ก บทสรปุ สำหรับผ้บู รหิ าร นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 เป็นช่วงวัยของนักเรียนเป็นวัยที่กำลังแข็งขันกัน เพ่อื สอบเข้าเรียนในมหาวทิ ยาลัยหรือประกอบอาชีพ และอาชพี ทหารเปน็ อีกทางเลือกหน่ึงที่นักเรียน สามารถนำไปคิดและวางแผนการเรียนตอ่ ในอนาคต ในการพัฒนาการเรียนการสอนนั้น ประกอบด้วยปัจจัยที่สำคัญหลายด้านด้วยกัน โดย โรงเรยี นมกี ารสง่ เสรมิ ให้ผูเ้ รยี นมีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ในเร่ืองของการมีวนิ ัยและความรับผิดชอบ ในการเรียนและวางแผนเพื่อศึกษาต่อในระดับสูง ทางนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยพะเยา ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเรียนต่อในด้านสายอาชีพทหาร และเพื่อเป็นการ สร้างแรงบันดาลใจในการเดินทางสายทหาร จึงได้ขอความอนุเคราะห์รุ่นพี่ทหาร ซึ่งเป็นศิษย์เกา่ ของ โรงเรียนเขา้ มาแนะแนว และเล่าประสบการณใ์ นการเปน็ ทหาร โครงการพี่(ทหาร)พบน้อง สนองแผนงานที่ 2 ส่งเสริมทักษะทางวิชาชีพ สนองยุทธศาสตร์ สพม.38 ยุทธศาสตร์ที่ 1 หลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน สพฐ ยุทธศาสตร์ที่ 1 หลักสูตร และกระบวนการเรียนการสอน สนองยุทธ์ศาสตร์กระทรวงศึกษาธกิ ารยุทธศาสตร์ท่ี 1 หลักสูตรและ กระบวนการเรยี นการสอน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รียน ตวั ชี้วดั ท่ี 2.5 ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการ ของผเู้ รยี นและ ระยะเวลาดำเนินโครงการระหวา่ งเดือนธนั วาคม – เมษายน 2564
ข บัดนี้ได้ดำเนินโครงการเสร็จสิ้นแล้ว ผลการดำเนินงาน พบว่า โครงการพี่(ทหาร)พบน้อง บรรลตุ ัวช้วี ดั ดงั นี้ วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ผลการดำเนินงาน สภาพความสำเรจ็ และตัวชี้วดั ความสำเรจ็ ของโครงการ บรรลุ ไมบ่ รรลุ ✔ วตั ถปุ ระสงค์ ✔ ✔ 1. เพอื่ แนะแนวการเขา้ ศึกษาตอ่ สถาบนั ทผ่ี ลติ ผลจากการวิเคราะห์แบบสอบถาม พบว่า ✔ นายทหารใหก้ ับนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาตอน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สนใจที่จะ ✔ ปลาย ศกึ ษาตอ่ ในด้านนายทหาร 2. เพอื่ เปิดโอกาสให้นกั เรียนไดส้ นทนาซักถาม นักเรยี นทีส่ นใจท่ีจะศึกษาต่อในด้านนายทหาร จากผมู้ ปี ระสบการณ์ทางดา้ นทหาร เข้ารว่ มกลุ่ม facebook สำหรบั สอบถาม และ ขอคำชแ้ี นะตา่ ง ๆ จากรุ่นพีศ่ ิษย์เก่าที่เปน็ ทหาร 3. เพื่อเป็นแรงจูงใจในการวางเป้าหมาย ผลจากการวเิ คราะหแ์ บบสอบถาม พบวา่ ทางด้านการศึกษาในอนาคต นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สนใจทีจ่ ะ ศึกษาตอ่ ในด้านนายทหาร เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ นักเรียนช้นั มัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนศรี โรงเรยี นศรนี ครจำนวน 255 คน นคร เข้ารว่ มโครงการจำนวน 228 คน เปา้ หมายเชิงคุณภาพ นกั เรียนไดร้ ับขอ้ มลู ข่าวสาร หลกั เกณฑ์ และ นักเรียนที่สนใจที่จะศึกษาต่อในดา้ นนายทหาร แนวขอ้ สอบการเข้าศึกษาต่อสถาบนั การศึกษา เขา้ รว่ มกล่มุ facebook สำหรบั สอบถาม และ ท่ผี ลิตนายทหาร ขอคำชี้แนะตา่ ง ๆ จากรุ่นพศ่ี ิษย์เก่าทเี่ ปน็ ทหาร เป้าหมายเชิงเวลา ระหวา่ งเดอื นธนั วาคม 2563 – เมษายน ดำเนินโครงการ ในชว่ งระหว่างเดอื นธันวาคม 2564 2563 – เมษายน 2564 ✔
ค ตัวช้วี ดั ความสำเรจ็ 1. นักเรยี นร่วมกิจกรรมไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 70 นกั เรยี นรว่ มกจิ กรรมคิดเป็นร้อยละ 89.41 ✔ ✔ ซ่งึ ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 70 2. นกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ได้รับคำ ผลจากการวิเคราะห์แบบสอบถาม พบว่าได้ ชแี้ นะแนวทางทเ่ี ปน็ ประโยชน์ในการเข้าศึกษา รบั คำชแี้ นะแนวทางท่ีเปน็ ประโยชนใ์ นการเขา้ ตอ่ สถาบนั การศึกษาทผี่ ลติ นายทหาร ศกึ ษาตอ่ สถาบันการศึกษาที่ผลิตนายทหาร เฉลีย่ 4.7228315789 คะแนน จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน
ง คำนำ โครงการพี่(ทหาร)พบน้องเป็นโครงการของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัย พะเยาได้ดำเนินโครงการในช่วงเดือนธันวาคม 2563 – เมษายน ๒๕๖๔ มีผู้เข้าร่วมโครงการคือ นักเรียนโรงเรียนศรีนคร จำนวน ๗๖ คน โครงการพี่(ทหาร)พบน้อง มีจุดประสงค์หลัก คือ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ในเรื่องของการมีวินัยและความรับผิดชอบในการเรียนและวางแผนเพื่อศึกษาต่อในระดับสูง ทางนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยพะเยา ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเรียนต่อใน ด้านสายอาชีพทหาร และเพื่อเป็นการสร้างแรงบันดาลใจในการเดินทางสายทหาร จึงได้ขอความ อนุเคราะห์รุ่นพี่ทหาร ซึ่งเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนเข้ามาแนะแนว และเล่าประสบการณ์ในการเป็น ทหาร นิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยพะเยา หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานผลการดำเนินโครงการฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนารูปแบบการจัดทำโครงการเพื่อ กระตุ้นใหน้ ักเรยี นวางแผนเพือ่ ศกึ ษาต่อในระดับสงู และแผนการดำเนินการจดั กจิ กรรมในการส่งเสริม การศกึ ษาในคร้งั ต่อไป นสิ ติ ฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพครู มหาวิทยาลยั พะเยา .
จ สารบัญ เน้อื หา หน้า บทสรปุ สำหรับผู้บริหาร..................................................................................................................... ก คำนำ.....................................................................................................................................................ง สารบัญ.............................................................................................................................................. จ บทท่ี ๑ บทนำ...................................................................................................................................๑ หลักการและเหตผุ ล.....................................................................................................................๑ วัตถุประสงค์ของโครงการ............................................................................................................๒ เปา้ หมายผ้รู ับผิดชอบ..................................................................................................................๒ ประโยชน์ทีจ่ ะได้รบั .....................................................................................................................๒ บทท่ี ๒ เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้อง............................................................................................3 แนวคดิ เกี่ยวกบั การแนะแนว .......................................................................................................3 ความหมายของการแนะแนว ................................................................................................. 3 ความสำคญั ของการแนะแนว ................................................................................................4 ประเภทและขอบข่ายของการแนะแนว .................................................................................5 ประโยชนข์ องการแนะแนว....................................................................................................7 ความพงึ พอใจ..............................................................................................................................8 ความหมายของความพึงพอใจ ...............................................................................................8 ความสำคัญของความพึงพอใจ.....................................................................................................8 การสร้างความพงึ พอใจ .........................................................................................................9 ลกั ษณะของการประเมนิ ความพงึ พอใจ .............................................................................. 10 การสร้างแบบสอบถามประเมินความพงึ พอใจแบบมาตรประมาณคา่ 5 ระดับ................... 11 บทท่ี ๓ วธิ ีการดำเนินงาน .............................................................................................................. 12 กลุม่ เปา้ หมาย........................................................................................................................... 12 เคร่อื งมอื ที่ใช้............................................................................................................................ 12 การแปลข้อมูล.......................................................................................................................... 12 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล.............................................................................................................. ๑๓ การวิเคราะห์ข้อมูล................................................................................................................... ๑๓ สถติ ทิ ใี่ ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล ................................................................................................. ๑๓
ฉ บทท่ี ๔ การวเิ คราะหข์ ้อมลู ............................................................................................................ ๑๕ บทท่ี ๕ สรุปและอภปิ รายผลการดำเนนิ งาน................................................................................... ๑๖ สรปุ ผลการดำเนินงาน.............................................................................................................. ๑๖ อภปิ รายผลการดำเนินงาน ....................................................................................................... ๑๖ บรรณานกุ รม.................................................................................................................................. ๑๗ ภาคผนวก....................................................................................................................................... ๑๘
๑ บทที่ ๑ บทนำ หลกั การและเหตผุ ล การให้บริการแนะแนวอย่างสมบูรณ์ นอกจากจะแนะแนวการศึกษาต่อ การให้บริการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้บริการแนะแนวอาชีพ เพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักรู้ใน ตนเองและได้รับข้อมูลอย่างหลากหลาย นำมาประยุกต์ใช้ในการปรับตัวกับบุคคล สถานที่และ สถานการณ์ต่าง ๆ อันจะนำมาซึ่งความสุขในการดำรงตนในสังคม และมีความพร้อมในการประกอบ อาชีพไดป้ ระสบความสำเรจ็ ในอนาคต การเลอื กอาชีพที่เหมาะสมกบั ความสามารถ ความสนใจ ความ ถนัดของแต่ละบุคคลมีความสำคัญอย่างยิ่ง คนที่เลือกประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับตนเองย่อมส่งผล ให้มคี วามสขุ ในการทำงานและความสำเรจ็ ในการประกอบอาชีพน้นั ๆ การแนะแนวมบี ทบาทสำคัญท่ี ช่วงสง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ผูเ้ รียนก้าวเข้าสูโ่ ลกของการมอี าชพี และทำงานได้อย่างมีคุณภาพ ทหาร คอื ผมู้ หี นา้ ที่ปกป้องอธิปไตยของชาติให้คงอยู่ คอยตรวจสอบความสงบเรียบร้อยตาม บริเวณชายแดน และปอ้ งปราบชาติอน่ื ๆ ไม่ให้รุกราน ทหารเปน็ อาชีพทเ่ี สียสละ เพื่อบ้านเมืองให้เกิด ความสงบเรยี บร้อย ไม่ใหผ้ ู้ใดมารุกรานชาติบ้านเมือง สถาบันการศึกษาต่าง ๆ ทีผ่ ลิตนายทหารให้กับ กองทัพ โดยปกติแล้วจะเปิดรับสมัครผู้ท่ีสำเร็จการศึกษาในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย เปิดรับ สมัครคัดเลือกทั้งบุคคลพลเรือน ทหารกองประจำการ ทหารกองหนุน พลอาสาสมัคร (ประจำการ) และอาสาสมคั รทหารพราน นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ที่สนใจสมคั รเข้ารับราชการทหาร หาก ได้พบปะและพูดคุยกับผูท้ ี่มปี ระสบการณ์ตรง จะช่วยให้นักเรียนได้รับแรงบันดาลใจมากขึ้น นักเรียน ไดร้ บั รูป้ ระสบการณจ์ ริงจากสนามสอบ ไดร้ ับข้อมูลมูลที่ถกู ต้อง หากมขี ้อสงสัยเก่ียวกับการสมัครเข้า รับราชการทหาร นกั เรยี นจะได้รบั คำตอบอยา่ งถูกต้อง จากเจตนารมณ์ดังกล่าว นิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูมหาวิทยาลัยพะเยา ได้เล็งเห็น ความสำคัญในการสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับนักเรียน โดยการดำเนินการจัดทำโครงการพี่ (ทหาร) พบน้อง เพื่อสร้างความสนใจและเป็นทางเลือกให้กับนักเรียนสำหรับการเข้าศึกษาต่อ สถาบันการศึกษาที่ผลิตนายทหารให้กับกองทัพ อีกทั้งเป็นสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างศิษย์เก่าของ โรงเรียนศรีนครซี่งปัจจุบันรับราชการทหาร หรือกำลังศึกษาต่อในสถาบันการศึกษาที่ผลิตนายทหาร และศิษยป์ จั จบุ นั
๒ วตั ถุประสงค์ของโครงการ 1) เพื่อแนะแนวการเข้าศึกษาต่อสถาบันการศึกษาที่ผลิตนายทหารให้กับนักเรียน ชั้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2) เพือ่ เปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นไดส้ นทนาซกั ถามจากผูม้ ีประสบการณ์ทางด้านทหาร 3) เพอื่ เปน็ แรงจงู ใจในการวางเปา้ หมายทางด้านการศึกษาในอนาคต เป้าหมายผ้รู ับผิดชอบ 1) เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนศรีนคร จำนวน 255 คน 2) เป้าหมายเชิงคุณภาพ นกั เรยี นได้รับข้อมูล ข่าวสาร หลกั เกณฑ์ และแนวข้อสอบการเขา้ ศึกษาต่อสถาบันการศึกษา ท่ีผลติ นายทหาร 3) เป้าหมายเชิงเวลา ระหว่างเดอื นธันวาคม 2563 – เมษายน 2564 ประโยชน์ท่จี ะไดร้ ับ 1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้รับคำชี้แนะแนวทางที่เป็นประโยชน์ในการเข้าศึกษาต่อ สถาบนั การศกึ ษาท่ีผลิตนายทหาร 2) นกั เรียนไดส้ นทนา ซกั ถามข้อสงสัยตา่ ง ๆ จากผมู้ ีประสบการณ์ทางดา้ นทหาร 3) นักเรยี นมีแรงจูงใจในการวางเปา้ หมายทางด้านการศึกษาในอนาคต
3 บทที่ ๒ เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กีย่ วข้อง แนวคิดเกย่ี วกบั การแนะแนว ความหมายของการแนะแนว วัชรี ทรัพย์มี (2531) ได้ให้ความหมายของการแนะแนวว่า การแนะแนวเป็นกระบวนการ ช่วยเหลอื ให้เขา้ ใจตนเองและส่ิงแวดล้อม เพื่อให้เขาสามารถเขา้ ใจตนเองได้ เป็นต้นว่า ตัดสินใจได้ว่า จะศึกษาด้านใด ประกอบอาชพี ใด หรือแก้ปญั หาอย่างไร และสามารถปรับตัวได้อยา่ งมีความสุขความ เจริญก้าวหน้าในชวี ิต ได้พัฒนาตนเองใหถ้ ึงขีดสดุ ในทุกดา้ น กรมวชิ าการ (2532) ได้ใหค้ วามหมายของการแนะแนวหมายถงึ กระบวนการหน่ึงซ่ึงจะช่วย ให้นักเรียนรู้จักและเข้าใจตนเองรู้จักสภาพแวดล้อมสามารถเลือกตัดสินใจได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และสามารถปรบั ตัวเขา้ กบั สภาพแวดล้อมและสถานการณต์ ่างๆ ได้ อุษณีย์ เย็นสบาย (2534) ได้ให้ความหมายของการแนะแนวหมายถึงการชี้ช่องทาง หรือแนะแนวทางเพื่อให้ผู้ได้รับการชี้ช่องทางและแนะแนวได้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับตนเองและ แก้ปัญหาทเ่ี กดิ ขนึ้ ของตนเองได้อยา่ งเหมาะสม วนิดา แดงสภุ า (2535:17 อ้างถงึ ในอไุ ร สมุ ารธิ รรม, 2545 : 136) ได้ใหค้ วามหมายของ การแนะแนวหมายถงึ กระบวนการของบริการซึ่งจดั ข้ึนเพ่ือช่วยเหลือบุคคลให้เข้าใจและรู้จักตนเองได้ อย่างถูกต้องได้พัฒนาในทุกๆ ด้าน สามารถช่วยเหลือตนเองมีทักษะและวิจารณญาณการตัดสินใจ และแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม สามารถปรับตัวให้เข้ากับบุคคลและสิ่งแวดล้อมได้อย่างดีเพื่อบุคคล น้ันจะได้เปน็ สมาชิกทด่ี ีมปี ระโยชน์ตอ่ ครอบครวั และสังคม พนมลิ้ม อารยี ์ (2548) ได้ใหค้ วามหมายของการแนะแนวไว้ 3 นัยด้วยกนั คือ ความหมายตามรูปศัพท์ การแนะแนว หมายถึง การชี้แนะการชี้ช่องทางการบอกแนวทางเพื่อช่วยให้ผู้ที่มีปัญหา ตัดสินใจแตม่ ใิ ชก่ ารแนะนำ (Advise) เพราะการแนะนำนน้ั ผู้ให้ความช่วยเหลือจะทำหน้าทเี่ ป็นผู้เลือก หรือทำหน้าที่เป็นผู้ตัดสินใจส่วนการแนะแนวนั้นผู้ให้ความช่วยเหลือหรือนักแนะแนวไม่ได้ทำหน้าท่ี เป็นผเู้ ลอื กหรือทำหน้าท่เี ป็นผูต้ ดั สินใจให้แต่ทำหนา้ ทเ่ี ป็นผู้ใหข้ ้อมูลตา่ งๆ แลว้ ให้ผู้ทม่ี ปี ัญหาทำหน้าท่ี เลอื กและตดั สินใจดว้ ยตนเอง
4 ความหมายในแงก่ ระบวนการ การแนะแนว หมายถึง กระบวนการช่วยเหลือบุคคลให้เข้าใจตนเองและโลกของตน ความหมายในแงบ่ ริการ การแนะแนว หมายถึง การบริการอย่างหนึ่งที่ทางโรงเรียนจัดขึ้นเพื่อให้ความช่วยเหลือ นักเรียนทั้งเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน เพื่อช่วยให้นักเรียนได้พัฒนา ความรู้ความสามารถของตนเองอย่างเต็มที่ สามารถเลือกและตัดสินใจได้อย่างฉลาดแก้ปัญหาต่าง ๆ ของตนเองได้อย่างเหมาะสม สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้เป็นอย่างดี สามารถดำรงตน อยู่สงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสุข สรุปได้ว่า การแนะแนวเป็นกระบวนการช่วยเหลือบุคคลให้สามารถพัฒนาตนเอง เข้าใจ ตนเอง เข้าใจสิ่งแวดล้อม สามารถเลือกตัดสินใจและปรับตัวได้อย่างฉลาดและเหมาะสม ทั้งนี้เพ่ือ พฒั นาคณุ ภาพของบคุ คลใหเ้ ป็นคนโดยสมบูรณแ์ ละได้รับความสำเรจ็ ในชวี ติ ความสำคัญของการแนะแนว พนม ลิ้มอารีย์ (2548) กล่าวว่า ความสำคัญของการแนะแนวนั้นพบว่าปัจจุบัน การแนะแนวได้เข้ามามีบทบาทในการศึกษามากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากการแนะแนวมีจุดมุ่งหมาย และหลักการที่สอดคล้องหรือเหมือนกันกับจุดมุ่งหมายของการศึกษาคือการช่วยให้เยาวชนของชาติ เป็นผู้ที่คิดเป็น ทำเป็นและแก้ปัญหาเป็น โดยเน้นให้ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมพัฒนาในทุกๆ ด้าน มุ่งสนองความต้องการและความสนใจของผเู้ รียน ดังจะเหน็ ได้จากหลักสูตรระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 และหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 ได้มีการกำหนด ให้มีกจิ กรรมแนะแนวอย่างนอ้ ย 1 คาบตอ่ สปั ดาห์ตง้ั แต่ระดบั มธั ยมศกึ ษา ปที ่ี 1 ถงึ ระดับมัธยมศกึ ษา ปีท่ี 6 และยังไดก้ ลา่ วในเกณฑก์ ารใชห้ ลกั สตู รว่า“โรงเรยี นตอ้ งจัดให้มีการบริการแนะแนวส่วนตัวแนะ แนวการเรียนและการศึกษาต่อเพื่อช่วยแก้ปัญหาให้นกั เรียนสามารถเล่าเรียนได้อย่างมีประสิทธิผล” นอกจากน้ีกิจกรรมแนะแนวท่ีจัดข้นึ ในโรงเรยี นมัธยมศึกษานัน้ หลักสตู รยังได้ระบุอีกว่า“กิจกรรมแนะ แนวที่จัดขึ้นนี้จะต้องครอบคลุมทั้ง 3 ด้านของการแนะแนวคือการแนะแนวการศึกษาการแนะแนว อาชีพการแนะแนวบคุ ลิกภาพและการปรับตวั โดยเฉพาะดา้ นความประพฤติ”
5 อุษณีย์ เย็นสบาย (2534) กล่าวว่า มนุษย์จัดเป็นทรัพยากรอย่างหนึ่งของโลก มนุษย์ จะเป็นทรัพยากรอันมีคุณค่าได้ก็ต่อเมื่อมนุษย์สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะยังประโยชน์ให้เกิดแก่ตนเองผู้อื่นและสังคมการที่มนุษย์จะทรงคุณค่าได้ตามที่กล่าวนั้น มนุษย์ ต้องได้รับการฝึกฝนมิใช่สิ่งที่กระทำกันสำเร็จได้ง่ายนักเนื่องจากสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลอย่างย่ิง ในอันที่จะทำให้ผลการพัฒนามนุษย์หันเหไปในทิศทางใดก็ได้ ดังนั้นในกระบวนการพัฒนามนุษย์ จึงต้องใส่ใจในการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมอยู่เสมอเมื่อสังคมยิ่งทวีความซั บซ้อนมากขึ้นการคิด วิธีการเพื่อพัฒนามนุษย์ก็มีมากแบบยิ่งขึ้น เพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม โดยเฉพาะอย่าง ย่ิงในปจั จบุ ัน สรุปได้ว่า ความสำคัญของการแนะแนวคือการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ของเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร เศรษฐกิจ สังคมในยุคปัจจุบันนั้นก่อให้เกิดปัญหาที่มีผลต่อสภาพจิตใจ สุขภาพกายการเรียนการท างาน การแนะแนวจะช่วยให้ผู้รับบริการมองปัญหาอย่างละเอียดและ ถูกต้องสามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้ด้วยตนเองสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้อย่าง มีความสุข ประเภทและขอบข่ายของการแนะแนว อุไร สุมาริธรรม (2545:140) ได้แบ่งการแนะแนวออกเป็น 3 ขอบข่าย คือ การแนะแนว ดา้ น การศึกษาการแนะแนวด้านอาชพี และการแนะแนวดา้ นสว่ นตวั และสังคม การแนะแนวด้านการศึกษา (Education Guidance) เป็นการแนะแนวที่จัดโดยมุ่งหวัง ให้นักเรียนประสบความสำเร็จทางการศึกษาโดยจะช่วยให้เด็กเรียนรู้ในเรื่องต่างๆ ทางการศึกษา เช่นการเลือกวิชาเรียนต่างๆ ในโรงเรียนการเลือกโปรแกรมการเรียนหรือแผนการเรียนที่เหมาะสม กับตนเองการรู้จักโลกกว้างทางการศึกษา อาทิหลักสูตรการศึกษาในระดับต่างๆ คุณสมบัติ ของผู้ที่จะเข้าศึกษาในหลักสูตรนั้นๆ ของแหล่งสถานศึกษาเป็นต้นการเรียนรู้วิ ธีการเรียน ที่มีประสิทธิภาพการแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนและการรู้จักวางแผนชีวิตด้านการศึกษา ในอนาคต
6 การแนะแนวด้านอาชีพ (Vocational Guidance) เป็นการแนะแนวที่ช่วยให้เด็กนักเรียน ได้รู้จักลักษณะอาชีพและสามารถตัดสินใจเลือกแนวทางประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับตนเองได้ รวมทั้งการเตรียมความพร้อมตนเองสำหรับการประกอบอาชีพในอนาคตซึ่งอาจจัดให้นักเรียนได้เกิด การเรียนรใู้ นเร่ืองตา่ งๆ ท่เี กย่ี วกบั อาชีพเช่น - การให้นักเรียนรู้จักโลกกว้างทางอาชีพอาทิลักษณะอาชีพประเภทต่างๆ คุณสมบัติ ของผู้ที่จะประกอบอาชีพนั้นๆ รายได้ความมั่นคงความก้าวหน้าของงานอาชีพแต่ละชนิด ตลอดจนแหล่งท่จี ะใหก้ ารฝึกฝนอบรมก่อนเขา้ สอู่ าชพี นั้นๆ - การให้นักเรียนรู้จักพิจารณาความเหมาะสมของตนกับอาชีพต่างๆ เช่นความสามารถ ความถนดั ความสนใจ และบุคลกิ ภาพของตนว่าเหมาะสมกบั อาชพี ท่ีต้องการหรอื ไม่ - การให้นกั เรียนรจู้ กั ตนเองให้พร้อมต่อการประกอบอาชพี อาทิการเตรียมดา้ นการศึกษาการ ฝึกอบรมคุณสมบัติต่างๆ ของอาชีพน้ันๆ รู้แนวทางการหางานท ามีการเตรียมพร้อมต่อการสอบ และการเข้ารับการสมั ภาษณง์ าน เป็นต้น - การให้นักเรียนรู้จักแนวทางที่จะใช้ในการปรับตัวในการท างาน และการพัฒนาตนเอง ให้มีความก้าวหน้าในการทำงาน อาทิหลักการปฏิบัติตนต่อผู้ร่วมงาน การพัฒนาบุคลิกภาพให้ เหมาะสมกบั งานการทำงานอยา่ งมคี วามสุข เปน็ ตน้ การแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม (Personal and Social Guidance) เป็นการแนะแนว ที่ช่วยให้นักเรียนเข้าใจตนเองในทุกด้านเข้าใจชีวิตรู้จักพัฒนาตนเองและสามารถปรับตั ว ต่ อ ส ภ า พก า ร ณ ์ ต ่ า ง ๆ ได ้ อย ่ า งเ ห ม า ะสม ส า ม าร ถ น ำ พา ชี วิ ต ข อง ต นเ อง ได ้ แ ละอยู่ ร ่ วม ก ั บ ผู ้อ่ืน ได้อย่างเป็นสุข ประเด็นที่จะให้การแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคมนั้นมีมากมายเพราะครอบคลุม เรื่องต่างๆ ที่จะช่วยให้บุคคลเกิดการพัฒนาตนเองให้สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ เชน่ การพัฒนาบุคลิกภาพ การจดั การกับอารมณ์อย่างเหมาะสมการปรับตวั ทางสังคม การเสริมสร้าง และรักษาสุขภาพอนามัย การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์การเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีการเลือกคู่ครอง และการดำรงชีวิตอย่างมคี วามสุข สรุปได้ว่า การแนะแนวการศึกษา มุ่งให้ผู้รับบริการ รู้จักเลือกและตัดสินใจในการวางแผน ชีวิตทางการศึกษา ความสามารถ ความถนัด และความสนใจจนประสบความสำเร็จในการศึกษา การแนะแนวอาชีพ มงุ่ ให้ผู้รับบริการรจู้ กั โลกกวา้ งทางอาชีพหรือโลกของงาน มีเจตคตทิ ่ีมีต่อสัมมาชีพ ทุกชนิด มีกิจนิสัยที่ดีในการท างาน รู้จักตัดสินใจเลือกอาชีพที่ตรงกับ สติปัญญาความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตน การแนะแนวสว่ นตัวและสังคม มุ่งให้ผู้รับบรกิ ารรู้จักพฒั นาตนเอง ทั้งร่างกายและจิตใจ หรือสามารถปรับตนให้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข รู้จักแก้ไขปัญหาเฉพาะ หนา้ ต่างๆ ได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม รู้จกั ใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ มีความคิดสรา้ งสรรค์
7 ประโยชน์ของการแนะแนว เทคโนโลยีภาคใต้ (ออนไลน์ : 2558) กล่าวว่าการบริการแนะแนวนับวา่ เป็นบริการที่สำคญั ทีเ่ กี่ยวข้องกบั การศึกษาอยตู่ ลอดเวลาบริการแนะแนวมปี ระโยชนม์ ากมายดังนี้ 1) ช่วยใหน้ ักเรยี นศึกษาหาความรู้อย่างถกู วิธที ำให้เกดิ ประสิทธภิ าพในการเรยี นการสอน 2) ช่วยให้นักเรียนสามารถเรียนไปตามความถนัดของตนเองสามารถเลือกวิชาตามความรู้ ความสามารถของตนเอง 3) ช่วยให้นักเรียนรู้จักคิดและร่วมกิจกรรมต่างๆ ตามความพอใจและความสามารถ ของตนเอง 4) ช่วยให้นักเรียนสามารถเลือกอาชีพไปตามความถนัดของตนเองอันจะเป็นแนวทาง ไปสู่ความสมั ฤทธิผ์ ลในวชิ าทต่ี นเองเลอื กเรยี น 5) ช่วยให้นักเรียนเกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์รู้จักคิดและปฏิบัติสิ่งใหม่ๆได้ด้วยตนเองสร้าง ความเช่ือมนั่ ใหก้ ับตนเอง 6) ช่วยให้นักเรียนประสบความสำเร็จในการศึกษาเล่าเรียนและสามารถนำความรู้ที่ได้รับ ไปปรับตัวให้อย่ใู นสงั คมได้อยา่ งราบร่ืน 7) ช่วยให้นักเรียนเข้าใจตนเองรู้จักคิดและแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเองรู้จักวางแผนชีวิต ในอนาคตและดำเนนิ ชวี ิตไปตามทตี่ นเองตอ้ งการ 8) ชว่ ยให้นักเรียนรูจ้ ักและเขา้ ใจสภาพแวดลอ้ มรอบๆตัวรจู้ กั และเข้าใจบุคคลอืน่ ไดด้ ี 9) ช่วยให้นักเรียนเป็นคนที่มีเหตุผลรู้จักคุณค่าของตนเองและนำคุณค่าของตนเองไปใช้ ประโยชน์ 10)ช่วยใหน้ กั เรียนเป็นบุคคลท่ีมคี ณุ ภาพ สรุปได้ว่า ประโยชน์ของการแนะแนว ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอน ช่วยใหน้ กั เรียนสามารถเรียนไปตามความถนัดของตนเองสามารถเลือกวชิ าตามความรู้ ความสามารถ ของตนเอง และความพอใจ และเลือกอาชีพไปตามความถนัดของตนเอง รจู้ ักวางแผนชีวิตในอนาคต และดำเนนิ ชีวิตไปตามท่ีตนเองต้องการ รจู้ ักคณุ ค่าของตนเองและนำคุณค่าของตนเองไปใช้ประโยชน์ เปน็ บุคคลท่มี คี ณุ ภาพ
8 ความพงึ พอใจ ความหมายของความพงึ พอใจ บุญธรรม กจิ ปรีดาบรสิ ุทธิ์ (2549, น. 189) ไดก้ ล่าวว่า ความพงึ พอใจเป็นสภาพความรู้สึก ที่มคี วามสขุ สดชื่น เป็นภาวะทางอารมณเ์ ชงิ บวกท่ีบุคคลแสดงออกเมื่อได้รบั ผลสำเรจ็ ทัง้ ปริมาณและ คุณภาพ ตามจุดมุ่งหมาย ตามความต้อง ความพึงพอใจจึงเป็นผลของความต้องการที่ได้รับการ ตอบสนอง โดยมกี ารจูงใจ (Motivation) หรอื ส่งิ จงู ใจ (Motivators) เปน็ ตัวเหตุ กนน ทศานนท์ (2553, น. 35) ได้กล่าววา่ ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกหรอื ทัศนคติ ของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันเกิดจากพื้นฐานของการรับรู้ ค่านิยม ประสบการณ์ที่แต่ละบุคคล ได้รับและจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อสิ่งนั้นสามารถตอบสนองความต้องการให้แก่บุคคลนั้นได้ ซึ่งระดับความ พึงพอใจของแตล่ ะบุคคลย่อมมีความแตกตา่ งกนั ไป สรุปได้ว่าความพึงพอใจเป็นสภาพความรู้สึกเชิงบวกที่บุคคลแสดงออก เป็นผลของความ ต้องการที่ได้รับการตอบสนอง ระดับความพึงพอใจของแต่ละบุคคลย่อมมีความแตกต่างกันไป ตาม พนื้ ฐานของการรับรู้ ค่านยิ ม ประสบการณ์ ความสำคญั ของความพึงพอใจ อเนก สุวรรณบัณฑิต และภาสกร อดุลพัฒนกิจ (2548) และ ปภาวดี ดุลยจินดา (2540) ได้กลา่ วถงึ ความสำคญั ของความพงึ พอใจ สรปุ เปน็ ประเดน็ หลกั ๆ ได้ดงั น้ี 1) ชว่ ยเสรมิ สรา้ งคุณภาพชวี ิต ในการปฏบิ ัตงิ านหรือทำกิจกรรมต่าง ๆ หากมีความพงึ พอใจ จะ ส่งผลต่อความตั้งใจในการปฏิบัติงานหรือ ทำกิจกรรมส่งผลให้เกิดผลงานที่ดี นำมาซ่ึง ผลตอบแทนท่สี งู ขึน้ มีการดำรงชีวติ และคุณภาพชีวติ ทดี่ ขี นึ้ 2) เกิดความรสู้ ึกกระตือรือร้น มคี วามเชื่อม่ันและความมุ่งมัน่ ในการทำงาน ความพึงพอใจทำให้ เกดิ ความสุขจากการปฏิบตั ิงาน ตอ้ งการให้งานมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนส์ ูงสุดช่วยให้ ประสบความสำเร็จในการปฏบิ ตั งิ าน 3) เป็นสิ่งกำหนดลักษณะการดำเนินงานหรือการปฏิบัติงานที่ดี มีคุณภาพ ตอบสนองต่อความ ต้องการและความคาดหวงั ของผู้รับบริการท่เี หมาะสม เกิดความประทับใจ 4) ช่วยพัฒนาคุณภาพของงาน หากมีความพึงพอใจจะเกิดความเต็มใจ ทุ่มเท สร้างสรรค์และ สง่ เสรมิ มาตรฐานของงานทสี่ งู ขนึ้ สรุปได้ว่าความพึงพอใจมีความสำคัญ คือ หากมีความพึงพอใจจะเกิดความเต็มใจ ซึ่งความ เต็มใจ ช่วยในเรื่องปฏิบัติงานหรือทำกิจกรรมต่าง ๆ จะทำให้ได้ผลงานที่ดีมีคุณภาพ เกิดความรู้สึก กระตือรอื รน้ มคี วามเช่อื มน่ั และความมุ่งมนั่ ในการทำงาน
9 การสรา้ งความพงึ พอใจ สนุ นั ทา เลาหนนั ท์ (2551) ไดก้ ลา่ วถึงการสรา้ งความพึงพอใจใหเ้ กิดขน้ึ ในบุคคล ดงั นี้ 1) จัดหาหรือให้บริการเพื่อตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกายด้วยสิ่งที่มีคุณภาพตาม ความตอ้ งการของบคุ คล 2) อำนวยความสะดวกในการเข้าถึงสิ่งที่บุคคลต้องการอย่างทั่วถึง และเท่าเทียมกันตาม ความสามารถ และมีการอำนวยความสะดวกตามความเหมาะสม 3) ในการส่งเสริมให้เกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ควรจัดแนวปฏิบัติที่เหมาะสมและท้า ทายตามความสามารถของแต่ละบคุ คล 4) เปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานมีส่วนร่วมในสังคมหรือในการวางแผนการดำเนินงาน ซึ่งเป็น แรงจงู ใจในการทำงานประการหนง่ึ ที่นำไปสูก่ ารเกิดความพึงพอใจ 5) ให้การยกยอ่ งชมเชยด้วยความจรงิ ใจ 6) มอบความไว้วางใจให้รับผิดชอบมากขึ้น ให้อำนาจเพิ่มขึ้น เลื่อนขั้นหรือเลื่อนตำแหน่งให้ สงู ขน้ึ 7) ให้ความม่นั คงและความปลอดภยั 8) ให้ความเป็นอสิ ระในการทำงาน 9) เปิดโอกาสให้เจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ได้มีโอกาสเข้าร่วมฝึกอบรม ศึกษาดูงาน การ หมนุ เวียนงานและการสรา้ งประสบการณ์จากการใช้เทคโนโลยตี า่ ง ๆ 10)ใหเ้ งนิ รางวลั หรือรางวัลตามลกั ษณะงาน 11)ให้โอกาสในการแข่งขันเพื่อความเป็นเลิศในการปฏิบัติงานอันเป็นแรงกระตุ้นในแสวงหา แนวคดิ ใหม่ๆ สำหรับนำมาใช้ในการปฏิบตั ิงาน สรุปได้ว่าการสร้างความพึงพอใจให้เกิดขึ้นในบุคคล ต้องคำนึงตามความต้องการและ ความสามารถของบุคคล ให้ความเป็นอิสระในการทำงาน โดยคำนึงความปลอดภัยด้วย มีการอำนวย ความสะดวกตามความเหมาะสม และให้รางวัลเป็นแรงจูงใจ
10 ลักษณะของการประเมนิ ความพงึ พอใจ บังอร ผงผา่ น (2538) ได้กล่าวถึงลักษณะของการประเมนิ ความพึงพอใจ ดังน้ี 1) การประเมินความพงึ พอใจด้านความรูส้ ึก เปน็ ลักษณะการประเมนิ ทางความรูส้ ึกหรืออารมณ์ ของบุคคลตามองค์ประกอบทางความรู้สึก ได้แก่ ความรู้สึกทางบวก เป็นความชอบ พอใจ และความร้สู กึ ทางลบ เป็นความไมช่ อบ ไม่พอใจ กลวั รังเกียจ 2) การประเมินความพึงพอใจด้านความคิด เป็นการประเมินการรับรู้ของบุคคลและวินิจฉัย ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้รับที่เกิดเป็นความรู้ ความคิด เกี่ยวข้องกับการพิจารณาที่มาของทัศนคติ ออกมาว่าถูกหรือผิด ดีหรือไมด่ ี ท่ีเกดิ จากการประมวลผลของสมอง 3) การวัดความพึงพอใจในด้านพฤติกรรม เป็นการวัดความพร้อมที่จะกระทำ หรือพร้อมท่ี จะตอบสนองทีม่ าของพฤติกรรม สรุปได้ว่าการประเมินความพึงพอใจ แบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ ด้านความรู้สึก ด้านความคิด และด้านพฤติกรรม ความพึงพอใจด้านความรู้สึก เป็นลักษณะการประเมนิ ทางความรู้สึกหรอื อารมณ์ ของบุคคลตามองค์ประกอบทางความรู้สึก ได้แก่ ความรู้สึกทางบวก เป็นความชอบ พอใจ และ ความรู้สึกทางลบ เป็นความไม่ชอบ ไม่พอใจ กลัว รังเกียจ ความพึงพอใจด้านความคิด เป็นการ ประเมินการรับรู้ของบุคคลและวินิจฉัยข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้รับที่เกิดเป็นความรู้ ความคิด เกี่ยวข้องกับ การพิจารณาที่มาของทัศนคติออกมาว่าถูกหรือผิด ดีหรือไม่ดี ที่เกิดจากการประมวลผลของสมอง ความพึงพอใจในด้านพฤติกรรม เป็นการวัดความพร้อมที่จะกระทำ หรือพร้อมที่จะตอบสนองที่มา ของพฤตกิ รรม
11 การสรา้ งแบบสอบถามประเมนิ ความพึงพอใจแบบมาตรประมาณคา่ 5 ระดับ มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช (2556) ไดก้ ลา่ วถงึ การสรา้ งแบบสอบถามประเมนิ ความพึง พอใจแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดบั ดังน้ี 1) กำหนดเป้าหมายของความพึงพอใจว่าคืออะไร มีโครงสร้างลักษณะใด ซึ่งควรกำหนด เป้าหมายให้ชัดเจนเป็นเรื่อง ๆ ลงไปว่าจะประเมินความพึงพอใจด้านใดบ้าง จากนั้นให้ ความหมายของความพึงพอใจว่าหมายถึงอะไรบ้าง ต่อไปจึงกำหนดโครงสร้างของความพึง พอใจว่าประกอบด้วยด้านใดบ้าง แต่ละด้านจะประกอบด้วยตัวแปรอะไรบ้าง ซึ่งอาจกำหนด ประเดน็ กวา้ ง ๆ เป็นขอ้ ๆ 2) รวบรวมข้อคำถามเกี่ยวกับความพึงพอใจที่มีต่อเป้าหมาย หลีกเลี่ยงข้อความกำกวม ไม่น้อย กว่า 20 ข้อ โดยกำหนดข้อคำถามจากโครงสร้างความพึงพอใจที่ได้กำหนดไว้แล้วแบ่งเป็น ด้าน ๆ แลว้ สร้างและรวบรวมข้อคำถามแต่ละด้านตามประเด็นท่ีกำหนดไว้ 3) นำข้อคำถามที่สร้างแล้วไปทดลองใช้เพื่อตรวจสอบความชัดเจนของข้อคำถามว่า ตรงตาม โครงสร้างของการประเมินความพึงพอใจตามที่ได้กำหนดไว้แล้วในแต่ละด้าน และในแต่ละ ประเด็นย่อยหรือไม่ หากมีความคลุมเครือหรือไม่ชัดเจนจะได้แก้ไขก่อนสร้างเป็น แบบสอบถาม จากนั้นทดลองใช้กับผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 10 เท่าของจำนวนข้อใน พ้ืนที่ทคี่ ลา้ ยคลงึ กัน หรือใกลเ้ คียงกบั พน้ื ท่ใี นการเก็บข้อมูลจริง 4) กำหนดน้ำหนักในการตอบแตล่ ะตวั เลือก โดยกำหนดนำ้ หนกั คะแนนเป็น 5, 4, 3, 2 , 1 สรุปได้ว่าการสร้างแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ จะต้องกำหนดเป้าหมายและโครงสร้างของความพึงพอใจ และตั้งคำถามเกี่ยวกับความพึงพอใจโดย หลีกเลย่ี งการใช้ขอ้ ความกำกวม โดยกำหนดนำ้ หนักคะแนนเป็น 5, 4, 3, 2 , 1 แลว้ ตรวจสอบความ ชดั เจนของข้อคำถาม
12 บทท่ี ๓ วิธกี ารดำเนินงาน กลุม่ เป้าหมาย นักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนศรีนคร จำนวน 255 คน เครอื่ งมือทใี่ ช้ เครื่องมือที่ใช้ในครั้งนี้เป็นแบบสอบถามความพึงพอใจต่อพี่(ทหาร)พบน้อง เป็นแบบมาตรา ส่วนประเมินค่า (Rating Scale) ๕ ระดับ วิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรบั เกณฑ์ในการแปลค่าระดับความคิดเห็น ดังนี้ การแปลข้อมลู การกำหนดคะแนนของการประเมนิ ความพึงพอใจมดี ังนี้ ๕ หมายถึง ความพงึ พอใจต่อโครงการมากทส่ี ดุ ๔ หมายถึง ความพึงพอใจตอ่ โครงการมาก ๓ หมายถึง ความพึงพอใจตอ่ โครงการปานกลาง ๒ หมายถงึ ความพึงพอใจตอ่ โครงการน้อย ๑ หมายถงึ ความพงึ พอใจตอ่ โครงการนอ้ ยท่ีสดุ เกณฑ์ทีใ่ ช้ในการแปลผลแบบประเมินความพึงพอใจ ดังน้ี ๔.๕๑ – ๕.๐๐ หมายถงึ ความพงึ พอใจตอ่ โครงการมากท่ีสดุ ๓.๕๑ – ๔.๕๐ หมายถงึ ความพงึ พอใจตอ่ โครงการมาก ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถึง ความพึงพอใจต่อโครงการปานกลาง ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถงึ ความพึงพอใจต่อโครงการนอ้ ย ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถึง ความพงึ พอใจตอ่ โครงการน้อยที่สุด
๑๓ การเก็บรวบรวมข้อมลู ผปู้ ระเมินเก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยใช้ google from โดยมีวิธีดงั นี้ ๑. เมื่อสิ้นสุดโครงการผู้ประเมินชี้แจงวัตถุประสงค์ต่อผู้เข้าร่วมโครงการเพือ่ ขอความร่วมมอื ในการตอบแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ ๒. รวบรวมแบบประเมินความพึงพอใจ ซึ่งมีผู้ได้เข้าไปทำจำนวน 228 คน คิดเป็นร้อยละ 89.41 ของแบบสอบถาม เพ่อื นำมาวิเคราะหข์ ้อมลู การวเิ คราะห์ข้อมูล หลังจากเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วผู้ประเมินดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูล ทำการวิเคราะห์ข้อมูล ทางสถิติ ซึ่งเป็นแบบมาตรฐานส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ๕ ระดับ วิเคราะห์โดยการหา คา่ เฉลย่ี (x) และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ๑. คา่ รอ้ ยละ (Percentage) ������ ������ = ������ ������100 P แทน รอ้ ยละ f แทน ความถท่ี ่ีตอ้ งการแปลงใหเ้ ปน็ ร้อยละ N แทน จำนวนความถท่ี ้งั หมด ๒. ค่าเฉล่ยี (Mean) โดยใช้สตู รของบญุ ชม ศรสี ะอาด. ๒๕๔๕ หน้า ๑๐๕ ∑x x = ������ x แทน ค่าเฉลยี่ ∑x แทน ผลรวมคะแนนทง้ั หมดในกลมุ่ N แทน จำนวนคนทงั้ หมด
๑๔ ๓. ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใช้สูตรของบุญชม ศรีสะอาด. ๒๕๔๕ หน้า ๑๐๖ √∑(x−x) 2 σ= ������ ������ แทน ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนการตอบ แทน คา่ เฉลี่ย N แทน จำนวนประชากร ∑ แทน ผลรวม
๑๕ บทท่ี ๔ ผลการวิเคราะห์ข้อมลู การประเมินโครงการพี่(ทหาร)พบน้อง โดยสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ซ่งึ ได้นำเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล ดงั น้ี ตารางท่ี ๑ แสดงคา่ เฉลย่ี ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดบั ความพึงพอใจ ของผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ N = 228 คน ระดับ ความพึง ข้อท่ี รายการ คา่ เฉล่ยี ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน(Ơ) พอใจ (x) ๑. ไดร้ บั ความร้หู ลงั ฟงั การบรรยาย มากทส่ี ุด ๒. การเตรียมความพร้อมของวทิ ยากร 4.776315789 0.800536783 มากทีส่ ุด ๓. บคุ ลกิ ภาพของวทิ ยากร มากทส่ี ุด 4. เทคนิคการถา่ ยทอดความรูข้ องวิทยากร 4.789473684 0.6729639313 มากที่สดุ 5. การอธิบายเนอ้ื หาตรงประเดน็ มากที่สดุ 6. การใช้ภาษาที่เหมาะสมและเข้าใจง่าย 4.828947368 0.6959518549 มากที่สดุ 7. การตอบคำถามของวิทยากร มากทส่ี ดุ 8. การนำข้อมูลไปใชเ้ ป็นแนวทางในการศึกษาต่อ 4.828947368 0.7143689595 มากท่สี ดุ 9. ประโยชนใ์ นการเขาร่วมงานแนะแนวในครัง้ น้ี 4.815789474 0.7716246467 มากที่สุด 4.802631579 0.7059284655 รวม 4.824561404 0.8201589313 คิดเป็นร้อยละ 4.802631579 0.7059284655 4.815789474 0.7371950512 42.63535789 96.05263158 จากตารางที่ ๑ พบว่า ความพึงพอใจด้านความรู้ความเข้าใจของผู้เข้าร่วมโครงการพี่(ทหาร) พบน้องโดยภาพรวมอยู่ในระดบั มากทสี่ ดุ ดา้ นทมี่ ากท่สี ดุ คอื บคุ ลิกภาพของวทิ ยากร และเทคนิคการ ถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร (x =4.828947368 ) และน้อยที่สุด คือ ได้รับความรู้ หลงั ฟงั การบรรยาย (x = 4.776315789)
๑๖ บทที่ ๕ สรุปและอภิปรายผลการดำเนนิ งาน การจัดโครงการพี่(ทหาร)พบน้อง ในภาคเรียนที่ 2 เพื่อแนะแนวการเข้าศึกษาต่อ สถาบันการศึกษาที่ผลิตนายทหารให้กับนักเรียนโรงเรียนศรีนคร ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และเปิดโอกาสให้นักเรียนได้สนทนาซักถามจากผู้มีประสบการณ์ทางด้านทหาร อีกทั้งยังเป็นการ แรงจูงใจในการวางเป้าหมายทางด้านการศึกษาในอนาคต ผู้รับผิดชอบโครงการมีหน้าท่ีดำเนิน โครงการตามแผนการดำเนินงานและประเมินผลการดำเนินโครงการ จากความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม โครงการ ซึ่งสามารถสรปุ ผลการดำเนินโครงการ ได้ดังนี้ สรุปผลการดำเนนิ งาน นักเรียนเข้ารว่ มกิจกรรม ทั้งหมด 228 คน จาก 255 คน คิดเป็นร้อยละ 89.41 ความพึง พอใจดา้ นความรู้ความเขา้ ใจของผู้เข้าร่วมโครงการพี่(ทหาร)พบน้องโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด ด้านที่มากที่สุด คือ บุคลิกภาพของวิทยากร และเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร (x =4.828947368 ) และนอ้ ยที่สุด คอื ไดร้ บั ความรู้หลงั ฟังการบรรยาย (x = 4.776315789) อภปิ รายผลการดำเนนิ งาน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) และการดำเนินโครงการ จำเป็นต้องเชิญวิทยากรภายนอกเขา้ มาในโรงเรยี น ทางนิสติ ฝกึ ประสบการณ์ วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยพะเยาและครูพี่เลี้ยง ไม่ ได้นิ่งนอนในสถานการณ์ดังกล่าว จึงได้มีการจัดประชุมเพื่อทบทวนทิศทาง ลดจำนวนนักเรียนท่ีจะพบปะกับร่นุ พ่ีลง และจัดทำแผนงาน รูปแบบใหม่ โดยการใช้สังคมออนไลน์แทนการรวมกลุ่ม ให้นักเรียนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ เข้าร่วมกลุ่ม facebook เพื่อเป็นช่องทางในการติดต่อระหว่างนกั เรยี นและรุ่นพี่ท่ีเป็นทหาร และทาง นิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู จะรวบรวมคำถาม และคำตอบมาบรรยายให้นักเรียนฟังอีกคร้ัง พร้อมท้งั เพ่ิมกิจกรรมเล่าประสบการณ์การใชช้ วี ติ ในร้ัวมหาวิทยาลัยดว้ ย โดยขอความอนุเคราะห์จาก นิสิตและนักศกึ ษาฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพครู โรงเรียนศรนี ครมาแบง่ บันประสบการณใ์ ห้กับนักเรียน
๑๗ บรรณานุกรม กรมวิชาการ. (2532). คู่มือปฏิบัติงานแนะแนวในโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุ สภาลาดพรา้ ว. กนน ทศานนท์. (2553). วิธีการสอนวิชาแนะแนว Methods of guidance teachin : PC 422, ภาควชิ าจติ วทิ ยา มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพฯ: วัชรี ทรัพย์มี. (2531). การแนะแนวในโรงเรียน. กรุงเทพฯ: บริษัทสำนักพิมพ์ไทยวัฒนา พานชิ จำกัด. วนิดา แดงสุภา. (2535). การแนะแนวเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 3). สงขลา. บริษัทนำศิลป์โฆษณา จำกัด. พนมล้มิ อารยี ์. (2548). การแนะแนวเบ้อื งต้น. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ โอ.เอส.พริ้นต้ิง เฮาส์. บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2549). การพัฒนาหลักสูตรและการวิจัยเกี่ยวกับหลักสูตร. กรุงเทพฯ: สวุ รี ิยาสาส์น. สุนันทา เลาหนันท์. (2551 ). จิตวิทยาการแนะแนว. ภาควิชาจิตวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง. บังอร ผงผ่าน. (2538). การแนะแนวและการให้การปรึกษา. ภาควิชาการแนะแนวและให้การ ปรึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พิทยา อนิ เตอรเ์ นชั่น แนล หจก. มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2556). อเนก สุวรรณบัณฑิต. (2548). ความต้องการและความพึงพอใจบริการแนะแนวของนักศึกษา มหาวิทยาลัยธรุ จ.บัณฑติ . กรงุ เทพฯ: วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญาโท, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ อษุ ณีย์ เย็นสบาย. (2534). จติ วิทยาแนะแนว. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ โอ.เอส.พร้นิ ติง้ เฮาส์. อุไร สุมาริธรรม (2545). จิตวิทยาแนะแนวเด็กวยั รุน่ . กรุงเทพฯ: คณะครศุ าสตร์ สถาบันราชภฏั นครศรีธรรมราช.
๑๘ ภาคผนวก
ภาคผนวก ก แบบเสนอโครงการทไี่ ด้รับการอนุมตั ิ
1 โครงการ พี(่ ทหาร)พบน้อง แผนงานที่ 2 สง่ เสริมทักษะทางวิชาชีพ สนองยุทธศาสตร์ สพม.38 ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 หลกั สูตรและกระบวนการเรยี นการสอน สนองยุทธศ์ าสตร์ สพฐ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 หลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน สนองยุทธ์ศาสตร์กระทรวงศึกษาธกิ าร ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 หลกั สูตรและกระบวนการเรียนการสอน ประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รียน ตัวช้วี ดั ท่ี 2.5 ผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการของผเู้ รยี น ข้อ 1) มีความสามารถในการอ่าน เขียน การส่ือสาร และการคิดคำควณ ขอ้ 2) มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา ผูร้ ับผดิ ชอบ 1. นายอนพุ งษ์ ดาปัง นิสิตฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพครู มหาวทิ ยาลัยพะเยา 2. นางสาวขนิษฐา โอษฐนอ้ ย นิสิตฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู มหาวทิ ยาลยั พะเยา ลกั ษณะโครงการ โครงการใหม่ ระยะเวลาดำเนนิ การ ภาคเรียนที่ 2 (ธันวาคม 2563 – เมษายน 2564) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. หลักการและเหตุผล การให้บริการแนะแนวอย่างสมบูรณ์ นอกจากจะแนะแนวการศึกษาต่อ การให้บริการดูแลช่วยเหลือ นักเรียน จำเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องให้บริการแนะแนวอาชีพ เพ่ือให้นักเรียนได้ตระหนักรู้ในตนเองและได้รับข้อมูล อย่างหลากหลาย นำมาประยุกต์ใช้ในการปรับตัวกับบุคคล สถานท่ีและสถานการณ์ต่าง ๆ อันจะนำมาซ่ึง ความสุขในการดำรงตนในสังคม และมีความพร้อมในการประกอบอาชีพได้ประสบความสำเร็จในอนาคต การ เลอื กอาชีพที่เหมาะสมกับความสามารถ ความสนใจ ความถนัดของแต่ละบุคคลมคี วามสำคญั อยา่ งย่ิง คนท่ีเลือก ประกอบอาชีพท่ีเหมาะสมกับตนเองย่อมส่งผลให้มีความสุขในการทำงานและความสำเร็จในการประกอบอาชีพ นั้น ๆ การแนะแนวมีบทบาทสำคัญที่ช่วงส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนก้าวเข้าสู่โลกของการมีอาชีพและทำงานได้ อย่างมคี ุณภาพ ทหาร คือ ผู้มีหน้าที่ปกป้องอธิปไตยของชาติให้คงอยู่ คอยตรวจสอบความสงบเรียบร้อยตามบริเวณ ชายแดน และป้องปราบชาติอ่ืน ๆ ไม่ให้รุกราน ทหารเป็นอาชีพที่เสียสละ เพื่อบ้านเมืองให้เกิดความสงบ เรยี บร้อย ไมใ่ ห้ผู้ใดมารุกรานชาตบิ ้านเมือง สถาบนั การศกึ ษาตา่ ง ๆ ที่ผลติ นายทหารให้กับกองทัพ โดยปกติแล้ว จะเปิดรับสมัครผู้ท่ีสำเร็จการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เปิดรับสมัครคัดเลือกท้ังบุคคลพลเรือน ทหารกองประจำการ ทหารกองหนุน พลอาสาสมัคร (ประจำการ) และอาสาสมัครทหารพราน นักเรียน มัธยมศึกษาตอนปลายท่ีสนใจสมัครเข้ารับราชการทหาร หากได้พบปะและพูดคุยกับผู้ที่มีประสบการณ์ตรง จะช่วยให้นักเรียนได้รับแรงบันดาลใจมากขึ้น นักเรียนได้รับรู้ประสบการณ์จริงจากสนามสอบ ได้รับข้อมูลมูลท่ี ถกู ตอ้ ง หากมขี ้อสงสยั เก่ยี วกับการสมคั รเขา้ รับราชการทหาร นกั เรยี นจะไดร้ บั คำตอบอยา่ งถกู ตอ้ ง จากเจตนารมณ์ดังกล่าว นิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูมหาวิทยาลัยพะเยา ได้เล็งเห็นความสำคัญใน การสรา้ งโอกาสทางการศึกษาใหก้ บั นักเรยี น โดยการดำเนินการจดั ทำโครงการพี่ (ทหาร) พบนอ้ ง เพอื่ สร้างความ สนใจและเป็นทางเลือกให้กับนักเรยี นสำหรับการเขา้ ศึกษาต่อสถาบนั การศึกษาท่ีผลติ นายทหารใหก้ ับกองทพั อีก ท้ังเป็นสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างศิษย์เก่าของโรงเรียนศรีนครซี่งปัจจุบันรับราชการทหาร หรือกำลังศึกษาต่อ ในสถาบนั การศึกษาทีผ่ ลิตนายทหาร และศษิ ยป์ ัจจุบัน
2 2. วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 2.1 เพ่ือแนะแนวการเข้าศึกษาต่อสถาบันการศึกษาที่ผลิตนายทหารให้กับนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาตอน ปลาย 2.2 เพื่อเปดิ โอกาสให้นักเรยี นได้สนทนาซกั ถามจากผมู้ ีประสบการณ์ทางด้านทหาร 2.3 เพอ่ื เป็นแรงจูงใจในการวางเป้าหมายทางดา้ นการศกึ ษาในอนาคต 3. เปา้ หมายผรู้ บั ผิดชอบ 3.1 เป้าหมายเชงิ ปริมาณ นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนศรนี คร จำนวน 255 คน 3.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ นักเรียนได้รับข้อมูล ข่าวสาร หลักเกณฑ์ และแนวข้อสอบการเข้าศึกษาต่อสถาบันการศึกษาท่ี ผลิตนายทหาร 3.3 เป้าหมายเชิงเวลา ระหวา่ งเดอื นธนั วาคม 2563 – มกราคม 2564 4. กิจกรรมและวิธีการดำเนนิ งาน ที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ ผ้รู บั ผิดชอบ 1. ข้นั เตรยี มการ -ประชุม เขียนร่างโครงการ 8 ธนั วาคม 2563 นิสิตฝึกประสบการณ์ -เสนอโครงการขออนุมตั ิ - วิชาชีพครู -ติดต่อประสานงานกับวิทยากร/ศิษย์เก่า ของโรงเรยี นศรนี คร 29 ธนั วาคม 2563 มหาวิทยาลัยพะเยา 2. ขั้นดำเนนิ การ ธนั วาคม 2563 นสิ ิตฝกึ ประสบการณ์ ดำเนินการตามแผนทวี่ างไว้ โดยจดั กิจกรรม - วชิ าชพี ครู ดังนี้ 1) แนะนำศิษย์เก่าของโรงเรียนศรีนครซี่ง เมษายน 2564 มหาวทิ ยาลัยพะเยา ปัจจุบันรับราชการทหาร หรือกำลัง ศึกษาต่อในสถาบันการศึกษาท่ีผลิต นายทหาร 2) ศิษย์เก่าของโรงเรียนศรีนครซ่ีงปัจจุบัน รับราชการทหาร หรือกำลังศึกษาต่อใน สถาบันการศึกษาที่ผลิตนายทหารเล่า ประสบการณ์ท่ีประทับใจและเส้นทาง ในการรบั ราชการทหาร 3) เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ถามคำถาม ข้อสงสยั ตา่ ง ๆ 4) มอบของที่ระลึกและกล่าวขอบคุณคณะ ศษิ ย์เก่าของโรงเรยี นศรีนคร
3 5) ติวข้อสอบให้นักเรียนกลุ่มท่ีสนใจ โดย เมษายน 2564 นิสิตฝกึ ประสบการณ์ ใช้ข้อสอบท่ีแนะนำ และตรวจสอบ วชิ าชพี ครู ความถูกตอ้ งแลว้ จากรนุ่ พีท่ หาร มหาวิทยาลยั พะเยา 3. ขนั้ ประเมินผล - ประเมินผลจากการจัดกิจกรรม นสิ ติ ฝึกประสบการณ์ วิชาชพี ครู 4. ขน้ั รายงานผล เมษายน 2564 - สรุปและรายงานผลต่อฝ่ายบริหาร มหาวทิ ยาลัยพะเยา 5. สถานทด่ี ำเนินการ โรงเรยี นศรีนคร อำเภอศรนี คร จงั หวัดสโุ ขทยั 6. ระยะเวลาดำเนนิ การระหว่าง เดอื นธนั วาคม 2563 – เมษายน 2564 7. แผนดำเนนิ การ กิจกรรม ปี พ.ศ. 2563 ม.ค. ปี พ.ศ. 2564 เม.ย. ธ.ค. ก.พ. มี.ค. ประชมุ ชแี้ จงวางแผนจัดทำโครงการ ดำเนินการจดั เตรียมโครงการ ดำเนินการตามโครงการ จัดทำรายงานสรปุ โครงการ 8. งบประมาณของโครงการ จำนวน (บาท) 1,000 บาท (หนึง่ พนั บาทถ้วน) จากงบประมาณสว่ นตัว ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ 400 ลำดับ รายการ 400 1 ค่าตอบแทน - คา่ ของตอบแทนวทิ ยากร (100 บาท x 4 คน) รวมเปน็ ค่าใช้จา่ ยโดยประมาณ
4 9. การประเมนิ ผลโครงการ วธิ กี ารประเมนิ เครื่องมอื ท่ีใช้ การลงทะเบียน เอกสารการลงทะเบียน ตวั ชี้วดั ความสำเร็จ การใช้แบบประเมิน แบบประเมนิ สอบถามความพึง นักเรียนร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า พอใจ รอ้ ยละ 80 นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย ได้ รั บ ค ำ ชี้ แ น ะ แ น ว ท า ง ที่ เป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ก า ร เข้ า ศึ ก ษ า ต่ อ สถาบนั การศกึ ษาทผี่ ลิตนายทหาร 10. ประโยชนท์ จี่ ะไดร้ บั 10.1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายได้รับคำช้ีแนะแนวทางที่เป็นประโยชน์ในการเข้าศึกษาต่อ สถาบนั การศึกษาทผี่ ลิตนายทหาร 10.2 นักเรยี นได้สนทนา ซักถามข้อสงสยั ต่าง ๆ จากผู้มีประสบการณท์ างด้านทหาร 10.3 นักเรียนมแี รงจูงใจในการวางเป้าหมายทางดา้ นการศกึ ษาในอนาคต ลงชื่อ ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ ( นายอนพุ งษ์ ดาปงั ) ลงชอ่ื ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ ( นางสาวขนิษฐา โอษฐนอ้ ย ) ลงชอ่ื ผูเ้ สนอโครงการ ( นายพนั ศกั ด์ิ แสงทอง ) ลงชื่อ ผูเ้ ห็นชอบโครงการ ( นายพยนต์ พูลรักษ์ ) ลงช่ือ ผู้อนมุ ัติโครงการ ( นายสุรสทิ ธิ์ เกษประสทิ ธ์ิ )
ภาคผนวก ข แบบสอบถามความพงึ พอใจ
ภาคผนวก ค รายชื่อนกั เรยี นทีเ่ ข้ารว่ มกิจกรรม
ภาคผนวก ค ภาพถ่ายการจดั กจิ กรรม
Search