Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อโณทัย

อโณทัย

Published by อโณทัย สุวงษา, 2021-02-09 06:46:03

Description: อโณทัย

Search

Read the Text Version

บทที่ 1คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ 1.1 คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ ในบทนีจ้ ะกล่าวถึง ความหมายของคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ ประโยชนท์ ี่มนษุ ย์ นามาใชด้ า้ นต่างๆ 1.1.1 ความหมายของของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ หมายถึง อปุ กรณช์ นิดหน่ึงท่ีทางานดว้ ยระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ สามารถจาขอ้ มลู และคาส่งั ได้ ทาใหส้ ามารถทางานไปไดโ้ ดยอตั โนมตั ิดว้ ยอตั ราความเรว็ ที่สงู มาก ใชป้ ระโยชน์ ในการคานวณหรือการทางานต่างๆไดเ้ กือบทกุ ชนิด คอมพิวเตอรเ์ ป็นเครื่องมือที่ช่วยในการ คานวณและประมวลผลขอ้ มลู ซึง่ ประกอบดว้ ยคณุ สมบตั ิ 3 ประการ คือ ความเร็ว (Speed) เคร่อื งคอมพิวเตอรท์ างานดว้ ยความเร็วสงู มาก หน่วยความเรว็ ของ การทางานของคอมพิวเตอรว์ ดั เป็น - มิลลิเซกนั (Millisacond) ซ่ึงเทียบความเรว็ เท่ากบั 1/1,000 วินาที - ไมโครเซกนั (Microsecond) ซึง่ เทียบความเรว็ เท่ากบั 1/1,000,000 วินาที - นาโนเซกนั (Nanosacond) ซ่ึงเทียบความเรว็ เท่ากับ 1/1,000,000,000 วินาที หน่วยความจา (Memory) เครอ่ื งคอมพิวเตอรป์ ระกอบไปดว้ ยหน่วยความจา สามารถ ใชบ้ นั ทกึ และเก็บขอ้ มลู ไดค้ ราวละมากๆ สามารถเก็บคาส่งั ตอ่ ๆ กนั ท่ีเราเรยี กวา่ โปรแกรม และนามาประมวลในคราวเดียวกนั ซ่งึ เป็นปัจจยั ทาใหค้ อมพิวเตอรส์ ามารถ ทางานเก็บขอ้ มลู ไดค้ ราวละมากๆ และสามารถประมวลผลไดเ้ รว็ และถกู ตอ้ ง

ความสามารถในการเปรียบเทียบ (Logical) เครอื่ งคอมพิวเตอรป์ ระกอบดว้ ยหน่วย คานวณและตรรกะ นอกจากจะมีความสามารถในการคานวณแลว้ ยงั มีความสามารถ ในการเปรียบเทียบ ความสามารถนีเ้ องท่ีทาใหเ้ คร่อื งคอมพิวเตอรต์ ่างกบั เคร่ืองคิดเลข และคณุ สมบตั ินีท้ ่ีทาใหน้ กั คอมพิวเตอรส์ รา้ งโปรแกรมอตั โนมตั ิขึน้ ใชอ้ ย่างกวา้ งขวาง คอมพิวเตอรย์ งั มีความแมน่ ยาในการคานวณ มีความเท่ียงตรงแมจ้ ะทางานเหมือนเดิม ซา้ กนั หลายรอบ และสามารถติดต่อสื่อสารกบั คอมพิวเตอรเ์ ครอื่ งอ่ืนๆ อีกดว้ ย 1.1.2 ประโยชนข์ องคอมพิวเตอร์ การใชป้ ระโยชนจ์ ากคอมพิวเตอรก์ ระจายไปอย่ใู นทกุ วงการ - ดา้ นธุรกิจ ไดแ้ ก่การนาคอมพิวเตอรม์ าประมวลงานดา้ นธุรกิจ - ดา้ นการธนาคาร ปัจจบุ นั ทกุ ธนาคารจะนาระบบคอมพิวเตอรม์ าใชง้ านใน องคก์ รของตนเพ่ือใหบ้ ริการลกู คา้ - ดา้ นตลาดหลกั ทรพั ย์ ตลาดหลกั ทรพั ยเ์ ป็นศนู ยก์ ลางการซือ้ ขายหลกั ทรพั ย์ จะ มีขอ้ มลู จานวนมากและตอ้ งการความรวดเรว็ ในการปฏิบตั ิงาน

- ธุรกิจโรงแรม ระบบคอมพิวเตอรส์ ามารถใชใ้ นการบรหิ ารโรงแรม การจอง หอ้ งพกั การติดตง้ั ระบบ Online ตามแผนกตา่ งๆ - การแพทย์ มีการนาระบบคอมพิวเตอรม์ าใชอ้ ย่างกวา้ งขวาง เช่น ทะเบียน ประวตั ิคนไข,้ ระบบขอ้ มลู การใหภ้ มู ิคมุ้ กนั โรค,สถิติดา้ นการแพทย,์ ดา้ นการบญั ชี - วงการศึกษา การนาคอมพิวเตอรม์ าใชก้ บั สถาบนั การศึกษาจะมี ระบบงานที่ เก่ียวกบั การเรียนการสอน การวิจยั การบริหาร - ดา้ นอตุ สาหกรรมท่วั ไป - ดา้ นธุรกิจสายการบิน สายการบินต่างๆท่วั โลกไดน้ าเอาคอมพิวเตอรม์ า ใชง้ านอยา่ งแพรห่ ลายโดยเฉพาะงานการสารองท่ีน่งั และเท่ียวบิน - ดา้ นการบนั เทิง เช่น วงการภาพยนตร์ การดนตรี เตน้ รา 1.1.3 ความหมายและความสาคญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ มาจากคาภาษาองั กฤษวา่ Information Technology และมี ผนู้ ิยมเรยี กทบั ศพั ทย์ ่อวา่ IT สชุ าดา กีระนนั ท์ (2541) ใหค้ วามหมายวา่ เทคโนโลยี สารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีทกุ ดา้ นท่ีเขา้ รว่ มกนั ในกระบวนการจดั เก็บสรา้ ง และ สอ่ื สารสนเทศ ครรชิต มาลยั วงศ์ (2539) กลา่ วว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบดว้ ย เทคโนโลยีทีส่ าคญั สองสาขาคือ เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ และ เทคโนโลยีส่อื สาร โทรคมนาคม โดยท่วั ไปแลว้ เทคโนโลยีสารสนเทศจะครอบคลมุ ถึงเทคโนโลยีตา่ งๆ ที่ เกี่ยวขอ้ งกบั การบนั ทกึ จดั เก็บ ประมวลผลสืบคน้ สง่ และรบั ขอ้ มลู ในรูปของส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ซง่ึ รวมถึงเครอื่ งมือและอปุ กรณต์ า่ งๆ เชน่ คอมพวิ เตอร์ อปุ กรณจ์ ดั เก็บ

บนั ทกึ และคน้ คนื เครอื ขา่ ยสื่อสาร ขอ้ มลู อปุ กรณส์ ือ่ สารและโทรคมนาคม รวมทงั้ ระบบ ท่ีควบคมุ การทางานของอปุ กรณเ์ หลา่ นี้ เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคญั ดงั นี้ 1. สามารถจดั เกบ็ ขอ้ มลู จากจดุ เกดิ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ 2. สามารถบนั ทกึ ขอ้ มลู จานวนมากๆไวใ้ ชง้ านหรอื ไวอ้ า้ งอิงการ ดาเนนิ งานหรอื การตดั สนิ ใจใดๆ 3. สามารถคานวณผลลพั ธต์ า่ งๆไดร้ วดเรว็ 4. สามารถสรา้ งผลลพั ธไ์ ดห้ ลากหลายรูปแบบ 5. สามารถสง่ สารสนเทศ ขอ้ มลู หรอื ผลลพั ธท์ ่ีไดจ้ ากท่ีหน่งึ ไปยงั อกี ท่ี หนง่ึ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ 1.2 ชนิดของคอมพิวเตอร์ เครือ่ งคอมพิวเตอรใ์ นปัจจบุ นั สามารถแบง่ เป็นประเภทต่างๆ โดยใชค้ วามแตกต่างจาก ขนาดของเครอื่ ง ความเร็วในการประมวลผล รวมทงั้ ราคาเป็นหลกั ซึ่งแบง่ ไดเ้ ป็นดงั นี้ คือ 1.2.1 ซูเปอรค์ อมพิวเตอร์ Super Computer เครื่องคอมพิวเตอรใ์ นปัจจบุ นั สามารถแบง่ เป็นประเภทต่างๆ โดยใชค้ วามแตกต่างจาก ขนาดของเครือ่ ง ความเรว็ ในการประมวลผล รวมทงั้ ราคาเป็นหลกั ซึ่งแบง่ ไดเ้ ป็นดงั นี้ คือ

หมายถึง คอมพิวเตอรเ์ คร่อื งใหญ่ท่ีมีสมรรถนะสงู มีความเรว็ ในการทางาน และ ประสทิ ธิ ภาพสงู สดุ เม่ือเปรยี บเทียบกบั คอมพิวเตอรช์ นิดอ่ืนๆ มีราคาแพงมาก มีขนาด ใหญ่ สามารถคานวณทางคณิตศาสตรไ์ ดห้ ลายแสนลา้ นครงั้ ต่อวินาที และไดร้ บั การออกแบบเพ่ือใหใ้ ชแ้ กป้ ัญหาขนาดใหญ่มากไดอ้ ย่างรวดเรว็ เช่น การ พยากรณอ์ ากาศลว่ งหนา้ เป็นเวลาหลายวนั งานควบคุมขีปนาวธุ งานควบคมุ ทางอวกาศ งานประมวลผลภาพทางการแพทย์ งานดา้ นวิทยาศาสตรเ์ คมี งาน ทาแบบจาลองโมเลกลุ ของสารเคมี งานดา้ นวิศวกรรมการออกแบบ งาน วิเคราะหโ์ ครงสรา้ งอาคารท่ีซบั ซอ้ น ซง่ึ หากใชค้ อมพิวเตอรช์ นิดอ่ืนๆ แกไ้ ข ปัญหาประเภทนี้ อาจจะตอ้ งใชเ้ วลาในการคานวณหลายปีกว่าจะเสร็จสิน้ ในขณะท่ีเท่านนั้ ซูเปอรค์ อมพิวเตอรส์ ามารถแกไ้ ขปัญหาไดภ้ ายในเวลาไม่ก่ี ช่วั โมง )ซูเปอรค์ อมพิวเตอรจ์ ึงมีหน่วยความจาท่ีใหญ่มากๆ สามารถทางานหลายอย่าง ไดพ้ รอ้ มๆ กนั โดยที่งานเหล่านนั้ อาจจะเป็นงานที่แตกตา่ งกัน อาจจะเป็นงานใหญ่ท่ี ถกู แบง่ ย่อยไปใหห้ น่วยประมวลผลแตล่ ะตวั ทางานก็ได้ และยงั ใชโ้ ครงสรา้ งการ คานวณแบบขนานท่ีเรยี กว่า เอ็มพีพี (Massively Parallel Processing : MPP) ซ่ึงเป็น การคานวณที่กระทากบั ขอ้ มลู หลายๆ ตวั หรือหลายๆ งานในเวลาเดียวกนั ไดพ้ รอ้ มๆ กนั เป็นจานวนมาก ทาใหม้ ีความสามารถในการทางานแบบมลั ติโปรเซสซิง

(Multiprocessing) หรือความสามารถในการทางานหลายงานพรอ้ มๆกนั ได้ ดงั นน้ั จงึ มีผเู้ รียกอีกชื่อหนง่ึ ว่า คอมพิวเตอรส์ มรรถนะสงู (High Performance Computer ความเรว็ ในการคานวณของซูเปอรค์ อมพิวเตอรจ์ ะมีการวดั หน่วยเป็น นาโน วินาที (nanosecond) หรอื เศษหนึ่งส่วนพนั ลา้ นวินาที และ กิกะฟลอป (gigaflop) หรือ การคานวณหน่ึงพนั ลา้ นครงั้ ในหน่ึงวินาที ปัจจบุ นั ประเทศไทย มีเครอื่ งซูเปอร์ คอมพิวเตอร์ Cray YMP ใชใ้ นงานวิจยั อย่ทู ี่หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพิวเตอรส์ มรรถภาพสงู (HPCC) ศนู ยเ์ ทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอรแ์ ห่งชาติ ผใู้ ชเ้ ป็นนกั วิจยั ดา้ น วิศวกรรม และวิทยาศาสตรท์ ่วั ประเทศ 1.2.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ Mainframe Computer หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอรข์ นาดใหญ่ที่มีสมรรถะสงู แต่ยงั ต่ากว่าซูเปอรค์ อมพิวเตอร์ มีความเรว็ สงู มาก มีหน่วยความจาขนาดมหมึ า เมนเฟรมคอมพิวเตอรส์ ามารถ ใหบ้ ริการผใู้ ชจ้ านวนหลายรอ้ ยคน ท่ีใชโ้ ปรแกรมท่ีแตกต่างกนั นบั รอ้ ยพรอ้ มๆ กนั ได้ เหมาะกบั การใชง้ านทงั้ ในดา้ นวิศวกรรม วิทยาศาสตร์ และธุรกิจ โดยเฉพาะงานที่ เก่ียวขอ้ งกบั ขอ้ มลู จานวนมากๆ เครอื่ งเมนเฟรมไดร้ บั การพฒั นาใหม้ ีหน่วยประมวลผลหลายหน่วยพรอ้ มๆ กัน เช่นเดียวกบั ซูเปอรค์ อมพิวเตอร์ แตจ่ ะมีจานวนหน่วยประมวลที่นอ้ ยกวา่ และเคร่อื ง เมนเฟรมจะวดั ความเรว็ อย่ใู นหน่วยของ เมกะฟลอป (Megaflop) หรือการคานวณหนึ่ง ลา้ นครงั้ ในหนึ่งวินาที

ขอ้ เด่นของการใชเ้ มนเฟรมจงึ อย่ทู ่ีงานท่ีตอ้ งการใหม้ ีระบบศนู ยก์ ลาง และ กระจายการใชง้ านไปเป็นจานวนมากเช่น ระบบเอทีเอ็มซึง่ เชื่อมต่อกบั ฐาน เคร่ือง เมนเฟรมจะเก็บโปรแกรมของผใู้ ชเ้ หล่านน้ั ไวใ้ นหน่วยความจาหลัก และมีการ สบั เปลี่ยนหรอื สวิทชก์ ารทางานระหว่างโปรแกรมต่างๆ เหล่านนั้ อย่างรวดเรว็ โดยท่ีผใู้ ช้ จะไม่รูส้ กึ เลยว่าเครื่องเมนเฟรมท่ีใช้ มีการสบั เปลี่ยนการทางานไปทางานของผใู้ ชค้ น เคร่อื งเมนเฟรมไดร้ บั การพฒั นาใหม้ ีหน่วยประมวลผลหลายหน่วยพรอ้ มๆ กนั เช่นเดียวกบั ซูเปอรค์ อมพิวเตอร์ แต่จะมีจานวนหน่วยประมวลที่นอ้ ยกว่า และเครือ่ ง เมนเฟรมจะวดั ความเรว็ อย่ใู นหน่วยของ เมกะฟลอป (Megaflop) หรือการคานวณหน่ึง ลา้ นครง้ั ในหนึ่งวินาที ขอ้ เดน่ ของการใชเ้ มนเฟรมจึงอย่ทู ี่งานที่ตอ้ งการใหม้ ีระบบศนู ยก์ ลาง และ กระจายการใชง้ านไปเป็นจานวนมากเช่น ระบบเอทีเอ็มซ่งึ เชื่อมต่อกับฐาน เคร่อื ง เมนเฟรมจะเก็บโปรแกรมของผใู้ ชเ้ หล่านนั้ ไวใ้ นหน่วยความจาหลกั และมีการ สบั เปลี่ยนหรือสวิทชก์ ารทางานระหว่างโปรแกรมต่างๆ เหล่านนั้ อย่างรวดเรว็ โดยที่ผใู้ ช้ จะไม่รูส้ กึ เลยวา่ เครื่องเมนเฟรมท่ีใช้ มีการสบั เปล่ียนการทางานไปทางานของผใู้ ชค้ น อ่ืนๆ อย่ตู ลอดเวลา หลกั การท่ีเครือ่ งเมนเฟรมสามารถทางานหลายโปรแกรมพรอ้ มๆ กนั นน้ั เรียกวา่ มลั ติโปรแกรม-มิง (Multiprogramming)

อื่นๆ อย่ตู ลอดเวลา หลกั การที่เคร่อื งเมนเฟรมสามารถทางานหลายโปรแกรม พรอ้ มๆ กันนน้ั เรียกว่า มลั ติโปรแกรม-มิง (Multiprogramming) 1.2.3 มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอรข์ นาดกลาง มีสมรรถนะต่ากว่าเครอื่ งเมนเฟรม แต่สงู กว่า เวิรค์ สเตชนั จดุ เด่นท่ีสาคญั คือ ราคาย่อมเยากว่าเมนเฟรม และการใชง้ านใชบ้ คุ ลากร ไม่มากนกั มินิคอมพิวเตอรเ์ รมิ่ พฒั นาขึน้ ใน ค.ศ. 1960 ต่อมาบรษิ ัท Digital Equipment Corporation หรอื DEC ได้ ประกาศตวั มินิ คอมพิวเตอร์ DEC PDP-8 (Programmed Data Processor) ในปี ค.ศ.1965 ซ่ึงไดร้ บั ความนิยมจากบริษัทหรอื องคก์ รที่มีขนาดกลาง เพราะมีราคาถูกกว่า เครอ่ื งเมนเฟรมมากเครอื่ งมินิ คอมพิวเตอรใ์ ชห้ ลกั การของมลั ติโปรแกรมมิง เช่นเดียวกบั เครื่องเมนเฟรม โดยจะสามารถรองรบั ผใู้ ชไ้ ดน้ บั รอ้ ยคนพรอ้ มๆกนั แต่ เคร่ืองมินิคอมพิวเตอรจ์ ะทางานไดช้ า้ กว่า การควบคมุ ผใู้ ชง้ านต่างๆ ทานอ้ ยกว่า สื่อท่ี เก็บขอ้ มลู มีความจไุ มส่ งู เท่าเมนเฟรม การทางานบนเครื่องเมนเฟรมหรอื มินิคอมพิวเตอร์ ผใู้ ชจ้ ะสามารถควบคมุ การรบั ขอ้ มลู และดกู ารแสดงผลบนจอภาพไดเ้ ท่านน้ั ไม่สามารถควบคมุ อปุ กรณร์ อบขา้ งอ่ืนๆ ได้ แตก่ ารใชร้ ะบบคอมพิวเตอร์ ชนิดท่ีมีผใู้ ชค้ นเดียวนน้ั ผใู้ ชส้ ามารถควบคมุ อปุ กรณ์

รอบขา้ งต่างๆ ไดท้ ง้ั หมด ไม่ว่าจะเป็นหน่วยรบั ขอ้ มลู หน่วยประมวลผล หน่วย แสดงผล ตลอดจนหน่วยเก็บขอ้ มลู สารอง สามารถเลือกใชโ้ ปรแกรมได้ โดยไมต่ อ้ งกงั วลวา่ จะตอ้ งไปแย่งเวลาการเรียกใชข้ อ้ มลู กับผใู้ ชอ้ ื่น 1.2.4 เวิรค์ สเตช่นั และไมโครคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอรส์ าหรบั ผใู้ ชค้ นเดียว สามารถแบ่งออกเป็นสองรุน่ คือ เวิรค์ สเตชนั หมายถึง คอมพิวเตอรข์ นาดเลก็ ที่ถกู ออกแบบมาใหเ้ ป็นคอมพิวเตอรแ์ บบตงั้ โต๊ะ สามารถทางานพรอ้ มกนั ไดห้ ลายงาน และประมวลผลเรว็ มาก มีความสามารถในการ คานวณดา้ นวิศวกรรม สถาปัตยกรรม หรอื งานอ่ืนๆ ท่ีเนน้ การแสดงผลดา้ นกราฟิ ก เช่น นามาช่วยในโรงงานอตุ สาหกรรมเพ่ือออกแบบชิน้ ส่วน เป็นตน้ ซงึ่ จากการที่ตอ้ งทางาน กราฟิ กที่มีความละเอียดสงู ทาใหเ้ วิรค์ สเตชนั ใชห้ น่วยประมวลผลท่ีมีประสิทธิภาพมาก รวมทงั้ มีหน่วยเก็บขอ้ มลู สารองจานวนมากดว้ ย เวิรค์ สเตชนั ส่วนมากใชช้ ิป ประเภท RISC (Reduce instruction set computer) ซงึ่ เป็นชิปท่ีลดจานวนคาส่งั ท่ี สามารถใชส้ ่งั งานใหเ้ หลือเฉพาะที่จาเป็น เพ่ือใหส้ ามารถทางานไดด้ ว้ ยความเร็วสงู ไมโครคอมพิวเตอร์ หมายถึง คอมพิวเตอรข์ นาดเลก็ และใชง้ านคนเดียว เรียกอีกช่ือ หน่ึงว่า คอมพิวเตอรส์ ่วนบุคคล (Personal Computer) จดั ว่าเป็นเครอื่ งคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็ก ทง้ั ระบบใชง้ านครงั้ ละคนเดียว หรอื ใชง้ านในลกั ษณะเครอื ข่าย แบ่งไดห้ ลาย ลกั ษณะตามขนาด เช่นเครือ่ งคอมพิวเตอรส์ ว่ นบคุ คลแบบตง้ั โต๊ะ (Personal Computer) หรอื แบบพกพา (Portable Computer)

1.3 การทางานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอรเ์ ป็นอปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกสท์ ี่มนษุ ยส์ รา้ งขึน้ เพ่ือช่วยใหท้ างานไดเ้ รว็ สะดวก และแม่นยามากขึน้ การใชค้ อมพิวเตอรเ์ พ่ือใหท้ างานอย่างไดม้ ีประสิทธิภาพ จึงตอ้ งเรยี นรู้ และเขา้ ใจ สว่ นประกอบ วิธีการทางานของ คอมพิวเตอร์ มีขน้ั ตอนสาคญั คือ ขั้นตอนที่ 1 การรบั ขอ้ มลู และคาส่งั คอมพิวเตอรร์ บั ขอ้ มลู และคาส่งั ผ่านอปุ กรณ์ นาเขา้ ขอ้ มลู คือ เมาส์ คียบ์ อรด์ สแกนเนอร์ ไมโครโฟน ฯลฯ ขั้นตอนท่ี 2 การประมวลผลหรือคิดคานวณ ขอ้ มลู ที่คอมพิวเตอรร์ บั เขา้ มา จะถูก ประมวลผลโดยการทางานของหน่วยประมวลผลกลาง (CPU: Central Processing Unit) ตามคาส่งั ของโปรแกรม หรือซอฟตแ์ วร์ การประมวลผลขอ้ มลู เช่น นาขอ้ มลู มา บวก ลบ คณู หาร ทาการเรยี งลาดบั ขอ้ มลู นาขอ้ มลู มาจดั กลมุ่ นาขอ้ มลู มาหาผลรวม เป็นตน้ ขั้นตอนที่ 3 การแสดงผลลพั ธ์ คอมพิวเตอรจ์ ะแสดงผลลพั ธข์ องขอ้ มลู ท่ีปอ้ น หรอื แสดงผลจากการประมวลผล ทางจอภาพ (Monitor) เคร่ืองพิมพ์ (Printer) หรอื ลาโพง ขั้นตอนท่ี 4 การเก็บขอ้ มลู คอมพิวเตอรจ์ ะทาการเก็บผลลพั ธจ์ ากการ ประมวลผลไวใ้ นหน่วยเก็บขอ้ มลู เช่น ฮารด์ ดิสก์ แผ่นบนั ทกึ ขอ้ มลู (Floppy disk) ซีดีรอม เพ่ือใหส้ ามารถนามาใชใ้ หม่ไดใ้ นอนาคต

1.3 การทางานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอรเ์ ป็นอปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกสท์ ี่มนษุ ยส์ รา้ งขึน้ เพ่ือช่วยใหท้ างานไดเ้ ร็ว สะดวก และแม่นยามากขึน้ การใชค้ อมพิวเตอรเ์ พ่ือใหท้ างานอย่างไดม้ ีประสิทธิภาพ จึงตอ้ งเรยี นรู้ และเขา้ ใจ ส่วนประกอบ วิธีการทางานของ คอมพิวเตอร์ มีขน้ั ตอนสาคญั คือ ขั้นตอนที่ 1 การรบั ขอ้ มลู และคาส่งั คอมพิวเตอรร์ บั ขอ้ มลู และคาส่งั ผ่านอปุ กรณ์ นาเขา้ ขอ้ มลู คือ เมาส์ คียบ์ อรด์ สแกนเนอร์ ไมโครโฟน ฯลฯ ขั้นตอนท่ี 2 การประมวลผลหรือคิดคานวณ ขอ้ มลู ท่ีคอมพิวเตอรร์ บั เขา้ มา จะถกู ประมวลผลโดยการทางานของหน่วยประมวลผลกลาง (CPU: Central Processing Unit) ตามคาส่งั ของโปรแกรม หรือซอฟตแ์ วร์ การประมวลผลขอ้ มลู เช่น นาขอ้ มลู มา บวก ลบ คณู หาร ทาการเรยี งลาดบั ขอ้ มลู นาขอ้ มลู มาจดั กล่มุ นาขอ้ มลู มาหาผลรวม เป็นตน้ ขั้นตอนท่ี 3 การแสดงผลลพั ธ์ คอมพิวเตอรจ์ ะแสดงผลลพั ธข์ องขอ้ มลู ที่ปอ้ น หรอื แสดงผลจากการประมวลผล ทางจอภาพ (Monitor) เครอื่ งพิมพ์ (Printer) หรือ ลาโพง ขั้นตอนท่ี 4 การเก็บขอ้ มลู คอมพิวเตอรจ์ ะทาการเก็บผลลพั ธจ์ ากการ ประมวลผลไวใ้ นหน่วยเก็บขอ้ มลู เช่น ฮารด์ ดิสก์ แผ่นบนั ทึกขอ้ มลู (Floppy disk) ซีดีรอม เพ่ือใหส้ ามารถนามาใชใ้ หม่ไดใ้ นอนาคต

1.4.1 จอภาพ (Monitor) อาจเรยี กทบั ศพั ทว์ า่ มอนเิ ตอร์ (Monitor), สกรนี (Screen), ดสิ เพลย์ (Display) เป็นอปุ กรณท์ ี่ใชแ้ สดงผลทง้ั ขอ้ ความ ภาพน่ิง และภาพเคล่อื นไหว จอภาพใน ปัจจบุ นั สว่ นมากใชจ้ อแบบหลอดภาพ (CRT หรอื Cathode Ray Tube) เหมอื นจอภาพ ของเครอื่ งรบั โทรทศั น์ และจอแบบผลกึ เหลว (LCD หรอื Liquid Crystal Display) มี ลกั ษณะเป็นจอแบน 1.4.2 ตวั เครอ่ื ง (Computer Case) เป็นสว่ นที่เกบ็ อปุ กรณห์ ลกั ของคอมพิวเตอร์ เช่น CPU, Disk Drive, Hard Disk ฯลฯ

1.4.3. คียบ์ อรด์ (Keyboard) หรอื แปน้ พมิ พ์ เป็นอปุ กรณท์ ่ีใชพ้ มิ พค์ าส่งั หรอื ปอ้ นขอ้ มลู เขา้ สคู่ อมพิวเตอร์ คียบ์ อรด์ มลี กั ษณะคลา้ ยแปน้ พิมพด์ ดี แตจ่ ะมีป่มุ พิมพม์ ากกวา่ 1.4.4 เมาส์ (Mouse) เป็นอปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการชีต้ าแหนง่ ตา่ งๆบนจอภาพ ซง่ึ จะเป็นการส่งั ใหค้ อมพวิ เตอรท์ างาน เช่นเดียวกบั การปอ้ นคาส่งั ทางคียบ์ อรด์ เมอื่ เลื่อนเมาสไ์ ปมาจะทาใหเ้ ครอื่ งหมายชี้ ตาแหนง่ บนจอภาพ (Cusor) เลือ่ นไปในทศิ ทางเดยี วกนั กบั ท่เี ลอื่ นเมาสน์ น้ั 1.4.5 เครื่องพมิ พ์ (Printer)

เป็นอปุ กรณท์ ี่ใชแ้ สดงผลขอ้ มลู ออกมาทางกระดาษ เครอื่ งพมิ พม์ ีหลายแบบ เช่น เครอ่ื งพิมพจ์ ดุ (Dot Matrix Printer) เครอื่ งพิมพเ์ ลเซอร์ (Laser Printer) และ เครอื่ งพมิ พแ์ บบพน่ หมกึ (Inkjet Printer) เป็นตน้ 1.4.6 สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอปุ กรณน์ าเขา้ ขอ้ มลู โดยเอารูปภาพหรอื ขอ้ ความมาสแกน แลว้ จดั เก็บไวเ้ ป็นไฟล์ ภาพ เพ่ือนาไปใชง้ านตอ่ ไป เครอื่ งสแกนมที ง้ั ชนิด อา่ นไดเ้ ฉพาะภาพขาวดา และชนิด อ่านภาพสไี ด้ นอกจากนีย้ งั มีชนดิ มือถือ 1.4.7 โมเดม็ (Modem) เป็นอปุ กรณท์ ี่ทาหนา้ ทีแ่ ปลงสญั ญาณคอมพวิ เตอรใ์ หส้ ามารถสง่ ไปตามสายโทรศพั ทไ์ ด้ และแปลงขอ้ มลู จากสายโทรศพั ทใ์ หเ้ ป็นสญั ญาณที่คอมพิวเตอรส์ ามารถรบั รูไ้ ด้

2. ฮารด์ แวร์ คอมพิวเตอรฮ์ ารด์ แวร์์ หมายถึง ตวั เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ และอปุ กรณร์ อบขา้ งที่ เกี่ยวขอ้ งต่างๆ ซึ่งประกอบดว้ ยส่วนที่สาคญั คือ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจา หลกั หน่วยรบั ขอ้ มลู หน่วยแสดงผล และหน่วยเก็บขอ้ มลู สารอง 2.1 หน่วยประมวลผลกลาง (CPU: Central Processing Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit – CPU) หรอื อาจเรยี กวา่ ไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) หรอื ชิป (Chip) เป็นหวั ใจของคอมพวิ เตอร์ ทา หนา้ ท่ใี นการคดิ คานวณ ประมวลผล และควบคมุ การทางานของอปุ กรณอ์ ื่นในระบบ ลกั ษณะของซีพียจู ะเป็นชิน้ สว่ นขนาดเลก็ มาก ภายในประกอบดว้ ยทรานซสิ เตอร์ ประกอบกนั เป็นวงจรหลายลา้ นตวั ตวั อยา่ งเชน่ ซพี ยี รู ุน่ เพนเทียมจะมที รานซิสเตอรเ์ ลก็ ๆ จานวนมากถึง 3.1 ลา้ นตวั

ซีพียูมีหน่วยทีใ่ ช้ในการบอกขนาดเรียกว่า บิต (Bit) ถา้ จานวนบิตมาก จะสามารถทางานไดเ้ ร็วมากความเรว็ ของซีพียู (Speed) มีหน่วยวดั เป็น เมกะเฮริตซ์ (MHz = MegaHertz) ถา้ ค่าตวั เลขย่ิงสงู แสดงว่าย่ิงมีความเรว็ มาก ปัจจบุ นั ความเรว็ ของซีพียสู ามารถทางานไดถ้ ึงระดบั กิกะเฮริตซ์ (GHz = Gigahertz) โดยมีความเร็ว ระหวา่ ง 2-3 GHz ในการเลือกใชซ้ ีพียู ผจู้ าหน่ายจะบอกไวว้ ่าเคร่ืองรุน่ นีม้ ีความเรว็ เท่าใด เช่น Pentium IV 2.8 GHz หมายความว่า CPU รุน่ เพนเทียม IV มี ความเรว็ 2.8 กิกะเฮิรตซ์ 2.1.1 องคป์ ระกอบของหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยประมวลผลกลาง \"ไมโครโปรเซสเซอร\"์ (Microprocessor) ประกอบดว้ ยหน่วย สาคญั สองหนว่ ย คอื หนว่ ยควบคมุ (Control Unit) ทาหนา้ ท่คี วบคมุ การทางานของ เครอื่ งคอมพวิ เตอรท์ งั้ ระบบ เปรยี บเสมือนเป็นศนู ยก์ ลางระบบประสาท ที่ทาหนา้ ท่ี ควบคมุ การทางานของสว่ นประกอบตา่ งๆ ของเครอื่ งคอมพิวเตอร์ จะรบั รูค้ าส่งั ตา่ งๆ ใน รูปของคาส่งั ภาษาเครอ่ื งเทา่ นนั้ หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit) หรอื ท่เี รยี กสนั้ ๆวา่ เอ แอลยู (ALU)ทาหนา้ ท่ปี ระมวลผลการคานวณทางคณิตศาสตร์ ตลอดจนการ เปรยี บเทยี บทางตรรกะทงั้ หมด

การทางานในซีพียูมี รจี ิสเตอร์ (Register) คอยทาหนา้ ท่ีเก็บและถ่ายทอดขอ้ มลู หรือคาส่งั ที่ถกู นาเขา้ มาปฏิบตั ิการภายในซีพียู รวมทง้ั มี บสั (Bus) เป็นเสน้ ทางในการสง่ ผ่านสญั ญาณไฟฟ้าของ หน่วยตา่ งๆภายในระบบ 2.2 อปุ กรณน์ าเขา้ (Input devices) ทาหนา้ ที่รบั ขอ้ มลู จากผใู้ ชเ้ ขา้ สหู่ น่วยความจาหลกั ท่ีพบเห็นอย่ทู ่วั ไปไดแ้ ก่ 2.2.1 อปุ กรณแ์ บบกด (Keyed Device) แปน้ พิมพ์ (Keyboard) เป็นหนว่ ยรบั ขอ้ มลู ท่นี ิยมใชก้ นั มากทส่ี ดุ เพราะเป็นอปุ กรณม์ าตรฐานในการ ปอ้ นขอ้ มลู สาหรบั เทอรม์ นิ ลั และไมโครคอมพิวเตอร์ โดยท่วั ไปจะมลี กั ษณะคลา้ ยแปน้ ของเครอื่ ง พิมพด์ ดี แต่มจี านวนแปน้ มากกวา่ และถกู แบง่ ออกเป็น 4 กลมุ่ ดว้ ยกนั คือ - แปน้ อกั ขระ (Character Keys) มีลกั ษณะการจดั วางตวั อกั ษรเหมอื นแปน้ บนเครอ่ื งพิมพด์ ดี - แปน้ ควบคมุ (Control Keys) เป็นแปน้ ที่มีหนา้ ท่สี ่งั การบางอยา่ งโดยใชง้ านรว่ มกบั แปน้ อื่น

- แปน้ ฟังกช์ นั (Function Keys) คอื แปน้ ทีอ่ ยแู่ ถวบนสดุ มีสญั ลกั ษณเ์ ป็น F1,...F12 ซอฟตแ์ วร แตล่ ะชนิดอาจกาหนดแปน้ เหลา่ นีใ้ หม้ หี นา้ ที่เฉพาะอยา่ งแตกตา่ งกนั ไป - แปน้ ตวั เลข (Numeric Keys) เป็นแปน้ ท่แี ยกจากแปน้ อกั ขระมาอยทู่ างดา้ นขวา มลี กั ษณะ คลา้ ยเครอื่ งคิดเลข ชว่ ยอานวยความสะดวกในการบนั ทกึ ตวั เลขเขา้ สเู่ ครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ นอกจากนี้ ยงั มีแป้นพิมพบ์ างประเภทที่ออกแบบมาใหใ้ ชก้ บั งานเฉพาะดา้ น เช่น แป้นพิมพท์ ี่ใชใ้ น รา้ นอาหารแบบเรง่ ด่วน (fast food restaurant) จะใชพ้ ิมพเ์ ฉพาะชื่ออาหาร เช่น ถา้ ตอ้ งการ french fries ก็กดท่ีแป้นคาวา่ “French fries” ตามดว้ ยราคาเท่านนั้ หรอื แปน้ พิมพท์ ี่ใช้ เครอ่ื งฝาก-ถอนอตั โนมตั ิ (Automatic Teller Machine) เป็นตน้ 2.2.2 อปุ กรณช์ ีต้ าแหน่ง Pointing Devices เมาส์ (Mouse) เป็นอปุ กรณส์ าหรบั ใชเ้ ลอื่ นตวั ชีต้ าแหนง่ (Cursor) บนจอภาพ มหี ลายขนาด และมี รูปรา่ งตา่ งกนั ไป แตท่ ี่นิยมใชจ้ ะมขี นาดเท่าฝ่ามอื มลี กู กลมกลงิ้ อย่ดู า้ นลา่ ง หรอื เป็นระบบแสง สว่ นดา้ นบนจะมปี ่มุ ใหก้ ดจานวนสอง สาม หรอื สีป่ ่มุ แตท่ ่นี ยิ มใชก้ นั มากคือ สองป่มุ ใชส้ ง่ ขอ้ มลู เขา้ ส หนว่ ยความจาหลกั โดยการเลอ่ื นเมาสใ์ หล้ กู กลมดา้ นลา่ งหมนุ เพื่อเป็นการเลือ่ นตวั ชีต้ าแหนง่ บน

จอภาพไปยงั ตาแหนง่ ท่ีตอ้ งการทาใหก้ ารโตต้ อบระหวา่ งผใู้ ชก้ บั เครอื่ งคอมพิวเตอรท์ าไดร้ วดเรว็ กว่า แปน้ พมิ พ์ ผใู้ ชอ้ าจใชเ้ มาสว์ าดรูป เลือกทาง เลือกจากเมนู และเปลีย่ นแปลงหรอื ยา้ ยขอ้ ความ ปัจจบุ นั เมาสไ์ ดม้ ีการพฒั นาเป็นแบบเมาสไ์ รส้ าย อยา่ งไรก็ดี เมาสย์ งั ไมส่ ามารถใชใ้ นการปอ้ น ตวั อกั ษรได้ จงึ ยงั คงตอ้ งใชค้ กู่ บั แปน้ พิมพใ์ นกรณีท่มี กี ารพมิ พ์ ตวั อกั ษร แตส่ าหรบั ผทู้ เี่ รมิ่ ตน้ ใช้ คอมพิวเตอร์ การใชเ้ มาสเ์ พียงอยา่ งเดียวจะทาใหเ้ กิดความผิดพลาดนอ้ ยกวา่ การใชแ้ ปน้ พิมพ์ ลกู กลมควบคมุ (Trackball) เป็นอปุ กรณช์ ีต้ าแหนง่ โดยจะเป็นลกู บอลเลก็ ๆซง่ึ อาจวางอยู่ หนา้ จอภาพในเนือ้ ท่ขี องแปน้ พิมพ์ หรอื เป็นอปุ กรณต์ า่ งหากเชน่ เดียวกบั เมาส์ เมื่อผใู้ ชห้ มนุ ลกู บอลก จะเป็นการเลอ่ื นตาแหนง่ ของตวั ชีต้ าแหนง่ บนจอภาพ มีหลกั การทางานเช่นเดียวกบั เมาส์

แท่งช้ีควบคุม (Track Point) เป็นอุปกรณ์ช้ีตาแหน่งขนาดเลก็ นิยมใชก้ บั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์แบบ พกพาจะเป็นแท่งพลาสติกเลก็ ๆ อยตู่ รงกลางแป้นพมิ พ์ บงั คบั โดยใชน้ ิ้วหวั แม่มือเพื่อเลื่อนตาแหน่ง ของตวั ช้ีตาแหน่งบนจอภาพเช่นเดียวกบั เมาส์ แผน่ รองสัมผสั จะเป็นแผน่ ส่เี หลยี่ มท่วี างอย่หู นา้ แปน้ พมิ พ์ สามารถใชน้ ิว้ วาดเพื่อเลือ่ น ตาแหนง่ ของตวั ชีต้ าแหนง่ บนจอภาพเช่นเดยี วกบั เมาส์ จอยสติก (Joy stick) จะเป็นกา้ นสาหรบั ใชโ้ ยกขนึ้ ลง/ซา้ ยขวา เพ่อื ยา้ ยตาแหนง่ ของตวั ชีต้ าแหนง่ บน จอภาพ มหี ลกั การทางานเช่นเดียวกบั เมาส์ แตจ่ ะมีแปน้ กดเพมิ่ เตมิ มาจานวนหนง่ึ สาหรบั ส่งั งาน พิเศษ นยิ มใชก้ บั การเลน่ เกมสค์ อมพวิ เตอรห์ รอื ควบคมุ หนุ่ ยนต์

2.2.3 จอภาพระบบไวตอ่ การสัมผสั จอภาพระบบสัมผสั (Touch screen) เป็นจอภาพแบบพิเศษซ่ึงผใู้ ชเ้ พียงแตะปลายนิว้ ลงบน จอภาพในตาแหน่งท่ีกาหนดไว้ เพ่ือเลือกการทางานท่ีตอ้ งการ นิยมใชก้ บั เครื่องไมโครคอมพิวเตอร เพ่ือช่วยใหผ้ ทู้ ี่ใชเ้ ครื่องคอมพิวเตอรไ์ ม่คลอ่ งนกั สามารถเลือกขอ้ มลู ท่ีตอ้ งการไดอ้ ย่างสะดวก รวดเรว็ จะพบการใชง้ านมากในรา้ นอาหารแบบเรง่ ด่วน หรอื ใชแ้ สดงขอ้ มลู การท่องเท่ียว เป็นตน้ 2.2.4 ระบบปากกา (Pen-Based System) ปากกาแสง (Light Pen) เป็นอปุ กรณท์ ่ีใชส้ มั ผสั กบั จอภาพเพ่ือชีต้ าแหน่งและวาดขอ้ มลู โดย ใชเ้ ซลล์ แบบ photoelectric ซ่ึงมีความไวตอ่ แสงเป็นตวั กาหนดตาแหน่งบนจอภาพ รวมทง้ั สามารถใชว้ าดลกั ษณะหรอื รูปแบบของขอ้ มลู ใหป้ รากฏบนจอภาพ การใชง้ านทาไดโ้ ดยการแตะ

ปากกาแสงไปบนจอภาพตามตาแหน่งท่ีตอ้ งการนิยมใชก้ บั งานคอมพิวเตอรช์ ่วยการ ออกแบบ (CAD หรอื Computer Aided Design) รวมทงั้ นิยมใชเ้ ป็นอปุ กรณป์ อ้ นขอ้ มลู โดยการ เขียนดว้ ยมือในคอมพิวเตอรข์ นาดเล็ก เช่น PDA เป็นตน้ 2.2.5 อปุ กรณก์ วาดขอ้ มลู (Data Scanning Devices) เป็นอปุ กรณท์ ใ่ี ช้ ระบบการวเิ คราะหแ์ สง (Optical recognition Systems) ช่วยใหม้ กี ารพมิ พ์ ขอ้ มลู เขา้ นอ้ ยท่สี ดุ โดยจะอ่านขอ้ มลู เขา้ สเู่ ครอื่ งคอมพวิ เตอรด์ ว้ ยการใชล้ าแสงกวาดผ่านขอ้ ความ หรอื สญั ลกั ษณต์ า่ งๆทพ่ี มิ พไ์ ว้ เพ่อื นาไปแยกแยะรูปแบบตอ่ ไป ในปัจจบุ นั มกี ารประยกุ ตใ์ ชใ้ นงาน ตา่ งๆกนั มาก โดยมอี ปุ กรณท์ ่ีไดร้ บั ความนิยม คอื เครอ่ื งอ่านรหสั บารโ์ คด (Bar Code Reader) เป็นอปุ กรณท์ ่ีมีลกั ษณะคลา้ ยปากกาแสง ใชฉ้ าย แสงลงไปทีร่ หสั แทง่ ทีต่ อ้ งการอ่าน ซง่ึ รหสั สินคา้ ตา่ งๆจะอย่ใู นรูปของแถบสดี าและขาวตอ่ เน่ืองกนั ไป เรยี กวา่ รหสั บารโ์ คด เครอื่ งอา่ นรหสั บารโ์ คดจะอา่ นขอ้ มลู บนแถบบารโ์ คด เพื่อเรยี กขอ้ มลู จากรายการ สนิ คา้ นน้ั เช่นราคาสนิ คา้ จานวนท่เี หลืออยใู่ นคลงั สินคา้ เป็นตน้ ออกมาจากฐานขอ้ มลู แลว้ จงึ ทา การประมวลผลขอ้ มลู รายการนน้ั ในปัจจบุ นั บารโ์ คคไดร้ บั ความนิยมอย่างมาก เนื่องจากไมต่ อ้ งทา

การพิมพข์ อ้ มลู เขา้ ดว้ ยแปน้ พมิ พ์ จงึ ลดความผิดพลาดของขอ้ มลู และประหยดั เวลาไดม้ าก ระบบบาร โคดเป็นสิ่งที่ผใู้ ชจ้ ะพบเหน็ ในชีวิตประจาวนั ไดบ้ อ่ ยท่สี ดุ เชน่ ในหา้ งสรรพสินคา้ รา้ นขายหนงั สอื และ หอ้ งสมดุ เป็นตน้ สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอปุ กรณท์ ีใ่ ชอ้ า่ นหรอื สแกน (Scan) ขอ้ มลู บนเอกสารเขา้ สเู่ ครอื่ ง คอมพิวเตอร์ โดยใชว้ ธิ ีสอ่ งแสงไปยงั วตั ถทุ ตี่ อ้ งการ แสงท่ีสอ่ งไปยงั วตั ถแุ ลว้ สะทอ้ นกลบั มาจะถกู สง่ ผ่านไปท่ี เซลลไ์ วแสง (Charge-Coupled Device หรอื CCD) ซง่ึ จะทาการตรวจจบั ความเขม้ ของ แสงท่สี ะทอ้ นออกมาจากวตั ถแุ ละแปลงใหอ้ ย่ใู นรูปของขอ้ มลู ทางดิจติ อล เอกสารทีอ่ ่านอาจจะ ประกอบดว้ ยขอ้ ความหรอื รูปภาพกราฟิกก็ได้ กลอ้ งถา่ ยภาพดจิ ิตอล (Digital camera) เป็นอปุ กรณท์ ่ีใชส้ าหรบั ถ่ายภาพแบบไมต่ อ้ งใชฟ้ ิลม์ โดยเก็บภาพทถี่ ่ายไวใ้ นลกั ษณะดจิ ิตอลดว้ ยอปุ กรณ์ CCD (Charge Coupled Device) ภาพที่ไดจ้ ะ ประกอบดว้ ยจดุ เลก็ ๆ จานวนมาก และสามารถนาเขา้ เครอ่ื งคอมพิวเตอรเ์ พ่อื ใชง้ านไดโ้ ดยไมต่ อ้ งใช้ อปุ กรณส์ แกนเนอรอ์ ีกเป็นอปุ กรณท์ ่เี รม่ิ ไดร้ บั ความนิยมเพ่มิ ขนึ้ เรอ่ื ยๆ เน่ืองจากไมต่ อ้ งใชฟ้ ิลม์ ในการ ถา่ ยภาพและสามารถดผู ลลพั ธไ์ ดจ้ ากจอทีต่ ิดอยกู่ บั กลอ้ งไดใ้ นทนั ที

กลอ้ งถ่ายทอดวดี ีโอดิจิตอล (Digital Video) เป็นอปุ กรณท์ ่ีใชส้ าหรบั บนั ทกึ ภาพเคลอ่ื นไหว และเกบ็ เป็นขอ้ มลู แบบดจิ ิตอล นยิ มใชใ้ นการประชมุ ทางไกลผ่านวิดีโอ (Video conference) ซงึ่ เป็นการ ประชมุ แบบกลมุ่ ผา่ นเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ เชน่ ผ่านอินเทอรเ์ น็ต เป็นตน้ อยา่ งไรก็ดกี ลอ้ งถา่ ยทอด วดี ีโอแบบดิจติ อลยงั อยู่ 2.3 อปุ กรณแ์ สดงผล (Output devices) หมายถึง การแสดงผลออกมาใหผ้ ใู้ ชไ้ ดร้ บั ทราบในขณะนนั้ แต่เม่ือเลิกการทางานหรือเลิกใช้ แลว้ ผลนนั้ ก็จะหายไป ไม่เหลือเป็นวตั ถใุ หเ้ ก็บได้ แตถ่ า้ ตอ้ งการเก็บผลลพั ธน์ นั้ ก็สามารถส่งถ่ายไป เก็บในรูปของขอ้ มลู ในหน่วยเก็บขอ้ มลู สารอง เพ่ือใหส้ ามารถใชง้ านในภายหลงั หน่วยแสดงผลท่ี จดั อย่ใู นกลมุ่ นี้ คือ 2.3.1 หน่วยแสดงผลช่ัวคราว หมายถงึ การแสดงผลออกมาใหผ้ ใู้ ชไ้ ดร้ บั ทราบในขณะนนั้ แตเ่ ม่ือเลกิ การทางานหรอื เลิกใช้ แลว้ ผลนน้ั ก็จะหายไป ไมเ่ หลอื เป็นวตั ถใุ หเ้ ก็บได้ แตถ่ า้ ตอ้ งการเก็บผลลพั ธน์ นั้ ก็สามารถสง่ ถ่ายไป เก็บในรูปของขอ้ มลู ในหนว่ ยเก็บขอ้ มลู สารอง เพื่อใหส้ ามารถใชง้ านในภายหลงั หนว่ ยแสดงผลท่จี ดั อยใู่ นกลมุ่ นี้ คือ จอภาพ (Monitor) ใชแ้ สดงขอ้ มลู หรอื ผลลพั ธใ์ หผ้ ใู้ ชเ้ ห็นไดท้ นั ที มีรูปรา่ งคลา้ ยจอภาพของ

โทรทศั นบ์ นจอภาพประกอบดว้ ยจดุ จานวนมากมาย เรยี กจดุ เหลา่ นน้ั ว่า จดุ ภาพ (pixel) ถา้ มจี ดุ ภาพ จานวนมากก็จะทาให้ ผใู้ ชม้ องเหน็ ภาพบนจอไดช้ ดั เจนมากขนึ้ จอภาพทใี่ ชใ้ นปัจจบุ นั แบง่ ไดเ้ ป็นสอง ประเภท คอื - จอซีอารท์ ี (Cathode Ray Tube) นิยมใชก้ บั เครอื่ งไมโครคอมพิวเตอรส์ ว่ นมากใน ปัจจบุ นั ใชห้ ลกั การยงิ แสงผ่านหลอดภาพคลา้ ยกบั โทรทศั น์ - จอภาพแอลซีดี (Liquid Crystal Display) เป็นจอภาพทม่ี ีลกั ษณะบาง นา้ หนกั เบา และกินไฟนอ้ ย แตม่ ีราคาสงู เทคโนโลยีจอแอลซีดใี นปัจจบุ นั จะมสี องแบบคือ Passive Matrix ซงึ่ มี ราคาต่าแตข่ าดความคมชดั และอาจมองไมเ่ ห็นภาพเม่อื ผใู้ ชม้ องจากบางมมุ สว่ น Active Matrix หรอื บางครง้ั อาจเรยี กวา่ Thin Film Transistor (TFT) จะใหภ้ าพทคี่ มชดั กวา่ แตจ่ ะมรี าคาสงู กวา่ มาก ใน สว่ นความละเอียดของจอภาพ ปัจจบุ นั นิยมใชจ้ อภาพชนดิ สแี บบ Super Video Graphic Adapter หรอื เรยี กสนั้ ๆวา่ ซเู ปอรว์ จี ีเอ (Super VGA) ซงึ่ มีความละเอียด 800x600 จดุ ภาพ สาหรบั

จอภาพที่มคี วามละเอียดต่า (low resolution) สว่ นจอภาพทมี่ คี วามละเอียดสงู จะนยิ มใชค้ วาม ละเอยี ดที่ 1024x768, 1280x1024 หรอื 1600x1200 จดุ ภาพ (pixel) ซง่ึ จะใหค้ วามคมชดั ท่ีสงู มาก ปัจจยั หนึ่งที่ทาใหภ้ าพดคู มชดั มากขึน้ ถึงแมว้ ่าจะมีจานวนจดุ ภาพเท่ากัน ก็คือ ระยะห่าง ระหวา่ งจดุ ภาพ (dot pitch) โดยระยะห่างระหว่างจดุ ภาพนอ้ ยก็จะใหค้ วามละเอียดไดม้ ากกว่า จอภาพที่มีขายในทอ้ งตลาดปัจจบุ นั มีระยะห่างระหว่างจดุ ภาพอย่รู ะหวา่ ง 0.25-0.28 หน่วย ซึ่ง ระยะห่างระหวา่ งจดุ ภาพนีเ้ ป็นสิ่งที่ติดมากบั เครอ่ื งไม่สามารถเปล่ียนแปลงไดใ้ นสว่ นของจานวนสี นนั้ ณ ขณะใดขณะหนง่ึ แตล่ ะจดุ ภาพจะแสดงสีไดเ้ พียงสีเดียวเท่านนั้ ซึง่ สีต่างๆ จะถกู แทนดว้ ยตวั เลข ดงั นนั้ ถา้ จอภาพแสดงได้ 16 สี เลขเหล่านน้ั ก็จะแทนดว้ ย 4 บิต ถา้ ตอ้ งการแสดง ถึง 256 สี ก็จะตอ้ งใช้ 8 บิตแทนรหสั สีนนั้ ๆ การ์ดวิดีโอ (Video Card) การต่อจอภาพเขา้ กบั เครอ่ื งไมโครคอมพิวเตอรน์ น้ั จะตอ้ งมี แผงวงจรกราฟิ ก (Graphic Adapter Board) หรอื เรียกอีกอย่างหน่ึงวา่ การด์ วีดีโอ (video card) ซึ่งจอภาพแต่ละชนิดตอ้ งการแผงวงจรท่ีต่างกนั แผงวงจรกราฟิ กจะถูกเสียบเขา้ กบั ช่อง ขยายเพิ่มเติม (expansion slot) ในคอมพิวเตอรแ์ ผงวงจรกราฟิ กมกั จะมีหน่วยความจาเฉพาะที่ เรยี กวา่ หน่วยความจาวีดีโอ (video memory) เพ่ือใหใ้ ชโ้ ปรแกรมดา้ นกราฟิ กไดส้ วยงามและ รวดเรว็ ซึ่งหน่วยความจานีอ้ าจใชแ้ รมธรรมดาหรือแรมแบบพิเศษต่างๆ เพ่ือให้ สามารถทางานไดเ้ รว็ ขึน้ เช่น วีดีโอแรม (video RAM) ซึ่งบางครงั้ เรียกว่า วีแรม (VRAM) เป็นตน้

ปัจจยั ประการหนึง่ ท่ีผใู้ ชจ้ อภาพตอ้ งคานงึ คือ อตั ราการเปล่ียนภาพ (refresh rate) ของ การด์ วีดีโอโดยภาพที่แสดงบนจอภาพแตล่ ะภาพนนั้ จะถกู ลบและแสดงภาพใหม่เริม่ จากบนลงลา่ ง หากอตั ราการเปลี่ยนภาพในแนวด่ิง (Vertical-refresh rate) เป็น 60 ครงั้ ต่อวินาที หรือ 60 Hz จะ เกิดการกระพรบิ ทาใหผ้ ใู้ ชป้ วดศีรษะไดม้ ีผวู้ ิจยั พบว่า อตั ราเปล่ียนภาพในแนวด่ิงไม่ควรต่ากวา่ 70 Hz จงึ จะไมเ่ กิดการกระพริบ และทาใหผ้ ใู้ ชด้ จู อภาพไดอ้ ย่างสบายตา นอกจากนีย้ งั มีอปุ กรณ์ สาหรบั ถอดรหสั ภาพแบบ MPEG (Motion Picture Experts) ซึ่งอาจอย่ใู นรูปของซอฟตแ์ วร์ หรือ ฮารด์ แวรท์ ่ีติดอย่บู นการด์ วีดีโอ อนั จะทาใหส้ ามารถแสดงภาพเคล่ือนไหว เช่น ภาพยนตรต์ า่ งๆ บน จอคอมพิวเตอรไ์ ดอ้ ย่างตอ่ เน่ือง อุปกรณ์เสียง (Audio Output) คอมพิวเตอรร์ ุน่ ใหม่ๆ มกั จะมีหน่วยแสดงเสียง ซึง่ ประกอบดว้ ย ลาโพง(speaker) และ การด์ เสียง (sound card) เพ่ือใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถฟังเพลงในขณะ ทางาน หรือใหเ้ ครื่องคอมพิวเตอรร์ ายงานเป็นเสียงใหท้ ราบเมื่อเกิดปัญหาต่างๆ เช่น ไมม่ ีกระดาษ ในเครอ่ื งพิมพ์ เป็นตน้ รวมทงั้ สามารถเล่นเกมสท์ ่ีมีเสียงประกอบไดอ้ ย่างสนกุ สนาน โดยลาโพงจะ มีหนา้ ที่ในการแปลงสญั ญาณจากคอมพิวเตอรใ์ หเ้ ป็นเสียงเช่นเดียวกบั ลาโพงวิทยุ สว่ นการด์ เสียง จะเป็นแผงวงจรเพ่ิมเติมท่ีนามาเสียงกบั ช่องเสียบขยายในเมนบอรด์ เพ่ือช่วยใหค้ อมพิวเตอร์

สามารถสง่ สญั ญาณเสียงผ่านลาโพง รวมทงั้ สามารถต่อไมโครโฟนเขา้ มาท่ีการด์ เพ่ือบนั ทึกเสียง เก็บไวด้ ว้ ย 2.3.2 หน่วยแสดงผลถาวร หมายถึง การแสดงผลที่สามารถจบั ตอ้ งและเคลื่อนยา้ ยไดต้ ามตอ้ งการมกั จะออกมาในรูป ของกระดาษเช่น เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอปุ กรณท์ ่ีนิยมใชก้ นั มาก มีใหเ้ ลือกหลายชนิดขึน้ อย่กู บั คณุ ภาพของตวั อกั ษร ความเรว็ ในการพิมพ์ และเทคโนโลยีท่ีใชง้ าน เครื่องพิมพส์ ามารถแบง่ ตาม วิธีการพิมพไ์ ด้ 2 ชนิด คือ เคร่ืองพิมพแ์ บบกระทบหรือตอก (Impact printer) เป็นการใชห้ วั เข็มตอกใหค้ ารบ์ อนบนผา้ หมกึ ติดบนกระดาษตามรูปแบบท่ีตอ้ งการ สามารถพิมพค์ รง้ั ละหลายชดุ โดยใชก้ ระดาษคารบ์ อน วางระหว่างกระดาษแต่ละแผ่นได้ สว่ นขอ้ เสียของเครอื่ งพิมพช์ นิดนี้ คือ มีเสียงดงั และคณุ ภาพงาน พิมพไ์ ม่ดีนกั

เคร่ืองพิมพแ์ บบไม่กระทบหรือไม่ตอก (Nonimpact printer) เป็นการพิมพโ์ ดยใชห้ มกึ พน่ ไป บนกระดาษหรอื ใชค้ วามรอ้ นและความดนั เพ่ือละลายหมกึ ใหเ้ ป็นลกั ษณะของอกั ขระ เป็นการพิมพ ที่เรว็ และคมชดั กว่าแบบกระทบ และพิมพไ์ ดท้ งั้ ตวั อกั ษรและภาพกราฟิ ก รวมทง้ั ไมม่ ีเสียงขณะ พิมพ์ แต่มีขอ้ จากัดคือ ไมส่ ามารถพิมพก์ ระดาษแบบสาเนา (copy) ได้

เครื่องพิมพเ์ ลเซอร์ (Laser printer) ทางานคลา้ ยกบั เคร่ืองถ่ายเอกสาร คือ มีแสงเลเซอรส์ รา้ ง ประจไุ ฟฟ้า ซง่ึ จะมีผลใหโ้ ทนเนอร์ (toner) สรา้ งภาพท่ีตอ้ งการและพิมพภ์ าพนนั้ ลงบนกระดาษ เครอื่ งพิมพเ์ ลเซอรจ์ ะมีรุน่ ต่างๆท่ีแตกต่างกนั ในดา้ นความเรว็ และความละเอียดของงานพิมพ์ ใน ปัจจบุ นั สามารถพิมพไ์ ดล้ ะเอียดสงู สดุ ถึง 1200 จดุ ตอ่ นิว้ (dot per inch หรอื dpi) เครื่องพิมพพ์ ่นหมึก (Inkjet printer) นิยมใชก้ บั เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ สว่ นมากจะพิมพส์ ี ได้ ถึงแมจ้ ะไม่คมชดั เท่าเคร่อื งพิมพช์ นิดเลเซอร์ แต่ก็คมชดั กว่าเครื่องพิมพช์ นิดตอก และมีราคาถกู กว่าเคร่อื งพิมพช์ นิดเลเซอร์ นิยมนามาใชง้ านตามบา้ นอย่างมาก

เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter) ใชว้ าดหรือเขียนภาพสาหรบั งานที่ตอ้ งการความละเอียดสงู ๆ นิยมใชก้ บั งานออกแบบทางสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม มีใหเ้ ลือกหลายชนิดโดยจะแตกต่างกนั ใน ดา้ นความเรว็ ขนาดกระดาษ และจานวนปากกาที่ใชเ้ ขียนในแตล่ ะครง้ั มีราคาแพงกว่าเครื่องพิมพ ธรรมดา 3. หน่วยความจา Memory อปุ กรณส์ ่วนที่สาคญั อย่างหนงึ่ ท่ีคอมพิวเตอรจ์ ะขาดไม่ไดค้ ือ หน่วยความจา Memory ซึ่งมี หลายประเภท ตามลกั ษณะการทางาน ดงั นี้

3.1 หน่วยความจารอม (ROM) และ (RAM) คาว่า ROM ยอ่ มาจาก Read Only Memory เป็นหน่วยความจาท่ีเก็บขอ้ มลู แบบถาวร รอมที่ใช บนั ทึกขอ้ มลู ของอปุ กรณท์ ่ีติดตงั้ บนเมนบอรด์ เช่น ขนาดและประเภทของฮารด์ ดิสกท์ ่ีใช้ ขนาดของ แรม หน่วยประมวลผลที่ใชก้ ารติดตงั้ หน่วยขบั แผ่นบนั ทึก (Floppy drive) เป็นตน้ ขอ้ มลู ที่บนั ทึกใน รอม จะยงั คงอย่แู มจ้ ะปิดเครื่อง หนา้ ท่ีของรอมคือจะตรวจสอบว่ามีอปุ กรณ์ใดบา้ ง ท่ีติดตง้ั ใชง้ าน หากตรวจสอบไมอ่ ปุ กรณท์ ่ีสาคญั ๆ เช่น ไม่พบฮารด์ ดิสก์ ซีพียู หรือแรม รอมจะหยดุ การทางาน คาว่า RAM ยอ่ มาจาก Random Access Memory เป็น หน่วยเก็บขอ้ มลู หลกั ของคอมพิวเตอร แตข่ อ้ มลู จะสญู หายทนั ที เม่ือปิดเคร่อื ง ในการใชง้ านจริง จึงตอ้ งบนั ทกึ ขอ้ มลู ไวใ้ นฮารด์ ดิสกก์ ่อน ปิดเครอื่ ง หน่วยความจาแรม มีหน่วยวดั เป็น ไบต์ (byte) ซึ่งถา้ เป็นเครอ่ื งรุน่ เก่าจะนิยมใชห้ น่วยความจา แรม 8 หรอื 16 เมกะไบต์ (Megabyte) แตถ่ า้ เป็นเครื่องรุน่ ใหม่ๆ จะใชแ้ รมขนาด 128 หรือ 256

MB ขึน้ ไป ซึ่งจะทาใหส้ ามารถทางานกบั โปรแกรมรุน่ ใหม่ หรือกบั แฟ้มขอ้ มลู ท่ีมีขนาดใหญ่ๆ เช่น งานมลั ติมีเดียหรืองานกราฟิ กได้ 3.2 DRAM (ดีแรม) และ SDRAM (เอสดีแรม) DRAM เป็นหน่วยความจาหลกั ของเคร่อื ง นิยมใชม้ ากในสมยั ก่อนเพราะราคาไม่แพง แต่ ทางานไดช้ า้ มากปัจจบุ นั มีการใช้ SDRAM (Synchronous DRAM) ซงึ่ เป็นหน่วยความจาท่ีมี ประสิทธิภาพสงู มาก ในสมยั ก่อนอาจจะมีราคาสงู แตป่ ัจจบุ นั ราคาไดถ้ กู ลงมาก คนจึงนิยม ใช้ SDRAM มากขึน้ SIMM (ซิม) เป็นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสท์ ่ีใชส้ าหรบั ติดตง้ั หน่วยความจา ติดตงั้ บนเมนบอรด์ เราสามารถเพ่ิมจานวนแรมโดยเสียบแผงวงจรเขา้ กบั ซิมนี้ เพียงเท่านีก้ ็สามารถเพิ่มแรมไดอ้ ย่าง ง่ายๆสะดวก รวดเร็วและสามารถทาไดด้ ว้ ยตนเอง ดงั นนั้ ขอ้ จากดั ของการเพิ่มแรม คือ จานวนช่อง ของ SIMM และขนาดของแรมแตล่ ะแผงท่ีนามาเสียบลงบน SIMM 3.3 หน่วยความจาเสมือน (Virtual Memory) หมายถึง หน่วยความจาประเภทหนึง่ ใชส้ าหรบั แสดงผล เป็นหน่วยความจาที่ถกู สรา้ งขึน้ มาใน กรณีที่หน่วยความจาแรมไมพ่ อใช้ โดยระบบปฏิบตั ิการจะมีการนาเอาพืน้ ท่ีในฮารด์ ดิสกบ์ างสว่ น มาเป็นพืน้ ท่ีทางานช่วั คราวในขณะเปิดแฟ้มขอ้ มลู และจะลบทิง้ เมื่อปิดแฟ้มขอ้ มลู เราจงึ เรียกวา่ “หน่วยความจาเสมือน” ขอ้ เสียของการใชห้ น่วยความจาเสมือนคือ ถา้ พืน้ ที่ว่างมีนอ้ ยกว่าท

กาหนดไว้ คอมพิวเตอรจ์ ะทางานชา้ ลง การใชง้ านฮารด์ ดิสกจ์ ึงมกั จะใหม้ ีเนือ้ ท่ีท่ีไมไ่ ดใ้ ชง้ าน เหลือ ไวไ้ ม่นอ้ ยกวา่ 10 เปอรเ์ ซ็นต์ ในการใชง้ านคอมพิวเตอรน์ น้ั เราจะตอ้ งเลือกขนาดของแรมท่ีเหมาะสม โดยเฉพาะโปรแกรม ปฏิบตั ิการ (OS) รุน่ ใหม่ๆ เช่น Windows 98, Windows XP เป็นระบบปฏิบตั ิการขนาด 32 บิต ตอ้ งใชแ้ รม 64 MB ขึน้ ไป หากใชแ้ รมนอ้ ยกวา่ นีเ้ ครื่องอาจจะทางานชา้ มากหรอื อาจหยุดชะงกั ได้ ง่าย 3.4 หน่วยความจาแคช (Memory Cache) และ บสั (Bus) หน่วยความจาแคชเป็นหน่วยความจาท่ีช่วยใหเ้ คร่อื งคอมพิวเตอรท์ างานไดเ้ รว็ ขึน้ เป็นการเก็บ ขอ้ มลู ที่เราเคยเรยี กใชแ้ ลว้ เอาไวใ้ นกรณีท่ีเราตอ้ งการเรยี กใชก้ ็มาเรยี กขอ้ มลู จากแคช ซ่ึงจะดงึ ขอ้ มลู ไดเ้ รว็ กว่าหน่วยความจาดิสกม์ าก

หน่วยความจาแคช มี 2 ประเภท คือ 1. แคชภายใน ติดตงั้ อย่ภู ายในซีพียู เวลาเครื่องประมวลผล ก็จะเรียกเก็บขอ้ มลู ท่ีเก็บไวท้ ี่แคช ใกลๆ้ ซีพียมู าใชไ้ ดอ้ ย่างรวดเร็ว 2. แคชภายนอก จะติดตง้ั อย่บู นเมนบอรด์ เหมือนแรม ถา้ เครอ่ื งไมพ่ บแคชในซีพียกู ็จะมองหา แคชภายนอก ถา้ พบก็จะนามาใชง้ าน ซึ่งก็จะทางานไดช้ า้ กวา่ แคชภายในอย่บู า้ ง

เป็นเสน้ ทางว่ิงระหวา่ งขอ้ มลู หรอื คาส่งั การวดั ขนาดความกวา้ งของ บสั เราเรียกว่า “บิต” 8 บิต เท่ากบั 1 ไบต์ หรอื 1 ตวั อกั ษร สว่ นความเร็วของ บสั วดั ดว้ ยหน่วยเมกะเฮิรตซ์ (Mhz) หรอื หนงึ่ ลา้ นรอบต่อวินาที บสั ท่ีนิยมใชใ้ นปัจจบุ นั คือ บสั แบบ PCI (Peripheral Component Interconnect) มีความกวา้ งของสญั ญาณที่ใชร้ บั ส่งขอ้ มลู ถึง 32 หรอื 64 บิต ความเรว็ มากกว่า 300 MHz ขึน้ ไป นอกจากนี้ PCI ยงั สนบั สนนุ คณุ สมบตั ิPlug and Play ที่ใชใ้ นการติดตงั้ โปรแกรมท่ีใชค้ วบคมุ อปุ กรณใ์ หมด่ ว้ ย 3.5 หน่วยขอ้ มลู สารอง คอมพิวเตอรห์ รอื ซีพียจู ะเรยี กใชข้ อ้ มลู จากหน่วยเก็บขอ้ มลู หลกั คือ แรมก่อน หากขอ้ มลู ที่ ตอ้ งการไม่มีในแรม ก็จะทาการอ่านขอ้ มลู จากหน่วยเก็บขอ้ มลู สารองไปเก็บไวท้ ี่แรม เพราะหน่วย เก็บขอ้ มลู สารองสามารถจะเก็บรกั ษาขอ้ มลู ไวไ้ ด้ แมว้ ่าจะปิดเคร่อื ง และเก็บขอ้ มลู ไดม้ ากกว่า หน่วยเก็บขอ้ มลู หลกั หน่วยเก็บขอ้ มลู สารองแบ่งออกเป็น แผ่นบนั ทึก (Floppy Disk) หรอื ที่นิยม เรียกว่า ดิสเก็ตต์ (diskette) มีลกั ษณะเป็นแผ่นแม่เหลก็ ทรงกลม มีพลาสติกแข็งเป็นกรอบ

ส่ีเหล่ียมครอบไวช้ น้ั นอก ขนาด 3.5 นิว้ สามารถจขุ อ้ มลู ได้ 1.44 MB ก่อนการใชง้ าน จะตอ้ งทาการฟอรแ์ มตแผ่นก่อน ปัจจบุ นั แผ่นดิสเก็ตตจ์ ะฟอรแ์ มตมาจากโรงงานผผู้ ลิตแลว้ สามารถนามาใชง้ านไดท้ นั ที การใชง้ านจะเสียบใสใ่ นเครื่องขบั แผ่นบนั ทึก (Floppy Drive) ซ่งึ เป็น อปุ กรณอ์ ่านและเขียนแผ่นดิสก์ ติดตงั้ อย่ภู ายในตวั ถงั ของเครือ่ ง แผ่นบนั ทึก (Floppy disk) เก็บ ขอ้ มลู ไดไ้ มม่ ากนกั เหมาะสาหรบั การพกพา เพราะมีขนาดเล็กสามารถนาขอ้ มลู ไปใชง้ านกบั คอมพิวเตอรเ์ ครอ่ื งอ่ืนๆ ไดส้ ะดวก จานบนั ทึกแบบแข็ง (Hard Disk) เป็นหน่วยเก็บขอ้ มลู ขนาดใหญ่สามารถเก็บขอ้ มลู ไดม้ ากกว่า ฟลอปปี้ดิสกห์ ลายลา้ นเทา่ ฮารด์ ดิสกต์ ิดตง้ั ในตวั เครอ่ื ง มีขนาดประมาณ 3.5 นิว้ แต่มีความหนา กวา่ ฟลอปปี้ดิสก์ มีตวั อ่านขอ้ มลู อย่ภู ายใน ในปัจจบุ นั มีฮารด์ ดิสกต์ ง้ั แต่ 40 กิกะไบต์ (GB) ขึน้ ไป จึงสามารถเก็บขอ้ มลู ไดม้ าก รวมทง้ั โปรแกรมต่างๆ ในปัจจบุ นั ที่ตอ้ งการพืน้ ท่ีในการเก็บขอ้ มลู มาก ขึน้ โดยเฉพาะโปรแกรมประเภทกราฟฟิ กหรือมลั ติมีเดีย จาเป็นตอ้ งใชพ้ ืน้ ท่ีเก็บขอ้ มลู มากพอจึงจะ ใชง้ านได้

ซีดี – รอม (CD-ROM) ย่อมาจากคาว่า Compact Disk Read – Only Memory เป็นหน่วยเก็บ ขอ้ มลู ที่ไดร้ บั ความนิยมมากราคาไม่แพง มีอายกุ ารใชห้ ลายปี และมีขนาดเลก็ ซีดีรอมเป็นแผ่น พลาสติกกลม เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลาง 4.75 นิว้ ผิวหนา้ เคลือบดว้ ยโลหะสะทอ้ นแสง เพ่ือป้องกนั ขอ้ มลู ท่ีบนั ทกึ ไวบ้ นั ทกึ และอ่านขอ้ มลู ดว้ ยแสงเลเซอร์ ปกติซีดีรอมในปัจจุบนั จะมีความจปุ ระมาณ 700 MB หรอื เท่ากบั หนงั สือประมาณ 700,000 หนา้ หรือเท่ากับฟลอปปี้ดิสกข์ นาด 1.44 MB ถึง 700 แผ่น สามารถบนั ทึกขอ้ มลู ไดม้ าก โดยเฉพาะงานดา้ นมลั ติมีเดียทงั้ ภาพ แสง เสียง ใน เวลาเดียวกนั ที่สาคญั คือ เป็นระบบท่ีปลอดภยั จากไวรสั

ดีวีดี – รอม (DVD-ROM) ย่อมาจาก Digital Video Disk Read – Only Memory เป็นหน่วยเก็บ ขอ้ มลู รองชนิดหน่ึงท่ีกาลงั ไดร้ บั ความนิยมมากลกั ษณะคลา้ ยซีดีรอมแตส่ ามารถเก็บขอ้ มลู ได้ มากกว่าซีดีรอมหลายเท่าคือ ขนาดมาตรฐานเก็บขอ้ มลู ได้ 4.7 GB หรอื 7 เท่าของซีดีรอม และ พฒั นาตอ่ เนื่องไปตลอดดีวีดีแผ่นหน่งึ สามารถบรรจภุ าพยนตรค์ วามยาวถึง 133 นาทีไดโ้ ดยใช้ ลกั ษณะการบีบอดั ขอ้ มลู แบบ MPEG-2 และระบบเสียงแบบดอลบี (Dolby AC-3) ปัจจบุ นั ดีวีดี นิยมใชใ้ นการบนั ทกึ ภาพยนตรแ์ ละมลั ติมีเดีย

4. ซอรฟ์ แวร์ Software คอมพิวเตอรจ์ ะทางานไม่ไดเ้ ลยหากปราศจาก ซอรฟ์ แวร์ Software ท่ีจะคอยรบั คาส่งั ในรูปแบบ ต่าง ๆ ไปประมวลผล และแสดงผลออกมา 4.1 ชนิดของ software ซอฟตแ์ วร์ระบบปฏิบตั ิการ (Operating System Software-OS) หมายถึง ซอฟตแ์ วรห์ รือ โปรแกรมท่ีควบคมุ การทางานทงั้ หมดของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ โดยคอมพิวเตอรท์ กุ เคร่อื งจะตอ้ งมี ระบบปฏิบตั ิการอย่างใดอย่างหน่งึ เสมอ ระบบปฏิบตั ิการยอดนิยมในปัจจบุ นั คือ Windows 95, Windows 98, Windows 2000,Windows Me, Windows XP, Linux, DOS เป็นตน้ ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ (Application Software) หมายถึง โปรแกรมท่ีเขียนขึน้ มาเพ่ือส่งั ใหเ้ คร่อื ง คอมพิวเตอรท์ างานเฉพาะดา้ น เช่น โปรแกรมระบบบญั ชี โปรแกรมออกแบบ โปรแกรมสาเรจ็ รูป ตา่ งๆ เช่น Microsoft Word, Excel, PowerPoint เป็นตน้

การใชค้ อมพิวเตอรใ์ นการทางานด้านต่างๆ เม่ือหลายปีก่อน คอมพิวเตอรม์ ีอย่ไู ม่มากนกั ส่วนใหญ่จะเป็นระบบเมนเฟรม ซ่ึงมีขนาดใหญ่ และราคาแพง สว่ นมากจะใชง้ านทางดา้ นวิทยาศาสตรเ์ ท่านน้ั ซง่ึ จะไม่เกี่ยวขอ้ งกบั ชีวิตประจาวนั มากนกั แตใ่ นปัจจบุ นั คอมพิวเตอรไ์ ดม้ ีขนาดเล็กลง และ ราคาไมแ่ พงนกั คนท่ัวไปสามารถซือ้ หา มาใชไ้ ดเ้ หมือนกบั เครื่องใชไ้ ฟฟ้าโดยท่วั ไป ในหน่วยงานทง้ั ภาครฐั บาลและเอกชนมีการนา คอมพิวเตอรม์ าใชใ้ นหน่วยงานขึน้ และมีแนวโนม้ ที่จะมีการใชส้ งู ขึน้ โดยปัจจบุ นั การใช้ คอมพิวเตอรม์ ีหลากหลายลกั ษณะ ไดแ้ ก่ 1. คอมพิวเตอรใ์ นสถานศึกษา 2. คอมพิวเตอรใ์ นงานวิศวกรรม 3. คอมพิวเตอรใ์ นงานวิทยาศาสตร์ 4. คอมพิวเตอรใ์ นงานธุรกิจ 5. คอมพิวเตอรใ์ นงานธนาคาร 6. คอมพิวเตอรใ์ นรา้ นคา้ ปลีก

7. คอมพิวเตอรใ์ นวงการแพทย์ 8. คอมพิวเตอรใ์ นการคมนาคม และการส่ือสาร 9. คอมพิวเตอรใ์ นงานดา้ นอตุ สาหกรรม 10. คอมพิวเตอรใ์ นวงราชการ 1. คอมพิวเตอรใ์ นสถานศึกษา ปัจจบุ นั ตามสถานศึกษาตา่ งๆ ไดม้ ีการนาคอมพิวเตอรม์ าใชใ้ นการเรียนการสอนอย่างมากมาย รวมทงั้ ใชค้ อมพิวเตอรใ์ นงานบรหิ ารของโรงเรยี น เช่น การจดั ทาประวตั ินกั เรียน ประวตั ิครูอาจารย์ การคดั คะแนนสอบ การจดั ทาตารางสอน ใชค้ อมพิวเตอรใ์ นงานหอ้ งสมดุ การจดั ทาตารางสอน เป็นตน้ ตวั อย่างในการประยุกตด์ า้ นการศึกษา เช่น โปรแกรมรายงานการลงทะเบียนเรยี น โปรแกรมตรวจขอ้ สอบ เป็นตน้ 2. คอมพิวเตอรใ์ นงานวิศวกรรม คอมพิวเตอรส์ ามารถทางานในดา้ นวิศวกรรมไดต้ ง้ั แต่ขนั้ ตอนการลอกเขียนแบบ จนกระท่งั ถึง การออกแบบโครงสรา้ งของสถาปัตยกรรมต่างๆ ตลอดจนช่วยคานวณโครงสรา้ ง ช่วยในการ วางแผนและควบคมุ การสรา้ ง

3. คอมพิวเตอรใ์ นงานวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอรส์ ามารถทางานรว่ มกบั เครื่องมือทางวิทยาศาสตรต์ า่ งๆ เช่น เครือ่ งมือวิเคราะห์ สารเคมี เคร่อื งมือการทดลองตา่ งๆ แมก้ ระท่งั การเดินทางของยานอวกาศต่างๆ การถ่ายพืน้ ผิวโลก บนดาวองั คาร เป็นตน้

4. คอมพิวเตอรใ์ นงานธุรกิจ คอมพิวเตอรส์ ามารถจดั เก็บขอ้ มลู ไดม้ ากมาย มีความรวดเรว็ และถกู ตอ้ ง ทาใหส้ ามารถได้ ขอ้ มลู ที่ช่วยใหส้ ามารถตดั สินใจในการดาเนินธุรกิจ ตลอดจนงานทางดา้ นเอกสารงานพิมพต์ า่ งๆ เป็นตน้ 5. คอมพิวเตอรใ์ นงานธนาคาร ในแวดวงธนาคารนบั ไดว้ า่ คอมพิวเตอรไ์ ดเ้ ขา้ มามีบทบาทมากท่ีสดุ เพราะธนาคารจะมีการนา ขอ้ มลู Transaction) เป็นประจาทกุ วนั การหาอตั ราดอกเบีย้ ตา่ งๆ นอกจากนีก้ ารใช้ บริการ ATM ซ่ึงลกู คา้ สามารถฝากถอนเงินไดจ้ ากเครือ่ งอตั โนมตั ิ ซ่ึงจะใหส้ ะดวกแก่ผใู้ ชบ้ รกิ ารเป็น อย่างย่ิง และเป็นที่นิยมแพรห่ ลายในปัจจบุ นั

6. คอมพิวเตอรใ์ นรา้ นคา้ ปลีก ปัจจบุ นั เห็นไดว้ ่า ไดม้ ีธุรกิจรา้ นคา้ ปลีกหรือท่ีเรียกว่า \"เฟรนไซน\"์ เป็นจานวนมาก ไดม้ ีการนา คอมพิวเตอรเ์ ขา้ มาใชใ้ นการ ใหบ้ รกิ ารลกู คา้ เช่น ใหบ้ ริการชาระ คา่ นา้ - ไฟฟ้า ค่าโทรศพั ท์ เป็น ตน้ จะเห็นไดว้ ่ามีการ online ระหว่างรา้ นคา้ เหล่านน้ั กบั หน่วยงานนนั้ ๆ เพ่ือสามารถตดั ยอดบญั ชี ได้ เป็นตน้ 7. คอมพิวเตอรใ์ นวงการแพทย์ คอมพิวเตอรไ์ ดถ้ กู นามาใชใ้ นการเก็บประวตั ิของคนไข้ ควบคมุ การรบั และจ่ายยา ตลอดจนยงั อย่ใู นอปุ กรณเ์ คร่ืองมือทางการแพทย์ เช่น เครือ่ งมือผ่าตดั บนั ทึกการเตน้ ของหวั ใจ ตรวจคลื่น สมอง และดา้ นการหาตาแหน่งของอวยั วะก่อนการผ่าตดั เป็นตน้

8. คอมพิวเตอรใ์ นการคมนาคม และการสื่อสาร ในยุคปัจจบุ นั เราเรียกวา่ เป็นยคุ ที่เป็นการส่ือสารแบบไรพ้ รมแดน จะเห็นไดว้ า่ มีการส่ือสารใน รูปแบบต่าง ๆในเครอื ข่ายสาธารณะ ท่ีเรียกวา่ เครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ต ซง่ึ สามารถที่จะสื่อสาร กบั ทกุ คนไดท้ ่วั มมุ โลก โดยผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอรน์ ี้ และยงั มีโปรแกรมท่ี สามารถจะใชใ้ นการพดู คุย กนั ได้ ไม่ว่าจะเป็นเคร่อื งคอมพิวเตอรด์ ว้ ยกนั ใชค้ ยุ กนั หรือจะเป็นเคร่ืองคอมพิวเตอรส์ ื่อสาร กบั เคร่อื งโทรศพั ทท์ ี่บา้ นหรอื ท่ีทางาน หรอื แมก้ ระท่งั การสง่ pager ในปัจจบุ นั สามารถสง่ ทางเครอื ข่าย คอมพิวเตอรไ์ ปยงั เครือ่ งลกู ได้ เป็นตน้ สาหรบั การใชค้ อมพิวเตอร์ ในทางโทรคมนาคมจะเห็นว่า ปัจจบุ นั การจองต๋วั เครอื่ งบิน จะมีการนาเอาคอมพิวเตอรม์ าใชเ้ ป็นจานวนมาก รวมถึงการจองต๋วั ผ่านทาง Internet ดว้ ยตนเอง เห็นไดว้ ่าเพ่ิมความสะดวกสบาย ใหแ้ ก่ผใู้ ชบ้ ริการ และนอกจากนี้ ยงั มีเครือข่ายของสายการบินท่วั โลก ทาใหผ้ ใู้ ชบ้ รกิ ารสามารถเลือกจองได้ ตามสายการบินตา่ งๆ เป็น ตน้ ตวั อย่าง การตรวจสอบราคาค่าโดยสาร และเวลาของแต่ละเท่ียวบินผ่านทาง internet 9. คอมพิวเตอรใ์ นงานดา้ นอตุ สาหกรรม

ในวงการอตุ สาหกรรมนบั ไดว้ ่า คอมพิวเตอรไ์ ดเ้ ขา้ มามีบทบาทเป็นอย่างมาก ตง้ั แต่การวาง แผนการผลิต กาหนดเวลาการผลิต จนกระท่งั ถึงการผลิตสินคา้ ควบคมุ ระบบ การผลิตทงั้ หมด ใน รายงานทางอตุ สาหกรรม ไดม้ ีการนาคอมพิวเตอรม์ าใชใ้ น การควบคมุ การทางานของเคร่ืองจกั ร เช่น การเจาะ ตดั ไส กลึง เป็นตน้ ตลอดจนโรงงานผลิตรถยนต์ ก็จะใช้ ห่นุ ยนตค์ อมพิวเตอรใ์ นการ ทาสี พ่นสี รวมถึงการประกอบรถยนต์ เป็นตน้ 10. คอมพิวเตอรใ์ นวงราชการ คอมพิวเตอรถ์ ูกนามาใชใ้ นงานทะเบียนราษฎร์ ช่วยในการนบั คะแนนการเลือกตง้ั และการ ประกาศผลเลือกตง้ั การคิดภาษีอากร การเก็บขอ้ มลู สถิติสมั มโนประชากร การเก็บเงินค่าไฟฟ้า นา้ ประปา ค่าใชโ้ ทรศพั ท์ เป็นตน้

6. เทคโนโลยีสารสนเทศกบั สงั คม ในบทนีจ้ ะเป็นเนือ้ หาเกี่ยวกบั เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทาใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงของโลก ผลกระทบ 6.1 การเปลี่ยนแปลงของโลก เมื่อเทคโนโลยีพฒั นาไปสสู่ งั คมข่าวสาร ผลกระทบย่อมเกิดขึน้ ทง้ั ทางบวกและทางลบ เราจะ เตรยี มพรอ้ มรบั การเผชิญหนา้ กบั การเปลี่ยนแปลงเหลา่ นน้ั ไดอ้ ย่างไร 6.1.1 ความหมายของสงั คมสารสนเทศ สงั คมสารสนเทศหรอื สงั คมข่าวสาร (The information society) เป็นสงั คมที่มีการใชส้ าร สนเทศรูปแบบต่างๆ เพ่ือประกอบการตดั สินใจทงั้ เพ่ือประโยชนส์ ่วนตนและประโยชนส์ ่วนรวม ใน สงั คมสารสนเทศจะทาใหเ้ ราไดร้ บั สารสนเทศที่มีคณุ ภาพ ตรงกบั ความตอ้ งการและทนั เวลา ใน

สงั คมสารสนเทศ เราสามารถแบง่ กล่มุ เทคโนโลยีตา่ งๆท่ีจดั อย่ใู นประเภทเทคโนโลยีสารสนเทศได้ ดงั นี้ คือ 1) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ 2) เทคโนโลยีโทรคมนาคมหรือการสื่อสารขอ้ มูล 6.1.2 คณุ ลกั ษณะของสงั คมสารสนเทศ สงั คมสารสนเทศมีลกั ษณะท่ีสาคญั ดงั นี้ 1. เป็นสงั คมที่มีการใชส้ ารสนเทศที่บนั ทกึ อย่บู นสื่อที่เป็นเอกสาร สิ่งพิมพ์ และไมต่ ีพิมพ สื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ เสียงภาพ 2. เป็นสงั คมที่มีการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศหรือ IT เพ่ือการไดม้ า จดั เก็บ ประมวลผล สืบคน้ และเผยแพรส่ ารสนเทศใหต้ รงกบั ความตอ้ งการของผใู้ ชอ้ ย่างรวดเรว็ ถูกตอ้ งและทนั เวลา 3. เป็นสงั คมท่ีมีการใชผ้ ลิตภณั ฑห์ รอื อปุ กรณท์ ี่มีไมโครโพรเซสเซอรเ์ ป็นตวั ควบคมุ การ ทางาน เคร่ืองอานวยความสะดวกในบา้ นและในสานกั งาน ตวั อย่างเช่น หมอ้ หงุ ขา้ วไฟฟ้า เตา ไมโครเวฟ เครอ่ื งซกั ผา้ เครอื่ งปรบั อากาศ อปุ กรณก์ นั ขโมย ระบบควบคมุ ไฟฟ้า เป็นตน้ 4. เป็นสงั คมที่ผใู้ ชส้ ามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศไดด้ ว้ ยตนเองทงั้ โดยทางตรงและ ทางออ้ มอนั นามาซง่ึ การเพ่ิมผลผลิตและการเพ่ิมประสิทธิภาพในการประกอบการดา้ นต่างๆ 6.1.3 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลกระทบทางบวก 1. ช่วยสง่ เสริมความสะดวกสบายของมนษุ ย์ 2. ช่วยทาใหก้ ารผลิตในอตุ สาหกรรมดีขึน้ 3. ช่วยสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการคน้ ควา้ วิจัยส่ิงใหม่

4. ช่วยส่งเสรมิ สขุ ภาพและความเป็นอย่ใู หด้ ีขึน้ 5. ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนษุ ย์ 6. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยใหเ้ ศรษฐกิจเจรญิ รุง่ เรือง 7. ช่วยใหเ้ กิดความเขา้ ใจอนั ดีระหว่างกนั 8. ช่วยสง่ เสริมประชาธิปไตย ผลกระทบทางลบ 1. ทาใหเ้ กิดอาชญากรรม 2. ทาใหค้ วามสมั พนั ธข์ องมนษุ ยเ์ ส่ือมถอย 3. ทาใหเ้ กิดความวิตกกงั วล 4. ทาใหเ้ กิดความเส่ียงภยั ทางดา้ นธุรกิจ 5. ทาใหก้ ารพฒั นาอาวธุ มีอานาจทาลายสงู มากขึน้ 6. ทาใหเ้ กิดการแพรว่ ฒั นธรรมและกระจายข่าวสารท่ีไมเ่ หมาะสมอย่างรวดเร็ว 6.2 ความปลอดภยั และความเป็นส่วนตวั อาชญากรรมทางคอมพิวเตอรเ์ กิดขนึ้ ไดห้ ลายรูปแบบ ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ก่อใหเ้ กิดปัญหาใหมๆ่ ขนึ้ ตวั อย่างปัญหาอาชญากรรมบนเครอื ขา่ ย เชน่ การขโมยขอ้ มลู หรอื สารสนเทศในขณะที่สง่ ผ่านไปบนระบบเครอื ข่าย การแอบใชร้ หสั ผา่ นของผมู้ ีอานาจเพือ่ เขา้ ถงึ และ เรยี กใชข้ อ้ มลู ท่เี ป็นความลบั การใหบ้ รกิ ารสารสนเทศทมี่ กี ารหลอกลวง รวมถึงการบอ่ นทาลายขอ้ มลู ท่ีมีอย่ใู นเครอื่ งคอมพวิ เตอรต์ า่ งๆในระบบเครอื ขา่ ย เชน่ ไวรสั เครอื ข่ายการแพรข่ อ้ มลู ท่เี ป็นเท็จ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook