ข การประชุมสมั มนาวิชาการระดบั ชาติ “เวทวี ิจัยศลิ ปะและวัฒนธรรมศึกษา” ครง้ั ท่ี 2 สารจากอธิการบดมี หาวทิ ยาลัยมหาสารคาม งานด้านการวิจัยเป็นกลไกส�ำคัญในการขับเคล่ือนและการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ในนวัตกรรม ทางวชิ าการใหม้ คี วามเขม้ แขง็ เปน็ หวั ใจสำ� คญั ตอ่ การพฒั นาการเรยี นการสอน เปน็ แนวทางในการแกไ้ ข ปญั หาใหก้ ับสงั คมไดอ้ ยา่ งย่งั ยืน และเพิม่ ศกั ยาภาพในการแขง่ ขนั ของประเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการพัฒนางานวิจัยอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง ซึ่งได้มีการจัดท�ำยุทธศาสตร์และนโยบายด้านการวิจัยของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้อง ต่อยุทธศาตร์ชาติกับนโยบายการวิจัยของชาติและยุทธศาตร์การพัฒนาประเทศ โดยมุ่งเน้นให้เป็น มหาวทิ ยาลยั วจิ ยั เพอ่ื พฒั นาสงั คม สง่ เสรมิ การสรา้ งผลงานวจิ ยั ใหส้ ามารถนำ� ไปใชไ้ ดจ้ รงิ ในเชงิ เศรษฐกจิ สังคม และสาธารณะในระดบั ชุมชน และระดบั ปรเทศ เสรมิ สรา้ งกระบวนการผลิตบณั ฑติ ที่มคี ณุ ภาพ ออกสู่สังคม สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นและท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมให้มีความโดเด่น ตลอดจนสร้าง ภาคีเครือข่ายความร่วมมือดา้ นงานวจิ ยั ระหว่างบคุ ลากรท้งั ภายในและภายนอกมหาวิทยาลยั ท้ายสุดในนามมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ใคร่ขอขอบคุณองค์ปาฐกถา ผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน ขอช่ืนชมกับผู้น�ำเสนอผลงานทุกท่าน และขอบคุณทุกท่านที่เข้าร่วมการประชุมสัมมนาวิชาการฯ “เวทีวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมศึกษา” ตลอดจนขอขอบคุณคณะกรรมการจัดการประชุมสัมนา ทางวิชาการฯ ที่ได้ช่วยกันด�ำเนินงานให้ส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะได้รับทราบ ความกา้ วหน้าทางวิชาการที่เป็นประโยชน์และสามารถน�ำไปใชใ้ นอนาคตต่อไป (รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล) ผ้รู ักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม 23 สิงหาคม 2562
การประชุมสัมมนาวชิ าการระดบั ชาติ “เวทวี ิจัยศลิ ปะและวฒั นธรรมศึกษา” คร้ังที่ 2 ค สารจากผ้อู ำ� นวยการสถาบนั วจิ ัยศลิ ปะและวัฒนธรรมอสี าน มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ในนามคณะกรรมการจัดการประชุมวิชาการระดับชาติ ภายใต้หัวข้อ “เวทีวิจัยศิลปะและ วัฒนธรรมศกึ ษา” ครั้งท่ี 2 สถาบนั วิจยั ศิลปะและวัฒนธรรมอสี าน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีความ ภาคภูมิใจที่ได้ด�ำเนินการจัดประชุมสัมมนาทางวิชาการในครั้งนี้ โดยมุ่งหวังให้เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ เป็นเวทีน�ำเสนอผลงาน ทั้งประเภทบรรยายและโปสเตอร์ เพ่ือน�ำ องคค์ วามรู้ไปสู่การพฒั นาท้องถน่ิ และประเทศให้มปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้น การจดั ประชมุ สัมมนาวชิ าการคร้ังน้ี ประกอบด้วย การปาฐกถาพิเศษจากผู้ทรงคณุ วุฒิ การน�ำ เสนอผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ ซงึ่ รวมท้งั หมด 67 เรือ่ ง แบง่ เป็น 3 กลุ่มสาขา ได้แก่ กลมุ่ ศลิ ปะและ วฒั นธรรมศกึ ษา กลุ่มวรรณกรรมกับสงั คม และกลมุ่ ภาษาและจารกึ ศกึ ษา ซึง่ เป็นผลงานของอาจารย์ นักวจิ ัย นิสิต และนักศกึ ษาของมหาวิทยาลยั มหาสารคาม รวมทั้งนกั วิจัยจากทว่ั ประเทศ คณะกรรมการจัดการประชุมสัมมนาวิชาการ และสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ในฐานะผรู้ บั ผดิ ชอบในการประชมุ สมั มนาฯ ดงั กลา่ ว ใครข่ อขอบคณุ ทกุ ทา่ น ที่ให้ความร่วมมือและสนับสนุนการจัดงานครั้งนี้ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ทุกท่านจะช่วยกันสร้างสรรค์ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการที่มีคุณค่า อันจะก่อให้เกิดการพัฒนาความรู้ ของสังคมและประเทศชาติอยา่ งยั่งยนื ตอ่ ไป (รองศาสตราจารย์ ดร.ปฐม หงษ์สุวรรณ) ผอู้ ำ� นวยการสถาบันวิจัยศิลปะและวฒั นธรรมอีสาน มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม 23 สงิ หาคม 2562
ง การประชมุ สมั มนาวชิ าการระดับชาติ “เวทวี จิ ยั ศิลปะและวฒั นธรรมศกึ ษา” คร้ังที่ 2 ผู้ทรงคณุ วุฒิพิจารณาผลงาน มหาวิทยาลยั มหาสารคาม มหาวิทยาลยั มหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร. ปฐม หงษ์สวุ รรณ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร. ศภุ ชยั สงิ หย์ ะบศุ ย์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร. พิทกั ษ์ นอ้ ยวงั คลงั มหาวิทยาลยั ขอนแก่น รองศาสตราจารย์ ดร. ประยรู วงศจ์ ันทา มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร. นิยม วงศพ์ งษค์ า มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร. นติ ยา วรรณกิตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร. อดศิ ักด์ิ สงิ หส์ โี ว มหาวทิ ยาลยั มหิดล รองศาสตราจารยว์ ณี า วีสเพ็ญ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ธนายุส ธนธติ ิ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ปรุ ินทร์ เปลง่ ดสี กุล มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร. กนกพร รตั นสธุ รี ะกลุ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สมชาติ มณีโชติ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ราชันย์ นลิ วรรณาภา มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. บญั ญตั ิ สาลี มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. คมกริช การนิ ทร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ปัทมาวดี ชาญสวุ รรณ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ซิสกิ กา วรรณจันทร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. โฆสติ แพงสรอ้ ย มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ศาตรา เหล่าอรรคะ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สทิ ธิศกั ดิ์ จาปาแดง มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. กงั วล คัชชิมา มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สุพัตรา บวั ที มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สมยั วรรณอุดร มหาวิทยาลยั ศิลปากร ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ธวชั ชยั ชมศิริ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม อาจารย์ ดร. อเุ ทน วงษ์สถิต มหาวทิ ยาลยั กาฬสินธุ์ อาจารย์ ดร. อรรถวิท ศิลาน้อย มหาวิทยาลยั มหาสารคาม อาจารยม์ ลั ลกิ า นาจันทอง อาจารยจ์ รี กาญจน์ เตม็ พรสิน ปกโดย : สถิตย์ เจ็กมา เจา้ ของ : สถาบันวจิ ัยศิลปะและวฒั นธรรมอสี าน มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ถนนนครสวรรค์ ตาบลตลาด อาเภอเมือง จงั หวัดมหาสารคาม 44000 โทรศัพท์/โทรสาร 0-4372-1686 เวบ็ ไซต์ : http://www.rinac.msu.ac.th บทความวิชาการและบทความวจิ ัยทกุ เรื่องไดร้ บั การพจิ ารณากล่นั กรองโดยผทู้ รงคุณวฒุ ิ (Peer review) จากภายนอกและภายในมหาวิทยาลยั บทความ ข้อความ ภาพประกอบ และตาราง ทีล่ งตพี ิมพ์ในวารสารเปน็ ความคดิ เหน็ ส่วนตัวของผเู้ ขียน กองบรรณาธกิ าร ไม่จาเปน็ ตอ้ งเหน็ ด้วยเสมอไป และไมม่ สี ่วนรบั ผดิ ชอบใด ๆ ถือเปน็ ความรับผดิ ชอบของผเู้ ขียนแตเ่ พยี งผเู้ ดียว
การประชุมสัมมนาวิชาการระดบั ชาติ “เวทีวจิ ยั ศลิ ปะและวฒั นธรรมศกึ ษา” ครง้ั ท่ี 2 ด ด สารบญั หนา้ สารจากอธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม .......................................................................................................................... ข สารจากผอู้ านวยการสถาบันวิจยั ศลิ ปะและวัฒนธรรมอสี าน มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ...................................................... ค ผทู้ รงคณุ วุฒิพิจารณาผลงาน .................................................................................................................................................. ง กาหนดการประชุมสมั มนาวิชาการ .......................................................................................................................................... ฉ กาหนดการนาเสนอผลงาน ...................................................................................................................................................... ช บทความนาเสนอผลงานประเภทบรรยาย (Oral Presentation) 1 กลุม่ ศิลปะและวัฒนธรรมศึกษา 8 13 บทสารวจสถานการณแ์ ละการอนรุ กั ษห์ มอลากลอนสนิ ไซ ตาบลโนนฆ้อง อาเภอบ้านฝาง จังหวดั ขอนแกน่ ........................ โดย สภุ าภรณ์ คานวณดี 18 สุนทรชยั ชอบยศ 28 สุรชัย ทาระคุณ 37 “บญุ ซาฮะ” อิทธิพลทางความเช่ือทม่ี ตี ่อการดาเนินชวี ติ ของชาวอีสาน .................................................................................. 45 โดย ดฐิ พงศ์ ประเสรฐิ ไพฑูรย์ ยโสธารา ศริ ภิ าประภากร สาเรงิ อินทยุง การฟอ้ นราอันศักดสิ์ ทิ ธ์บิ รู ณาการสูก่ ารแสดงราอัปสรามรดกการรา่ ยราแถบอีสาน ................................................................ โดย ภสั สร มิ่งไธสง ยโสธารา ศริ ิภาประภากร สรุ ิยา คลงั ฤทธ์ิ สาเรงิ อินทยุง เคร่อื งมือดักจบั สัตว์ : อัตลักษณท์ างวัฒนธรรมไทบรู .............................................................................................................. โดย มานิตย์ โศกค้อ พระพุทธรูปสกลุ ช่างเมืองอุบลราชธานี : ความสัมพนั ธ์ทางประวตั ิศาสตร์และศลิ ปกรรมทอ้ งถน่ิ ............................................ โดย ปกรณ์ ปุกหุต จริ วัฒน์ ต้งั จิตรเจริญ การพฒั นาผลติ ภณั ฑแ์ ละส่งเสรมิ สัมมาชีพของหมบู่ า้ นรกั ษาศลี 5 ในจังหวัดศรสี ะเกษ ......................................................... โดย สุทศั น์ ประทมุ แก้ว พระกญั จน์ แสงรุ่ง พระพรสวรรค์ ใจตรง พระมหาธงชยั ธรรมทวี แนวทางการอนรุ กั ษ์ภูมปิ ญั ญาพนื้ บ้านของชมุ ชนหมทู่ ี่ 1- 8 ตาบลหญา้ ปลอ้ ง อาเภอเมือง จังหวดั ศรสี ะเกษ ...................... โดย ธันยพงศ์ สารรัตน์ โพธ์พิ งศ์ ฉัตรนันทภรณ์ เจษฎา สขุ สนิท
ท การประชมุ สัมมนาวชิ าการระดับชาติ “เวทีวิจัยศลิ ปะและวฒั นธรรมศึกษา” คร้ังท่ี 2 ท หนา้ สารบัญ (ต่อ) “ตานานมหาสักขาดโลก” พุทธทานายของกล่มุ ชาตพิ นั ธุ์ไท ................................................................................................. 295 โดย จตุพร เพชรบูรณ์ 303 “แซนสน๊อป” พิธีกรรมไหว้ครบู รมครูช่างตีปะเกอื มเงินโบราณ : กรณีศึกษาครปู ่วน เจยี วทอง ปราชญท์ อ้ งถ่นิ 312 จงั หวัดสรุ นิ ทร์ ....................................................................................................................................................................... 320 326 โดย กฤษนนั ท์ แสงมาศ 335 ยโสธารา ศิรภิ าประภากร 347 สุพัตรา วะยะลุน 355 สาเรงิ อนิ ทยุง 364 สุรยิ า คลังฤทธิ์ 374 การศึกษาเปรยี บเทยี บบททาขวัญไทยกับบททาขวญั เขมร .................................................................................................... โดย ศุภชยั จงั ศิรวิ ทิ ยากร 379 อาหารโรงครัวหลวง : จดหมายเหตุบนั ทึกวฒั นธรรมการกนิ ................................................................................................ โดย ยุวเรศ วทุ ธีรพล จารึกฐานพระพุทธรปู : คลังพพิ ิธภัณฑสถานแหง่ ชาตหิ ริภญุ ไชย จงั หวดั ลาพนู ................................................................... โดย วชรพร องั กูรชัชชยั ความเชื่อวา่ ด้วยพน้ื ที่ศกั ดสิ์ ทิ ธใ์ิ นตานานอุรงั คธาตุ ............................................................................................................... โดย ชาญยทุ ธ สอนจนั ทร์ ร้อยเรยี งใบลาน สืบสานวฒั นธรรมท้องถ่นิ : ภูมิปัญญาในการสรา้ งและการอนรุ ักษค์ มั ภรี ์ใบลาน วดั นากว้าว ตาบลปา่ ตนั อาเภอแมท่ ะ จังหวดั ลาปาง .............................................................................................................................. โดย ตลุ าภรณ์ แสนปรน ชา้ งกบั ผลติ ภณั ฑ์ทางความเชอื่ ทม่ี ตี อ่ ชนกลมุ่ ชาวไทยกยู จงั หวดั สรุ ินทร์ ............................................................................... โดย ยโสธารา ศิรภิ าประภากร แซนพนม : ภูมปิ ัญญาเขมรโบราณมิตคิ วามสมั พนั ธ์ระหวา่ งคนสงิ่ ศกั ดิ์สทิ ธิ์ และสิ่งแวดล้อม กรณชี ุมชนรอบเขาพนมรงุ้ ..... โดย สรุ ิยา คลังฤทธ์ิ ยโสธารา ศิรภิ าประภากร ภสั สร ม่ิงไธสง ดฐิ พงศ์ ประเสริฐไพฑูรย์ แซนพนม พธิ กี รรมบูชาภเู ขาของกลุ่มชาวไทยเขมรบ้านตะโก อาเภอประโคนชยั จังหวัดบรุ รี มั ย์ ......................................... โดย สาเริง อนิ ทยงุ ยโสธารา ศิริภาประภากร สุริยา คลงั ฤทธิ์ “จวมกรูกาเนิด”มรดกทางวฒั นธรรมท่ีกาลังเลอื นหายมรดกภมู ปิ ญั ญาของชาวไทยเขมร .................................................... โดย พระวชั ระ เกดิ สบาย ยโสธารา ศิริภาประภากร สาเริง อนิ ทยุง สรุ ยิ า คลังฤทธ์ิ
การประชมุ สัมมนาวิชาการระดับชาติ “เวทวี จิ ยั ศิลปะและวฒั นธรรมศึกษา” คร้งั ท่ี 2 ธ ธ หนา้ สารบัญ (ต่อ) “พิธแี ซนกะโมย๊ ” กบั การพฒั นาทรพั ยากรมนุษยบ์ นรากฐานทางวฒั นธรรมของกลุ่มชนชาวไทยกยู จงั หวัดสรุ ินทร์ .......... 383 โดย ทติ ยาวดี อินทรางกูล ยโสธารา ศริ ภิ าประภากร 389 สาเริง อินทยุง สุริยา คลังฤทธิ์ 395 402 “จวมกร”ู สญั ลกั ษณเ์ ชื่อมต่ออานาจวญิ ญาณศักดส์ิ ิทธ์ิของชาวไทยเขมรกบั การพฒั นาให้เปน็ ผลติ ผลทางความเชอื่ ท่ยี ง่ั ยนื 408 บา้ นตะโก ตาบลโคกยา่ ง อาเภอประโคนชัย จังหวัดบรุ ีรมั ย์ ................................................................................................ โดย สพุ ตั รา วะยะลนุ ยโสธารา ศิรภิ าประภากร สาเรงิ อนิ ทยงุ สรุ ยิ า คลงั ฤทธ์ิ การศกึ ษาประเพณโี ฎนตา ของกลมุ่ ชาวไทยเชื้อสายเขมรสรุ ินทรก์ บั การบูรณาการลงสหู่ ลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนเมอื งสรุ นิ ทร์ จังหวัดสุรินทร์ .................................................................................................................................... โดย ฉัตราภรณ์ จนั ทรแ์ จม่ ธารี ยโสธารา ศริ ิภาประภากร การรักษาภาษากวยและวัฒนธรรมลงสกู่ ารเรยี นรเู้ ชงิ สรา้ งสรรค์ ....................................................................................... โดย พระครูโสภณธรรมรังสี ยโสธารา ศิริภาประภากร การศกึ ษาความเชือ่ ทางไสยศาสตรก์ ับพระพทุ ธศาสนาและคณุ คา่ ของวรรณคดไี ทยทมี่ ีอิทธพิ ลต่อสังคมไทยในวรรณคดี เรอื่ งขนุ ช้าง-ขุนแผน ........................................................................................................................................................... โดย พระรชต มาตรสอน พระมหาโกสน สมอนา สามเณรจามกิ ร สจั จาสังข์ บทความนาเสนอผลงานประเภทโปสเตอร์ (Poster Presentation) 417 425 การอนรุ กั ษ์และสืบสานประเพณตี านกว๋ ยสลากชลอม โดยชมุ ชนมสี ว่ นร่วม เพอื่ เสริมสรา้ งการท่องเทย่ี วชมุ ชน อาเภอทา่ ปลา จังหวดั อตุ รดติ ถ์ .......................................................................................................................................... 432 436 โดย พนมพร สารสิทธิยศ 445 การศกึ ษาวิจยั และวิเคราะหผ์ ลงานภาพพมิ พค์ อมพวิ เตอร์กราฟกิ เชงิ สนุ ทรีศาสตรเ์ ร่อื ง นึกถึงอาจารยถ์ วลั ย์ .................. โดย อภนิ นั ท์ ปานเพชร กระบวนการจดั การเรียนรู้ ดนตรศี กึ ษา สู่ระดับปรญิ ญาตรีโรงเรยี นศิลปะดนตรีแหง่ ชาติ สาธารณรฐั ประชาธิปไตย ประชาชนลาว .................................................................................................................................................................... โดย ปฐมพงษ์ ธรรมลังกา ภูมิปัญญาการอยไู่ ฟ : กรณศี กึ ษาในหมู่บ้านหลา่ ยใหม่ ตาบลออย อาเภอปง จงั หวัดพะเยา ........................................... โดย อรทัย สุขจะ๊ การศกึ ษาการสร้างคาสแลงในแฟนเพจอจี นั .................................................................................................................... โดย ปวณี า ขัติปัญญา อรทัย สุขจ๊ะ
การประชมุ สัมมนาวิชาการระด3ับ4ช7าติ “เวทีวิจยั ศลิ ปะและวฒั นธรรมศึกษา” คร้ังท่ี 2 347 รอ้ ยเรียงใบลาน สืบสานวัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ : ภมู ปิ ญั ญาในการสรา้ งและการอนุรกั ษ์ คัมภีรใ์ บลาน วัดนากว้าว ตาบลป่าตนั อาเภอแม่ทะ จังหวดั ลาปาง Plam Leaf Arrangement for Inheriting Local Culture: Wisdom of Writing and Conservation on Palm Leaf Manuscripts at Na Gwao Temple, Patan Subdistrict, Maeta District, Lampang Province ตลุ าภรณ์ แสนปรน1 บทคดั ย่อ บทความน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภูมิปัญญาในการสร้างและการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานวัดนากว้าว ตําบลป่าตัน อําเภอแม่ทะ จงั หวดั ลาํ ปาง การศึกษาในครั้งนนี้ ําเสนอการสาํ รวจและรวบรวมคมั ภีร์ใบลาน มจี าํ นวนท้งั สนิ้ 1,014 ผูก ใชต้ วั อกั ษรธรรมลา้ นนา หรอื ตวั เมอื ง จารลงบนใบลาน เร่ืองราวทบี่ นั ทึกเป็นเร่ืองเกีย่ วกบั พทุ ธศาสนา ประวตั ิศาสตร์ ชาดก ตํานาน นทิ านพ้นื บ้าน อานิสงส์ เป็นต้น ผลการศึกษาพบว่า วัดนากว้าว ตําบลป่าตัน อําเภอแม่ทะ จังหวัดลําปาง มีคัมภีร์ใบลานจํานวนมากที่พระสงฆ์และชาวบ้าน ลว้ นมีส่วนในการสร้างหรือผลติ คมั ภรี ใ์ บลาน โดยพระสงฆส์ รา้ งและใช้คมั ภรี ใ์ บลานเพ่อื เปน็ เครอ่ื งมอื หรือตาํ ราในการอบรมส่ังสอนและ เผยแผ่พระพุทธศาสนา สว่ นชาวบ้าน สร้างคมั ภีร์ใบลานดว้ ยแรงศรทั ธาทเี่ ช่ือวา่ จะไดบ้ ญุ กศุ ลและมีอานสิ งสม์ าก ภมู ิปัญญาในการสร้าง และอนุรักษ์คมั ภรี ใ์ บลานทม่ี กี ารสบื ทอดกนั มาต้ังแต่อดตี จนถงึ ปัจจบุ ันนนั้ มีข้ันตอนในการสรา้ งและอนรุ กั ษค์ ัมภีรใ์ บลาน คือการเตรียม ใบลาน การจารและการร้อยใบลาน การใช้ไม้ประกับ การห่อคัมภีร์ การทําไม้บัญชัก การสร้างหีบธรรม การสร้างหอธรรม การนํา ใบลานมาศึกษาหรือเทศนา และการซอ่ มแซมคัมภรี ใ์ บลาน ในส่วนทา้ ยของคัมภรี ์ใบลานวดั นากวา้ ว ตําบลป่าตัน อําเภอแม่ทะ จังหวัด ลาํ ปาง จะบอกชือ่ คัมภีร์ ชอ่ื ผจู้ าร วนั เดอื นปีทจ่ี าร สถานที่ บอกเจตนา ความปรารถนา บทอัตตวิภาษหรือการกล่าวตําหนิตัวเอง และ คําอธิษฐาน นอกจากนั้น ยังทําให้ทราบถงึ เหตกุ ารณแ์ ละอารมณ์ความรสู้ กึ ของผจู้ ารอกี ด้วย คาสาคญั : ภูมปิ ญั ญา การอนรุ ักษ์ คัมภรี ใ์ บลาน Abstract The objective of this article was to study wisdom of writing and conservation of palm leaf manuscript at Na Gwao temple in Patan sub district, Maeta district, Lampang province. The studying would present the result of survey and collecting the palm leaf manuscripts that was there were 1,014 copies of manuscripts and written on palm leafs with Lanna alphabets. The manuscripts recorded stories about Buddhism, history, Jataka, legend, local tales, and advantages of Buddhism etc. The result found that Na Gwao temple in Patan sub district, Maeta district, Lampang province had a lot of manuscripts produced by monks and villagers. Monks used the palm leaf manuscripts as a tool or textbook for teaching and propagating Buddhism. Villagers produced the palm leaf manuscripts with faith and belief for getting merit and advantages. Wisdom of writing and conserving the palm leaf manuscripts was inherited from past to present had procedures like followed: palm leaf preparation, writing and stringing, bracing wood, wrapping manuscript, carving wood, Dharma box, Dharma hall, giving a sermon or studying palm leaf manuscripts, and palm leaf manuscript repair. The colophon recorded title, author, date of writing, place, wish of author, self-critical unit, and blessing including event and feeling of writer. Keywords: wisdom, conservation, palm leaf manuscript 1 นิสิตหลักสตู รปรัชญาดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม และอาจารย์ประจําสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลาํ ปาง E-mail: [email protected], โทรศพั ท์ 093-1326587
348 การประชมุ สมั มนาวิชาการระดับชาติ “เวทวี ิจัยศิล3ป4ะ8และวัฒนธรรมศึกษา” คร้งั ท่ี 2 ความเป็นมาของปญั หา คมั ภรี ใ์ บลาน เปน็ เอกสารโบราณทีค่ นไทยในอดีตใช้บนั ทกึ เร่อื งราว วิถีชวี ติ เหตุการณท์ เี่ กิดข้ึนในอดตี ความเชอื่ ประวตั ิศาสตร์ และศลิ ปวทิ ยาการ ตลอดจนองค์ความรูต้ ่างๆ เนือ่ งจากใบลานมีความทนทาน สะดวกในการเก็บรักษา และง่ายต่อการจารหรือบันทึก ข้อความต่างๆ เนื้อหาที่จารลงในใบลานมักเป็นเรื่องเกี่ยวกับพระธรรมอันเป็นสิ่งสูงสูดในพระพุทธศาสนา จึงทําให้คัมภีร์ใบลานมี ความสาํ คญั และศกั ดิ์สิทธิ์ คมั ภีรใ์ บลานถอื เปน็ วฒั นธรรมทางภาษาทบ่ี รรพชนคนไทยได้สร้างสรรค์ขึ้นและเป็นหลักฐานชั้นต้นที่บันทึก เรื่องราวตา่ งๆ ในอดตี ด้วยความเช่ือและความศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนาของชาวลา้ นนา ทําใหม้ ีการจารและคดั ลอกคัมภีร์ใบลานถวายไว้ตามวดั ต่างๆ เป็นจาํ นวนมาก ชาวล้านนามีความเชื่อว่า การจารคัมภีร์ใบลานด้วยตนเองหรือแม้แต่จ้างวานให้ผู้อื่นจารแล้วนําไปถวายไว้กับวัดเป็น การสร้างบุญกุศลท่ีย่ิงใหญ่เหมือนกับสร้างพระพุทธรูป และในการถวายแต่ละครั้ง ผู้จารหรื อผู้ถวายจะจารึกช่ือของตน พร้อมคํา อธิษฐานให้ตนเองได้เข้าสู่นพิ พานในภายภาคหนา้ ไว้ด้วย ชาวล้านนา นิยมสร้างคัมภีร์ใบลานถวายวัดเป็นพุทธบูชา และอุทิศส่วนกุศล ให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว นอกจากน้ันยังพบว่ามีการจารเร่ืองราวเก่ียวกับทางโลกไว้อีกด้วย ซึ่งแสดงให้เห็นถึง ภูมิปัญญา วิถีชีวิต ความศรัทธา ของคนในทอ้ งถิน่ ทีส่ ืบทอดกันมาอยา่ งยาวนาน คัมภรี ใ์ บลานท่ีมผี ู้จารหรือถวายไว้ตามวดั จะถกู เก็บรกั ษาโดยหอ่ หรอื มัด แลว้ นาํ ไปใสห่ ีบธรรม เป็นหีบไม้รูปทรงต่างๆ ท่ีมีการ ตกแต่งลวดลายต่างๆ ไว้อย่างสวยงาม ส่วนมากจะทําเป็นรูปทรงสี่เหล่ียมมีฝาเปิด-ปิดด้านบนการสํารวจคัมภีร์ใบลาน หรือ “การคัดธัมม์” เป็นงานด้านการสํารวจและอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานเพ่ือให้ทราบจํานวน ชื่อเร่ือง สภาพคัมภีร์ใบลานเพ่ือซ่อมแซมและ เกบ็ รักษาใหเ้ หมาะสม จากอดีตจนถึงปัจจุบัน คมั ภรี ใ์ บลานยงั คงเปน็ เอกสารที่มีความสําคัญในฐานะท่ีเป็นเอกสารบันทึกเร่ืองราวและ เหตุการณข์ องยุคสมัย เพราะยุคสมยั ท่ีมกี ารจารใบลานเรื่องน้นั ๆ ย่อมสะท้อนใหเ้ หน็ เรอื่ งราวต่างๆ อีกด้วย วัดนากว้าว เป็นวัดทีส่ ําคัญวัดหน่ึงของอาํ เภอแม่ทะ จังหวัดลําปาง ท่ีมีบทบาทเก่ียวกับเอกสารใบลาน เพราะมีคัมภีร์ใบลานท่ี สําคัญอยู่เป็นจํานวนมากกว่า 1,000 ผูก สะท้อนให้เห็นว่าวัดนากว้าว เคยมีพระสงฆ์ผู้มีความรู้ เป็นท่ีเคารพศรัทธาของชุมชน และ ชุมชนเองกม็ คี วามเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา จึงได้สร้างคัมภีร์ใบลานถวายวัดไว้เป็นจํานวนมาก และเป็นมรดกภูมิปัญญาทาง วัฒนธรรมท่ตี กทอดมาสชู่ มุ ชนในปจั จบุ ัน ในบทความน้ีจะนําเสนอผลการสํารวจและรวบรวมคัมภีร์ใบลาน และนําเสนอผลการศึกษาภูมิปัญญาในการสร้างและการ อนรุ ักษ์คมั ภรี ์ใบลาน วัดนากว้าว ตาํ บลป่าตัน อาํ เภอแม่ทะ จังหวดั ลําปาง วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย เพื่อศึกษาภมู ิปัญญาในการสร้างและการอนุรักษ์คมั ภีรใ์ บลานวดั นากวา้ ว ตาํ บลปา่ ตนั อาํ เภอแมท่ ะ จังหวัดลําปาง ผลการวิจัย คัมภีร์ใบลานวดั นากว้าว ตาบลป่าตนั อาเภอ แม่ทะ จงั หวัดลาปาง คัมภีร์ใบลานในวัดแต่ละวัดมีจํานวนไมเท่ากัน ถ้าเป็นวัดขนาดใหญ่อาจมีคัมภีร์ใบลานอยู่เป็นจํานวนมาก เช่น วัดสูงเม่น ตําบลสงู เมน่ อําเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ ถอื เป็นวัดท่มี ีคัมภีรใ์ บลานจาํ นวนมากและจัดเป็นระเบียบทีด่ ที ่ีสุดในภาคเหนือ มีคัมภีร์ใบลาน หลายหมื่นผกู เจ้าอาวาสในอดตี รปู หนง่ึ ชือ่ วา่ มหาเถรเจากญั จนอรัญญวาสี (ครูบากัญจนะ) แห่งเมืองแพร ไดเดินทางไปสืบเสาะและ ขอยืมใบลานมาคัดลอกไวท่ีวัดสูงเมน ท่านเคยเดินทางไปถึงเมืองหลวงพระบาง และไดคัดลอกคัมภีร์ประวัติศาสตร์หรือตํานานช่ือว่า “ตํานานพญาเจือง”หรือ“มหานิทานพญาเจือง”จํานวน 11 ผูก จํานวนหนาใบลาน 300 ใบลาน ใบลานละ 5 แถว ถือว่าเป็นตํานาน หรือวรรณกรรมประเภทมหากาพย์ (epic) เพราะเป็นวรรณกรรมประวัติศาสตร์กล่าวถึงวีรบุรุษคือขุนเจืองแต่เพียงผู้เดียว ผูคัดลอก เขยี นไวในหนาสดุ ท้ายและผกู สดุ ทา้ ยของใบลานว่า คมั ภรี ์เร่อื งน้ีมีตน้ ฉบบั มาจากเมอื งหลวงพระบาง แสดงถึงความเป็นนักปราชญ์ของ ครบู ากญั จนะซ่ึงเปน็ เจาอาวาสวดั สูงเมน่ ในสมยั นั้น นอกจากน้ีพระสงฆ์และศรัทธาชาวบ้านวัดสูงเม่นยังจัดเก็บและรักษาคัมภีร์ใบลาน ไวอย่างดีในหอธรรม (หอพระไตรปิฎก) และในเดือนมกราคมของทุกปีจะมีประเพณีอนุรักษ์ใบลานด้วยการทําความสะอาด และ “ถวายผ้าห่อคัมภีร์” โดยศรัทธาชาวบ้านวัดสูงเม่นจะจัดงานชื่อว่า“ตากธรรมทานข้าวใหม่หิงไฟพระเจ้า” ซ่ึงตากธรรม หมายถึง ชาวบ้านนําคัมภีร์ใบลานออกมาตากแดดเปล่ียนผ้าห่อคัมภีร์ ทานข้าวใหม่ คือ การถวายข้าวท่ีชาว นาเพิ่งเก็บเกี่ยว หิงไฟ (ผิงไฟ) พระเจา้ ชาวบา้ นหาฟืนมาถวายพระสงฆ์ เพ่อื ใชผ้ ิงไฟเนือ่ งจากอากาศหนาว ประเพณีดังกล่าวจัดขึ้นเพื่ออนุรักษ์ให้คัมภีร์มีอายุยืนยาว
การประชุมสมั มนาวชิ าการระด3ับ4ช9าติ “เวทวี ิจยั ศลิ ปะและวัฒนธรรมศกึ ษา” คร้งั ท่ี 2 349 ออกไป อีกท้งั วัดแห่งนีย้ งั ไดร้ บั รางวลั อนรุ กั ษ์คมั ภีร์ดีเดน่ ระดับประเทศอีกด้วย (อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว. 2556 : 117) ในขณะเดียวกัน หากเป็นวัดขนาดเล็ก ตั้งอยู่แถบชนบทอาจจะมีคัมภีร์ไม่มากนัก ดั่งเช่น วัดนากว้าว ตําบลป่าตัน อําเภอ แมท่ ะ จังหวดั ลาํ ปาง จากการสํารวจและรวบรวมคมั ภีรใ์ บลานทีม่ อี ยใู่ นปัจจุบนั พบวา่ มจี ํานวนคัมภีร์ที่เป็นชุดๆ อยู่จํานวนมาก และมี บางส่วนหลุดแยกจากกันกระจัดกระจาย บางเร่ืองมีไม่ครบทุกผูก คณะทํางานจึงนําคัมภีร์ใบลานมาจัดเรียงเพื่อจัดให้เข้าชุดกันให้ ได้มากทส่ี ุด จากการสาํ รวจและรวบรวมพบวา่ คัมภรี ์ใบลานวัดนากว้าว ตําบลปา่ ตัน อาํ เภอแม่ทะ จงั หวัดลาํ ปาง มีจาํ นวนทง้ั สิ้น 1,014 ผูก ประกอบด้วย คัมภีร์ใบลานขนาดยาว เราเรียกว่า หนังสือผูก และใบลานขนาดส้ัน เรียกว่า หนังสือก้อม ใช้ตัวอักษรธรรมล้านนา หรือ ตัวเมือง จารลงบนใบลาน เรื่องราวท่ีบันทึกเป็นเร่ืองเกี่ยวกับพุทธศาสนา ประวัติศาสตร์ชาดก ตํานาน นิทานพื้นบ้าน อานิสงส์ เป็นตน้ จากการศกึ ษาคัมภรี ์ใบลานวัดนากว้าว ตําบลปา่ ตัน อําเภอแม่ทะ จังหวัดลําปาง พบว่า มีคัมภีร์ใบลานจํานวนมาก ท่ีพระสงฆ์ และชาวบ้านล้วนมีส่วนในการสร้างหรอื ผลติ คมั ภีรเ์ หล่านที้ งั้ ส้ิน ทุกคนมีศรัทธาและมีวิริยะอุตสาหะในการเขียนตัวอักษรแต่ละตัวโดย ให้ผิดน้อยทีส่ ดุ หรือบางเรื่องเกือบจะไมมคี าํ ผิดเลย เพราะถ้าเขียนผิดจะต้องขีดฆ่าลงบนใบลาน ซึ่งทําได้ยาก ผู้อ่านก็สังเกตเห็นคําผิด ยาก สะทอ้ นถงึ คุณภาพของคัมภรี ใ์ บลานผกู นัน้ เพราะผอู้ า่ นจะทราบว่าคัมภรี ์เรื่องนี้เป็นสมบตั ขิ องวัดใด ใครเป็นผู้เขยี นหรอื จาร ดังน้ัน ผจู ารจงึ ตอ้ งมสี มาธดิ ี มีลายมอื งดงาม อ่านงา่ ย บางครัง้ จะทราบวา่ ผจู ารใบลานมีความเชือ่ หรือไดร้ ับแรงจูงใจให้สร้างคัมภีร์ใบลานที่มี คุณภาพดีไดอ้ ยา่ งไร อายุและยคุ สมัยในการสร้างคมั ภรี ์ใบลาน การระบุอายุและยุคสมัยในการสร้างคัมภีร์ใบลาน ส่วนมากผู้จารจะไม่บอกรายละเอียดมากนัก แต่จะบอกวันเวลาท่ีจาร เสรจ็ หรอื วนั เดือน บางฉบบั อาจบอกปี ซึ่งจะบอกเปน็ ปีจุลศกั ราชเป็นสว่ นมาก แตบ่ างครั้งอาจบอกเปน็ ปพี ุทธศักราช หรืออาจบอกท้ัง ปีจุลศักราช และพุทธศักราช และมีการกล่าวย้ําความสําคัญ ด้วย จากการศึกษาคัมภีร์ใบลานวัดนากว้าว ตําบลป่าตัน อําเภอแม่ทะ จงั หวดั ลําปาง พบว่า ธรรมเนยี มอยา่ งหน่งึ ท่ีพบในการจารคมั ภีร์ใบลาน คอื การระบุวนั เดือนปไี ว้ในสว่ นท้ายของใบลาน ทําให้เราทราบ อายุและยุคสมัยของใบลานผูกนน้ั ๆ แต่บางผกู ก็มิได้ระบไุ วเ้ ช่นกัน คัมภีร์ใบลานท่ีเป็นหลักฐานท่ีระบุชัดเจนท่ีเก่าแก่ที่สุดท่ีพบ คือจาร เม่ือ จ.ศ.1231 (2412) และคัมภีร์ใบลานที่ใหม่ที่สุดคือ พ.ศ.2532 ซ่ึงการบอกอายุและยุคสมัยในการสร้างคัมภีร์ใบลานจะเป็น ประโยชน์ต่อการศกึ ษาประวัตศิ าสตรช์ มุ ชนต่อไป ภมู ปิ ัญญาในการสร้างและอนรุ กั ษค์ ัมภีร์ใบลานวดั นากวา้ ว ตาบลป่าตัน อาเภอแม่ทะ จังหวัดลาปาง คมั ภรี ์ใบลาน หรือ ใบลาน จัดเป็นเอกสารชนิดหนึ่งท่ีใช้สําหรับบันทึกเรื่องราวในอดีต เกี่ยวกับพระธรรมคําสอนทางพุทธ ศาสนา วิธีการสรา้ งอักษร เรียกว่า การจาร คือ การนําเอาเหล็กจารที่มีลักษณะคล้ายปากกา ส่วนปลายมีความแหลมคม ขีดเขียนลง บนใบลาน แลว้ ใชเ้ ขม่าไฟผสมนาํ้ มนั ลูบลงไปเพื่อให้ติดในรอยทีจ่ ารและปรากฏรปู ลักษณอ์ ักษรทเ่ี ดน่ ชดั ขน้ึ นอกจากน้ี สินนี าฏ สมบูรณอ์ เนก (2555) ได้กลา่ วถึงความสาํ คญั ของคมั ภรี ใ์ บลาน วา่ เปน็ เอกสารโบราณประเภทหน่ึงของ ชาวลา้ นนา นอกเหนอื ไปจากพบั สา และเป็นมรดกทางวัฒนธรรมด้วยเช่นกัน ท่ีแสดงถึงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของชาวล้านนา ในอดีต วทิ ยาการตา่ งๆ ที่บรรพบุรษุ ได้จารไวใ้ นใบลานน้ัน นอกจากพระธรรมคาํ สอนทางพระพุทธศาสนาแลว้ ยังมเี นือ้ หาที่เกย่ี วขอ้ งกบั ทางโลกอีกมากมาย เชน่ กฎหมาย กฎข้อบงั คับตา่ งๆ ตํานานเมอื ง และตํารายาสมุนไพร เป็นตน้ ดังนัน้ คัมภีรใ์ บลานจงึ ไมเ่ พยี งแต่จะมี คณุ คา่ ในทางวชิ าการเทา่ น้ัน หากยงั สะทอ้ นถงึ ขนบธรรมเนียมประเพณี และศิลปวัฒนธรรมท่แี สดงความเปน็ ตัวตนของชาวล้านนาจาก รุ่นสรู่ ุ่น นอกจากนแ้ี ล้วคมั ภีร์ใบลานยังเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ตลอดจนแสดงเหตุการณ์ท่ีสําคัญในอดีตของบ้านเมืองอีกด้วย คัมภีรใ์ บลานในล้านนานน้ั กลา่ วกนั วา่ ทีม่ ีอายเุ ก่าแก่ทีส่ ดุ เท่าท่พี บในปจั จุบัน คือ คมั ภรี ใ์ บลานเร่อื ง ตงิ สนิบาต จารเมอ่ื พ.ศ. 2014 ใน สมัยพระเจา้ ติโลกราช (พ.ศ. 1984-2030) ภูมปิ ัญญาในการสรา้ งและอนรุ กั ษค์ มั ภรี ใ์ บลานโดยท่ัวไปทมี่ ีการสืบทอดกันมาตั้งแตอ่ ดตี จนถึงปจั จบุ นั เพอ่ื ให้คัมภีร์ใบลาน ท่ีบันทึกไว้ เกบ็ รกั ษาไว้ไดน้ านนน้ั มขี ้นั ตอนในการสร้างและอนุรกั ษค์ มั ภรี ์ใบลาน (พระดเิ รก วชิรญาโณ. 2525:2) คือการเตรียมใบลาน การจารและการร้อยใบลาน การใช้ไม้ประกับ การห่อคัมภีร์ การทําไม้บัญชัก การสร้างหีบธรรม การสร้างหอธรรม การนําใบลานมา ศึกษาหรอื เทศนา และการซอ่ มแซมคมั ภีร์ใบลาน กลา่ วคือ 1. การเตรียมใบลาน การคัดเลือกใบลานและการต้มใบลาน จะคัดเลือกใบลานท่ีมีอายุและขนาดท่ีเหมาะสมมาต้ม และจะนิยมต้มใบลานในช่วงฤดูหนาวเท่านั้น (พฤศจิกายน-กุมภาพันธ์) เมื่อตัดใบลานมาแล้วก็กรีดใบลานให้หลุดจากก้าน ใบลานใบ หนึง่ ๆ จะกรดี ออกมาแลว้ คดั เลอื กใบลานทม่ี ขี นาดความกวา้ งอยา่ งนอ้ ย 1 นิ้วขึ้นไป ส่วนหัวของใบลานที่กรีดมาแล้ว จะพับครึ่งแล้วใช้ มีดปาดให้เป็นรูขนาด 1 เซนติเมตร เมื่อกรีดใบลานจากก้านจนหมดแล้ว ใช้ตอกร้อยใบลานแผ่นแรกไว้ แล้วม้วนใบลานให้เป็นก้อน
350 การประชุมสัมมนาวชิ าการระดบั ชาติ “เวทีวิจยั ศิล3ป5ะ0และวฒั นธรรมศึกษา” ครัง้ ท่ี 2 วงกลมไปเรือ่ ยๆ เมอื่ ม้วนใบแรกเสรจ็ ก็สอดสว่ นหัวของใบลานต่อๆ ไปไวใ้ ต้ปลายของใบลานแผน่ แรกแล้วม้วนต่อไปเร่ือย ทําอย่างน้ีไป จนได้ม้วนใบลานท่ีมจี ํานวนใบลานประมาณ 4-5 ใบ แลว้ ใชต้ อกที่รอ้ ยใบลานใบแรกมัดมว้ นใบลานไว้ เม่อื มว้ นใบลานจาํ นวนตามทตี่ ้องการแล้วก็นาํ เอาม้วนใบลานเหลา่ นัน้ ไปต้มในกระทะหรือปบ๊ี โดยใช้ไฟไม่อ่อนหรือ แรงเกนิ ไป ตม้ ประมาณ 1 วัน โดยใสม่ ะขามลงไปพอประมาณเพ่ือทําให้ใบลานมีสีขาวเหลือง ทิ้งไว้ 1 คืน หลังจากนั้นนําเอาใบลานที่ ตม้ เสรจ็ แล้วมาแกะออกล้าง นาํ ไปตากกลางแจง้ ใหไ้ ด้รบั แดดและน้าํ คา้ ง 2-3 วัน หรอื รอใหใ้ บลานนั้นแหง้ สนิทดีแล้ว (จํานวนวันข้ึนอยู่ กบั สภาพอากาศด้วย) เมอื่ ใบลานแห้งสนิทดีแล้วนําใบลานตากนา้ํ ค้างไว้ 1 คนื แล้วนํามามว้ นให้เป็นก้อนกลม โดยม้วนกลบั อีกดา้ นหนงึ่ เพอื่ ดดั ไมใ่ หใ้ บลานบิดหรอื งอ เพอ่ื รอการคดั แยกขนาดและเขา้ กบั ตอ่ ไป 2. การจารและการร้อยใบลาน การจารใบลาน ใบลานที่เข้ากันแล้ว เมื่อจะนํามาจารต้องทําเส้นบรรทัดก่อน โดยใช้ที่ ดดี เส้นบรรทดั (ชาวลา้ นนาเรียกว่า“ท่ีดีดเส้นประทัด”) ซึ่งเป็นโครงไม้สี่เหล่ียมมีช่องว่างตรงกลาง ขาดความกว้างและยาวกว่าใบลาน เล็กน้อย ใชต้ ะปูขนาดเลก็ ประมาณ 4-5 ตัว ตอกทีส่ ว่ นหัวและทา้ ย โดยเว้นระยะประมาณ 1 เซนตเิ มตร แล้วใช้ด้ายขึงระหว่างตะปูท้ัง สองด้าน การดีดเส้นบรรทัดลงบนแผ่นใบลานนั้นนิยมทําให้เป็นเส้น 4-5 เส้น (หรือตามขนาดของใบลาน) โดยใช้เขม่าผสม น้าํ มันมะพรา้ วหรอื นาํ้ มันยางมาทาตรงเสน้ ด้าย นาํ ไปทาบกับใบลานแลว้ หยิบเสน้ ดา้ ยที่แนบกับใบลานขึ้น เม่ือปล่อยมอื จะเกิดเป็นรอย เส้นบรรทดั สีดําติดกับใบลาน การดีดเส้นประทดั จะดดี เป็นเสน้ ใหเ้ หลอื่ มกันเลก็ น้อยระหว่างใบลานท้ังสองด้าน เพ่อื ป้องกันใบลานทะลุ เป็นรอยเวลาจาร สว่ นการจารนัน้ จะใชเ้ หล็กจาร ท่ีดา้ มทาํ ด้วยไม้ ลักษณะคล้ายกับปากกาด้ามใหญ่ แต่ส่วนปลายท่ีเป็นเหล็กแหลม จะฝนให้คมพอประมาณ เวลาจารจะใช้ส่วนปลายท่ีคมจารตัวอักษรพอให้เป็นรอยโดยใช้นิ้วหัวแม่มืออีกข้างหนึ่งประคองเหล็กจารไ ว้ เสมอ เม่ือจารเสร็จแล้วจะใช้เขม่าจากควันไฟผสมกับนํ้ามันที่ได้จากพืช การเว้นช่องสําหรับเจาะรูเพ่ือร้อยเชือกก็ทําให้เกิดความ สวยงามและเผอ่ื ไว้หากมีการฉีกขาดบริเวณน้ันจะไม่กระทบต่อข้อความในคัมภีร์ บางครั้งจะพบว่ามีการนําเส้นผมมาถักหรือนําไปฟ่ัน กับเส้นด้ายเพือ่ รอ้ ยใบลาน โบราจารยไ์ ด้อธบิ ายไว้วา่ เนือ่ งจากกระบวนการจารจะเป็นหน้าที่ของฝ่ายชาย เพราะผู้หญิงต้องการมีส่วน ร่วมในการทําบุญ ผู้หญิงจึงหาทางออกในการร่วมทําบุญด้วยการใช้เส้นผมตนเองฟ่ันเป็นสายร้อยคัมภีร์ใบลาน ซึ่งถือตนจะได้รับ อานิสงส์ในการถวายทานในครง้ั น้ีด้วย และถือว่าเป็นการบูชาส่ิงท่มี ีค่าสูงสดุ จากการสาํ รวจคมั ภีร์ใบลานวดั นากว้าว ตําบลปา่ ตนั อาํ เภอแม่ทะ จังหวัดลําปาง พบว่า มคี มั ภีร์ใบลานจํานวนหนึ่ง ใชเ้ ส้นผมมาถัก หรือนาํ มาฟ่ันรวมกบั เส้นด้าย เพอ่ื ร้อยคัมภีร์ใบลาน ภาพท่ี 1 การใชเ้ สน้ ผมรอ้ ยคัมภีรใ์ บลาน 3. การใชไ้ มป้ ระกบั มลี กั ษณะเป็นไม้ 2 แผ่นมีขนาดพอดีหรอื ใหญก่ ว่าใบลานเลก็ นอ้ ย นํามาใช้ทาบใบลานเพ่ือป้องกัน ไมใ่ หห้ กั หรืองอ จะพบว่ามกี ารประดบั ตกแตง่ ไม้ประกับด้วยลวดลายท่ีแตกต่างกัน เชน่ การแกะสลกั ลงรักปิดทอง ประดับด้วยกระจก หรอื เขียนลายดว้ ยชาด เป็นตน้ ภาพท่ี 2 ลักษณะไมป้ ระกับทพ่ี บทีว่ ดั นา นากวา้ ว ตําบลป่าตนั อําเภอแมท่ ะ จังหวัดลาํ ปาง
การประชุมสมั มนาวิชาการระด3ับ5ช1าติ “เวทวี จิ ยั ศลิ ปะและวัฒนธรรมศกึ ษา” ครงั้ ที่ 2 351 4. การห่อคัมภรี ์ มกี ารนาํ ผ้ามาหอ่ คัมภีร์เพอ่ื ความสวยงามและปอ้ งกันฝ่นุ ได้อีกด้วย บางมดั มีการหอ่ 2 ชั้น คือ หอ่ ดว้ ย ผา้ ดบิ เสร็จแล้วหอ่ ด้วยผา้ ห่อคัมภรี ท์ ถี่ กั ดว้ ยฝา้ ยหลากสีแล้วสอดแผ่นไม้ไผ่บางๆ เข้าไปเพอื่ ความแข็งแรง การทอผ้าหอ่ คัมภีร์ ผู้หญิงจะ เป็นผู้ประดิษฐ์ผ้าห่อคัมภีร์ขึ้นมา เนื่องจากในวัฒนธรรมไทยผู้หญิงไม่มีสิทธ์ิในการจารใบลาน ซึ่งถือว่าได้อานิสงส์สูง ดังนั้น ผู้หญิง นอกจากจะทดแทนดว้ ยการทําสายสนอง สาํ หรบั รอ้ ยคมั ภีรใ์ บลานแล้ว การทอผ้าห่อคัมภรี ์ ก็จะถอื วา่ ไดอ้ านิสงส์เท่าเทียมกันกับผู้ชาย ทีม่ ีหน้าทใ่ี นการจารใบลาน การทอผา้ หอ่ คัมภรี น์ น้ั จะมีการสรา้ งสรรคผ์ นื ผา้ อยา่ งสวยงามตามจินตนาการของผู้ทอ แล้วนําไปถวายเพื่อ ใช้หอ่ คัมภีร์ใบลาน ภาพที่ 3 ผ้าหอ่ คมั ภรี ์ใบลาน 5. การทาไม้บญั ชัก คือ แผ่นป้ายหรือฉลากบ่งบอกรายละเอียดที่สําคัญของคัมภีร์ใบลานมัดน้ัน เช่น ช่ือเร่ือง จํานวน ผูก วันเดือนปีท่ีจารหรือถวาย และชื่อผู้จารหรือเจ้าภาพ มีหลายรูปทรง ทั้งแบนราบ และแกะสลักทําเป็นลวดลายต่างๆ หรือมีการ ประดับตกแต่งด้วยการลงรกั ปดิ ทองหรือชาด ตามแต่ความนิยมหรอื ฝีมือของช่างแต่ละคน บางครั้งพบว่ามีการใช้แผ่นไม่ไผ่ธรรมดามา ทําเปน็ บญั ชักด้วย ภาพที่ 4 ไม้บญั ชกั 6. การสรา้ งหบี ธรรม คมั ภรี ์ใบลานแต่ละมัดเมื่อสร้าง ถวายทาน ใช้ศึกษาหรือเทศนาเสร็จแล้วจะนําไปเก็บรักษาไว้ใน หีบธรรมหรือตู้ธรรม มีรูปทรง ลวดลาย หรือการประดับตกแต่งท่ีแตกต่างกัน ส่วนมากจะเป็นทรงส่ีเหล่ียมผืนผ้า ก้นสอบ มีฝาเปิด ด้านบน 7. การสรา้ งหอธรรม จะพบวา่ มกี ารสรา้ งหอธรรมทมี่ ีรูปแบบ และโครงสร้างที่แตกต่างกันออกไป บางท่ีเป็นอาคารไม้ หรือปูนคร่ึงไม้ และจะไม่ติดต้ังบันไดถาวร บางแห่งพบว่าสร้างหอธรรมไว้กลางนํ้า ซ่ึงเชื่อกันว่าป้องกันมอด มด ปลวก หนู หรือสัตว์ อื่นๆ เขา้ ไปทํางายคมั ภีร์ใบลาน 8. การนาใบลานมาศกึ ษาหรือเทศนา ตามคติความเชื่อและธรรมเนียมปฏิบัติในการจับต้องคัมภีร์ใบลาน ผู้ใช้จะต้อง หยิบจับอยา่ งระมัดระวงั ไม่วางไวก้ ับพ้นื ห้ามเหยยี บหรือขา้ มคัมภรี ์ใบลาน เวลาถือจะวางบนไหลห่ รอื อ้มุ หอบไวบ้ รเิ วณหนา้ อก 9. การซอ่ มแซมคัมภีร์ใบลาน ในอดตี เม่อื ใบลานหักหรือแตกจะมีการซอ่ มแซมโดยใชว้ สั ดุที่มีอยู่ในยุคสมัยน้ันเช่นใบลาน ก้านมะพร้าว ซีไ่ ม้ไผ่ เสน้ ดา้ ยกระดาษมาเย็บซ่อมแซม แตบ่ างครั้งพบการจารใบลานแผ่นใหมข่ นึ้ มาทดแทนแผนท่ีชาํ รดุ เสยี หายไป วัฒนธรรมในการจารคัมภีร์ใบลาน ชาวล้านนามีความเชื่อว่า หากจารอักขระตัวธรรม 1 ตัว จะได้รับอานิสงส์เท่ากับการ สรา้ งพระพุทธรปู 1 องค์ นอกจากนี้ การจาร หรือการคัดลอกคมั ภรี ์ใบลานถอื ว่าเปน็ การสืบทอดพระพุทธศาสนา อีกท้งั ผู้จาร หรือ เจ้า ศรัทธาผถู้ วายคมั ภีรก์ ็จะได้อานิสงสไ์ ดผ้ ลบญุ มีสติปญั ญาเฉลียวฉลาดเพือ่ จะไดบ้ รรลุและเขา้ ถงึ นพิ พานในชาตติ ่อๆ ไป ดังจะเหน็ ได้จาก คาํ อธษิ ฐานตอนท้ายสุดของลานจะบอกชื่อผู้จาร ชอ่ื เจา้ ของลาน และวัตถุประสงคข์ องผู้ถวายคมั ภรี ์เกอื บทกุ เรือ่ งจะมีคําว่า “นิพพานะ
352 การประชุมสมั มนาวชิ าการระดบั ชาติ “เวทวี ิจยั ศิล3ป5ะ2และวฒั นธรรมศึกษา” ครั้งท่ี 2 ปจั จะโย โหตุ” เสมอ ดังน้ันชาวลา้ นนาจึงนิยมสรา้ งคมั ภีรถ์ วายวัดเป็นพุทธบชู า หรือเพอื่ อุทิศส่วนกศุ ลใหแ้ ก่บุพการหี รือผู้ท่ีตายไปแล้ว ดังนั้นตามวัดต่างๆ จึงมีคัมภีร์ใบลานท่ีเป็นเรื่องเกี่ยวกับพุทธศาสนาเป็นจํานวนมากทั้งพระไตรปิฎกและนิทานชาดก บางวัดแม้เร่ือง เดยี วกันกม็ หี ลายฉบับ หลายสํานวนด้วยกนั การสร้างคัมภีรใ์ บลานวดั นากวา้ ว ตําบลป่าตัน อําเภอแมท่ ะ จังหวดั ลาํ ปาง จะเห็นวา่ พระสงฆ์และชาวบ้านไดช้ ่วยกนั สร้าง และผลิตคัมภีรใ์ บลาน เพื่อเปน็ การสืบทอดพุทธศาสนา โดยพระสงฆ์สร้างและใช้คัมภีร์ใบลานเพื่อเป็นเคร่ืองมือหรือตําราในการอบรม ส่ังสอนและเผยแผ่พระพุทธศาสนา ส่วนชาวบ้าน สร้างคัมภีร์ใบลานด้วยแรงศรัทธาที่เชื่อว่าจะได้บุญกุศลและมีอานิสงส์มาก ในอดีต ผู้สร้างคมั ภรี ใ์ บลานในอดีตอาจแบ่งเปน็ 2 กลมุ่ กลุ่มแรก เป็นผูแ้ ตง่ คัมภีร์ อาจแต่งด้วยภาษาบาลี หรือแต่งด้วยคัมภีร์ทั่วไปด้วยภาษา ล้านนา และกลุ่มที่สอง เป็นผู้คัดลอกคัมภีร์ จากการสํารวจคัมภีร์ใบลานวัดนากว้าว ตําบลป่าตัน อําเภอแม่ทะ จังหวัดลําปาง พบว่า ลกั ษณะของการสร้างคมั ภีร์ เป็นลักษณะของการคัดลอกคัมภีร์ หรือการผลิตซํ้าคัมภีร์ใบลาน รวมถึงชาวบ้านท่ีจ้างคัดลอกก็มีจํานวน มาก โดยมีวตั ถปุ ระสงค์กล่าวคือ 1. เพ่อื ให้เปน็ ทานในพระพุทธศาสนา 2. เพื่อสบื อายุพระพุทธศาสนาให้ครบ 5000 ปี 3. เพอ่ื ให้เข้าถงึ นพิ พานไมต่ ้องเวยี นวา่ ยตายเกิดในวฏั ฏสงสาร 4. เพ่ือใหไ้ ดต้ ามท่ตี นเองปรารถนา เช่น ขอใหม้ ีผวิ พรรณงาม ให้มีความเฉลยี วฉลาด มีสติปัญญา และปราศจากโรคภัย ไข้เจบ็ ต่างๆ เกิดชาตหิ น้าใหอ้ ยูด่ มี ีสุข 5. เพ่อื เผอ่ื แผบ่ ุญ หรอื อทุ ิศให้แกบ่ รรพบรุ ุษท่ลี ว่ งลบั ไปแล้ว เมอ่ื กล่าวคําอธษิ ฐานของตนเสร็จแล้ว จะมีการผายแผ่บุญ กุศลไปยังครูบาอาจารย์ พ่อแม่ พ่ีน้อง และมิตรสหาย ให้ได้รับบุญร่วมกัน ตลอดจนการขออานิสงส์จากการสร้างคัมภีร์ใบลาน วัฒนธรรมการสร้างคมั ภรี ใ์ บลานนน้ั นอกจาก จะสร้างตามวัตถุประสงค์ที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว การสร้างคัมภีร์ใบลานยังถือว่าเป็นการ สร้างพื้นที่ของผู้มีความคิดสร้างสรรค์ด้านศิลป์ในการสร้างตู้ธรรม การตกแต่งใบลาน ทําไม้ประกับ ไม้บัญชัก หรือผ้าห่อให้สวยงาม แม้กระทัง่ การตกแต่งงานศิลป์ในคัมภีร์ใบลาน ยังพบว่ามีการตกแต่ง มีรูปวาดลายเส้น ในส่วนหัวธรรม มักจะพบการจารรูปภาพหรือ ลวดลายต่างๆ ลงไป แสดงทักษะทางดา้ นศลิ ปะเขา้ ไปด้วย ภาพท่ี 5 ลายเสน้ ทป่ี รากฏในคัมภรี ใ์ บลานวดั นากว้าว ตําบลปา่ ตนั อาํ เภอแม่ทะ จังหวดั ลาํ ปาง รปู อักษรและอกั ขรวิธี การใช้ตัวอักษรในการจารคัมภีร์ใบลานวัดนากว้าว ตําบลป่าตัน อําเภอแม่ทะ จังหวัดลําปาง พบว่ามีทั้งตัวอักษรธรรม ลา้ นนา และตวั อักษรไทยปัจจบุ ัน เชน่ ภาพที่ 6 การจารอกั ษรไทยลงในใบลาน
การประชมุ สัมมนาวชิ าการระด3บั 5ช3าติ “เวทีวจิ ยั ศิลปะและวฒั นธรรมศกึ ษา” ครงั้ ที่ 2 353 ข้อความทา้ ยใบลาน ในส่วนท้ายของใบลาน ถือเป็นข้อความท่ีเป็นส่วนของผู้จารเองท่ีมักไม่ยาวมากนัก ท่ีผู้จารอาจเขียนข้อความตามความ ต้องการส่วนตัวเพ่ิมลงได้ ส่วนมากจะบอกชื่อคัมภีร์ ชื่อผู้แต่งหรือผู้คัดลอก วันเดือนปีท่ีแต่งหรือคัดลอก สถานท่ีแต่งหรือคัดลอก บอกเจตนาความปรารถนาของผู้แต่งหรือผู้คัดลอก การกล่าวตําหนิตัวเอง หรือบทอัตตวิภาษ คําอธิษฐาน และแสดงถึงค่านิยม ความ เช่อื เปน็ ตน้ ซง่ึ อาจเป็นภาษาบาลีหรอื ภาษาลา้ นนา หรอื ทัง้ สองอยา่ งกไ็ ด้ นอกจากนน้ั ยงั ทาํ ใหท้ ราบถงึ ความรู้ เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนและ อารมณค์ วามรสู้ ึกของผูจ้ ารอกี ดว้ ย นอกจากน้ี สิ่งที่น่าสนใจในข้อความท้ายใบลานอีกประการหนึ่ง คือ บทอัตตวิภาษ เป็นการถ่อมตัว ไม่โออวด การกล่าว ตําหนติ ัวเอง ซึง่ มกั พบว่าผ้จู ารจะกลา่ วถงึ ลักษณะของตัวหนงั สือไม่สวย หรือการเขยี นทีข่ าดตกบกพร่องไปบ้าง การยอมรบั ขอ้ ผดิ พลาด น้อมรับความผิดและพร้อมท่ีจะให้ผู้อ่ืนเพ่ิมเติมข้อความที่ผิดพลาดได้เสมอ บ้างก็เปรียบเทียบตัวอักษรของตนกับส่ิงต่างๆ หรืออธิบาย เหตกุ ารณท์ ่ที ําใหจ้ ารไมส่ วย เป็นต้น อนง่ึ การศึกษาข้อความทา้ ยใบลานในคัมภรี ใ์ บลาน เปน็ เพยี งขอ้ มูลพืน้ ฐานท่ัวไปทถ่ี อื ว่าเปน็ องค์ประกอบของข้อความท้าย ใบลาน และเพื่อเป็นแนวทางเบอ้ื งตน้ ในการจัดการศึกษาของผู้ท่ีสนใจท่ัวไป การศึกษาข้อความท้ายใบลานหากมีการทําอย่างต่อเนื่อง และกวา้ งขวางยงิ่ ขน้ึ การศกึ ษาขอ้ มลู เชงิ ลกึ ในแต่ละวัด อาจจะทาํ ให้เห็นประวัติศาสตร์ของวดั และชมุ ชนไดเ้ ป็นอย่างดี อภิปรายผล จากการสํารวจคัมภีร์ใบลานวัดนากว้าว ตําบลป่าตัน อําเภอแม่ทะ จังหวัดลําปาง ทําให้เห็นว่าใบลานน้ันมีการเก็บรักษาดูแล อยา่ งดี เพราะเจ้าอาวาสหรอื พระสงฆภ์ ายในวัดใหค้ วามสนใจดูแลเอาใจใส่ ดงั น้นั จงึ สอดคล้องกับ ผลการศึกษาวิจัยเรื่อง การปริวรรต คัมภีรใ์ บลานวัดสันฐาน ตําบลปา่ ตัน อําเภอแมท่ ะ จังหวัดลําปาง ของ ธนวทิ ย์ บุตรอดุ ม และตุลาภรณ์ แสนปรน (2558) ผลการศึกษา พบว่า คมั ภีรใ์ บลานที่มสี ภาพสมบูรณม์ ีจาํ นวน 394 ชือ่ เร่ือง บนั ทึกดว้ ยตัวอกั ษรธรรมลา้ นนา หรอื ตว๋ั เมอื ง การจําแนกคัมภีร์ใบลานที่ สาํ รวจพบ สามารถจาํ แนกได้เปน็ 2 ลกั ษณะ คือ 1)จาํ แนกตามวัสดุทีใ่ ช้บนั ทึก ได้แก่ ใบลาน 2)จําแนกตามเน้ือหาที่ปรากฏในเอกสาร ได้แก่ หมวดพระไตรปิฎก หมวดตํานาน หมวดอานิสงส์ หมวดจริยศาสตร์ หมวดภาษาศาสตร์ หมวดกวีนิพนธ์ หมวดบทสวดและคํา ไหว้ตา่ งๆ และหมวดปกณิ กะ นอกจากน้ียังสอดคล้องกับผลการศึกษา วัดนาํ้ จํา ใบลาน งานศิลป์ และประวตั ศิ าสตรข์ องดเิ รก อนิ จนั ทร์ (2558) ผลการศกึ ษา พบวา่ จากการสาํ รวจคัมภรี ใ์ บลานและทําทะเบียนไว้แล้ว จํานวน 894 ผูก ส่วนมากเป็นคัมภีร์ใบลานอายุนับร้อยปี บางผูกนํามาจาก วัดอื่นๆ ในเขตอําเภอเมืองเชียงใหม่ บางผูกระบุว่าเจ้าเมืองเชียงใหม่เป็นผู้สร้างถวาย นอกขากน้ันยังพบว่าข้อความท้ายเอกสารจะมี การบันทกึ ชอ่ื ผูจ้ าร เจ้าภาพในการสร้าง วันเวลาท่ีสร้างเสร็จ และเหตุการณ์สําคัญที่เกิดข้ึนในชุมชนอีกด้วย ถือเป็นข้อมูลลายลักษณ์ อักษรท่ีสามารถนํามารวบรวมเปน็ ประวตั ิศาสตรข์ องชมุ ชนดว้ ย สรุปผลการวจิ ัย คัมภีรใ์ บลานวดั นากวา้ ว ตําบลปา่ ตัน อําเภอแมท่ ะ จังหวัดลําปาง มจี ํานวนทงั้ สิ้น 1,014 ผกู ใชต้ วั อกั ษรธรรมล้านนา หรือ ตัวเมือง จารลงบน ใบลาน เรอ่ื งราวทบ่ี ันทึกเปน็ เรื่องเกีย่ วกบั พทุ ธศาสนา ประวตั ิศาสตร์ ชาดก ตาํ นาน นิทานพื้นบา้ น อานิสงส์ เปน็ ตน้ คัมภรี ์ใบลานวดั นากวา้ ว ตําบลปา่ ตนั อําเภอแม่ทะ จังหวดั ลาํ ปาง มีอย่เู ปน็ จาํ นวนมาก พระสงฆ์และชาวบ้านล้วนมีส่วนในการ สร้างหรือผลิตคัมภรี ใ์ บลาน ภูมปิ ญั ญาในการสร้างและอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานท่ีมีการสืบทอดกันมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันน้ันมีขั้นตอน ในการสรา้ งและอนุรักษ์คมั ภีร์ใบลานคอื การเตรียมใบลาน การจารและการร้อยใบลาน การใช้ไมป้ ระกบั การหอ่ คมั ภรี ์ การทาํ ไม้บัญชัก การสร้างหีบธรรม การสร้างหอธรรม การนําใบลานมาศึกษาหรือเทศนา และการซ่อมแซมคัมภีร์ใบลาน ในส่วนท้ายของคัมภีร์ใบลาน วดั นากว้าว ตําบลป่าตัน อําเภอแม่ทะ จังหวัดลําปาง จะบอกช่ือคัมภีร์ ชื่อผู้จาร วันเดือนปีที่จาร สถานท่ี บอกเจตนาความปรารถนา บทอัตตวิภาษหรือการกลา่ วตําหนิตัวเอง และคาํ อธิษฐาน นอกจากนัน้ ยงั ทําให้ทราบถงึ เหตุการณแ์ ละอารมณค์ วามรู้สกึ ของผจู้ ารอีกดว้ ย ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรมีการศึกษาข้อความท้ายใบลานด้านประวตั ิศาสตรเ์ พื่อทราบความเป็นมาของวัดและชุมชน ตลอดจนวิถีชีวิตของผู้คนใน อดตี สภาพทางภูมศิ าสตรท์ ีป่ รากฏในข้อความท้ายใบลาน
354 การประชุมสัมมนาวชิ าการระดบั ชาติ “เวทีวจิ ยั ศิล3ป5ะ4และวัฒนธรรมศึกษา” ครง้ั ท่ี 2 2. ควรมีการศึกษาเอกสารโบราณจากการปริวรรตเพอื่ เปน็ การตอ่ ยอดองค์ความร้ตู อ่ ไปในอนาคต เอกสารอ้างอิง ดิเรก วชิรญาโณ, พระ. (2545). ค่มู อื การสารวจคมั ภีรใ์ บลาน. เชยี งใหม่ : สาํ นักงานกองทุนเพ่ือสงั คม โฮงเฮยี นสืบสานภมู ิปญั ญา ล้านนา. ดิเรก อนิ จันทร.์ (2558). “วัดนาจา ใบลาน งานศิลป์ และประวัติศาสตร์”. เอกสารเผยแพร่ในงาน “โปฏฐกะวตั ถัง ทานํ” ทานแผ่นผา้ ห่อธรรม วัดน้ําจาํ แก้วกวา้ ง ท่าทา้ งร้องงัวแดง สันกาํ แพง เชยี งใหม่. เชยี งใหม่ : มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชียงใหม่. ธนวทิ ย์ บตุ รอุดม และ ตลุ าภรณ์ แสนปรน. (2559). การปรวิ รรตคัมภีรใ์ บลานวัดสันฐาน ตาบลปา่ ตัน อาเภอแมท่ ะ จังหวดั ลาปาง. ลําปาง : คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏลาํ ปาง สินีนาฏ สมบรู ณอ์ เนก. (2555). “การอนุรักษค์ ัมภรี ์ใบลาน”, ในรายงานการสัมมนาทางวิชาการการจัดการมรดกทางวัฒนธรรม และความร่วมมือในการจดั การมรดกวฒั นธรรมประเภทข้อมลู เอกสารโบราณ. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่ อรุณรตั น์ วิเชียรเขยี ว. (2556). “คมั ภีรใ์ บลานลา้ นนา”. วารสารราชบัณฑติ ยสถาน. ฉบบั ที่ 2 ปที ่ี 38, เม.ย.-มิ.ย. 2556, หน้า 114-133.
534 การประชมุ สัมมนาวชิ าการระดบั ชาติ “เวทวี จิ ัยศิลปะและวัฒนธรรมศึกษา” คร้ังท่ี 2 พิมพท์ ี่ หจก.อภชิ าตกิ ารพิมพ์ 50 ถ.ผงั เมอื งบญั ชา ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม 44000 โทร. 043-721403, 091-0600611 อีเมล์ [email protected]
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: