาก ดังทัศนะของกังวล คัชชิมา (2547, น. 251) ที่กล่าวถึง ประเภทของ ไสยศาสตร์ที่แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้ไว้ว่ามีอยู่ 3 ประการ คือ 1. ไสยศาสตร์เพื่อการรักษา หรือที่ เรียกอีกอย่างว่าเป็นไสยขาว 2. ไสยศาสตร์เพื่อการป้องกัน และ 3. ไสยศาสตร์เพื่อการทำลายหรือไสยดำ โดยบทบาทของอนุภาคไสยศาสตร์ที่ปรากฏในเรื่องถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการทำร้ายกันมีจำนวนมากที่สุด ส่งผลให้เรื่องราวของการิน ปริศนาคดีอาถรรพ์เต็มไปด้วยการต่อสู้กันของผู้ใช้ไสยศาสตร์ผ่านอาถรรพ์ ในรปู แบบต่าง ๆ ในการศึกษาบทบาทของอนุภาคไสยศาสตร์ที่มีผลต่อการสร้างตวั ละครเอกของเรื่อง คือ การิน และลัลทริมา นัน้ พบวา่ มบี ทบาทใน 3 ลกั ษณะ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. บทบาทต่อพฤตกิ รรมและบคุ ลกิ ภาพของตัวละครเอก 1.1. การิน จนิ ตเมธร หรอื ตัวละครพระเอกของเร่ือง เขาไดร้ ับผลกระทบจากอนภุ าคไสยศาสตร์ ตั้งแต่ยังเล็ก ๆ เริ่มจากอาถรรพ์ของบันทึกเขียนกรรมที่เปลี่ยนแปลงเขาให้หายจากโรคร้ายโดยแลกกับชีวิต ของแม่ตัวเอง แต่เหตกุ ารณน์ ั้นเขาจำได้เพียงแค่ตอนที่แมป่ ักมีดไปท่ีมือแลว้ ก็สลบไปดว้ ยความเจ็บปวด ดงั ข้อความว่า ฉนั จับรา่ งเลก็ ๆ ของเขาใหน้ อนอยูต่ รงกลางวงเวทย์ และจากนนั้ ...ลกู ทฉ่ี ันไมเ่ คยคดิ แมแ้ ตจ่ ะตี ดว้ ยมอื แตต่ อนนี้ฉนั กลับกำลงั ใช้มีดแทงลงบนมอื ของเขาอย่างเลือดเย็น “ไม่เอา...หนเู จ็บ แม่อย่า...พ่อชว่ ยหนูดว้ ย” เดก็ คนนั้นร้องไห้เสียงดงั แบบท่ฉี ันไมเ่ คยได้ยิน ดวงตาสดี ำขลับซ่งึ ถอดแบบมาจากพอ่ ของเขาเตม็ ไปดว้ ยนำ้ ตา กำลงั มองมาทางฉนั ก่อนจะสลบไปเพราะ ความเจบ็ ปวดท่เี กินกวา่ เด็กอายหุ ้าขวบจะรบั ไหว ภาพสุดท้ายของ “แม”่ ท่ีเขาเห็นกค็ อื ภาพฉันกำลังใชม้ ดี แทงลงไปตรงมือของเขา และใบหนา้ ของแม่ทเี่ ปรอะเปอ้ื นไปดว้ ยเลอื ดและน้ำตาแห่งความเจ็บปวด (บนั ทกึ เขียนกรรม, น. 232) แม้ต่อมาเขาจะรอดตายแต่ก็ถูกคนในตระกูลจินตเมธรรังเกียจ เพราะคิดว่าแม่ของการินคือนักต้มตุ๋น ทคี่ อยสาปแชง่ ตระกูลจินตเมธร จากผลกระทบของ 2 เหตุการณน์ ี้เองทำให้การนิ กลายเปน็ เด็กเกบ็ ตวั และไม่เชื่อใจ ในความสัมพันธ์ระหว่างคนในครอบครัวหรือมิตรภาพระหว่างเพื่อน ต่อมาเม่ือได้พบกับเชียรผู้เป็นอมตะ การิน ไม่อาจเอาชนะเขาได้และยังต้องรับมือกับการเล่นงานของเชียรในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การส่งสมุนมารบกวนเพื่อ ยุยงปลุกปั่นใหก้ ารินเข้าสู่ด้านมดื ของจิตใจมากขึ้นการินจงึ ไมส่ นใจผลกระทบที่จะเกิดข้ึนกับคนรอบขา้ งหรอื แม้แต่ ชีวิตของตนเอง หากต้องสู้กับเชียรการินจะใช้ทุกวิถีทางที่เขานึกได้มาใช้ทันที อย่างไรก็ดีเพราะเขามีลัลทริมา อยู่ใกล้ตัว แม้ในตอนแรกเขาจะรู้สึกอิจฉาและใช้เธอเป็นเครื่องมือในการต่อสู้กับอาถรรพ์ต่าง ๆ แต่หลังจาก ผ่านเหตุการณ์ต่าง ๆ มาด้วยกัน ทำให้การินได้เห็นแง่มุมที่ดีงามของความเป็นมนุษย์ผ่านการกระทำของลัลทริมา จนเกิดความรู้สึกหวงแหนและไม่อาจตัดสมั พันธ์จากลัลทริมาได้ แม้ต้องทำให้ตนเองกลายเป็นวิญญาณเพ่ือไปตาม ดวงจติ ของลลั ทริมาให้กลับเข้าร่าง แตเ่ ขาก็ยนิ ดีทำโดยไม่นึกเสยี ดายชีวิต มนุษยศาสตรส์ ังคมศาสตร์ปรทิ ศั น์ ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > 120
1.2. ลัลทริมา วิกรานต์วรสริต หรือตัวละครนางเอกของเรื่อง เธอเป็นคนจิตใจดีงาม เติบโตขึ้นมา ในครอบครัวที่อบอุ่น มีพี่ชายและพ่อแม่คอยเคียงข้างตั้งแต่เด็ก จนกระทั่งวันที่พี่ชายเสียชีวิตและลัลทริมา ได้พลังญาณอาถรรพ์ซึ่งทำให้ผู้คนรอบตัวต้องพบกับเหตุการณ์ประหลาดและเสียชีวิต หลังจากโศกนาฏกรรม ครั้งใหญ่ทำให้เธอเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลจิตเวช โดยมีรสวดีญาติที่เหลือเพียงคนเดียวคอยดูแลเธอ เมื่อลัลทริมาได้ย้ายมาเรียนท่ีโรงเรียนนิศาพาณิชย์ก็ได้พบกับการินและเพื่อนกลุ่มใหม่ที่ไม่สนใจเรื่องราวอาถรรพ์ ต่าง ๆ ที่คนอื่นใช้ต่อว่าหรือเล่าถึงเธอ การได้ออกไปเผชิญหน้ากับไสยศาสตร์ต่าง ๆ ร่วมกับการินทำให้ลัลทริมา ได้เห็นอีกมุมหนึ่งของการใช้ญาณอาถรรพ์ท่ีสามารถก่อให้เกิดประโยชน์ได้ เช่น การช่วยเหลือดวงวิญญาณของ เชลยศึกและการปลดปล่อยผีเม็งที่ถูกจองจำไว้ในสุสานโบราณของสะพานข้ามแม่น้ำแคว การปลดปล่อย ดวงวิญญาณของนัยเนตรที่ถูกพ่อผีจับไว้ในป่าหลังโรงเรียน การปลดปล่อยดวงวิญญาณหม่อนไหมที่ถูกขังไว้ใน กระจกอาถรรพ์ หรือการสลายอาวรณ์ของคุณหนูระริลและพ่อบ้านฉัตรยศแห่งคฤหาสน์แวววิเชียรได้ในที่สุด ยิ่งไปกว่านั้นคือ การได้เห็นคุณค่าและให้อภัยตนเองจากเหตุการณ์เลวร้ายในอดีต ลัลทริมาจึงเกิดความเข้มแข็ง และสามารถยืนหยัดขึ้นได้จากด้านในของตัวเองอีกครั้ง แม้ต้องร่วมมือกับการินในการต่อสู้กับเชียรที่มีพลังอมตะ เธอก็ไม่ได้รู้สึกกลัวหรือโดดเดี่ยวเช่นที่ผ่านมา เพราะในทุกครั้งท่ีพบกับความเลวร้ายจะมีการินและเพื่อน มาคอย ช่วยเหลอื ดงั ข้อความวา่ “เพราะนายแท้ๆการิน ฉันกบั อัญญาถึงรอดมาได้” ลลั ทรมิ าไมส่ นใจคำยว่ั ยุกวนอารมณข์ อง อีกฝ่าย แต่กลับยิ้มบางๆ ออกมา “นายรู้มั้ย ฉันว่าเสียงมันมีพลังมากกว่าที่คิดนะ อย่างแรกคือ เสียงด่า ของนาย มันช่วยผลักดันให้ฉันก้าวเดินไปข้างหน้าได้ แต่ก็มีเสียงอีกเสียงหนึ่งนะที่ช่วยให้คนเราก้าวไป ขา้ งหน้าได้ นนั่ คือคำว่า ...ขอบคุณยังไงละ่ ” การินหรี่ตามองหน้าลัลทริมาแบบเดาสีหน้าไม่ถูก จากนั้นเด็กสาวก็หยิบกระดิ่งออกมาจาก กระเป๋าส่งใหก้ ารนิ “หึ! แบบนี้สิค่อยได้เรื่องหน่อย” การินแสยะยิ้มกระชากกระดิ่งออกไปจากมือของเด็กสาวแล้ว หันหน้าเดินไปอีกทาง โดยไม่รู้ว่าอีกฝ่ายกำลังอมยิ้มและมองแผ่นหลังของเขาด้วยสีหน้าเหมือนอยากจะ พดู อะไรบางอย่าง แตส่ ุดทา้ ยเดก็ สาวก็ทำได้เพยี งพูดคำคำนน้ั ในใจเทา่ นน้ั “ขอบคุณนะ...การิน” (เสียงสะทอ้ นบาป, น. 185) คำกล่าวของลัลทริมาข้างต้น เกิดขึ้นหลังจากที่เธอและอัญญารอดพ้นจากอำนาจของกระดิ่งอาถรรพ์ ท่ีมีพลังทำให้ผู้ที่โดนอาถรรพ์พบกับคนตายหรือโดนวิญญาณอาฆาตมาทำร้ายจนกว่าคนผู้นั้นจะเสียชีวิต จากเหตุการณ์น้ีทำให้ลัลทริมาได้ปรับความเข้าใจกับอัญญาซึ่งเป็นน้องสาวของผู้ตายในเหตุการณ์โศกนาฏกรรม ที่เกิดจากพลังญาณอาถรรพ์ของเธอเอง และยังเกิดความรู้สึกเข้มแข็งในการใช้ชีวิตมากยิ่งขึ้น จึงทำให้ลัลทริมา กล่าวขอบคณุ การนิ ทช่ี ่วยให้เธอก้าวข้ามความรสู้ กึ ผดิ บาปที่อยใู่ นใจตลอดมา 2. บทบาทดา้ นการเปน็ เคร่อื งมอื ของตวั ละครเอกเพอื่ ใช้ทำร้ายฝา่ ยตรงข้ามหรือเพอ่ื ปอ้ งกันตวั การิน และลัลทริมา ต่างก็เป็นตัวละครภายใต้อนุภาคไสยศาสตร์ กล่าวคือ การินเป็นผู้ที่ใช้อาคมหรือ อาถรรพ์ต่างๆ ส่วนลัลทริมาเป็นผู้มีญาณอาถรรพ์ซึ่งเป็นพลังเหนือธรรมชาติ แต่ถึงอย่างนั้นทั้งสองคนกลับใช้ ความพิเศษนี้ทำรา้ ยใครก่อน เวน้ แต่จะได้พบกบั ฝ่ายตรงขา้ ม เช่น เชียร ซง่ึ เปน็ ผมู้ พี ลังอมตะ(อัตตานิรันดร์) ทำให้ ทั้งคู่ต้องใช้ทุกอย่างที่ตนมีเข้าต่อสู้ โดยเครื่องมือที่การินมักใช้อยู่เสมอคือ ตุ๊กตาหรือหุ่นอาถรรพ์กับคุณไสย กรีดเลือด ส่วนลัลทริมาแม้จะไม่อยากใช้พลงั ญาณอาถรรพ์ ตัวอย่างเช่น ตอนพิพิธภัณฑ์คนบาป การินได้ใช้ตุ๊กตา คณุ ไสยมาช่วยปิดฝาโลงท่มี ีเขาและลัลทริมาอยู่ข้างใน ส่วนข้างนอกน้ันให้ตุ๊กตาท่ีถูกพลังญาณอาถรรพ์ของลัลทริมา ปลุกความบ้าคลัง่ ขนึ้ มาเข้าไปรุมทำร้ายเชยี รจนเสยี ชวี ิต แมใ้ นตอนทา้ ยเชียรจะสามารถคืนชีพไดอ้ ีกคร้ัง แต่นก่ี ็เป็น มนษุ ยศาสตรส์ งั คมศาสตร์ปรทิ ัศน์ ปที ่ี 9 ฉบับท่ี 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > 121
ครั้งแรกที่ลัลทริมาได้รู้ว่าพลังของเธอนอกจากใช้ทำร้ายผู้อื่นได้แล้ว ยังสามารถใช้ปกป้องตัวเธอเองได้อีกด้วย ดงั บทสนทนาตอ่ ไปน้ี ภาพท่ี 1 การนิ และลลั ทรมิ าออกมาจากโลงศพและได้พบวา่ เชียรทีโ่ ดนหุ่นทำรา้ ยจนเหลอื เพยี งเศษเนอ้ื สามารถคืนชพี ได้อกี ครั้ง (คดีท่ี 4 บทจบ : พิพิธภณั ฑ์คนบาป, น. 139-140) 3. บทบาทในการผลักดนั ตวั ละครเอกให้เผชญิ กับเหตกุ ารณ์อาถรรพต์ ่าง ๆ การศกึ ษาในคร้ังนี้ มอี นภุ าคไสยศาสตร์รวมท้ังส้ิน 53 แบบ จากเน้อื เรื่องท้ังสิ้น 21 ตอน แบ่งเป็นอนุภาค ตวั ละคร อนุภาควัตถุส่ิงของ/เครื่องมือ และอนุภาคเหตุการณ์ จำนวนของอนภุ าคเหล่าน้ีแสดงให้เหน็ ว่าตวั ละครเอก คือ การินและลัลทริมาจะต้องประสบกับอาถรรพ์ต่าง ๆ ไปจนตลอดเรื่อง และเป็นเครื่องมือสร้างความสนใจใคร่รู้ ชวนให้ผู้อ่านร่วมลุ้นไปกับการผจญภัยในแต่ละตอนตามไปด้วย จึงอาจกล่าวได้ว่าอนุภาคไสยศาสตร์เหล่านี้ มีบทบาทสำคัญในการผลักดันให้ตัวละครโดยเฉพาะตัวละครเอก คือ การินและลัลทริมาให้เข้าไปเกี่ยวข้อง กับเหตกุ ารณอ์ าถรรพ์ ดงั จะเหน็ ได้จากบทสนทนาของการนิ ในการเปิดเร่ืองส่วนใหญว่ ่าเขาจะคอยเฝ้าสังเกตการใช้ พลังของลัลทริมาว่าจะทำให้เกิดเหตุการณ์สยองขวัญใดติดตามมา เช่น ในคดีที่ 7 บทแรก : บายศรีสังหาร การิน จับตาดูพิธีกรรมบายศรีที่กำลังจัดขึ้นและเยาะเย้ยลัลทริมา ให้ระวังแผนการร้ายจากเชียร และเหตุร้ายที่การิน ไดพ้ ูดไว้กไ็ ด้เกดิ ขน้ึ จริงๆ กับรนุ่ นอ้ งทไี่ ดร้ ับการผกู ข้อมือจากรุ่นพี่ ความรนุ แรงของอาถรรพน์ ้เี พ่ิมขน้ึ เร่ือยๆ จนทำให้ น้องรหัสของลัลทริมาเสียชีวิต จากการสูญเสียครั้งนี้เองทำให้ลัลทริมาตัดสินใจที่จะเผชิญหน้ากับเชียรในที่สุด ดงั บทสนทนาต่อไปนี้ ภาพที่ 2 การนิ เข้าไปประกาศเสียงตามสายของโรงเรียนเพ่ือก่อกวนพิธีปฐมนเิ ทศปกี ารศึกษาใหม่ (คดีท่ี 7 บทจบ : บายศรีสงั หาร, น. 20-21) มนุษยศาสตร์สงั คมศาสตรป์ รทิ ัศน์ ปที ี่ 9 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > 122
สำหรบั การศกึ ษาบทบาทของอนุภาคไสยศาสตรท์ ่ีมีต่อการสร้างตวั ละครเอกใน 3 ลักษณะ ได้แก่ บทบาท ด้านความเป็นเหตุเป็นผลเชิงพฤติกรรมและบุคลิกภาพของตัวละครเอก บทบาทด้านการเป็นเครื่องมือเพื่อทำร้าย หรือป้องกันตัว และบทบาทด้านการผลักดันตัวละครเอกให้เผชิญกับเหตุการณ์อาถรรพ์ต่างๆ พบว่าเป็นไปใน ลักษณะเดียวกับข้อค้นพบของ อวยพร แสงคำ (2557, น. 77) ที่ศึกษาลักษณะเด่นของนวนิยายไทยที่มีตัวละคร เป็นครุฑและนาคแล้วพบว่าการสร้างสรรค์อนุภาคต่าง ๆ โดยเฉพาะอนุภาคของวิเศษจะช่วยให้เรื่องราวน่าสนใจ ทำให้การดำเนินเรื่องสนุกสนาน ชวนติดตาม และยังสอดคล้องกับการศึกษาของเสาวลักษณ์ อนันตศานต์ (2558) ที่ศึกษาอนุภาคเหนือธรรมชาติในนิทานเรื่องสังข์ทองซึ่งพบว่า อนุภาคเหนือธรรมชาติทั้ง 3 แบบที่ปรากฏในเรื่อง มีบทบาทในการช่วยแก้ปัญหาของตัวละครเอกคือ พระสังข์ ให้ลุล่วงไปได้ ทั้งยังช่วยสนับสนุนให้พระสังข์ เป็นวีรบุรุษที่กล้าหาญ สามารถเอาชนะศัตรูได้ และช่วยให้การดำเนินชีวิตของพระสังข์ให้เป็นไปโดยปกติอีกด้วย จึงกล่าวได้ว่าอนุภาคไสยศาสตร์มีบทบาทสำคัญต่อการสร้างพัฒนาการให้กับตัวละครเอกคือ การินและลัลทริมา ทั้งยังช่วยให้เนื้อเรื่องของวรรณกรรมชุดนี้มีความน่าสนใจชวนให้ผู้อ่านติดตามการเผชิญหน้ากับอาถรรพ์ต่างๆ ทจี่ ะเข้ามาและเข้มข้นข้นึ ทุกขณะ อภปิ รายผล การศึกษาในครัง้ น้มี วี ตั ถปุ ระสงค์ 2 ประการคือ 1. เพ่อื วเิ คราะหอ์ นุภาคไสยศาสตรท์ ่ปี รากฏในวรรณกรรม ชุด การิน ปริศนาคดีอาถรรพ์ และ 2. เพื่อวิเคราะห์บทบาทของอนุภาคไสยศาสตร์ที่มีต่อการสร้างตัวละครเอก ในวรรณกรรมเรื่อง การิน ปริศนาคดีอาถรรพ์ ผลการศึกษาด้านอนุภาคไสยศาสตร์พบว่ามีอยู่ 3 ลักษณะ คือ อนุภาคที่เป็นตัวละคร อนุภาคที่เป็นวัตถุสิ่งของ/เครื่องมือ และอนุภาคที่เป็นเหตุการณ์ รวมอนุภาคทั้งส้ิน 53 แบบ ผลการศึกษาดงั กลา่ วมขี ้อคน้ พบท่นี า่ สนใจดังนี้ 1. การนำความเชื่อและประเพณีไทยมาปรบั เปล่ียนให้เปน็ อนุภาคไสยศาสตร์ในบริบทสังคมร่วมสมัย ข้อค้นพบนี้เกิดจากการท่ีผู้เขียนได้สร้างอนุภาคไสยศาสตร์หลายอย่างที่เชื่อมโยงกับการรับรู้ของคนไทย เช่น การนำผีถ้วยแก้วมาเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตและจับขังไว้ในแฟลชไดรฟ์ ในตอน เกมเชื่อมออนไลน์ความตาย มรณะ หรือการนำประเพณีสู่ขวัญรับนอ้ งใหม่ที่มกั จัดขึ้นในหลายสถาบันการศึกษามาใช้เป็นเครื่องมือในการสร้าง โศกนาฏกรรมในตอน บายศรีสังหาร ลักษณะต่าง ๆ เหล่านี้ชว่ ยให้ผู้อา่ นโดยเฉพาะที่เป็นวัยรุน่ มคี วามรู้สึกคุ้นเคย และทำใหน้ กึ ตามเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ได้งา่ ยข้ึน 2. การนำอนภุ าคไสยศาสตร์ต่างวัฒนธรรมมาปรบั ใชใ้ นเรือ่ ง การสร้างอนุภาคไสยศาสตร์ในวรรณกรรมเร่ือง การินปรศิ นา คดีอาถรรพ์ นอกจากจะใชค้ วามเชื่อเก่ียวกับ เรื่องเหนือธรรมชาติและสิ่งเร้นลับต่าง ๆ ที่ปรากฏในสังคมและวัฒนธรรมไทยแล้ว ยังมีการนำอนุภาค จากวัฒนธรรมอื่นมาใช้ในการดำเนินเรื่องด้วย เช่น การนำรูปแบบการต่อสู้ของสัตว์มาผนวกเข้ากับเรื่อง เพือ่ สร้างสถานการณ์อนั นา่ สนใจ ดังปรากฏในตอนพพิ ิธภณั ฑค์ นบาป ท่ีกล่าวถึงการนำคนบาปมาขังรวมกนั ให้ต่อสู้ และเฟ้นหาผู้ชนะ จากนั้นจะให้รางวัลเป็นการรับพรเพื่อชำระบาป แนวคิดการต่อสู้นี้เลียนแบบการขังสัตว์มีพิษ ในไหโคโดกขุ องญีป่ ุ่น เป็นต้น จากข้อค้นพบทง้ั 2 ประการข้างต้น สามารถใช้เป็นข้อสังเกตเกี่ยวกับความสำเร็จของวรรณกรรมเรื่องนี้ได้ว่า การนำเรื่องราวไสยศาสตร์มาเล่าใหม่ให้ได้รับความนิยมจากนักอ่านวัยรุ่นนั้น นักเขียนจะต้องรู้จักไสยศาสตร์ ในวัฒนธรรมไทยให้หลากหลายและ ควรต้องรู้จักนำความเชื่อ ประเพณี และพิธีกรรมทั้งของท้องถ่ิน และของต่างประเทศมาใช้ในการเลา่ เร่ืองดว้ ย มนษุ ยศาสตรส์ งั คมศาสตรป์ รทิ ัศน์ ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > 123
ขอ้ เสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะการทำวิจัยครั้งต่อไป คือ ควรมีการศึกษาอนุภาคภาคไสยศาสตร์ในวรรณกรรมชดุ การนิ ปริศนาคดีอาถรรพ์ให้ครบบริบูรณ์ เนื่องด้วยข้อจำกัดของการวิจัยครั้งนี้ศึกษาจากตัวบทท่ีมีการตีพิมพ์ครั้งแรก เริ่มตั้งแต่กรกฎาคม พ.ศ. 2551-พฤศจิกายน พ.ศ.2556 จำนวนรวมทั้งสิ้น 35 เล่มเท่านั้น นอกจากนี้คือ วรรณกรรมชุดนี้ได้มีการนำเอาข้อมูลคติชนในวัฒนธรรมไทย เช่น ตำนานผีตาโขน ตำนานผีเม็ง หรือลักษณะของ เบญจกัลยาณี และข้อมลู คติชนในวัฒนธรรมต่างชาติ เช่น ไหสตั วพ์ ิษ ของประเทศญ่ีป่นุ ฯลฯ มาใชใ้ นการสร้างปม ของเรื่อง จึงน่าสนใจศึกษาต่อว่ากลวิธีเช่นนี้มีในตอนอื่น ๆ อีกหรือไม่ (ฉบับนวนิยายตีพิมพ์ล่าสุด พ.ศ.2563 ชื่อตอนว่า ปัจฉิมบท ลิขิตอนธการ และฉบับการ์ตูนตีพิมพ์ล่าสุด พ.ศ.2563 ชื่อตอนว่า จตุรอาถรรพ์สถาน) และนกั เขยี นนำมาใช้ในการสรา้ งสรรคเ์ รอ่ื งเลา่ ใหน้ ่าสนใจอยา่ งไร 2. ข้อเสนอแนะสำหรับการนำไปใช้ประโยชน์ ปัจจุบันมีการสร้างเรื่องเล่าในลักษณะเดียวกับวรรณกรรม เรื่อง การิน ปริศนาคดีอาถรรพ์ เป็นจำนวนมาก หากมีการศึกษาอนุภาค (motif) ต่าง ๆ ที่ปรากฏในวรรณกรรม ในกลุ่มนี้มากขึ้นก็จะทำให้เห็นวิธีการ “แตกเรื่อง” ที่ใช้ฐานคิดจากอนุภาคไสยศาสตร์ได้ อย่างหลากหลาย และทำใหเ้ ห็นถงึ คณุ ค่าของอนภุ าคไสยศาสตร์ท่ีมตี อ่ การสร้างสรรคเ์ ร่ืองเล่าของนกั เขยี นรนุ่ ใหม่ได้ชดั เจนมากยิ่งข้นึ เอกสารอา้ งองิ กองบรรณาธิการฐานเศรษฐกิจ. (2013). แฟนตาชี-การ์ตนู แรงฟีเวอร์! สมาคมหนังสือชี้ นิยายรัก ธรรมะแผ่ว, 11 ธันวาคม 2556. https://www.thansettakij.com/ กังวล คัชชิมา. (2547). ไสยศาสตร์เขมรเบื้องต้น : การศึกษาเพื่อทำความเข้าใจ. วารสารดำรงวิชาการ คณะโบราณคดี, มหาวทิ ยาลัยศิลปากร, 3(5), 249-260. ฐนรัช กองทอง. (2556). “แฟนตาซีแบบไทย ๆ ในละครโทรทศั น์”. All Magazine, 8 (7), 41. ณันทิชา รุ่งแสง. (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปิดรับหนังสือวรรณกรรมแฟนตาซี. รายงานโครงการ เฉพาะบคุ คล วารสารศาสตรมหาบัณฑิต คณะวารสารศาสตร์และสอื่ สารมวลชน มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. บริษัท เด็กดี อินเตอร์แอคทีฟ จำกัด. (2556). ผลงานที่ได้ตีพิมพ์ (ออนไลน์), 11 ธันวาคม พ.ศ.2556. http:// www.dek-d.com/writer/publish/?mode=4 ประเสรฐิ ผลติ ผลการพิมพ์. (2556). 100 ปี การ์ตูนไทย จากสยามคลาสสิกส่ไู ทยโมเดริ น์ . กรุงเทพฯ: มตชิ น. วชิรวิชญ์ มั่งมูล. (2553). อนุภาคในนิทานคำกลอนเรื่องพระคาวุต: การศึกษาเปรียบเทียบกับอนุภาคในนิทานไทย. วารสารดำรงวชิ าการ คณะโบราณคดี, มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร, 9(1), 171-188. ศิราพร ณ ถลาง. (2552). ทฤษฎีคติชนวิทยา: วิธีวิทยาในการวิเคราะห์ตำนาน-นิทานพื้นบ้าน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรงุ เทพฯ: สำนกั พิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สริตา ปัจจุสานนท์ และทัศนีย์ ทานตวณิช. (2560). การสร้างสรรค์อนุภาคความวิเศษในนวนิยายมหัศจรรย์ เรอื่ ง เดอะไวท์โรด. วารสารวิชาการมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร,์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา, 25(47), 149-170. เสาวลักษณ์ อนันตศานต์. (2558). อนุภาคเหนือธรรมชาติในนิทานเรื่องสังข์ทอง. วารสารรามคำแหง ฉบับมนษุ ยศาสตร์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 34(2), 42-62. อวยพร แสงคำ. (2557). ลักษณะเด่นของนวนิยายไทยที่มีตัวละครเป็นครุฑและนาค. ปริญญาอักษรศาสตร มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย, คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. อัยย์ (นามแฝง). (2551-2554). การนิ ปรศิ นาคดีอาถรรพ์ ภาคหวั ใจสดี ำ (เล่ม 1-8). กรงุ เทพฯ: พนู ิกา้ . อยั ย์ (นามแฝง). (2555-2556). การนิ ปรศิ นาคดีอาถรรพ์ ภาคสลกั บิดเบือนกรรม (เล่ม 1-3). กรุงเทพฯ: พูนิก้า. อัยย์ (นามแฝง). (2554). การนิ ปรศิ นาคดีอาถรรพ์ ภาคพเิ ศษ ตอน เชยี ร พนั ธนาอตั ตานิรันดร์. กรุงเทพฯ: พูนิก้า. อยั ย์ (นามแฝง). (2551-2552). การนิ ปรศิ นาคดีอาถรรพ์ (การ์ตูน) (เลม่ 1-6). กรงุ เทพฯ: พนู ิกา้ . มนษุ ยศาสตร์สงั คมศาสตรป์ ริทัศน์ ปีท่ี 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > 124
อัยย์ (นามแฝง). (2552-2553). การนิ ปรศิ นาคดีอาถรรพ์ (การต์ ูน) (เล่ม 7-9). กรุงเทพฯ: อ.ี ควิ .พลัส. อยั ย์ (นามแฝง). (2553-2555). การิน ปริศนาคดีอาถรรพ์ (การต์ นู ) (เลม่ 10-17). กรุงเทพฯ: พูนิก้า คอมมิก. อยั ย์ (นามแฝง). (2555-2556). การินปรศิ นาคดอี าถรรพ์ (การ์ตนู ) (เลม่ 18-22). กรงุ เทพฯ: ซซี ีเอ็กซ์. อยั ย์ (นามแฝง). (2554). การิน ปริศนาคดีอาถรรพ์ (การ์ตูน) ตอนพิเศษ บทสญู . กรุงเทพฯ: พูนิก้าคอมมิก. มนษุ ยศาสตรส์ ังคมศาสตร์ปรทิ ศั น์ ปที ี่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2564) > 125
Search
Read the Text Version
- 1 - 27
Pages: