Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 145346_คู่มือการเขียนศิลปนิพนธ์

145346_คู่มือการเขียนศิลปนิพนธ์

Published by Guset User, 2021-11-30 04:51:26

Description: 145346_คู่มือการเขียนศิลปนิพนธ์

Search

Read the Text Version

ตัวอย่างคู่มอื ศลิ ปนิพนธ์ 1 รปู แบบเคา้ โครงศลิ ปนพิ นธ์ รูปแบบเค้าโครงศลิ ปนพิ นธ์ ประกอบไปด้วย 1. ชอ่ื เรอ่ื ง 2. ความเป็นมาหรือความสาคัญของปญั หา 3. วัตถุประสงคข์ องการศกึ ษา 4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 5. ขอบเขตของการศกึ ษา 6. ขน้ั ตอนการศึกษา 7. ข้อตกลงเบ้อื งต้น 8. ความจากัดของการศกึ ษา 9. คาจากัดความท่ใี ช้ในการศึกษา 10. บรรณานุกรม 11. ตารางดาเนนิ งาน 12. ตวั อยา่ งผลงาน ชือ่ เร่อื ง ควรกาหนดให้ครอบคลมุ เนอื้ หา รปู แบบ กระบวนการในการสรา้ งสรรค์งานศลิ ปะ ความเป็นมาหรอื ความสาคญั ของปัญหา อธิบายเหตุผลทเี่ ลือกทาศิลปนิพนธ์เรื่องน้ี โดยอา้ งทฤษฎีรายงานการวิจยั ท่ีเกยี่ วขอ้ งปัญหาท่ตี อ้ งการ ทราบและความสาคญั หรือประโยชน์ของการทาศิลปนพิ นธ์เร่ืองนม้ี าสนบั สนนุ เหตผุ ล ควรเขียนให้กระชับและ ให้ความชัดเจน จากเนอื้ หาในมุมกว้างแล้วเขา้ สู่ปัญหาของศิลปนิพนธ์ทท่ี า วัตถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา ให้ระบุวัตถุประสงค์เป็นรายข้อให้ชดั เจนและสอดคล้องกับเร่ืองทที่ า เรียงตามลาดับความสาคัญมาก ทส่ี ุดและรองลงไป ผลท่คี าดวา่ จะได้รับ อธิบายว่าเพื่อศิลปนิพนธ์เร่ืองน้ีเสร็จสมบูรณ์ลงแล้วทั้งภาคเอกสารและภาคผลงานจะก่อให้เกิด ประโยชนอ์ ะไรโดยจะสอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์ ขอบเขตของการศึกษา เป็นการระบุว่าการศึกษาน้ันจะทาเร่ืองอะไร มขี อบเขตกว้างแคบเพียงใด ทั้งการศึกษาค้นคว้าและ การสร้างสรรค์ รวมถึงการกาหนดระยะเวลาและขัน้ ตอนวิธดี าเนินการ ขนั้ ตอนการศกึ ษา เป็นการบอกให้ทราบว่าการศึกษานม้ี ีกข่ี ้นั ตอนอะไรบ้างโดยทว่ั ไปจะประกอบด้วยขัน้ ตอนตอ่ ไปนี้ - การเก็บรวบรวมข้อมลู จากเอกสารที่เกีย่ วขอ้ ง - การเกบ็ รวบรวมข้อมูลภาคสนาม - การวิเคราะห์ข้อมูล - การสรปุ ผลการศึกษา - การเสนอแนะ

ตวั อยา่ งคู่มอื ศิลปนิพนธ์ 2 ข้อตกลงเบื้องตน้ เปน็ การกลา่ วให้ทราบวา่ การศกึ ษานี้ยดึ ถืออะไรเป็นเงอื่ นไข ความจากัดของการศึกษา ระบุถึงกรณีหรือตัวแปรทค่ี วบคุมไมไ่ ด้ เชน่ ข้อจากัดของระยะเวลา งบประมาณ หรือตัวแปรอ่นื ๆ คาจากดั ความทีใ่ ช้ในการศึกษา หมายถงึ กรณีทก่ี าหนดหรอื นิยามหรอื ศพั ท์เฉพาะข้นึ มาเพอ่ื ประโยชน์ในการศึกษาคน้ คว้านั้น โดยเฉพาะ ถ้าเปน็ ศัพทท์ ่ีไม่แพร่หลาย เช่น ศพั ท์ทางวิชาการ (Technical term) ควรอธิบายไว้ สาหรบั บาง สาขาวิชาให้ใส่คาจากัดความท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาในภาคผนวก บรรณานกุ รม นารายการเอกสารทใี่ ชม้ าเรียบเรยี งตามรูปแบบใน “คู่มอื การพมิ พศ์ ิลปนพิ นธ์”ฉบบั นี้ ตารางดาเนินงาน กจิ กรรม ระยะเวลาดาเนินการ ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. 1. เสนอหวั ข้อศลิ ปนิพนธ์ 2. ปฐมนเิ ทศ 3. เสนอหัวขอ้ ฯตอ่ กรรมการ 4. รวบรวมขอ้ มูลทเ่ี กีย่ วขอ้ ง 5. ออกแบบแนวความคดิ 6. ออกแบบภาพร่าง/เลย์เอ้าท์ 7. ออกแบบภาพสมบรู ณ์ 8. สอบปากเปล่า 9. แสดงนิทรรศการ 10. ประเมนิ ผล ตัวอยา่ งผลงาน ในระหวา่ งการศึกษาหรอื อน่ื ๆ ของนักศกึ ษาทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับหัวขอ้ ศิลปนพิ นธ์ ศิลปนพิ นธ์ ศลิ ปนพิ นธ์ภาคเอกสาร มี 2 สว่ นดังน้ี 1. ส่วนประกอบของศลิ ปนิพนธ์ 2. การพิมพ์ศลิ ปนพิ นธ์ สว่ นประกอบของศลิ ปนพิ นธ์ สว่ นประกอบของศลิ ปนิพนธป์ ระกอบดว้ ย ภาคเอกสาร และภาคผลงาน ศิลปนพิ นธ์ภาคเอกสารประกอบดว้ ยส่วนสาคญั 3 สว่ น คอื 1. สว่ นประกอบตอนตน้ 2. ส่วนประกอบตอนกลาง 3. ส่วนประกอบตอนท้าย

ตวั อยา่ งคู่มอื ศลิ ปนิพนธ์ 3 ตอนที่1 ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนประกอบตอนตน้ ประกอบด้วยส่วนตา่ ง ๆ ซง่ึ เรียงลาดบั ดงั ต่อไปน้ี 1. ปกหรอื ปกนอก (Cover) ปกแข็ง สดี า มเี ครอื่ งหมายมหาวิทยาลยั ฯ พมิ พ์ทอง ระบรุ ายละเอยี ดดังนี้ 1. ช่ือเรื่องศิลปนิพนธ์ ต้องตรงกับประกาศอนุมัติหัวข้อศิลปนิพนธ์ท้ังภาษาไทยและ ภาษาองั กฤษ 2. ช่ือผู้แต่งไม่มีคานาหน้าชื่อ นาย นาง หรือ นางสาว นาหน้า ในกรณีที่ผู้แต่งมียศ เช่น พันตรี ร้อยตารวจเอก หม่อมราชวงศ์ ใหใ้ ชย้ ศนัน้ ๆ นาหน้าชือ่ ไมต่ ้องมีปรญิ ญาต่อท้าย 3. ระบุวา่ ศิลปนพิ นธ์นีเ้ ปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศกึ ษาตามหลักสูตรศลิ ปบณั ฑติ สาขาวิชา ..................................................... 4. วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ปีการศึกษา ที่เสนอ ศลิ ปนิพนธ์ 2. สนั ปก พิมพช์ อื่ เรื่อง ช่ือผู้แต่ง และปกี ารศกึ ษาท่เี สนอศิลปนิพนธเ์ รียงไปตามความยาวของสนั ปก 3. ปกใน (Title page) พมิ พ์ขอ้ ความตา่ ง ๆ เชน่ เดยี วกบั ปกนอก ปกในมี 2 แผ่นคอื แผ่นแรกเปน็ ภาษาไทย แผ่นสองเป็นภาษาอังกฤษ 4. หน้าอนมุ ัติ (Approval sheet) เป็นส่วนท่ีแสดงว่าคณะกรรมการตรวจสอบศิลปนิพนธ์และผู้อานวยการวิทยาลัยเพาะช่าง อนุมตั ใิ หศ้ ิลปนพิ นธ์นน้ั เป็นส่วนหนึง่ ของการศึกษา 5. บทคัดย่อ (Abstract) เป็นสว่ นท่ีกลา่ วถึงความสาคญั ของเรือ่ งท่ศี กึ ษา ความมงุ่ หมาย และวัตถุประสงคข์ องการศกึ ษา โดยสังเขป รวมทั้งข้ันตอน วิธีการดาเนินงาน การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อสรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะที่ สาคญั ๆ บทคัดย่อจะมีความยาวประมาณ 1 หนา้ ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บทคัดย่อบทคัดย่อ ภาษาไทย 6. กิตตกิ รรมประกาศ (Acknowledgements) เป็นส่วนทผ่ี ู้เขียนศิลปนิพนธ์กล่าวคาขอบคุณผใู้ ห้ความช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ในการทา ศิลป นพิ นธ์ รวมถึงสถาบนั องคก์ ร ที่ใหค้ วามชว่ ยเหลือด้านข้อมลู 7. สารบัญ (Table of contents) เป็นส่วนที่แจ้งถึงตาแหน่งของส่วนต่าง ๆ ทม่ี อี ย่ใู นศิลปนิพนธ์ นบั ต้ังแต่บทคัดย่อไปจนถึงหน้า สุดทา้ ย 8. สารบญั ตาราง (List of tables) เป็นส่วนท่ีแจ้งตาแหน่งหน้าของตารางทั้งส้ินที่มีอยใู่ นศิลปนิพนธ์ รวมท้ังตารางในภาคผนวก ด้วย กรณีทตี่ ารางมจี านวนนอ้ ยกวา่ 5 ตาราง ไมต่ ้องพมิ พ์สารบญั ตาราง

ตวั อยา่ งคู่มอื ศลิ ปนิพนธ์ 4 9. สารบญั ภาพ (List of illustrations or figures) เนื่องจากภาพประกอบแบ่งออกได้หลายประเภท อาจลาดับประเภทดังตัวอย่างต่อไปนี้ คือ ประเภทแผนผงั ประเภทภาพลายเสน้ ประเภทภาพถา่ ย กราฟ แผนภูมิและภาพเขียน ลาดับประเภทดังกลา่ ว อาจสลับเปลย่ี นไปตามความเหมาะสม แต่จะต้องมีระเบยี บดังต่อไปนี้ 1. ใหเ้ รมิ่ ลาดับดว้ ยหมายเลข 1 เม่ือเริม่ ตน้ ภาพประกอบภาพแรกของแต่ละประเภท 2. หมายเลขและคาอธบิ ายภาพประกอบท่ีให้ไว้ในสารบัญภาพประกอบต้องตรงกับข้อความ ใตค้ าอธิบายภาพ 3. ในกรณีท่ีนาภาพประกอบจากแหล่งอื่นมาใช้ เช่น จากเอกสารทพี่ ิมพ์เผยแพรแ่ ล้วให้แจ้ง แหลง่ ท่มี านั้นไว้ท้ายคาอธบิ าย หรือไวใ้ นสารบัญภาพ กรณที ่ภี าพประกอบมจี านวนน้อยกวา่ 5 ภาพประกอบ ไม่ต้องพิมพส์ ารบญั ภาพ ตอนที่2 สว่ นประกอบตอนกลาง หมายถึงส่วนท่ีเป็นสาระสาคัญของศิลปนิพนธ์ท่ีจะต้องกล่าวถึงโดยละเอียด ถือว่าเป็นส่วนที่สาคัญที่สุด ของศิลปนิพนธ์ คณุ คา่ ของศลิ ปนิพนธ์ขนึ้ อยูก่ บั ลกั ษณะเนือ้ หาส่วนนี้ ซง่ึ อาจแบง่ ไดเ้ ป็น 2 ตอน คอื 1. ส่วนทเี่ ปน็ เน้อื หาเปน็ บทๆ 2. สว่ นประกอบในเน้ือหา 1. ส่วนทเี่ ปน็ เนื้อหาเปน็ บทๆ หมายถึงเน้ือหาของศิลปนิพนธ์ท่ีแบ่งออกเป็นบท ๆ ในการเขียนศิลปนิพนธ์ต้องลาดับหัวข้อ เร่อื งและสาระสาคัญให้เป็นระบบ มีระเบียบ โดยทั่วไปเนื้อหาของศิลปนพิ นธ์มักประกอบด้วยหัวข้อท่ีสาคัญ ดังน้ี บทที่ 1 บทนา (Introduction) เป็นการกลา่ วนากอ่ นท่ีจะเข้าสู่เน้ือเรือ่ ง เพื่อใหผ้ ู้อ่านได้ทราบเรือ่ งราวเป็นพ้ืนฐานก่อนเข้าสู่ เนื้อหาสาคญั ของเร่อื ง อาจเป็นท่มี าของเรือ่ งท่ีจะศกึ ษาหรือลักษณะส่ิงแวดลอ้ มที่เกี่ยวขอ้ งกบั เรือ่ งที่จะศกึ ษา บทนาอาจประกอบด้วยบางหัวข้อหรอื ทุกหวั ขอ้ ตอ่ ไปนี้ 1. ความเป็นมาหรือความสาคัญของปัญหา (Statements and significance of the problems) กลา่ วถงึ ทม่ี าของเรื่องท่จี ะทาการศึกษาวิจยั ว่า เนอ่ื งมาจากเหตุอะไร กล่าวถงึ ตัวปัญหาท่ีเปน็ จุด สนใจให้ทาการศึกษาคน้ ควา้ และวจิ ัย กล่าวถึงข้อเท็จจริง ทฤษฎีที่ทาให้เรอ่ื งที่เสนอเปน็ เรอื่ งท่ีน่าศกึ ษา บอก ใหเ้ ห็นถึงความสาคัญของการค้นคว้าว่ามีประการใด การวิจยั เรื่องน้ีให้ประโยชน์อย่างไรบ้าง อธิบายให้ผู้อา่ น เชอ่ื ถอื ว่าผลทไ่ี ดจ้ ากการวจิ ยั จะกอ่ ประโยชนแ์ ก่ส่วนรวมอย่างใดบ้าง 2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา (Objective) ระบุถึงความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของ การศึกษาว่าต้องการพิสจู น์เรื่องอะไรหรือต้องการรู้ในเร่ืองใดบ้าง การแสดงความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ ของการศึกษาอาจกลา่ วรวม ๆ กันได้ แต่ถ้าเป็นเรื่องยาว การนามากล่าวรวมกนั อาจทาให้ผอู้ า่ นสับสัน ดังนั้น ควรระบุเป็นข้อ ๆ ให้ชัดเจน และจดั ลาดับใหด้ ี 3. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เป็นการบอกถึงผลที่คาดว่าจะได้รับ หลังจากทาการศึกษาศิลป นพิ นธ์คร้งั น้ีเสรจ็ สิ้นลง โดยผลที่ได้จะสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงคข์ องการทาศลิ ปนพิ นธ์

ตวั อยา่ งคู่มือศิลปนิพนธ์ 5 4. ขอบเขตการศึกษา (Scope or delimitation of the study) เป็น การระบุ ว่า การศกึ ษานนั้ จะทาในเรือ่ งอะไร มขี อบเขตกว้างหรือแคบเพียงใด คอื บ่งใหช้ ัดว่าจะศึกษาอะไร แคไ่ หน เพยี งใด จะเว้นไมศ่ ึกษาในเรื่องใด เพ่ือเป็นการ “ยก” หรอื “แยก” การศึกษาที่ต้องการทาโดยเฉพาะออกมาให้เห็น เดน่ ชัด 5. ข้ันตอนการศึกษา (Process of the study) เป็นการบอกให้ทราบว่าการศึกษานี้มีกี่ ข้นั ตอน อะไรบ้าง โดยทว่ั ไปจะประกอบดว้ ยขนั้ ตอนต่อไปน้ี 5.1 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู จากเอกสารท่เี ก่ยี วขอ้ ง 5.2 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ภาคสนาม 5.3 การวิเคราะห์ขอ้ มูล 5.4 การสรุปผลการศกึ ษา 5.5 การเสนอแนะ 6. ขอ้ ตกลงเบ้ืองต้น (Assumption) เป็นการกล่าวให้ทราบวา่ การศึกษานี้ยึดถืออะไรเป็น เง่ือนไข 6.1 ความจากัดของการศึกษา (Limitation of the study) ระบุถึงกรณีหรือตัวแปรท่ี ควบคุมไม่ได้ เชน่ ขอ้ จากัดของระยะเวลา งบประมาณ หรอื ตัวแปรอ่นื ๆ 7. คาจากัดความที่ใช้ในการศึกษา (Definition) หมายถึงกรณีท่ีกาหนดหรือนิยามหรือ ศพั ท์เฉพาะขึ้นมาเพ่ือประโยชนใ์ นการศึกษาค้นควา้ น้ันโดยเฉพาะ ถา้ เป็นศัพท์ท่ีไม่แพรห่ ลาย เช่น ศพั ท์ทาง วชิ าการ (Technical term) ควรอธบิ ายไว้ 8. คาศัพทท์ างวิชาการให้ใส่คาทีใ่ ช้ในการศกึ ษาที่ภาคผนวก บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวจิ ยั ท่เี ก่ียวขอ้ ง เป็นการศึกษาเพ่ือค้นหาข้อมูลท้ังทางด้านเอกสารและด้านภาคสนาม เพ่ือนาข้อมูลมาใช้อ้างอิงใน การทาศิลปนพิ นธ์ การค้นคว้าขอ้ มูลภาคเอกสาร เป็นการรวบรวมข้อมูลท่ีเกย่ี วข้องกบั ศลิ ปนิพนธ์ที่ทา โดย ศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ ตารา วารสาร งานวิจยั วิทยานิพนธ์ หนังสือพิมพ์ Internet และเอกสารอ่ืน ๆ เพ่ือ ทราบทฤษฎี แนวคดิ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั เรื่องท่ที า การค้นคว้าข้อมูลภาคสนาม เป็นการรวบรวมข้อมูลจากภายนอก เน้นที่ตัวบุคคล กลุ่ม บคุ คล รวมถึงผลงานศิลปะประเภทต่าง ๆ โดยใช้วิธีการทีเ่ หมาะสมกบั การทาศลิ ปนพิ นธ์ เชน่ การสังเกต การ สัมภาษณ์ แบบสอบถาม การรวบรวมผลงานศลิ ปะและศิลปประยุกต์ การรวบรวมข้อมูลจากการทดลองและ การสรา้ งสรรค์ บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน กลา่ วถงึ ขั้นตอนในการทางานศลิ ปนพิ นธ์ ทัง้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ัติงาน การดาเนินงานด้านทฤษฎี หมายถึง วิธกี ารค้นคว้าข้อมลู ภาคเอกสารและภาคสนาม แลว้ นาข้อมูล เหล่านัน้ มารวบรวม วเิ คราะห์ เพอ่ื เปน็ แนวทางในการทางานศลิ ปนพิ นธ์ การดาเนินงานในด้านปฏิบัติ หมายถึง การปฏิบัติงานศิลปนิพนธ์ แนวทางการสร้างสรรค์และ พฒั นา เชน่ การร่างแบบ การขยายแบบ การเขียนภาพระบายสี หรือการสรา้ งชนิ้ งาน ตลอดจนผลงานสาเร็จ ว่ามีขั้นตอนอย่างไร ในวิธีการดาเนินงานควรเสนอ แผนการดาเนินงานใหอ้ ยู่ในรปู แผนภูมิดว้ ย ก็จะเป็นการ นาเสนอวิธกี ารดาเนินงานทท่ี าความเข้าใจได้งา่ ยและมองเห็นภาพชดั เจนข้นึ

ตัวอยา่ งคู่มอื ศิลปนิพนธ์ 6 บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ งาน นาผลการศึกษา ผลการสร้างสรรค์ หรือการพัฒนาผลงานศิลปนิพนธม์ ากล่าว โดยอธิบายการ สรา้ งสรรค์ผลงานของตนทัง้ เน้ือหา ความเชื่อ รปู แบบ กลวิธี และอื่น ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง บทที่ 5 สรุป อภิปราย และขอ้ เสนอแนะ สรปุ เปน็ การสรปุ ภาคความรแู้ ละผลงานสาเร็จ อภิปราย เป็นการอธิบายการสรา้ งสรรค์ผลงาน โดยเชอื่ มโยงกับขอ้ มูลในบทที่ 2 ข้อเสนอแนะ กล่าวถึงการนาผลที่ได้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์เพ่ือปรับปรุงแก้ไขสภาพการณ์ท่ี เป็นอยใู่ นปัจจบุ ันให้ดีขน้ึ อย่างไร ข้อเสนอแนะเก่ียวกบั การศึกษา การสรา้ งสรรคใ์ นขั้นต่อไป หรือขอ้ เสนอแนะ ให้มีการค้นคว้าเกย่ี วกับปัญหานี้ในแง่อ่ืน หรือศิลปนพิ นธ์มขี ้อบกพร่องอะไรบา้ ง และวิธีขจัดความบกพร่องน้ี ถ้ามีผูส้ นใจทาเร่ืองท่คี ลา้ ยคลึงกัน รปู แบบการทาศลิ ปนพิ นธ์ในอนาคต 2. สว่ นประกอบในเนอื้ หา เปน็ ส่วนทสี่ อดแทรกอยูใ่ นเนอ้ื หาตง้ั แตต่ ้นจนจบ แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. ตาราง (Table) 2. ภาพประกอบ (Figure) 3. สว่ นอา้ งองิ (Citation) 1. ตาราง (Table) เปน็ การเสนอข้อมลู อยา่ งมีระบบวธิ หี น่ึง ขอ้ แนะนาบางประการในการสร้าง ตารางมดี ังนี้ 1.ตารางท่ีดีต้องแสดงความสัมพันธ์ระหวา่ งขอ้ มูลต่าง ๆ อยา่ งงา่ ย ๆ รดั กุม แต่ละตาราง ควรเสนอความคดิ หลักทีส่ าคัญอยา่ งเดียว มีรูปแบบทส่ี มบูรณ์ เข้าใจงา่ ย สะดวกแกก่ ารศึกษา ตารางควรจะ อธิบายความสมั พนั ธข์ องข้อมูลไดด้ ว้ ยตัวเองอย่างสมบรู ณ์ ทาให้ผอู้ า่ นเข้าใจไดอ้ ยา่ งดีโดยไมต่ อ้ งอา่ นคาอธบิ าย 2.ตารางทุกตารางจะต้องมีช่ือกะทัดรัด เข้าใจง่ายและมีหมายเลขกากับ เรียงหมายเลข ตามลาดบั ตง้ั แต่ตารางท่ี1 จนถึงตารางสดุ ท้าย ตารางควรอยูใ่ กล้กับข้อความท่กี ลา่ วอ้างถึงข้อมูลในตารางให้ มากที่สดุ เพอ่ื ผูอ้ า่ นจะได้เขา้ ใจและสามารถพิจารณาตารางประกอบการศกึ ษาวเิ คราะห์ได้สะดวก 3.ขนาดของตารางควรพอเหมาะกับหน้ากระดาษ 4.เสน้ ต่าง ๆ ในตารางควรใช้เท่าทจ่ี าเปน็ เพื่อชว่ ยให้ตารางอ่านง่ายข้ึน 5.ในกรณีทต่ี ้องอ้างอิงแหลง่ ท่มี า หรอื ตอ้ งอธบิ ายขอ้ ความบางตอนในตาราง ใหจ้ ดั ไวท้ ่ี ดา้ นล่างของตาราง 2. ภาพประกอบ (Figure) เป็นส่ิงท่ีเสริมศิลปนิพนธ์ให้มีความสมบูรณ์หรือเข้าใจง่ายขึ้น ภาพประกอบแบ่งออกได้หลายประเภท อาทิเช่น ภาพถ่าย แผนภูมิ แบบจาลอง แผนผัง แผนที่ ภาพเขียน ภาพลายเสน้ กราฟแผ่นภาพและโฆษณา เป็นตน้ ช่วยให้ผอู้ า่ นมคี วามเข้าใจศิลปนพิ นธน์ ้นั ดยี ่ิงข้ึน เพราะภาพ จะช่วยกระตุ้นความสนใจและช่วยอธิบายเร่ืองราวท่ีเก่ียวข้องได้ชัดเจน ข้อค วรคานึงถึงในการเสนอ ภาพประกอบมดี ังน้ี 1. เลอื กภาพท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั เนอื้ หาของเรอ่ื งทจี่ ะกล่าวถึง และสามารถช่วยแสดงให้ผู้อ่าน เกดิ ความเข้าใจในเน้อื หาสาระได้ดขี ้นึ อย่างแทจ้ ริง 2. เลอื กภาพทชี่ ัดเจนไมเ่ ลือนลาง ขนาดพอเหมาะไม่เลก็ หรอื ใหญ่เกินไป 3. ภาพประกอบต้องมหี มายเลขกากับทุกภาพ

ตวั อยา่ งคู่มือศลิ ปนิพนธ์ 7 3. สว่ นอ้างอิง (Citation) หมายถึง ส่วนท่ีแจง้ แหล่งทม่ี าของข้อความและข้อมลู ประเภทตา่ งๆ ทก่ี ล่าวอ้างหรอื อ้างอิง เพื่อใหผ้ ู้อา่ นสามารถตรวจสอบหรืออาจค้นควา้ เพมิ่ เติมได้ สงิ่ ท่ีจะต้องอ้างอิงในเน้อื หา ได้แก่ 1. อญั พจน์ (Quotation) คอื ขอ้ ความทค่ี ดั มาจากขอ้ เขียนของผู้อนื่ โดยตรงมาอา้ งองิ ไว้ ในงานเขยี นของตน เพ่ือช่วยเพิม่ คุณคา่ และนา้ หนกั ของเนือ้ หาในศิลปนพิ นธน์ ้นั ๆ ไม่จาเปน็ วา่ ขอ้ ความที่คดั มา นัน้ จะต้องคดั มาเพ่ือการสนบั สนนุ แตป่ ระการเดยี ว อาจคัดมาเพือ่ วิพากษว์ จิ ารณ์ ขยายความ หรือนามาอ้างอิง ก็ได้ โดยปกติการคัดข้อความจากต้นฉบับ หนังสือ หรือเอกสารท่ีอ้างถึงโดยตรงเพ่ือ วตั ถปุ ระสงคข์ า้ งต้นตอ้ งกระทาอย่างสมเหตุสมผล ไมพ่ ร่าเพร่อื จนเกินไป กลา่ วคือจะคดั ขอ้ ความมาโดยตรงใน กรณีที่ข้อความนั้นมีลักษณะคมคายชวนให้คิด หรือเป็นข้อความสาคัญที่ผู้เขียนศิลปนิพนธ์ไม่ส ามารถสรุป ความหรอื ถอดความมาเป็นสานวนของผู้เขียนเองได้ หรือทาได้ไม่ดีเท่าของเดมิ หรอื ผ้เู ขียนต้องการทีจ่ ะรกั ษา รูปแบบของข้อความเดิมไว้ เช่น ข้อความท่ีเป็นคาพูดหรือความคิดเห็น ข้อความจากจดหมาย สานวน กฎหมาย ทฤษฎี เปน็ ต้น การคัดข้อความมาโดยตรง ควรเป็นข้อความที่มีความยาวไม่มากจนเกินไป ท่ีสาคัญต้อง รกั ษารูปแบบการเขียนตามต้นฉบับเดิมไว้ทุกประการ ถ้ามีการละเว้นข้อความ ต้องใส่จุดสามจุด (…) เป็น เครื่องหมายคั่นไว้ ใสอ่ ัญพจนน์ ้นั ไวใ้ นเครอื่ งหมายอญั ประกาศ หากเป็นอัญพจนท์ ม่ี คี วามยาวไม่เกิน 3 บรรทดั ซง่ึ สามารถจะพมิ พต์ ่อจากเนื้อหาได้โดยไม่ต้องขึน้ บรรทัดใหม่ การอา้ งอิงโดยวธิ ีคดั ขอ้ ความมาโดยตรงหรอื อัญ พจน์ดงั กล่าวมาน้ี ต้องแจง้ แหล่งทม่ี าของอัญพจนท์ กุ ครั้ง 2. ขอ้ ความทเ่ี ป็นความคิดริเรมิ่ หรือแนวคิดที่ปรากฏในหนงั สอื และเอกสารตา่ ง ๆ ทีท่ า ศลิ ปพนธ์ได้ใช้เป็นแนวทางในการศึกษาค้นคว้าและได้ยกมากล่าวอ้างหรืออ้างอิง โดยวธิ ีสรุปความหรือถอด ความ หรือวิเคราะห์ข้อความ การอ้างถึงแหล่งท่ีมาของข้อความตามข้อ 2 นี้ ไม่ต้องใส่เคร่ืองหมาย อัญประกาศเม่ือจบขอ้ ความท่ีอ้าง แตต่ อ้ งแจง้ แหล่งทมี่ าของสว่ นอ้างองิ นโี้ ดยใชก้ ารอา้ งอิงแบบแทรกในเน้อื หา: ระบบนาม-ปี คือ วิธกี ารอา้ งอิงท่ีระบุนามผู้แต่งและปีท่ีพิมพ์แล้วกากับด้วยเลขหน้าที่อ้างอิงจากเอกสารนั้น การอ้างองิ แบบแทรกในเน้ือหาน้ี จะใช้เพ่ือแจง้ ทีม่ าของขอ้ มลู ต่าง ๆ และอัญพจนเ์ ทา่ นัน้ ตอนท่ี 3 ส่วนประกอบตอนทา้ ย ส่วนประกอบตอนท้ายประกอบดว้ ยส่วนต่าง ๆ ซ่ึงเรยี งลาดบั ดงั ต่อไปนี้ 1. บรรณานุกรม (Bibliography) 2. ภาคผนวก (Appendix) 1. บรรณานกุ รม (Bibliography) คือรายช่ือหนังสือหรือเอกสารอ้างอิง ทน่ี ามาใช้ในการเขียนศิลปนิพนธ์ ดังน้นั บรรณานุกรมจึง เปน็ ทร่ี วบรวมหลักฐานของเอกสารท้ังที่ได้รับการอ้างอิง และที่ผู้เขียนใชศ้ กึ ษาค้นคว้าในการเสนอศิลปนิพนธ์ โดยเลือกเอาเฉพาะท่ีเห็นว่าสาคัญและจาเป็นในอันที่จะเอื้อประโยชน์แก่ผู้อ่านท่ีประสงค์จะค้นคว้าเพม่ิ เติม จากหนงั สอื เอกสารท่อี า้ งองิ ไว้

ตัวอย่างคู่มือศิลปนิพนธ์ 8 2. ภาคผนวก (Appendix) คอื ส่วนทีไ่ มใ่ ช่เนื้อหาแทจ้ รงิ แต่เก่ียวเนือ่ งโดยตรงกับเรอ่ื งท่เี ขียนศิลปนพิ นธ์ เป็นรายละเอยี ดที่ น่าสนใจ แต่ไม่สามารถแสดงไวไ้ ดค้ รบถว้ นในสว่ นเนือ้ หาของศิลปนพิ นธ์ จงึ นามารวบรวมไว้เปน็ หมวดหมูเ่ สนอ ไว้ตอนท้ายของศิลปนิพนธ์ เพ่ือประโยชนส์ าหรบั ผู้ประสงค์จะอา่ นและศึกษาในรายละเอยี ด เช่น อภิธานศพั ท์ ตาราง ซึ่งแสดงรายละเอยี ดมากเกินกว่าท่ีจะบรรจุไวใ้ นเน้ือเรื่องได้ ข้อความที่เกยี่ วกับวธิ ีการทางเทคนคิ หรือ แบบสอบถามต่าง ๆ เป็นตน้ สาเนาเอกสารทห่ี ายาก บทศกึ ษาเฉพาะกรณที ี่ค่อนขา้ งยาว ไมส่ ามารถบรรจุไว้ใน เนื้อเรื่องได้ ภาพหรือข้อความประกอบท่ีมีขนาดใหญ่หรือยาวมาก การยกเว้นความมาอ้างอิงที่มีความสาคัญ แต่มีขนาดยาวมาก ถ้าหากในภาคผนวกมีหลายเร่อื ง ควรแยกและจดั ลาดับโดยตัวเลขหรือตวั อักษร เช่น ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข เปน็ ตน้ ภาคผนวกแตล่ ะเรื่องจะมีชื่อหรอื ไมม่ ีกไ็ ด้ ประวัตนิ กั ศึกษาเป็นการเสนอประวัตยิ อ่ เกย่ี วกบั ผเู้ ขยี นศลิ ปนพิ นธ์ โดยระบชุ อื่ ชือ่ สกลุ / คานาหนา้ ชื่อ ยศ สงั กดั (เขียนเตม็ )/ วฒุ กิ ารศึกษา/ สถานศึกษา / ปีท่ีสาเรจ็ การศึกษา ผลงาน / ทนุ ที่ไดร้ บั ระหวา่ งการศกึ ษา (ยกเวน้ ทุนอดุ หนนุ การทาศิลปนิพนธใ์ ห้ใส่ไว้ในหนา้ กติ ตกิ รรมประกาศ) การพิมพศ์ ิลปนพิ นธ์ ในการพิมพ์ศลิ ปนิพนธ์ภาคเอกสาร นักศึกษาตอ้ งศกึ ษาข้อกาหนดและรูปแบบการพมิ พศ์ ิลปนพิ นธ์ ตามคมู่ ือการพิมพศ์ ิลปนพิ นธ์ โดยมีรายละเอยี ดดังต่อไปนี้ 1. กระดาษทีใ่ ช้ ใหใ้ ชก้ ระดาษ A4 ขนาด 80 แกรม พมิ พ์เพยี งหน้าเดยี ว ใช้ตัวอกั ษรสีดา 2. การวางรปู หนา้ กระดาษ การเว้นระยะหา่ งจากรมิ กระดาษ ใหเ้ วน้ ระยะหา่ ง ดังนี้ - ดา้ นบน และดา้ นซา้ ยมือ เว้นหา่ งจากริมกระดาษ 1½ นว้ิ (3.80 ซม.) - ดา้ นลา่ ง และดา้ นขวามอื เว้นหา่ งจากริมกระดาษ 1 นิ้ว (2.50 ซม.) - หน้าแรกของแต่ละบทใหเ้ ว้นระยะจากรมิ กระดาษด้านบน 2 นวิ้ (5.00 ซม.) 3. ตัวพิมพแ์ ละระยะบรรทัด การพมิ พ์ให้เป็นแบบเดียวกนั ตลอดเลม่ โดยใช้ตวั อักษรแบบ TH SarabunIT9 ในกรณีจาเป็นให้ ใช้ตัวพิมพ์ขนาดเลก็ ลงตามความเหมาะสม ช่อื บทหรอื หน้าสาคัญใชต้ วั อักษรขนาด 20 พอยท์หนา หัวเรื่อง ขนาด 16 พอยทห์ นา เน้อื หาขนาด 16 พอยท์ การเว้นระยะบรรทัด ให้เป็นแบบเดียวกันตลอด โดยท่ัวไปเว้นห่างกัน 1 บรรทัดพิมพ์ หรือ 1 ENTER บรรทดั ระหวา่ งเน้อื หาและหัวขอ้ ใหญ่ เวน้ 1 บรรทัด 4. การลาดับหน้า การลาดับหน้าในส่วนประกอบตอนต้น ให้ใช้ตัวอักษร ก ข ค ง … โดยเร่ิมนับหน้าปกใน ภาษาไทยเป็นหนา้ ก แต่จะไม่พิมพ์เลขหน้า ใหเ้ ริม่ พมิ พท์ ีห่ นา้ บทคัดย่อภาษาไทย การลาดบั หนา้ ในส่วนประกอบตอนกลางและสว่ นประกอบตอนท้าย ให้เริ่มนับต้ังแต่หนา้ แรกของ บทที่ 1 เป็นหน้า 1 จนถึงหน้าสดุ ทา้ ยของสว่ นประกอบตอนทา้ ย หนา้ สาคัญ หมายถึง หน้าแรกของบท หน้าแรกของบรรณานุกรม หนา้ แรกของภาคผนวก ไม่ต้อง ใส่เลขกากับ แต่ใหน้ บั จานวนหน้ารวมไปดว้ ย

ตวั อย่างคู่มือศิลปนิพนธ์ 9 5. การพิมพ์เลขหน้า ให้พิมพ์เลขหน้าที่มุมบนขวามือตรงแนวขอบหน้ากระดาษด้านขวาห่างจากขอบกระดาษด้านบน 0.5 น้ิว 6. การแบง่ บท หัวข้อและย่อหน้า 6.1 เมอ่ื เร่ิมบทใหม่จะตอ้ งข้ึนหนา้ ใหมเ่ สมอ โดยพิมพ์ “บทท่ี…” กลางหน้ากระดาษ พมิ พ์ช่อื บทใน บรรทดั ต่อมา ชื่อบทที่ยาวเกนิ 1 บรรทัดให้พิมพเ์ รียงลงมาในลักษณะสามเหล่ียมกลบั หัว 6.2 การแบง่ หัวขอ้ 6.2.1 การแบ่งหัวข้อในแต่ละบทแบ่งเป็นหวั ขอ้ ใหญ่ หัวข้อรอง หัวข้อย่อย และหัวข้อย่อย สดุ ท้าย ข้นึ อย่กู บั ความเหมาะสมของเนอ้ื หาและลาดบั การนาเสนอ 6.2.2 การใช้ตวั เลขกากบั หัวขอ้ ให้ใช้ตัวเลขและจดุ ทศนยิ มตามลาดบั 6.2.3 หัวข้อควรพิมพ์ด้วยอักษรตัวเข้ม โดยพิมพ์หัวข้อใหญ่ที่ชดิ ขอบกระดาษด้านซ้ายมือ หวั ขอ้ รองให้ย่อหน้าเขา้ ไป 8 ระยะตัวอกั ษร หัวขอ้ ย่อยให้ย่อหน้าเขา้ ไปอกี 3 ระยะตวั อักษร 6.3 การย่อหน้า การยอ่ หนา้ ในเนื้อหาและบรรทดั แรกของเชิงอรรถ ใหเ้ วน้ 8 ระยะตวั อกั ษรจาก ขอบกระดาษดา้ นซ้ายมอื 7. การอ้างอิง การอ้างองิ มี 2 รปู แบบ คือ การอ้างองิ แบบเชงิ อรรถ และการอา้ งองิ แบบแทรกในเน้อื หา 7.1 การอา้ งองิ แบบเชิงอรรถ ใหใ้ ช้กับเชงิ อรรถเสริมความและเชงิ อรรถโยง เชงิ อรรถเสรมิ ความ (Content footnotes) จะทาได้ในกรณที ี่ประสงคจ์ ะอธบิ ายหรอื ขยาย ความสิง่ ทอี่ ย่ใู นเน้อื หา โดยแยกส่วนท่เี สรมิ ความออกมาต่างหาก ตวั อย่างเชิงอรรถเสรมิ ความ …โดยสว่ นผสมของนา้ ประสานทองมีดังน้ี เร่ิมจากนาทองคาบริสทุ ธิน์ ้าหนัก 1 เฟอื้ ง ผสมทองแดง ครึง่ หุน หลอมปนกัน เมอื่ เข้ากนั ดีแลว้ ก็ท้ิงไวใ้ ห้เย็น จงึ นาตะไบแบบละเอยี ดมาถูโลหะผสมดังกลา่ วให้เป็นผง ละเอียดแลว้ จึงผสมนา้ ประสานทอง (Borax)1 ซ่ึงเป็นเกลือเคมชี นดิ หนึง่ 1 นา้ ประสานทอง (Borax) เป็นสารประกอบทางเคมีประเภทอนินทรีย์ มีชอ่ื เรยี กวา่ โซเดยี มไพโร บอเรต มีจดุ สะสมประมาณ 750 องศาเซลเซียส เชิงอรรถโยง (Cross-Reference footnotes) เปน็ การบอกให้ดรู ายละเอียดเกยี่ วกับข้อความ ท่กี ลา่ วถงึ จากส่วนอื่น ๆ ในเลม่ ตัวอยา่ งเชงิ อรรถโยง …การสานหรือการถัก ไดแ้ ก่ การนาเส้นลวดทองมาสานและเช่อื มต่อ ๆ กัน หรือนาลวดทอง ขนาดเล็กมาทาเป็นห่วงแล้วสานและถักกันตามแบบของลวดลายทองแต่ละชนิด มักจะใช้ในการทาทอง ประเภทสร้อยขดั มนั สร้อยสเี่ สา สร้อยหกเสา สรอ้ ยสมอเกลยี ว1… 1 ดเู พ่ิมเติมหน้า 74

ตัวอย่างคู่มือศิลปนิพนธ์ 10 การพิมพ์เชิงอรรถ ให้พิมพ์ไว้ที่ด้านล่างของแต่ละหน้าท่ีมีเชิงอรรถ โดยขีดเส้นยาวจากริม ขอบกระดาษด้านซ้ายมือยาว 1½ นิ้ว ค่ันระหว่างเนื้อหากับเชิงอรรถ ส่วนเชิงอรรถให้ย่อหน้า 8 ระยะ ตวั อักษร และลาดับต้งั แต่ 1 ใหมใ่ นแต่ละหนา้ 7.2 การอา้ งองิ แบบแทรกในเนอื้ หา การอ้างองิ แบบแทรกในเนื้อหาระบบนามปี เปน็ การอ้างอิงเพ่ือให้ผู้อ่านทราบท่ีมาของแหล่ง อา้ งอิงโดยย่อ และต้องมรี ายการสมบูรณ์ ปรากฏอยูใ่ นบรรณานุกรมทา้ ยเล่มเสมอ รปู แบบ (ช่อื ผ้แู ตง่ /ปที พ่ี ิมพ์:/เลขหน้า) ตาแหนง่ 1. ตน้ ข้อความ วัฒนะ จูฑะวิภาต (2535: 169) กล่าวถึงแนวทางในการอนุรักษ์และสืบทอดการทา ทองรูปพรรณของช่างสกุลเพชรบุรวี ่า ควรอนุรักษ์การทาทองรูปพรรณในสภาพและรปู แบบเดิม โดยการเก็บ รวบรวมทองรูปพรรณแบบต่าง ๆ ให้ครบถ้วนตลอดจนบันทกึ วิธีการทาไว้เป็นหลักฐานและเผยแพร่ คลอบาส (Klobas 1995: 97-110) ได้อธิบายเก่ียวกับการประเมินคุณภาพสารสนเทศ วา่ … 2. ทา้ ยขอ้ ความ ปัจจุบันช่างจีนได้พยายามทาตามแบบตาบโบราณ แต่ลวดลายและความลึกของการวาง ลวดลายบนตาบแตกต่างจากช่างทองของคนไทย (วัฒนะ จฑู ะวภิ าต 2535: 147) หากเป็นการสรปุ แนวคิดจากเนอ้ื หาทงั้ เอกสาร ไม่ต้องระบเุ ลขหนา้ หากไมป่ รากฏเลขหน้า ใช้คาว่า ไม่ปรากฏเลขหน้า หรือ n.pag. ตวั อย่างการอา้ งองิ แบบแทรกในเนอื้ หา ผแู้ ต่ง 1 คน (วนั ชยั ศิริชนะ 2539: 19-23) (Louise 1998: 273) ผแู้ ตง่ 2 คน (ศรีศักด์ิ จามรมานและกนกวรรณ วอ่ งวัฒนะสนิ 2541: 20-25) (Edwards and Browne 1995: 196-182) ผแู้ ตง่ 3 คน (ชัยวฒั น์ ปญั จพงษ์, สุรีย์ กาญจนวงศ์ และจารณุ ี นะวโิ รจน์ 2524: 9-11) (Hardesty, Lovich and Monnon 1979: 309-312) ผแู้ ต่งมากกว่า 3 คน (แสวง วฒั นมงคลมาศ และคณะ 2528: 7-9) (Norton et. al. 1995: 14-21) ผู้แตง่ ท่มี ฐี านันดรศักด์ิ (สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา สยามบรมราชกมุ ารี 2541: 9-14) ผู้แตง่ ท่มี บี รรดาศกั ดิ์ (พระยาอนมุ านราชธน 2510: 21-25) ผู้แตง่ ที่มสี มณศกั ด์ิ (พระราชวรมุนี 2518: 82) ผู้แต่งทเี่ ปน็ สถาบนั (สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล 2544: 32-35) ผแู้ ต่งคนเดียวเขียนเอกสาร- (วุฒชิ ัย มลู ศิลป์ 2525ก: 24-27) หลายเล่มพิมพป์ เี ดียวกนั (วุฒชิ ยั มลู ศลิ ป์ 2525ข: 65) ผูแ้ ตง่ หลายคน เอกสารหลายเรอื่ ง- (มรกต กลุ ธรรมโยธนิ 2537: 56-58 ; สมใจ บุญศริ ิ 2528: 23-26; ต้องการอา้ งอิงพรอ้ มกัน อธปิ ัตย์ คล่ีสุนทร 2540: 42-43) (Dickinson 1994: 15; Klnegel 1995: 123-151)

ตัวอย่างคู่มือศิลปนิพนธ์ 11 ไม่ปรากฏช่ือผแู้ ตง่ (ลลิ ติ พระลอ 2448: 3-9) สัมภาษณ์ (ทกั ษิณ ชนิ วตั ร, สมั ภาษณ์) สไลด์ (สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, สไลด์) ตน้ ฉบับตัวเขยี นและจดหมายเหตุ (กรมศลิ ปากร กองจดหมายเหตุ 2405) 8. ข้อความทค่ี ดั มาอา้ งอิงหรืออัญประกาศ 8.1 การพมิ พ์ขอ้ ความท่คี ัดมาอ้างองิ โดยตรง ทม่ี คี วามยาวไม่เกนิ 3 บรรทดั ใหพ้ มิ พ์ตอ่ ไปใน เน้ือหา และใส่เครือ่ งหมายอญั ประกาศ (“….”) กากบั 8.2 การพิมพ์ข้อความท่ีคัดมาอ้างอิงโดยตรง ท่ีมีความยาวเกิน 3 บรรทัด ให้ขึ้นบรรทัดใหม่ โดย ยอ่ หน้าเข้ามา 4 ระยะตัวอกั ษรทั้งด้านซ้ายและด้ายขวาของทกุ บรรทดั ไม่ต้องใสเคร่ืองหมายอัญประกาศ แล้วอ้างองิ ทีม่ าโดยการอา้ งอิงแบบแทรกในเนอ้ื หาระบบนาม-ปี 9. ตาราง แผนภูมิและภาพประกอบ 9.1 เลขกากบั และช่อื ตาราง ใหพ้ ิมพค์ าวา่ “ตารางที่…..” ดา้ นบนของตาราง แล้วลาดบั เลขตามจานวนตาราง 9.2 แหลง่ อ้างองิ ของตาราง ให้ลงแหลง่ อา้ งองิ ท่ีไดต้ ารางนนั้ มา โดยพมิ พไ์ ว้ใต้ตารางนัน้ 9.3 ขนาดของตาราง ตารางไม่ควรมขี นาดใหญเ่ กินหนา้ กระดาษ สาหรบั ตารางขนาดใหญ่ ควรลดขนาดโดยใช้ เคร่ืองถ่ายย่อสว่ นหรือวิธอี ื่น ๆ ตามความเหมาะสม สาหรับตารางท่ีกวา้ งเกินกวา่ ความกว้างของหน้ากระดาษ แนวตัง้ อาจจัดใหส้ ว่ นบนของตารางหนั เขา้ หาขอบซ้ายของหน้ากระดาษ 9.4 แผนภมู แิ ละภาพประกอบ ใหใ้ ช้แนวปฏิบตั ิเดยี วกัน โดยใช้คาวา่ “แผนภูมทิ ี่…” หรือ “ภาพที่…” 10.ภาคผนวก (Appendix) หน้าแรกของภาคผนวก ใหข้ ึน้ หนา้ ใหม่มีคาวา่ ภาคผนวก อยกู่ ่ึงกลางหน้ากระดาษ กรณมี ีภาคผนวกมากกว่า 1 ภาคผนวก ในหน้าถดั ไปให้พิมพภ์ าคผนวก ก ตรงกลางห่างขอบบน 2 น้ิว บรรทัดต่อมาให้พิมพ์ช่ือภาคผนวก เว้น 2 บรรทัด แล้วพิมพ์ข้อความต่อไปน้ี หากมีหลาย ภาคผนวก ใหข้ ึ้นหนา้ ใหม่ทกุ ภาคผนวก เรยี งลาดับอกั ษร คอื ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค … 11.บรรณานุกรม (Bibliography) การพิมพ์บรรณานกุ รม ใหพ้ ิมพ์คาว่า “บรรณานุกรม” ไว้กง่ึ กลางหน้ากระดาษ ในหนา้ ถดั ไปเร่ิมพิมพ์บรรณานุกรมแต่ละ รายการโดยพมิ พ์ชดิ ขอบกระดาษด้านซา้ ย ถ้าไม่จบใน 1 บรรทดั ให้ย่อหน้า 8 ระยะตัวอกั ษร แล้วพมิ พ์ ตอ่ ไปจนจบรายการ 11.1 การจดั เรียงลาดบั ให้เรียงตามลาดับอักษรรายการแรก โดยจัดเรียงบรรณ านุกรมภาษาไทยก่อน ภาษาต่างประเทศ 11.2 การลงรายการบรรณานกุ รม 1. ช่อื ผแู้ ต่ง

ตัวอยา่ งคู่มือศลิ ปนิพนธ์ 12 1.1 ผู้แต่งชาวไทย ให้ลงชื่อและนามสกุล โดยไม่ต้องใส่คานาหน้าชื่อได้แก่ นาย นาง น.ส. ตาแหน่งทางวิชาการ เช่น ดร. ศ. รศ. ผศ. หรือ คาระบุอาชีพ เช่น นายแพทย์ ทนายความ ยกเว้นคา หน้าท่ีเป็นฐานันดรศักดิ์ และบรรดาศกั ด์ิ ให้ลงต่อจากชอื่ และนามสกุล โดยใช้เคร่อื งหมายจุลภาค ( , ) คั่น สว่ นผู้ท่มี ีสมณศกั ด์ิ ให้ลงตามปกติ อบุ ล ตจู้ นิ ดา คึกฤทธิ์ ปราโมช, มรว. ประดษิ ฐ์ไพเราะ, หลวง เปรม ติณสลู านนท์, พลเอก พระพิศาลธรรมวาที 1.2 ผู้แต่งชาวต่างประเทศ ใหใ้ ช้ชื่อสกลุ คัน่ ด้วยเคร่ืองหมายจุลภาค ( , ) ตามด้วยช่ือ ต้น และช่ือกลาง (ถ้ามี) Domer, Peter Marcus, George H. 1.3 ผู้แต่ง 2 คน เช่อื มดว้ ยคาวา่ “และ” หรอื “and” ชวลิต คาบแก้ว และสภุ าวดี เหมทานนท์ Sandford, J. and Clements, B. 1.4 ผู้แต่ง 3 คน หนังสือภาษาไทยใส่ช่ือผู้แต่งคนแรก คัน่ ด้วยเคร่อื งหมายจุลภาค ( , ) ใสช่ อ่ื ผ้แู ตง่ คนทส่ี องเชอ่ื มดว้ ยคาวา่ “และ” ตามดว้ ยชื่อผูแ้ ต่งคนทสี่ าม หนังสือภาษาอังกฤษ ใส่เคร่ืองหมายจุลภาค ( , ) หลังผแู้ ต่งคนแรกและคนที่สอง ตามด้วยคาวา่ “and” 1.5 ผแู้ ต่งมากกวา่ 3 คน ให้ใส่ช่ือผู้แตง่ คนแรกและตามด้วยคาว่า “และคนอ่ืน ๆ” หรอื “and others” 1.6 ผู้แต่งท่เี ป็นหน่วยงาน หน่วยงานทางราชการ ให้ใชช้ ่ือหน่วยงานระดบั กรม สาหรับ หน่วยงานรฐั วิสาหกิจหรอื เอกชน ให้ใช้ตามทป่ี รากฏ กรมศิลปากร สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล คณะศิลปกรรม การทอ่ งเท่ยี วแหง่ ประเทศไทย 1.7 ผู้แต่งที่เป็นผู้รวบรวม บรรณาธิการให้ใส่คาว่า ผู้รวบร วม หรือ comp. บรรณาธิการ หรอื ed. หรอื eds. ไว้ทา้ ยชอื่ ผู้แต่ง 1.8 ผู้แตง่ ทใี่ ช้นามแฝง ให้ใช้นามแฝงน้นั น. ณ ปากน้า 1.9 กรณีไมป่ รากฏชอื่ ผแู้ ต่ง ใหใ้ ช้ชอ่ื เรอ่ื งหรอื รายการถัดไป ลลิ ิตพระลอ. พระนคร : โรงพิมพไ์ ทย, 2458. 1.10 หนังสือแปล ให้ใช้ชอื่ ผู้แต่งเดิม และลงช่อื ผแู้ ปลต่อจากชื่อเร่อื ง

ตวั อย่างคู่มือศิลปนิพนธ์ 13 สตีเวนสัน, วิลเลียม. 2536. นายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระ. แปลจาก A Man called Intrepid โดย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ภูมพิ ลอดุลยเดช. พิมพ์ครั้งท่ี 4. กรุงเทพฯ : อมรินทรพ์ รน้ิ ต้ิงแอนด์ พบั ลชิ ช่ิง. 1.11 ผู้แต่งคนเดียวกันแต่งหนังสือหลายเล่ม และนามาอ้างอิงหลายเล่ม ให้ขีด เสน้ ตรงยาว 7 ระยะตวั อักษร ในรายการผแู้ ตง่ ของเลม่ ถัดไป 2. ปีที่พิมพ์ ให้ลงเฉพาะตัวเลขของปีท่ีพิมพ์ กรณีไม่ปรากฏปีท่ีพิมพ์ ให้ใส่ ม.ป.ป. (ไมป่ รากฏปีที่พิมพ์) หรอื n.d. (no date) 3. ช่อื เร่ือง ให้ลงช่ือเรื่องตามท่ีปรากฏในหน้าปกใน สาหรับภาษาอังกฤษ ให้ใช้ตัวอักษร พิมพ์ใหญ่ขึ้นต้นทุกคา ยกเว้นคาบุพบท คาสันธาน คานาหน้านาม ซึ่งไม่ใช่คาแรกของชื่อเร่ือง พิมพ์ด้วย ตัวหนาหรอื ขีดเสน้ ใต้ 4. ครั้งที่พิมพ์ ใสต่ ้งั แตก่ ารพมิ พค์ ร้ังที่ 2 เป็นต้นไป เช่น พิมพ์ครั้งท่ี 2 พมิ พค์ รั้งท่ี 3 สิง่ พมิ พ์ภาษาต่างประเทศ ใช้ 2nd ed. 3rd ed. 4th ed. 5. สถานที่พิมพ์ ให้ระบุช่ือเมอื งหรือจังหวดั ท่สี านักพิมพ์ต้งั อยู่ ถา้ ไม่ปรากฏชอื่ ใส่ ม.ป.ท. (ไม่ปรากฏสถานที่พมิ พ์) หรอื n.p. (no place) 6. สานักพิมพ์ ให้ลงชื่อสานักพิมพ์ ถ้าเป็นส่ิงพิมพ์ของหน่วยราชการให้ใช้ชื่อหน่วย ราชการ ถา้ ไม่มีรายการสานักพิมพ์และหน่วยราชการใหใ้ ส่โรงพิมพ์ กรณีไม่ปรากฏสานกั พมิ พ์ ใส่ ม.ป.ท. หรือ n.p. กรณไี ม่ปรากฏทง้ั สถานทพี่ ิมพ์ และสานกั พมิ พ์หรือโรงพิมพ์ ใส่ ม.ป.ท. หรอื n.p. ครงั้ เดยี ว

ตวั อยา่ งคู่มอื ศิลปนิพนธ์ 14 วิธเี ขยี นบรรณานกุ รม 1. หนงั สือ หนังสอื ภาษาไทย ชอ่ื / ช่อื สกลุ . / / ปที ี่พิมพ์. / / ชือ่ เร่อื ง. / / คร้ังทีพ่ มิ พ.์ / / สถานทีพ่ มิ พ์ / : / ผู้รับผดิ ชอบ / / / / / / / ในการพมิ พ์. หนงั สือภาษาตา่ งประเทศ ช่ือสกุล, / ชือ่ ตน้ / ชื่อกลาง (ถา้ มี). / / ปที ่ีพมิ พ์. / / ชื่อเรอื่ ง. / / คร้ังท่ีพิมพ.์ / / เมอื งทพ่ี มิ พ์ / : / / / / / / / / ผ้รู ับผิดชอบในการพมิ พ์ ผูแ้ ตง่ 1 คน พรสนอง วงศ์สงิ ห์ทอง. 2545. วธิ วี ิทยาการวิจยั การออกแบบผลิตภณั ฑ์. กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. Heskett, J. 1993. Industrial Design. London : Thames and Hudson. ผแู้ ตง่ 2 คน พรทวี พึง่ รศั มี และจรัล หาญสืบสาย. 2537. สาระน่ารู้เรอื่ งกระดาษพมิ พ์. กรงุ เทพฯ : ด่าน สทุ ธาการ พิมพ์. Morrison, John and Twyford, John. 1996. Design : Capability and Awareness. Singapore : Longman Singapore. ผู้แตง่ 3 คน เบญจา แสงมลิ, เรืองอุไร กศุ ลาสัย และล้วน ควันธรรม. 2530. เพลงเดก็ และวธิ เี ล่นประกอบ.พมิ พค์ รง้ั ที่ 4. กรุงเทพฯ : องคก์ ารคา้ คุรสุ ภา. Jacobson, D., Eggen, P. and Kauchak, D. 1981. Method of Teaching. Ohio : Merrill. ผู้แตง่ มากกวา่ 3 คน ธดิ า ชมภูนชิ และคนอ่ืน ๆ. 2526. ความเขา้ ใจในศลิ ปะ. กรุงเทพฯ : กรงุ สยามการพมิ พ์. Auboyer, Jeannine and others. 1979. Oriental Art : A Handbook of Style and Form. London : Faber and Faber. ผู้แต่งเปน็ หนว่ ยงาน ราชบณั ฑติ ยสถาน. 2530 พจนานกุ รมศัพท์ศลิ ปะองั กฤษ-ไทย. กรุงเทพฯ : เพอ่ื นพิมพ.์ The Arts Council of Great Britain. 1964. The Arts of Thailand. Great Britain : The Arts Council of Great Britain.

ตัวอย่างคู่มอื ศิลปนิพนธ์ 15 ผแู้ ตง่ เป็นบรรณาธกิ าร ผู้รวบรวม สมหวงั พริ ิยานุวฒั น์, บรรณาธิการ. 2541. รวมบทความทางวธิ ีวิทยาการวจิ ยั เลม่ 2. กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . Fenerna, Joyo Van, ed. 1996. Southeast Asian Art Today. Australia : Craftsman House. ผู้แตง่ ใชน้ ามแฝง น. ณ ปากน้า. 2531. ความเขา้ ใจในศลิ ปะ. กรงุ เทพฯ : เมอื งโบราณ. ไม่ปรากฏช่อื ผู้แตง่ พจนานุกรมศพั ทศ์ ลิ ปะ : ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน. 2525. กรงุ เทพฯ : อกั ษรเจริญทัศน์. Encyclopedia Americana. 1990. Connecticut : Grolier. หนงั สอื แปล บุษกสนิ ฤกษะเมช, ผ้แู ปล. 2539. อนิ เทอร์เนต็ และเวลิ ด์ ไวด์เว็บเขา้ ใจง่ายสไตล์ 3 มิติ. กรุงเทพฯ : ซเี อ็ด ยเู คช่ัน. บทความในสารานุกรม ชอื่ ผแู้ ต่ง. / / ปที ีพ่ มิ พ์. / / “ชือ่ บทความ.” / / ชอื่ สารานุกรม. / / เล่มที่ / : / เลขหน้า. สธุ ิวงศ์ พงศไ์ พบูลย์. 2529. “ไตรหวั หงส.์ ” สารานกุ รมวฒั นธรรมภาคใต้ พ.ศ.2529. 4 : 1394. บทความในหนังสอื ชื่อผเู้ ขยี นบทความ. / / ปีทีพ่ ิมพ์. / / “ชอ่ื บทความ.” / / ใน ชอ่ื หนงั สอื . หน้า / / ชือ่ บรรณาธกิ าร. / / / / / / / (ถ้ามี) เมืองทพ่ี ิมพ์ :/ สานกั พมิ พ์. เกษร ธิตะจารี. 2535. “ความคดิ สร้างสรรค์.” ใน ศลิ ปศกึ ษา-ศกึ ษาศิลปะ. หน้า 39-44. สนั ติ คุณ ประเสริฐ และสมใจ สิทธชิ ัย, บรรณาธิการ. กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . วทิ ยานพิ นธ์ ชื่อผ้แู ต่ง. / / ปีที่พมิ พ์. / / ชอ่ื เรอ่ื ง. / / ระดบั วทิ ยานิพนธ์ / ช่ือสาขาหรือภาควิชา / คณะ / / / / / / / / ช่ือมหาวิทยาลัย ธนา เหมวงษา. 2544. การพัฒนาจิตรกรรมสีน้ามัน : กรณีศึกษากระบวนแบบและกลวธิ ีจากภาพผลงาน จติ รกรรมของกุสตาฟ คลิมท์. วทิ ยานิพนธ์ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทศั นศลิ ป์ : ศลิ ปะ สมยั ใหม่ บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทร วโิ รฒ. รทุ ธ ประวัง. 2544. การพัฒนาแหล่งวทิ ยาการในรูปของไฮเปอรม์ ีเดียสาหรบั การเรียนในวิชาสุนทรยี ภาพ ของชีวิต (ทางทัศนศิลป์). วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่. วารสาร ชอื่ ผูแ้ ตง่ . / / ปที ่ีพิมพ์. / / “ชอื่ บทความ.” / / ช่ือวารสาร. / ปีที่, ฉบับท่ี / (เดือน) / : เลขหน้าที่

ตัวอยา่ งคู่มือศิลปนิพนธ์ 16 / / / / / / / ปรากฏบทความ. สุรชัย จงจติ งาม. 2545. “ทวารบาลลายรดนา้ วิหารลายคา วัดพระสิงห.์ ” เมอื งโบราณ. 28, 4 (ตุลาคม- ธนั วาคม) : 10-32. Kaufman, Paulu T. 1992. “Information Incompetence.” Library Journal. 117, 11 (November) : 37-39. หนงั สือพิมพ์ ช่อื ผู้แต่ง. / / ปที ีพ่ มิ พ์. / / “ชอื่ บทความ.” / / ชือ่ หนงั สอื พมิ พ์. / (วนั ท่ี เดอื น) / : หนา้ ท่ีปรากฏ / / / / / / / บทความ. หน่มุ ดิจิตอล. 2546. “คา่ ยเพลงคกึ คักรบั รงิ โทน.” ไทยรัฐ. (19 มกราคม) : 8. “ศธ. จับมือมาเลย์ชว่ ยกนั สอนภาษา” 2546. เดลินวิ ส์. (13 มกราคม) : 14. เอกสารไมเ่ ป็นรปู เล่ม เชน่ สจู บิ ตั ร แผน่ พบั แผน่ ปลิว โฆษณา ช่ือผจู้ ดั ทา. / / ปที พ่ี มิ พ์. / / ชือ่ เรอ่ื ง. / / [ประเภทของเอกสาร]. / สถานทพ่ี มิ พ์ : สานกั พมิ พ์. สวุ ฒั น์ แสนขตั ิ. 2545. สนุ ทรยี ะทางจิตวญิ ญาณ. [สจู บิ ตั ร]. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์เทนเดอร์ ทชั . องคก์ ารโทรศัพท์แหง่ ประเทศไทย. 2543. คูม่ อื บรกิ ารพิเศษชุมสายระบบ SPC. [แผ่นพบั ]. กรงุ เทพฯ : กอง เอกสารประชาสมั พนั ธ์ องคก์ ารโทรศัพทแ์ หง่ ประเทศไทย. การสมั ภาษณ์ ชื่อผ้ใู หส้ มั ภาษณ์. / / ปีท่สี ัมภาษณ์. / / ตาแหน่ง (ถา้ มี). / / สัมภาษณ์, / วนั / เดือน. อศั นยี ์ ชอู รณุ . 2546. คณบดคี ณะศลิ ปกรรม. สัมภาษณ์, 9 มกราคม. โสตทัศนวสั ดุ ชื่อผู้จัดทา. / / ปีทผ่ี ลิต. / / ชอ่ื เรอื่ ง. / / [ลกั ษณะของโสตทัศนวัสดุ] / ชื่อเมือง / : / ผจู้ ัดทา. ธนบรรณ. 2542. สยามจดหมายเหตุ. [ซดี -ี รอม] กรงุ เทพฯ : โปรเกรส. สารนเิ ทศอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ผู้แตง่ . / / ปที ผ่ี ลติ . / / ชอื่ เร่อื ง. / / [ประเภทของส่ือ]. / / รายละเอยี ดทางการพมิ พ์ (ถ้ามี). / / / / / / / / / เข้าถงึ ไดจ้ าก / : / แหลง่ สารนเิ ทศ. Aikat, Debashis. 1995. Adventure in Cyberspace : Exploring the Information Contant of World Wide Web Pages on the Internet. [CD-ROM]. Abstract from ProQuest File : Dissertation Abstracts Item : 9600582. สารนิเทศจากฐานข้อมลู ออนไลน์ ผ้แู ตง่ . / / ปีทผ่ี ลิต. / / ชื่อเรอื่ ง. / / [ประเภทของสือ่ ]. / / รายละเอยี ดทางการพิมพ์ (ถ้ามี). / / / / / / / / / เขา้ ถึงได้จาก / : / แหลง่ สารนเิ ทศ./ / (วันท่คี ้นข้อมลู / : / วนั / เดอื น / ป)ี .

ตัวอย่างคู่มอื ศลิ ปนิพนธ์ 17 Ray, Kathryn and Day, John. 1998. Student Attitudes Towards Electronic Information Resources. Information Research [Online]. 4, 2 (October). Available : http : //www.shef.ac.uk/ris/publications/infres/paper54. html. (1999, 14th October) 1. ผูแ้ ต่ง ชื่อเรื่อง และรายละเอียดทางการพิมพ์ให้ใช้หลักเกณฑใ์ นการเขียนบรรณานุกรมตาม วัสดสุ ารนิเทศประเภทต่าง ๆ 2. ประเภทของสื่อให้ระบุว่าเป็น [ออนไลน์] หรอื [ซีดี-รอม] สาหรบั วัสดุสารนิเทศภาษาไทย และ [Online] หรอื [CD-ROM] สาหรบั วัสดุสารนเิ ทศภาษาอังกฤษ 3. รายละเอียดทางการพิมพ์ ให้นาวัน เดือน ปี ที่พิมพ์/ผลิต มาใส่ไว้ในวงเล็บตอ่ จากช่ือผู้แต่ง สาหรับวัสดุสารนิเทศทุกประเภท เนือ่ งจากสารนิเทศจากสื่ออิเล็กทรอนกิ ส์มคี วามหลากหลาย สารนเิ ทศบาง ประเภทอาจไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดทางการพิมพ์ ให้ระบุแหล่งสารนิเทศที่ใช้ค้นต่อจากรายการ ประเภทของส่อื 4. ในการระบุแหล่งที่ใช้ค้นสารนิเทศ ให้ใช้คาว่า “เข้าถึงได้จาก :” สาหรับวัสดุสารนิเทศ ภาษาไทยส่วนวัสดุสารนิเทศภาษาอังกฤษใช้คาว่า “Available :” ในกรณีที่สารนิเทศที่ค้นได้เป็นเพียง บทคดั ย่อหรือสาระสังเขป (abstract) ไมใ่ ช่ฉบับเตม็ ให้ใช้คาวา่ “บทคัดย่อจาก :” หรอื “Abstract from :” แทนคาว่า “เข้าถึงได้จาก” และ “Available :” ตามลาดับ ท้ังน้ีให้ระบุรายละเอียดท่ีจาเป็นแก่การเข้าถึง แหลง่ ขอ้ มลู ไดแ้ ก่ 4.1 สารนิเทศจากอินเทอร์เน็ตให้ระบุโปรโตคอลต่าง ๆ เชน่ http, ftp, telnet, gopher ตาม ด้วย directory และชอ่ื file ทีจ่ าเปน็ ในการค้นคนื ข้อมูลนั้น ๆ 4.2 สว่ นฐานข้อมูลออนไลน์และฐานข้อมูลซีดี-รอม ให้ระบวุ ่าค้นจากบริษัทใด ฐานข้อมูลใด และควรระบุชอื่ ไฟล์และเลขประจาระเบียน (accession number) ไวด้ ว้ ย 5. การอ้างอิงสารนิเทศจากฐานข้อมูลออนไลน์และอินเตอร์เน็ตให้ระบุวันท่ีค้นข้อมูล (Access date) ไว้ด้วยเป็นรายการสุดท้าย ท้ังนี้เพราะฐานข้อมูลออนไลน์และอินเตอร์เน็ตมีการแก้ไขเพ่ิมเติม เปล่ยี นแปลงขอ้ มลู ตลอดเวลา

ตัวอย่างคู่มอื ศลิ ปนิพนธ์ 18 2 ……………. 2 ………. (ช่ือเรอ่ื งศิลปนิพนธ์) (ภาษาไทย) (ภาษาอังกฤษ) 1.5 (ช่อื - นามสกลุ ) 1 ศลิ ปนพิ นธน์ ้เี ปน็ สว่ นหนึ่งของการศกึ ษาตามหลกั สตู รศลิ ปบณั ฑติ สาขาวชิ า............................................ภาควชิ า................................... วิทยาลัยเพาะชา่ ง มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร์ ปีการศกึ ษา .................................... 1

หวั ขอ้ ศลิ ปนิพนธ์ ชื่อผทู้ าศิลปนพิ นธ์ ปีการศึกษา การออกแบบภาพประกอบหนงั สือเรื่องเจา้ หงิญ พรสวรรค์ สมบตั ิทิพย์ 2553 ตัวอย่างคู่มอื ศิลปนิพนธ์ 19 ตวั อยา่ งสนั ปก

2 ตัวอย่างคู่มอื ศลิ ปนิพนธ์ 20 รูปแบบปกใน ชือ่ เรอ่ื งศลิ ปนพิ นธ์ (ภาษาไทย)…………………………….. ………………………………………………… ………………………………….. 1.5 ช่ือ-สกุล 1.5 ศิลปนพิ นธน์ ้เี ปน็ ส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลกั สตู รศลิ ปบณั ฑติ สาขาวิชา.................................. ภาควชิ า......................................... วทิ ยาลัยเพาะช่าง มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร์ ปีการศกึ ษา ............................. 1

2 ตวั อยา่ งคู่มือศลิ ปนิพนธ์ 21 THE THESIS TITLE………………………………………………….. ……………………………………….. 1.5 NAME ………………………………………….. 1 The Art Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements For Bachelor Degree of Fine Arts Major in Visual Communication Design Department of Design POH-CHANG ACADEMY OF ARTS Rajamangala University of Technology Rattanakosin 2xxx 1

ตวั อย่างคู่มือศลิ ปนิพนธ์ 22 2 ตัวอย่างหนา้ อนุมตั ิ ///// วิทยาลยั เพาะชา่ ง มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสินทร์ อนุมตั ิใหน้ บั ศิลปนพิ นธ์ เรอื่ ง…………………………………………………………………………………………… เสนอโดย (นาย, นางสาว)……………………………รหัสนกั ศกึ ษา.................................. เปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศกึ ษาตามหลักสตู รศลิ ปบณั ฑิต สาขาวชิ า........................... (เว้น 2 บรรทดั ) ผคู้ วบคุมศลิ ปนิพนธ์ .............................................. คณะกรรมการสอบศิลปนพิ นธ์ …………………………………….ประธานกรรมการ 1.5 (……………………………………) 1 วนั ที่…….เดือน…………..พ.ศ…….. ……………………………………..กรรมการ (…………………………………….) ………/……….../……………. ……………………………………..กรรมการ (…………………………………….) ………/……….../……………. (ลงชื่อ)………………………………. (………………………………………) ผูอ้ านวยการวิทยาลัยเพาะชา่ ง วนั ที่……เดอื น…………….พ.ศ……… 1

ตัวอย่างคู่มือศลิ ปนิพนธ์ 23 หัวขอ้ เรอื่ ง ............................................................................................................... ............................................................................................................... นักศกึ ษา .................................................... รหสั นกั ศึกษา .................................................... อาจารย์ทป่ี รกึ ษา ...................................................................................... หลักสูตร ศลิ ปบัณฑติ สาขาวิชา………………………………….ภาควชิ า................... วิทยาลัยเพาะชา่ ง มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสินทร์ ปีการศกึ ษา ………………………………. บทคัดย่อ โครงการออกแบบ........................................................................................... .................... ...................................................................................นาเสนอผลงานภาพประกอบจานวน xx ภาพ ออกแบบ ......................................... ได้ดาเนินงานค้นคว้าข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง ท้ังภาคทฤษฏี และภาคปฏิบัติ นา มา วิเคราะห์ข้อมูล สร้างแนวความคิด ร่างภาพ และออกแบบ...................................... ตามหลักการ ...........................โดยใช้องค์ประกอบศิลป์ เทคนิคทาง.............................. มาช่วยในการตกแต่งภาพ พบว่า ด้านการพมิ พ์ .....................................................................มีความเหมาะสม ดา้ น..........................................มี ความเหมาะสม เนอื่ งจาก..................................................... และรูปแบบเหมาะสมสอดคล้องกับกลมุ่ เป้าหมาย มคี วามชัดเจน ดึงดดู ความสนใจ................................................. .............................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................

ตัวอยา่ งคู่มือศิลปนิพนธ์ 24 Topic: Project Design.......................................................................................................... Title: ......................................................................................................................... Name: ................................................ Student ID: 000 000 000 000 Adviser: Asst.prof. Srisuda Songklor Degree:Bachelor Degree of Fine Arts Major in ............................................................. POH-CHANG ACADEMY OF ARTS Rajamangala University of Technology Rattanakosin Year: ............................................................... Abstract

ตวั อยา่ งคู่มือศิลปนิพนธ์ 25 กิตตกิ รรมประกาศ การฝึกปฏบิ ัตเิ ฉพาะบคุ คลฉบับนเี้ สร็จสมบรู ณ์ดว้ ยดี ขา้ พเจ้าขอกราบพระคณุ ........................... ...................................................................................................................................................... ขอกราบขอบพระคุณ ..........................................ผู้ซ่ึงเป็นแม่ และทุกคนในครอบครัวเปน็ กาลังใจที่ สาคัญ เป็นเบ้อื งหลงั ของความสาเรจ็ ในการศึกษา ซึ่งไดช้ ่วยเหลอื ให้คาปรึกษาในงานการทาศิลปนิพนธ์ และ คา่ ใชจ้ ่ายครง้ั น้ี ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ ถ่ายทอดวิชาช้ันเยี่ยมแด่ศิษย์คนน้ี อาจารย์ทุกท่านในหลักสูตรศิลปบัณฑิตวิทยาลัยเพาะช่าง รู้สึกซาบซ้ึงในความเมตตาปราณี แนะแนวการ ดาเนนิ ชวี ิตตลอดจนทางออกแหง่ การเพิ่มพูนทางปัญญา ตลอดหลกั สตู ร ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ทป่ี รึกษา ...............................ผู้ซึง่ ให้คาแนะนาให้คาที่ปรึกษา ข้อคิด สร้างสรรคต์ า่ งๆอนั ทรงคุณคา่ และมีประโยชน์ต่อการศกึ ษา ขอบคุณเพื่อนๆ ทุกคนที่คอยให้คาปรึกษาและคาแนะนาในทุกๆเร่ือง และไดฟ้ ันฝ่าอุปสรรคในการ เรียน ท้ายที่สุดขอบคุณตนเอง ท่ีฝ่าฟันอุปสรรค-ปัญหาที่เกิดข้ึน สอนให้คิด-หาวิธแี ก้ไขตลอดเวลา เป็น ช่วงเวลา 4 ปี ทม่ี ีคา่ มากท่สี ดุ กาลังใจต่างๆ ท่ที ุกคนมใี ห้คือพลงั และแรงกดดนั ท่ีทาให้ได้มวี นั น้ี ................................................ มกราคม ...................

สารบัญ ตัวอย่างคู่มอื ศิลปนิพนธ์ 26 หนา้ บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดยอ่ ภาษาอังกฤษ กติ ติกรรมประกาศ สารบัญ สารบญั ภาพ บทที่ 1. บทนา - ความเปน็ มาหรอื ความสาคัญของปญั หา - วัตถุประสงค์ของการศกึ ษา - ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั - ขอบเขตการศึกษา - ขัน้ ตอนการศึกษา - ข้อตกลงเบอื้ งต้น - นยิ ามศพั ท์ 2. แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยทีเ่ ก่ยี วข้อง - ……………………………………………………. - ……………………………………………………. - ……………………………………………………. - ……………………………………………………. - ……………………………………………………. - ……………………………………………………. - ……………………………………………………. - ……………………………………………………. - …………………………………………………….

สารบัญ (ต่อ) ตัวอยา่ งคู่มอื ศิลปนิพนธ์ 27 หน้า บทที่ - งานวจิ ัย - งานวิจยั 3. วธิ กี ารดาเนินงาน - ค้นคว้าและรวบรวมขอ้ มลู - วเิ คราะหข์ ้อมลู - ดาเนินการสร้างสรรค์ - นาเสนอผลงาน 4. ผลการดาเนนิ งาน 5. สรปุ อภิปรายและข้อเสนอแนะ - สรปุ - อภิปราย - ข้อเสนอแนะ บรรณานกุ รม ภาคผนวก ประวตั ิผศู้ กึ ษา

2 ตัวอยา่ งคู่มือศลิ ปนิพนธ์ 28 สารบัญภาพ หนา้ ภาพที่

ตวั อยา่ งคู่มอื ศลิ ปนิพนธ์ 29 2 บทท่ี 1 (รูปแบบหนา้ ชอ่ื บท) ช่ือบท เว้น 1 บรรทดั กกกกกกกกข้อความ (ใช้ 8 ระยะตัวอักษร)............................................................... …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… (เวน้ 1 บรรทัด) หวั ขอ้ ใหญ่ (เว้น 1 บรรทัด) / / / / / / / / / ขอ้ ความ............................................................................................... …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… 1 ½  …………………………………………………………………………………………… 1 …………………………………………………………………………………………… (เวน้ 1 บรรทดั ) หวั ข้อใหญ่ (ตวั อักษรเขม้ //ชิดขอบกระดาษ) (เวน้ 1 บรรทดั ) / / / / / / / / / ข้อความ (ใช้ 8 ระยะตวั อกั ษร)........................................................................ …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… / / / / / / / / / หวั ขอ้ รอง (ใช้ 8 ระยะตวั อกั ษร)..................................................................... …………………………………………………………………………………………… กกกกกกกกขขข หวั ข้อย่อย (ใช้ 8 ระยะตัวอกั ษร + 3 ระยะตวั อกั ษร)........................................... …………………………………………………………………………………………… 1

ตวั อยา่ งคู่มือศิลปนิพนธ์ 30 2 (รูปแบบหนา้ ช่ือบท) บทท่ี 2 ชื่อบท เว้น 1 บรรทดั กกกกกกกกข้อความ (ใช้ 8 ระยะตวั อักษร)............................................................... …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… (เวน้ 1 บรรทดั ) หวั ข้อใหญ่ (เว้น 1 บรรทัด) / / / / / / / / / ขอ้ ความ............................................................................................... …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… 1 ½  …………………………………………………………………………………………… 1 …………………………………………………………………………………………… (เว้น 1 บรรทดั ) หวั ข้อใหญ่ (ตวั อักษรเขม้ //ชดิ ขอบกระดาษ) (เว้น 1 บรรทดั ) / / / / / / / / / ขอ้ ความ (ใช้ 8 ระยะตัวอักษร)........................................................................ …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… / / / / / / / / / หัวข้อรอง (ใช้ 8 ระยะตวั อักษร)..................................................................... …………………………………………………………………………………………… กกกกกกกกขขข หวั ขอ้ ยอ่ ย (ใช้ 8 ระยะตวั อกั ษร + 3 ระยะตวั อกั ษร)........................................... …………………………………………………………………………………………… 1

ตัวอย่างคู่มอื ศิลปนิพนธ์ 31 2 (รปู แบบหน้าช่ือบท) บทท่ี 3 ช่อื บท เว้น 1 บรรทดั กกกกกกกกข้อความ (ใช้ 8 ระยะตัวอักษร)............................................................... …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… (เวน้ 1 บรรทดั ) หวั ข้อใหญ่ (เว้น 1 บรรทัด) / / / / / / / / / ขอ้ ความ............................................................................................... …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… 1 ½  …………………………………………………………………………………………… 1 …………………………………………………………………………………………… (เว้น 1 บรรทดั ) หวั ข้อใหญ่ (ตวั อักษรเขม้ //ชดิ ขอบกระดาษ) (เว้น 1 บรรทดั ) / / / / / / / / / ขอ้ ความ (ใช้ 8 ระยะตัวอกั ษร)........................................................................ …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… / / / / / / / / / หัวขอ้ รอง (ใช้ 8 ระยะตวั อักษร)..................................................................... …………………………………………………………………………………………… กกกกกกกกขขข หวั ขอ้ ยอ่ ย (ใช้ 8 ระยะตัวอักษร + 3 ระยะตวั อกั ษร)........................................... …………………………………………………………………………………………… 1

ตวั อย่างคู่มือศิลปนิพนธ์ 32 2 (รูปแบบหนา้ ช่ือบท) บทที่ 4 ชื่อบท เว้น 1 บรรทดั 1½  1 ภาพผลงานสร้ างสรรค์ 4 บรรทัด ภาพที่ 1 ช่ือภาพ..................................................................................................................... ประเภทของสื่อ.......................................................................................................... ขนาด (ขนาด.......นว้ิ x……..น้วิ ) เทคนิค ................................................................................................................... ข้อเสนอแนะจากกรรมการผู้ตรวจ................................................................................ 1

ตัวอยา่ งคู่มือศิลปนิพนธ์ 33 2 (รูปแบบหนา้ ช่อื บท) บทที่ 5 ชอ่ื บท เว้น 1 บรรทดั กกกกกกกกข้อความ (ใช้ 8 ระยะตัวอักษร)............................................................... …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… (เว้น 1 บรรทัด) หัวข้อใหญ่ (เวน้ 1 บรรทัด) / / / / / / / / / ขอ้ ความ............................................................................................... …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… 1 ½  …………………………………………………………………………………………… 1 …………………………………………………………………………………………… (เว้น 1 บรรทดั ) หวั ข้อใหญ่ (ตัวอักษรเข้ม//ชดิ ขอบกระดาษ) (เวน้ 1 บรรทดั ) / / / / / / / / / ขอ้ ความ (ใช้ 8 ระยะตวั อักษร)........................................................................ …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… / / / / / / / / / หวั ขอ้ รอง (ใช้ 8 ระยะตวั อักษร)..................................................................... …………………………………………………………………………………………… กกกกกกกกขขข หัวข้อยอ่ ย (ใช้ 8 ระยะตัวอักษร + 3 ระยะตวั อักษร)........................................... …………………………………………………………………… 1

ตัวอย่างคู่มือศลิ ปนิพนธ์ 34 ประวัติผู้ศึกษา รปู 1 น้ิว ชอ่ื ………………………………….. ภมู ลิ าเนาเดมิ ………………………………………………………………………… วัน เดือน ปี เกดิ ………………………………………………………………………... การศึกษา ………………………………………………………………………… สถานศกึ ษา …………………………………………………………………………. ปที ี่สาเรจ็ การศกึ ษา …………………………………………………………………………. ประสบการณ์ …………………………………………………………………………. ………… ………………………………………………………………………… ………… …………………………………….. ………… ………… ………………………………………………………………………….. รางวัลเกยี รตยิ ศ ………………………………………………………………………….. ………… ………… ………………………………………………………………………….. ………… ………………………………………………………………………….. ………… ………… ………………………………………………………………………….. ………… ………………………………………………………………………….. ………… ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………..

ตวั อย่างคู่มอื ศิลปนิพนธ์ 35 ภาคผนวก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook